You are on page 1of 69

รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา

การสร้ างและทดสอบปั๊มลมจากคอมเพรสเซอร์ ตู้เย็น


Creation and Testing of Air Compressors built from old Refrigerator Parts

จัดทาโดย
นาย วัชระ อุกอาจ 5911100013

รายงานนีเ้ ป็ นส่ วนหนึ่งของวิชาสหกิจศึกษา


ภาควิชาอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต ( วิศวกรรมเครื่ องกล )
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
ภาคการศึกษา 3 ปี การศึกษา 2561

ชื่ อโครงงาน : การสร้างและทดสอบปั๊มลมจากคอมเพรสเซอร์ ตเู ้ ย็น


ชื่ อนักศึกษา : นาย วัชระ อุกอาจ
อาจารย์ที่ปรึกษา : ดร.ชาญชัย วิรุณฤทธิชยั
ระดับการศึกษา : ปริ ญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์
ภาควิชา : อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต ( วิศวกรรมเครื่ องกล )
คณะ : วิศวกรรมศาสตร์
ภาคการศึกษา/ ปี การศึกษา : 3 / 2561
บทคัดย่อ
เนื่ องจากลักษณะงานที่ทางผูจ้ ดั ทาดูแลรับผิดชอบอยู่น้ นั จะเกี่ยวข้องกับระบบต่างๆภายใน
อาคารสู งและจากการตรวจสอบของทางผูจ้ ดั ทาพบว่าภายในอาคารที่ผจู ้ ดั ทารับผิดชอบอยู่น้ นั ยังไม่มี
ปั๊ มลมไว้ใช้งาน ทางผูจ้ ดั ทาจึงมีแนวคิดที่จะทาการสร้างปั๊ มลมไว้ใช้งานเองภายในอาคาร โดยที่จะ
ทาการสร้างจากคอมเพรสเซอร์ตูเ้ ย็นที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว การศึกษานี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อทาการสร้าง
และทดสอบปั๊มลมจากคอมเพรสเซอร์ตูเ้ ย็น โดยใช้คอมเพรสเซอร์ตูเ้ ย็นไปแทนที่ป๊ัมลม ซึ่งสามารถ
สร้างแรงดันลมเพื่อไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น การเติมลมในถังของระบบบูสเตอร์ ปั๊ม การเติมลมยาง
รถจักรยานยนต์ และใช้ในการเป่ าสิ่ งสกปรกของกรองเครื่ องปรับอากาศ โดยเลือกใช้วิธีการสร้าง
จากวัสดุเหลือใช้ เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการสร้างชิ้นงาน และสามารถนาไปใช้งานนอกสถานที่ได้อย่าง
สะดวก ซึ่งทาให้ไม่ตอ้ งไปซื้อปั๊มลมแบบสาเร็ จรู ปตามร้านค้าที่มีราคาสู ง
ผลจากการศึกษาผลของการสร้างและทดสอบปั๊ มลมจากคอมเพรสเซอร์ ตูเ้ ย็น พบว่าขณะที่
คอมเพรสเซอร์ ทางานจะมีเสี ยงที่เบากว่าปั๊ มลมสาเร็ จรู ป ปริ มาณอากาศอัดที่ผลิตได้อยู่ที่ 0.15 ลิตร
ต่อวินาที, ประสิ ทธิภาพเครื่ องอัดอากาศอยูท่ ี่ 2.14 ลิตรต่อวินาทีต่อกิโลวัตต์, ค่าใช้จ่ายพลังงานไฟฟ้า
(ต่อเดือน) อยู่ที่ 9.82 บาทต่อเดือน หากคอมเพรสเซอร์ ชารุ ดจะสามารถเปลี่ยนคอมเพรสเซอร์ ใหม่
ได้เสมอและราคาในการสร้างชิ้นงานนั้นจะถูกกว่าการซื้อปั๊มลมตามร้านค้าถึง 50% หรื อ 1,500 บาท

คาสาคัญ : คอมเพรสเซอร์, ปั๊มลม, ประสิ ทธิภาพเครื่ องอัดอากาศ

ผูต้ รวจ
…………………………….

กิตติกรรมประกาศ
(Acknowledgement)

การที่ได้มาปฏิบตั ิงานในโครงการสหกิจศึกษา ณ บริ ษทั เอซีอาร์ แมเนจเม้นท์ จากัด ตั้งแต่


วันที่ 1 มิ ถุนายน พ.ศ. 2562 ถึ ง วันที่ 1 พฤศจิ ก ายน พ.ศ. 2562 ส่ งผลท าให้ นาย วัชระ อุก อาจ
นักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาสตร์ สาขา เครื่ องกล ได้รับความรู ้อีกทั้งประสบการณ์ทางานต่างๆ ที่มี
ค่ามากมายสาหรับรายงานวิชาสกิจศึกษาฉบับนี้ สาเร็ จลงได้ดว้ ยดีจากความร่ วมมือและสนับสนุน
จากหลายฝ่ ายดังนี้
1. นาย อนุสิทธิ์ สาแก้ว ตาแหน่ง วิศวกรรรมส่วนกลาง
2. นาย จักรกฤษ ภักดีศรี ตาแหน่ง ผูจ้ ดั การอาคาร
3. นาย ภานุวฒั น์ โยธา ตาแหน่ง หัวหน้าช่างประจาอาคาร
4. นาย หฤษฎ์ ดีเลิศสิ น ตาแหน่ง ช่างประจาอาคาร
5. นาย กิติศกั ดิ์ เอี่ยมเรื องพร ตาแหน่ง ช่างประจาอาคาร
6. ดร.ชาญชัย วิรุณฤทธิชยั อาจารย์ที่ปรึ กษาสหกิจ
และบุคคลท่านอื่นๆ ที่ไม่ได้กล่าวนามทุกท่านที่ได้ให้คาแนะนาช่วยเหลือในการจัดทารายงาน
นาย วัชระ อุกอาจ ขอขอบพระคุณผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่มีส่วนร่ วมในการให้ขอ้ มูลและเป็ น
ที่ปรึ กษาในการทารายงานฉบับนี้ จนเสร็ จสมบูรณ์ตลอดจนให้การดูแลให้ความเข้าใจกับชีวิตของ
การทางานจริ งซึ่งขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี่ดว้ ย

ผูจ้ ดั ทา
นาย วัชระ อุกอาจ
1 ตุลาคม 2562
สารบัญ
หน้ า
จดหมายนาส่งรายงาน ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทคัดย่อ ค
Abstract ง
บทที่ 1 บทนา
1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา 1
1.2 วัตถุประสงค์โครงงาน 1
1.3 ขอบเขตของโครงงาน 1
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
1.5 ระยะเวลาในการดาเนินการ 2
บทที่ 2 ทฤษฎีและหลักการที่เกีย่ วข้อง
2.1 ปั๊มลม 3
2.2 ประเภทของปั๊มลม 4
2.2.1 ปั๊มลมประเภทลูกสู บ ( Piston Air Compressor ) 4
2.2.2 ปั๊มลมประเภทไดอะเฟรม ( Diaphragm Air Compressor ) 5
2.2.3 ปั๊มลมประเภทสกรู ( Screw Air Compressor ) 6
2.2.4 ปั๊มลมประเภทใบพัดเลื่อน ( Sliding Vane Rotary Air Compressor ) 7
2.2.5 ปั๊มลมประเภทใบพัดหมุน ( Roots Air Compressor ) 8
2.2.6 ปั๊มลมประเภทกังหัน ( Redial and Axial Flow Air Compressor ) 9
2.3 คอมเพรสเซอร์ระบบทาความเย็น 11
2.3.1 อุปกรณ์ทาความเย็น ( Condensing Unit ) 13
2.3.1.1 คอยล์เย็น ( Evaporator ) 13
2.3.1.2 เครื่ องอัดไอ ( Compressor ) 14
2.3.1.3 คอยล์ร้อน ( Condenser ) 15
2.3.1.4 วาล์วลดความดัน ( Expansion Valve ) 15
2.3.1.5 กรองสิ่ งสกปรก ( Filter Drier ) 16
2.3.1.6 สารทาความความเย็น ( Refrigerant ) 16
2.4 ชนิดของคอมเพรสเซอร์ระบบทาความเย็น 17
2.4.1 คอมเพรสเซอร์แบบโรตารี่ ( Rotary Compressor ) 17
2.4.2 คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ ( Reciprocating Compressor ) 18
2.4.3 คอมเพรสเซอร์แบบสโกรล ( Scroll Compressor ) 18
2.5 ถังเก็บลมอัด 19
2.5.1 ช่วยลดปริ มาณความชื้นที่อยูภ่ ายในถังเก็บลม 19
2.5.2 สามารถช่วยลดแรงกระแทก 19
2.5.3 เพื่อช่วยลดต้นทุน 19
2.6 การอนุรักษ์พลังงานในระบบอากาศอัด 21
2.6.1 การอนุรักษ์พลังงานในระบบอากาศอัด 21
2.6.1.1 การตรวจวัดค่าพลังงานไฟฟ้า 21
3.6.1.2 การตรวจวัดค่าอัตราการผลิตอากาศอัด 21
3.6.1.2.1 ตรวจวัดจากปริ มาณลมดูด 21
3.6.1.2.2 ตรวจวัดจากการจับเวลาการอัดอากาศเข้าถังลม 21
3.6.1.3 การหาประสิ ทธิภาพของพลังงานของเครื่ องอัดอากาศ 22
2.7 การคานวณหาปริ มาณอัดอากาศที่ผลิตได้และประสิ ทธิภาพเครื่ องอัดอากาศ 23
2.8 งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 24
2.8.1 Dionvsios (2015, น. 51-63). การเพิ่มประสิ ทธิภาพของเครื อข่าย 24
คอมเพรสเซอร์ในแบบคู่ขนาน
2.8.2 วีรศักดิ์ สมัครการ (2554). การปรับปรุ งเครื่ องอัดอากาศ 24
ใช้งานอัตโนมัติเพื่อลดต้นทุนในระบบ
2.8.3 Huibin (2011). การลดการใช้พลังงานไฟฟ้าของระบบเครื่ องอัดอากาศ 24
2.8.4 ชญานิศ เฉลิมสุข (2561). งานวิจยั ลดการสู ญเสี ยจากการรั่วไหลของ 24
ระบบอากาศอัดในโรงงานอุตสาหกรรม
2.8.5 ฐิตินนั ท์ สังข์ทอง (2018). การลดพลังงานในระบบอากาศอัด 25
บทที่ 3 รายละเอียดการปฏิบัติงาน
3.1 ชื่อและที่ต้ งั ของสถานประกอบการ 26
3.2 ลักษณะการประกอบการ ผลิตภัณฑ์การให้บริ การหลักขององค์กร 27
3.3 รู ปแบบการจัดองค์กร 27
3.4 ตาแหน่งและลักษณะงานที่นกั ศึกษาได้รับมอบหมาย 28
3.5 ชื่อและตาแหน่งของพนักงานที่ปรึ กษา 28
3.6 ระยะเวลาที่ปฏิบตั ิงาน 28
3.7 ขั้นตอนและวิธีการดาเนินงาน 28
3.7.1 อาจารย์ที่ปรึ กษาสหกิจตรวจสอบสถานที่ปฏิบตั ิงาน 28
3.7.2 พนักงานที่ปรึ กษาอธิบายการทางานของระบบปั๊มเพิ่มแรงดัน 29
3.7.3 พนักงานที่ปรึ กษาอธิบายความสาคัญของระบบปั๊มเพิม่ แรงดัน 29
3.8 ขั้นตอนการสร้างและทดสอบ 30
3.8.1 ขั้นตอนและวิธีดาเนิ นการสร้างชิ้นงาน 30
3.8.1.1 ตรวจสอบถอดคอมเพรสเซอร์ตเู้ ย็นที่ไม่ได้ใช้งาน 30
3.8.1.2 ตรวจสอบสภาพของคอมเพรสเซอร์ 30
3.8.1.3 ถ่ายน้ ามันคอมเพรสเซอร์ชุดเก่าออก 31
3.8.1.4 เติมน้ ามันคอมเพรสเซอร์ชุดใหม่ 31
3.8.1.5 เชื่อมท่อเพื่อวัดกาลังดูด-อัดของคอมเพรสเซอร์ 32
3.8.1.6 ตรวจวัดแรงดันด้านดูดของคอมเพรสเซอร์ 32
3.8.1.7 ตรวจวัดแรงดันด้านอัดของคอมเพรสเซอร์ 33
3.8.1.8 ตรวจสอบถังเก็บลมอัด 33
3.8.1.9 เชื่อมฐานยึดคอมเพรสเซอร์ 34
3.8.1.10 ติดตั้งสายลมและคอปเปอร์ 34
3.8.1.11 ประกอบชิ้นงานพร้อมนาไปใช้งาน 35
3.8.2 ขั้นตอนและวิธีการทดสอบ 35
3.8.2.1 อุปกรณ์และวิธีการใช้งานปั๊มลม 35
3.8.2.1.1 ท่อลมด้านดูด 35
3.8.2.1.2 ปลัก๊ ไฟ 35
3.8.2.1.3 สวิตซ์ควบคุมแรงดัน 35
3.8.2.1.4 บอลวาล์ว 35
3.8.2.1.5 หัวเป่ าลม 35
3.8.2.1.6 เกจวัดความดัน 35
3.8.2.2 ขั้นตอนและวิธีการทดสอบ 36
3.9 อุปกรณ์และเครื่ องมือที่ใช้ 37
บทที่ 4 ผลการปฏิบัติงานตามโครงงาน
4.1 ผลการเก็บข้อมูล 38
4.2 ตารางแสดงผลการทดสอบ 38
4.2.1 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 1 Barg 38
4.2.2 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 2 Barg 39
4.2.3 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 3 Barg 39
4.2.4 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 4 Barg 40
4.2.5 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 5 Barg 40
4.2.6 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 6 Barg 41
4.2.7 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 7 Barg 41
4.2.8 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 8 Barg 42
4.2.9 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันสูงสุดที่ 7 Barg ไปจนถึง 8 Barg 42
4.2.10 ตารางสรุ ปค่าเฉลี่ยที่ได้ 43
4.3 รู ปแสดงกราฟผลการทดสอบ 44
4.3.1 กราฟแสดงระยะเวลาในการอัดแรงดันลมช่วง 0 Barg ถึง 8 Barg 44
4.3.2 กราฟแสดงระยะเวลาในการอัดแรงดันลมช่วง 7 Barg ถึง 8 Barg 44
4.4 ตรวจสอบค่ามาตรฐานของคอมเพรสเซอร์ตูเ้ ย็น 45
4.4.1 คานวณพลังงานไฟฟ้าของคอมเพรสเซอร์ 46
4.5 คานวณหาปริ มาณอัดอากาศที่ผลิตได้และประสิ ทธิภาพเครื่ องอัดอากาศ 46
4.5.1 คานวณปริ มาณและประสิ ทธิภาพคอมเพรสเซอร์ตเู้ ย็น 46
4.5.2 คานวณปริ มาณและประสิ ทธิภาพปั๊มลม 47
4.6 คานวณค่าใช้พลังงานไฟฟ้า 47
4.6.1 ผลการคานวณค่าไฟฟ้าของคอมเพรสเซอร์ตูเ้ ย็น 47
4.6.2 ผลการคานวณค่าไฟฟ้าของปั๊มลม 48
4.7 เปรี ยบเทียบราคาปั๊มลมแบบสร้างเองกับปั๊มลมสาเร็ จรู ป 48
4.7.1 ตารางราคาในการสร้างปั๊มลมจากคอมเพรสเซอร์ 48
4.7.2 ตารางราคาในการซื้อปั๊ มลมสาเร็ จรู ป 48
บทที่ 5 สรุปผลและข้ อเสนอแนะ
5.1 สรุ ปผลการปฏิบตั ิงาน 49
5.1.1 หลังจากการทดสอบแรงดันด้านดูด 50
5.1.2 หลังจากการทดสอบแรงดันด้านอัด 51
5.1.3 หลังจากทดสอบขณะคอมเพรสเซอร์ทางาน 51
5.1.4 ตารางค่าเฉลี่ยเวลาที่ได้จากการทดสอบ 10 ครั้ง 52
5.1.5 รู ปตารางเปรี ยบเทียบคอมเพรสเซอร์ ตเู ้ ย็นและปั๊มลม 52
5.2 สรุ ปการเลือกใช้ปั๊มลมและคอมเพรสเซอร์ตูเ้ ย็น 53
5.3 ข้อเสนอแนะระหว่างปฏิบตั ิงาน 53
5.3.1 การพัฒนาครั้งต่อไป 53
5.3.2 ถังเก็บลมอัด 53
บรรณานุกรม 54
ประวัติผจู ้ ดั ทา 59
สารบัญตาราง
หน้ า
ตารางที่ 1.5 ระยะเวลาในการดาเนินโครงการ 2
ตารางที่ 2.3 รายชื่ออุปกรณ์ระบบทาความเย็น 12
ตารางที่ 4.2.1 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 1 Barg 38
ตารางที่ 4.2.2 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 2 Barg 39
ตารางที่ 4.2.3 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 3 Barg 39
ตารางที่ 4.2.4 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 4 Barg 40
ตารางที่ 4.2.5 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 5 Barg 40
ตารางที่ 4.2.6 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 6 Barg 41
ตารางที่ 4.2.7 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 7 Barg 41
ตารางที่ 4.2.8 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 8 Barg 42
ตารางที่ 4.2.9 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันสูงสุดที่ 7 Barg ไปจนถึง 8 Barg 42
ตารางที่ 4.2.10 ตารางสรุ ปค่าเฉลี่ยที่ได้ 43
ตารางที่ 4.7.1 ตารางราคาในการสร้างปั๊มลมจากคอมเพรสเซอร์ 48
ตารางที่ 4.7.2 ตารางราคาในการซื้อปั๊มลมสาเร็ จรู ป 48
ตารางที่ 5.1 ตารางค่ามาตรฐานคอมเพรสเซอร์ตูเ้ ย็น 49
ตารางที่ 5.1.4 ตารางผลค่าเฉลี่ยเวลาที่ได้จากการทดลอง 52
สารบัญรูปภาพ
หน้ า
รู ปที่ 2.1 หลักการทางานของปั๊มลม 3
รู ปที่ 2.2.1 ปั๊มลมประเภทลูกสู บ 4
รู ปที่ 2.2.2 ปั๊มลมประเภทไดอะเฟรม 5
รู ปที่ 2.2.3 ปั๊มลมประเภทสกรู 6
รู ปที่ 2.2.4 ปั๊มลมประเภทใบพัดเลื่อน 7
รู ปที่ 2.2.5 ปั๊มลมประเภทใบพัดหมุน 8
รู ปที่ 2.2.6 ปั๊มลมประเภทใบพัดหมุน 9
รู ปที่ 2.3 ระบบทาความเย็น 12
รู ปที่ 2.3.1.1 แผงคอยล์เย็น 13
รู ปที่ 2.3.1.2 คอมเพรสเซอร์ตเู้ ย็น 14
รู ปที่ 2.3.1.3 แผงคอยล์ร้อน 15
รู ปที่ 2.3.1.4 วาล์วลดความดัน 15
รู ปที่ 2.3.1.5 กรองสิ่ งสกปรก 16
รู ปที่ 2.3.1.6 สารทาความเย็น 17
รู ปที่ 2.4.1 คอมเพรสเซอร์แบบโรตารี่ 17
รู ปที่ 2.4.2 คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ 18
รู ปที่ 2.4.3 คอมเพรสเซอร์แบบสโกรล 19
รู ปที่ 2.5 ถังเก็บลมอัด 20
รู ปที่ 3.1 แผนที่ต้ งั บริ ษทั เอซี อาร์ แมเนจเม้นท์ จากัด 26
รู ปที่ 3.2 โลโก้ตราบริ ษทั 26
รู ปที่ 3.3 ตาแหน่งงานในบริ ษทั เอซีอาร์ แมเนจเม้นท์ จากัด 27
รู ปที่ 3.7.1 สถานที่ปฏิบตั ิงาน 28
รู ปที่ 3.7.2 พนักงานที่ปรึ กษาอธิบายการทางานของระบบปั๊มเพิ่มแรงดัน 29
รู ปที่ 3.7.3 พนักงานที่ปรึ กษาอธิบายความสาคัญของระบบปั๊มเพิ่มแรงดัน 29
รู ปที่ 3.8.1.1 ตูเ้ ย็นที่ไม่ได้ใช้งาน 30
รู ปที่ 3.8.1.2 คอมเพรสเซอร์ตเู้ ย็น 30
รู ปที่ 3.8.1.3 ถ่ายน้ ามันคอมเพรสเซอร์ชุดเก่า 31
รู ปที่ 3.8.1.4 เติมมันคอมเพรสเซอร์ชุดใหม่ 31
รู ปที่ 3.8.1.5 เชื่อมท่อทองแดง 32
รู ปที่ 3.8.1.6 ตรวจวัดแรงดันด้านดูด 32
รู ปที่ 3.8.1.7 ตรวจวัดแรงดันด้านอัด 33
รู ปที่ 3.8.1.8 ตรวจสอบถังเก็บลมอัด 33
รู ปที่ 3.8.1.9 เชื่อมฐานคอมเพรสเซอร์ 34
รู ปที่ 3.8.1.10 ติดตั้งสายลมและคอปเปอร์ 34
รู ปที่ 3.8.1.11 ประกอบชิ้นงาน 35
รู ปที่ 3.8.2.1 อุปกรณ์ของปั๊มลม 36
รู ปที่ 3.8.2.2 ทดสอบประสิ ทธิภาพ 36
รู ปที่ 4.3.1 กราฟแสดงระยะเวลาในการอัดแรงดันลมช่วง 0 Barg ถึง 8 Barg 44
รู ปที่ 4.3.2 กราฟแสดงระยะเวลาในการอัดแรงดันลมช่วง 7 Barg ถึง 8 Barg 44
รู ปที่ 4.4 ตรวจสอบค่ามาตรฐานของคอมเพรสเซอร์ 45
รู ปที่ 5.1.1 แรงดันด้านดูด 50
รู ปที่ 5.1.2 แรงดันด้านอัด 51
รู ปที่ 5.1.3 จับเวลาขณะคอมเพรสเซอร์ทางาน 51
รู ปที่ 5.1.5 ตารางเปรี ยบเทียบคอมเพรสเซอร์ ตเู ้ ย็นและปั๊มลม 52
1

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ควำมเป็ นมำและควำมสำคัญของปัญหำ


ปั จจุบนั ภายในอาคารสู งหรื อคอนโดจะต้องมี ปั๊มลมไว้ใช้งานบริ การต่างๆ ภายในอาคาร
และเพื่ อเติ ม ลมในงานระบบปั๊ ม เพิ่ ม แรงดัน (Booster Pump) เพราะเมื่ อปั๊ ม ท างานลมภายในถัง
แรงดัน (Pressure Tank) ก็จะลดลงด้วยจึงจาเป็ นที่จะต้องเติมลมภายในถังแรงดัน (Pressure Tank)
เนื่องจากลักษณะงานที่ทางผูจ้ ดั ทาดูแลรับผิดชอบอยู่น้ นั จะเกี่ยวข้องกับระบบต่างๆ ภายใน
อาคารสูงและจากการตรวจสอบของทางผูจ้ ดั ทาพบว่าภายในอาคารที่ผจู ้ ดั ทารับผิดชอบอยูน่ ้ นั ยังไม่มี
ปั๊มลมไว้ใช้งาน ทางผูจ้ ดั ทาจึงมีแนวคิดที่จะทาการสร้างปั๊มลมไว้ใช้งานเองภายในอาคารโดยที่จะทา
การสร้างจากคอมเพรสเซอร์ตเู้ ย็นที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว ซึ่งภายในอาคารสู งนั้นจะต้องมีปั๊มลมไว้ใช้งาน
ในระบบปั๊ มเพิ่มแรงดัน (Booster Pump) เพราะจะมี ถงั แรงดัน (Pressure Tank) เมื่อปั๊ มเพิ่มแรงดัน
ทางานก็จะสู บน้ าเข้าไปในถังแรงดัน (Pressure Tank) โดยในถังแรงดันจะมีแผ่นไดอะแฟรมไว้กกั
เก็บน้ าและมีแรงดันลมภายในถัง ซึ่งเมื่อเวลาผ่านไปเป็ นเวลานานจะทาให้แรงดันลมในถังลดลง เมื่อ
แรงดันลมในถังต่าเกินไปจะทาให้ปั๊มเพิ่มแรงดัน (Booster Pump) ทางานบ่อยขึ้นและอาจจะทาให้
ปั๊ มมีโอกาสชารุ ดและยังเป็ นการสู ญเสี ยค่าไฟเพิ่มขึ้นเพราะปั๊ มเพิ่มแรงดัน (Booster Pump) จะสลับ
การทางานอยูต่ ลอดเวลาเมื่อแรงดันลดลง จึงต้องมีการเติมลมในถังแรงดันเมื่อลมภายในถังน้อยลง
จากการฝึ กสหกิจศึกษาตามโครงการสหกิจศึกษาของผูจ้ ดั ทาได้เลือกทาหัวข้อ เรื่ อง การ
สร้างและทดสอบปั๊ มลมจากคอมเพรสเซอร์ ตูเ้ ย็น ( Creation and Testing of Air Compressors built
from old Refrigerator Parts ) ทางผูจ้ ดั ทาได้พบกับปั ญหาภายในโครงการนี้ คือยังไม่มีปั๊มลมไว้ใช้
งานเองภายในอาคาร หากต้องการที่ จะใช้ตอ้ งทาการขอยืมอุปกรณ์ ปั๊มลมจากหน่ วยงานอื่ น ทาง
ผูจ้ ดั ทาจึงได้ลองศึกษาข้อมูลจากเว็บไซด์ต่างๆในอินเตอร์ เน็ตเกี่ยวกับการสร้างปั๊มลมจากวัสดุเหลือ
ใช้ และได้ทาการปรึ กษากับทางหัวหน้าช่างประจาอาคารและภายในทีมงานช่างประจาอาคารว่าควร
ที่จะมีปั๊มลมไว้ใช้งานภายในอาคาร
1.2 วัตถุประสงค์โครงงำน
1.2.1 สร้างและทดสอบปั๊มลมจากวัสดุเหลือใช้
1.3 ขอบเขตของโครงงำน
1.3.1 ศึกษาเฉพาะระบบปั๊มเพิ่มแรงดัน ( Booster Pump ) และ ถังแรงดัน ( Pressure Tank )
ของ โครงการ ชีวาทัย เพชรเกษม 27
1.3.2 ทาการสร้างอุปกรณ์ปั๊มลมจากวัสดุเหลือใช้ ของโครงการ ชีวาทัย เพชรเกษม 27
1.3.3 ศึกษาเฉพาะระบบเครื่ องอัดลมและถังเก็บลมอัด
2

1.4 ประโยชน์ ที่คำดว่ำจะได้รับ


1.4.1 เพื่อลดค่าใช้จ่ายโดยที่ไม่ตอ้ งซื้อปั๊มลมแบบสาเร็จรู ป
1.4.2 สามารถใช้กบั งานประเภทเป่ าลมได้หลากหลาย เช่น เติมลมบอลโยคะ เติมลมรถยนต์
, รถจักรยานยนต์ เติมลมในถังแรงดัน ( Pressure Tank ) และ ใช้ในการเป่ าสิ่ งสกปรกของกรอง
เครื่ องปรับอากาศ เป็ นต้น
1.4.3 สามารถนาไปใช้งานนอกสถานที่ได้
1.4.4 สามารถซ่อมแซมได้ง่ายหากเกิดการชารุ ด
1.5 ระยะเวลำในกำรดำเนินกำร
ตารางที่ 1.5 ระยะเวลาในการดาเนินการ
ขั้นตอนกำรดำเนินงำน ก.ค.62 ส.ค.62 ก.ย.62 ต.ค.62 พ.ย.62
1.ศึกษาโครงงาน
2.รวมรวบข้อมูลโครงงาน
3.วิเคราะห์โครงงาน
4.ทดสอบและสรุ ปผล
5.จัดทาโครงงาน
3

บทที่ 2
ทฤษฎีและหลักการที่เกีย่ วข้ อง
2.1 ปั๊มลม
ปั๊ มลม (Air Compressor) จะทำหน้ำที่ ในกำรอัดลมให้มี แรงดันสู ง ขึ้นตำมที่ ต้องกำร จะ
ขึ้นอยู่กบั ขนำดของปั๊ มลม ซึ่ งแรงดันลมที่อดั มำแล้วนั้นสำมำรถนำไปใช้ประโยชน์และประยุกต์ใช้
ได้ห ลำยด้ำ น ไม่ ว่ ำ จะเป็ นระบบลมในโรงงำนอุ ต สำหกรรมตั้ง แต่ ข นำดเล็ ก จนถึ ง โรงงำน
อุตสำหกรรมขนำดกลำง ปั๊ มแรงดันลม (Air Compressor) มักจะนิยมใช้ในอู่ซ่อมรถยนต์ ร้ำนซ่อม
รถจักรยำนยนต์หรื ออุตสำหกรรมทำงด้ำนกำรแพทย์และทันตกรรม ส่ วนใหญ่แล้วจะใช้ปั๊มลม
ประเภทลูกสู บ (Piston Air Compressor) เพรำะมีกำรใช้ปริ มำณลมน้อยและแรงดันลมไม่สูงส่ วน
เครื่ องปั๊มลมที่จะใช้ภำยในโรงงำนอุตสำหกรรมขนำดใหญ่ จะใช้ปั๊มลมประเภทสกรู
(Screw Air Compressor) ที่ จะให้ปริ มำณลมที่ มำกและแรงดันลมสู ง ซึ่ ง ปั๊ ม ลมนั้นจะมี อยู่หลำย
ประเภทให้เลือกใช้งำน ขึ้นอยูก่ บั ผูท้ ี่ตอ้ งกำรใช้วำ่ จะนำไปใช้ประโยชน์ในลักษณะใด

รู ปที่ 2.1 หลักกำรทำงำนของปั๊มลม [1]


( แหล่งที่มำ : http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2016/ )
4

2.2 ประเภทของปั๊มลม [2]


โดยทัว่ ไปแล้วปั๊มลมจะมีอยู่ 6 ประเภท คือ
2.2.1 ) ปั๊ มลมประเภทลูกสู บ (Piston Air Compressor) เป็ นเครื่ องอัดลมหรื อปั๊ มลมที่นิยม
ใช้กนั มำกที่สุดในปัจจุบนั เนื่องจำกมีควำมสำมำรถในกำรอัดลม คือสำมำรถสร้ำงแรงดันของลมอัด
ได้ต้ งั แต่ 1 Bar จนถึง 1000 Bar จึงทำให้ปั๊มลมแบบลูกสู บสำมำรถทำได้ต้ งั แต่ควำมดันต่ำ ควำมดัน
ปำนกลำง ไปจนถึงควำมดันสู ง ซึ่ งปั๊ มลมแบบลูกสู บนั้น จะมีให้ใช้เป็ นแบบสำยพำน จะทำให้ปั๊ม
ลมแบบสำยพำนเวลำทำงำนจะมีเสี ยงที่เงียบ หรื อ แบบมอเตอร์ในตัว จะเรี ยกกันว่ำลูกสูบแบบโรตำ
รี่ ซึ่ งแบบโรตำรี่ น้ นั จะมีควำมสำมำรถในกำรผลิตลมได้เร็ วกว่ำแบบสำยพำน แต่จะด้อยกว่ำที่ขณะ
ทำงำนนั้นจะมีเสี ยงที่ดงั
หลักกำรทำงำนของปั๊มลมประเภทลูกสู บ
ลูกสู บจะมีกำรเคลื่อนตัวในแนวดิ่งจะทำให้เกิดกำรดูดและกำรอัดภำยในกระบอกสู บ โดยที่ช่วงกำร
ดูดอำกำศ ลิ้นช่องดูดอำกำศเข้ำจะทำกำรเปิ ดออกเพื่อดึงอำกำศจำกภำยนอกเข้ำมำในกระบอกสู บ
แต่ลิ้นทำงด้ำนอัดอำกำศออกจะทำกำรปิ ดสนิ ท จำกนั้นเมื่อถึงช่วงกำรอัดอำกำศ ตัวลูกสู บจะดัน
อำกำศให้ออกทำงด้ำนลมออก ทำให้ลิ้นทำงลมออกเปิ ด ส่ วนทำงด้ำนลิ้นดูดอำกำศนั้นจะปิ ดลง เมื่อ
ลูกสู บของปั๊มลมขยับ ขึ้น-ลง จึงทำให้เกิดกำรดูดและกำรอัดขึ้น

รู ปที่ 2.2.1 ปั๊มลมประเภทลูกสู บ [3]


( แหล่งที่มำ : https://www.thaiprint.org/2019/04/vol120/knowledge120-02/ )
5

2.2.2 ) ปั๊ มลมประเภทไดอะเฟรม (Diaphragm Air Compressor) เป็ นปั๊ มลมที่ใช้ตวั ไดอะ
เฟรมทำให้กำรทำงำนของลูกสู บและหัวดูดอำกำศแยกออกจำกกัน ดังนั้นลมที่ถูกดูดเข้ำไปในปั๊ ม
หรื อ อัด กำศ จะไม่ ไ ด้มี ก ำรโดนหรื อ สั ม ผัส กับ ส่ ว นที่ เ ป็ นโลหะและลมที่ ไ ด้จ ะไม่ มี ก ำรผสม
น้ ำมันหล่อลื่นจึงเป็ นลมที่สะอำด แต่จะไม่สำมำรถสร้ำงแรงดันได้สูง ข้อดีของลมที่ได้จำกประเภท
นี้ จึ ง มี ค วำมปลอดภัย มำกและมัก ใช้ ใ นงำนโรงงำนอุ ต สำหกรรมอำหำร อุ ต สำหกรรมยำ
อุตสำหกรรมเคมี และนิยมใช้ในอุตสำหกรรมกำรเลี้ยงสัตว์น้ ำ เนื่องจำกขณะทำงำนจะมีเสี ยงที่เงียบ
กว่ำแบบลูกสูบ
หลักกำรทำงำนของปั๊มลมประเภทไดอะเฟรม
ระบบอัดลมลักษณะนี้จะใช้แผ่นไดอะเฟรมเป็ นตัวดูดอำกำศ ในขณะที่ลูกสู บเคลื่อนที่ลงแผ่นไดอะ
เฟรมจะดูดอำกำศจำกภำยนอกเข้ำมำและผ่ำนวำล์วที่จะให้ลมไหลผ่ำน (ด้ำนดูด) เข้ำมำในห้องเก็บ
ลมและเมื่อลูกสู บเคลื่อนที่ข้ ึนจนสุ ดแผ่นไดอะเฟรมก็จะทำกำรอัดอำกำศจำกภำยในห้องสู บทั้งหมด
ผ่ำนวำล์วทำงออกของลม (ด้ำนออก) เพื่อไปเก็บไว้ในถังพักลมหรื อจะนำไปใช้งำนได้โดยตรง

รู ปที่ 2.2.2 ปั๊มลมประเภทไดอะเฟรม [4]


( แหล่งที่มำ : https://www.thaiprint.org/2019/04/vol120/knowledge120-02/ )
6

2.2.3 ) ปั๊ มลมประเภทสกรู ( Screw Air Compressor ) เป็ นปั๊ มลมที่นิยมใช้ภำยในโรงงำน


และโรงพิมพ์เป็ นอย่ำงมำก เพรำะปั๊มลมแบบนี้ จะมีตวั สกรู โรเตอร์ ในกำผลิตลม ไม่มีลิ้นในกำรเปิ ด
ปิ ด ปั๊มลมชนิดนี้ตอ้ งกำรระบบระบำยควำมร้อนที่ดี ระบบระบำยควำมร้อนนั้นจะมีหลำยระบบ เช่น
ระบบระบำยควำมร้อนด้วยอำกำศ และ ระบบระบำยควำมร้อนด้ว ยน้ ำ ซึ่ งถ้ำเป็ นเครื่ องขนำดใหญ่
ปั๊มลมจะสำมำรถจ่ำยลมได้ถึง 170 ลูกบำศก์เมตรต่อนำที ( m3/min ) และสร้ำงแรงดันได้มำกกว่ำ 10
บำร์ ( Bar )
หลักกำรทำงำนของปั๊มประเภทสกรู
ภำยในปั๊มลมอัดอำกำศ จะมีโรเตอร์เกลียวสกรู คู่กนั โดยที่สกรู ท้ งั สองเพลำที่ขบกัน จะเรี ยกว่ำ เพลำ
ตัวผูแ้ ละเพลำตัวเมีย ทั้งสองตัวเป็ นสกรู ที่มีทิศทำงกำรหมุนเข้ำหำกัน จึงทำให้อำกำศจำกภำยนอก
ถูกดูดและอัดส่ งไปรอบๆเสื้ อปั๊ มและส่ งผ่ำนไปทำงออกเข้ำสู่ ชุดแยกน้ ำมันออกจำกอำกำศ จำกนั้น
จะไปสู่ ถงั เก็บลม โดยที่ควำมเร็ วรอบของเพลำตัวผูแ้ ละเพลำตัวเมียเกือบเท่ำกัน โดยที่เพลำตัวผูจ้ ะ
หมุนเร็ วกว่ำเพลำตัวเมียเพียงเล็กน้อย ปั๊ มลมประเภทนี้ กำรไหลของแรงลมจะไหลรำบเรี ยบกว่ำ
แบบลูกสูบ

รู ปที่ 2.2.3 ปั๊มลมประเภทสกรู [5]


( แหล่งที่มำ : https://www.thaiprint.org/2019/04/vol120/knowledge120-02/ )
7

2.2.4 ) ปั๊ มลมประเภทใบพัดเลื่อน ( Sliding Vane Rotary Air Compressor ) ปั๊ มลมชนิ ดนี้มี
ข้อดีตรงที่เสี ยงขณะทำงำนนั้นจะไม่ดงั กำรทำงำนของกำรหมุนจะเรี ยบมีควำมสม่ำเสมอ กำรอัด
อำกำศมีควำมคงที่ ไม่มีลิ้นหรื อวำล์วในกำรเปิ ดปิ ดในพื้นที่ ที่จำกัด จึงทำให้ไวต่อกำรควำมร้ อน
หำกต้องกำรประสิ ทธิ ภำพที่ดีจะต้องผลิ ตด้วยควำมประณี ต สำมำรถถกระจ่ ำยลมได้ 4 ถึง 100
ลูกบำศก์เมตรต่อนำที ( m3/min ) ส่วนควำมดันทำได้ที่ 4 ถึง 10 บำร์ ( Bar )
หลักกำรทำงำนของปั๊มลมประเภทใบพัดเลื่อน
ตัวเครื่ องจะมีใบพัดติดอยูก่ บั ชุดขับเคลื่อนกำรหมุนหรื อเรี ยกว่ำ โรเตอร์ และวำงให้เยื้องศูนย์ภำยใน
ของเรื อนสู บ เมื่อมีกำรหมุนของโรเตอร์ ใบพัดก็จะอัดอำกำศจำกพื้นที่กว้ำงไปสู่ พ้ืนที่แคบกว่ำ ทำ
กำรดูดอำกำศเข้ำ ด้วยกำรหมุนที่คงที่และอัดอำกำศออกทำงช่องลมออก

รู ปที่ 2.2.4 ปั๊มลมประเภทใบพัดเลื่อน [6]


( แหล่งที่มำ : https://www.thaiprint.org/2019/04/vol120/knowledge120-02/ )
8

2.2.5 ) ปั๊ มลมประเภทใบพัดหมุน ( Roots Air Compressor ) ปั๊ มลมชนิ ดนี้ จะมีใบพัดหมุน
2 ตัว คือเมื่อโรเตอร์ ท้ งั 2 ตัว ทำกำรหมุนก็จะทำให้อำกำศจำกภำยนอกถูกดูดจำกฝำกหนึ่ งไปยังอีก
ฝำกหนึ่ง โดยไม่มีกำรเปลี่ยนแปลงปริ มำตร ทำให้อำกำศไม่ถูกบีบหรื ออัดตัว แต่อำกำศจะถูกอัดตัว
ก็ต่อเมื่ออำกำศได้ถูกส่ งเข้ำไปยังถังเก็บลม ปั๊ มลมชนิ ดนี้ ตน้ ทุนในกำรผลิตจะมีรำคำที่สูง ไม่มีลิ้น
ไม่ตอ้ งกำรหล่อลื่นขณะทำงำน แต่จำเป็ นที่จะต้องมีระบบกำรระบำยควำมร้อนและอุณหภูมิที่ดี
หลักกำรทำงำนของปั๊มลมประเภทใบพัดหมุน
ใบพัดหมุนทั้ง 2 ตัวจะทำกำรหมุนที่ทำงตรงข้ำมกัน เมื่อโรเตอร์ท้ งั 2 ตัวทำกำรหมุนจะทำให้อำกำศ
จำกภำยนอกถูกดูดเข้ำไปในทำงลมเข้ำ และลมจะไหลผ่ำนไปยังช่องทำงลมออก โดยที่ไม่ทำให้
อำกำศถูกกำรบีบหรื ออัดตัว

รู ปที่ 2.2.5 ปั๊มลมประเภทใบพัดหมุน [7]


( แหล่งที่มำ : https://www.thaiprint.org/2019/04/vol120/knowledge120-02/ )
9

2.2.6 ) ปั๊ ม ลมประเภทกัง หัน ( Redial and Axial Flow Air Compressor ) ปั๊ ม ลมประเภท
กังหัน เป็ นปั๊ มลมที่มีกำรจ่ำยอัตรำลมที่สูงมำก เนื่ องจำกลักษณะจะเป็ นใบพัดกังหันดูดลมเข้ำจำก
อีกด้ำนหนึ่งไปยังอีกด้ำนหนึ่งโดยลมจะไหลไปตำมแกนเพลำด้วยกำรหมุนที่มีควำมเร็วสู ง ลักษณะ
กำรออกแบบของใบพัดจึงเป็ นสิ่ งที่ สำคัญมำก ในเรื่ องอัตรำกำรผลิ ตและจ่ำยลม สำมำรถทำกำร
กระจำยแรงลมได้ต้ งั แต่ 170 ถึง 2,000 ลูกบำศก์เมตรต่อนำที ( m3/min )
หลักกำรทำงำนของปั๊มลมประเภทกังหัน
เครื่ องอัดลมแบบกัง หันนี้ จะใช้หลัก กำรของกัง หันใบพัดโดยโรเตอร์ จะหมุ นด้วยควำมเร็ วสู ง
อำกำศจะถูกดูดเข้ำไปในทำงช่องลมเข้ำ อำกำศจะถูกอัดและถูกส่ งต่อไปยังอีกฝำกหนึ่งในช่องทำง
ลมออก โดยลมจะไหลผ่ำนไปยังใบพัดและแกนเพลำ

รู ปที่ 2.2.6 ปั๊มลมประเภทใบพัดหมุน [8]


( แหล่งที่มำ : https://www.thaiprint.org/2019/04/vol120/knowledge120-02/ )
10

วิธีกำรเลือกซื้อปั๊มลม
จะต้องเลือกดูปั๊มลมตำมควำมเหมำะสมของงำนที่ตอ้ งกำรใช้ ต้องกำรปั๊ มลมที่มีแรงดันมำกน้อย
ขนำดไหน ปริ มำณลมที่ตอ้ งกำรมำกขนำดไหน ควำมต่อเนื่องของงำนที่จะใช้ และปริ มำณของกำร
จ่ ำยลม ลมที่ ตอ้ งกำรใช้ต้องมี ค วำมสะอำดระดับไหน เช่ น กำรทำงำนของช่ ำงไม้ ใช้ปั๊มลูกสู บ
อำจจะต้องกำรแรงลมมำกพอสมควร ซึ่ งจะแตกต่ำงในเรื่ องของกำรต่อเนื่ องในกำรทำงำนทำให้
ขนำดของถังลมมีขนำดที่ใหญ่จะสำมำรถทำงำนได้อย่ำงต่อเนื่ อง เครื่ องปั๊ มลมก็จะไม่ตอ้ งทำงำน
หนักหรื อปั๊ มลมไม่ตอ้ งทำงำนบ่อยๆ ส่ วนสถำนที่ในกำรใช้งำนก็มีส่วนสำคัญ เช่น หำกอยู่ใกล้กบั
แหล่งชุมชน บ้ำนพักอำศัย อำจจะก่อให้เกิดควำมรำคำญได้ หำกต้องกำรเลือกระหว่ำงปั๊ มลมแบบ
สำยพำนกับแบบโรตำรี่ ( Rotary ) ปั๊ มลมสำยพำนจะมีเสี ยงขณะทำงำนที่เบำกว่ำปั๊ มลมแบบโรตำรี่
( Rotary ) หำกต้องกำรลมที่มีควำมสะอำดควรใช้ปั๊มลมแบบไดอะเฟรม เพรำะลมจะไม่ได้สัมผัส
กับโลหะ แต่จะให้แรงลมที่น้อย จะเหมำะกับกำรใช้ในงำนอุตสำหกรรมทำงเคมี อำจมีอำกำรลม
ขำดช่วงบ้ำง ส่ วนปั๊ มลมแบบสกรู เรำจะพบเห็นได้ตำมโรงงำนเป็ นส่ วนใหญ่ ซึ่ งจะให้แรงลมอย่ำง
ต่อเนื่องและมีควำมดันตำมขนำดของตู้ เป็ นต้น
วิธีกำรดูแลรักษำปั๊มลม
กำรดูแลรักษำปั๊มลม ไม่วำ่ จะเป็ นปั๊มลมขนำดเล็กหรื อใหญ่ เรำก็ตอ้ งทำกำรบำรุ งดูแลรักษำให้ถูกวิธี
เพื่อที่จะทำให้ปั๊มลมและอุปกรณ์มีอำยุกำรใช้งำนที่ยำวนำนขึ้น มีดงั นี้
- ทำกำรตรวจสอบสำยพำน
สำยพำนต้องมีควำมยืดหยุ่นประมำณ ½ นิ้ว และควรสังเกตว่ำเกิดกำรแตกร้ำวหรื อไม่ ถ้ำตรวจสอบ
แล้วพบว่ำสำยพำนมีกำรแตกร้ำว ควรทำกำรเปลี่ยนใหม่ทนั ที
- ทำกำรตรวจสอบระดับน้ ำมันเครื่ อง
สังเกตจำกช่องดูระดับน้ ำมันเครื่ องบริ เวณด้ำนล่ำงของลูกสู บ น้ ำมันเครื่ องควรอยูใ่ นระดับกลำงช่อง
และน้ ำเครื่ องจะต้องไม่มีมำกเกินไปหรื อว่ำน้อยเกินไป ควรทำกำรเปลี่ ยนถ่ำยน้ ำมันเครื่ องใหม่
ทุกๆ 6 เดือน หรื อ ทุก 1,000 ชัว่ โมง
- ทำกำรตรวจสอบอุปกรณ์กรองอำกำศ
ควรทำกำรตรวจสอบอุปกรณ์กรองอำกำศ ทุกๆ 2 เดือน หรื อเปลี่ยนทุกๆ 6 เดือน หำกตรวจสอบ
แล้วพบว่ำมีสิ่งสกปรกก็สำมำรถนำออกมำเป่ ำทำควำมสะอำดได้ทนั ที
- ทำกำรตรวจสอบมอเตอร์และจุดต่อสำยไฟ
ควรตรวจสอบอย่ำให้มอเตอร์ โดนน้ ำและควำมชื้น ส่ วนจุดต่อสำยไฟต่ำงๆต้องตรวจสอบว่ำยึดแน่น
หรื อไม่ เพื่อป้องกันกำรเกิดอำกำร Spark ในขณะที่มอเตอร์กำลังทำงำน
11

- ทำกำรตรวจสอบถังเก็บลม
ถังเก็บลม ควรที่จะทำกำรถ่ำยน้ ำที่ขงั อยู่ภำยในถังออกทุกวัน เพื่อป้ องกันไม่ให้มีละอองน้ ำออกมำ
ในขณะที่เรำกำลังใช้งำนและเพื่อป้ องกันสนิ มที่จะเกิดขึ้นภำยในถังเก็บลม จึงควรวำงปั๊ มลมให้ห่ำง
จำกกำแพงประมำณ 30 เซนติเมตร เพื่อที่ขณะปั๊มลมทำงำนจะได้มีกำรระบำยควำมร้อนได้ดี

2.3 คอมเพรสเซอร์ ของระบบทาความเย็น


คอมเพรสเซอร์ ( Compressor ) ในระบบแอร์หรื อตูเ้ ย็น หมำยถึง เครื่ องอัดน้ ำยำหรื อตัวปั๊ม
น้ ำยำแอร์ ซึ่งเป็ นอุปกรณ์หลักที่สำคัญของระบบเครื่ องทำควำมเย็นซึ่งทำหน้ำที่ ทั้ง ดูดและอัดน้ ำยำ
แอร์ ใ นสถำนะแก๊ส ในทำงวิศวกรรมสถำนแห่ งประเทศไทยได้ให้ควำมหมำยของค ำศัพท์ทำง
วิชำกำรของคอมเพรสเซอร์ไว้วำ่ “เครื่ องอัดที่เป็ นอุปกรณ์เพิ่มควำมดันของสำรทำควำมเย็นที่อยูใ่ น
สภำวะที่เป็ นไอ”โดยหลักกำรของคอมเพรสเซอร์ คือ จะดูดน้ ำยำแอร์ในสถำนะที่เป็ นแก๊สควำมดัน
ต่ำและอุณหภูมิต่ำจำกอีวำพอเรเตอร์ ( Evaporator,แผงคอยล์เย็น ) จะไหลผ่ำนเข้ำมำทำงด้ำนท่อดูด
( Suction ) เข้ำไปยังทำงดูดของคอมเพรสเซอร์ ( Compressor ) แล้วอัดแก๊สให้มีควำมดันสู งขึ้นและ
อุณหภูมิสูงขึ้นด้วย แล้วจะส่ งเข้ำไปยังคอนเดนเซอร์ ( Condenser,แผงคอยล์ร้อน ) โดยจะผ่ำนไป
ทำงท่อด้ำนส่ง ( Discharge ) เพื่อไปกลัน่ ตัวเป็ นของเหลวในคอนเดนเซอร์ดว้ ยกำรระบำยควำมร้อน
ออกจำกสำรทำควำมเย็น เพื่อช่วยให้ควบแน่ นสำรทำควำมเย็นที่มีสถำนะเป็ นไอให้กลับมำเป็ น
ของเหลวอีกครั้ง
ซึ่ ง จะเห็ นได้ว่ำ ในวงจรเครื่ องท ำควำมเย็นนั้น คอมเพรสเซอร์ ( Compressor ) จะเป็ น
อุปกรณ์ที่แบ่งควำมดันในระบบระหว่ำงด้ำนควำมดันสู งและควำมดันต่ำ น้ ำยำแอร์ ที่ถูกดูดเข้ำมำ
ภำยในคอมเพรสเซอร์จะมีสถำนะเป็ นแก๊สควำมดันต่ำ และน้ ำยำที่อดั ส่ งเข้ำจำกคอมเพรสเซอร์ จะมี
สถำนะเป็ นแก๊สที่มีควำมดันสู ง หลังกำรล้ำงแอร์ ทุกครั้ง ช่ำงซ่ อมควรตรวจดูน้ ำยำแอร์ ว่ำบกพร่ อง
หรื อไม่ บำงคนคิดว่ำน้ ำยำแอร์ มีสภำพเป็ นน้ ำหรื อของเหลว แต่จริ งๆแล้วมันเป็ นสำรเคมีที่กลำย
สภำพได้ตำมกำลังอัดและสำมำรถมีกำรรั่วซึ มได้เสมอ ทั้งตำมวำล์วศร ( จุกเติมน้ ำยำ ) หรื อ ข้อต่อ
ต่ำงๆของบำนแฟร์ได้
12

1 2

รู ปที่ 2.3 ระบบทำควำมเย็น [9]


( แหล่งที่มำ : https://www.harn.co.th/th/solutions/refrigeration/ )

ตำรำงที่ 2.3 รำยชื่ออุปกรณ์ระบบทำควำมเย็น


รำยชื่ออุปกรณ์
1. คอมเพรสเซอร์ ( Compressor )
2. คอยล์ร้อน ( Condenser )
3. กรองสิ่ งสกปรก ( Filter Drier )
4. วำล์วลดควำมดัน ( Expansion Valve )
5. คอยล์เย็น ( Evaporator )
13

2.3.1 อุปกรณ์ทำควำมเย็น ( Condensing Unit )


2.3.1.1 ) คอยล์เย็น ( Evaporator ) เป็ นชิ้นส่ วนที่สำคัญที่ทำหน้ำที่แลกเปลี่ยนควำม
ร้อนจำกบริ เวณที่ตอ้ งกำรทำควำมเย็น ซึ่ งจะทำหน้ำที่ควบคู่ไปกับสำรทำควำมเย็นหรื อน้ ำยำแอร์
โดยทำให้สำรทำควำมเย็นเดือดจนมีสถำนะกลำยเป็ นไอและยังสำมำรถดูดซับควำมร้อนจำกบริ เวณ
พื้นผิวของคอยล์เย็นได้ คอยล์เย็นโดยส่วนใหญ่แล้วจะมีพดั ลมที่ทำหน้ำดูดลมเพื่อช่วยในกำรระบำย
ควำมเย็นของคอยล์เย็นและอำกำศที่ไหลผ่ำนคอยล์เย็นนี้ จะถูกดูดเอำควำมร้อนออกเพื่อเปลี่ยนเป็ น
ควำมเย็น

รู ปที่ 2.3.1.1 แผงคอยล์เย็น [10]


( แหล่งที่มำ : https://www.udorncooling.com )
14

2.3.1.2 ) เครื่ องอัดไอ ( Compressor ) เมื่อสำรทำควำมเย็นในสถำนะที่เป็ นไอไหลออกมำจำกคอยล์


เย็น จะมีควำมดันที่ต่ำและสถำนะเป็ นไอของสำรทำควำมเย็นจำกอุณหภูมิที่สูงมำกเพรำะสถำนะ
เป็ นไอของสำรทำควำมเย็นดูดซับควำมร้อนจำกอำกำศโดยรอบที่ไหลผ่ำนและจะไหลต่อไปยัง
เครื่ องอัดไอได้ดี หน้ำที่ของเครื่ องอัดไอคือกำรดูดเอำสำรทำควำมเย็นในรู ปแบบที่เป็ นไอมำอัดให้มี
ควำมดันที่สูงขึ้นก่อนที่จะส่ งไปควบแน่นต่อที่คอนเดนเซอร์

รู ปที่ 2.3.1.2 คอมเพรสเซอร์ตเู้ ย็น [11]


( แหล่งที่มำ : https://www.asairinter.com/product/313 )
15

2.3.1.3 ) คอยล์ร้อน ( Condenser ) สำรทำควำมเย็นเมื่อออกมำจำกเครื่ องอัดไอแล้วจะมีอุณหภูมิที่


สู งและควำมดันสู ง ซึ่ งหน้ำที่ของคอยล์ร้อน จะเป็ นตัวระบำยควำมร้อนออกจำกสำรทำควำมเย็น
เพื่อช่วยควบแน่นสำรทำควำมเย็นที่มีสถำนะเป็ นไอให้กลับมำเป็ นของเหลวอีกครั้ง

รู ปที่ 2.3.1.3 แผงคอยล์ร้อน [12]


( แหล่งที่มำ : http://www.huahengleegroup.com )

2.3.1.4 ) วำล์วลดควำมดัน ( Expansion Valve ) วำล์วลดควำมดัน คือ ส่ วนสุ ดท้ำยของกำรทำควำม


เย็นมีหน้ำที่เพื่อช่วยให้ควำมดันและอุณหภูมิของสำรทำควำมเย็นลดลง สำรทำควำมเย็นที่ส่งมำจำก
คอนเดนเซอร์จะไหลผ่ำนวำล์วลดควำมดัน ซึ่งจะปรับลดควำมดันของสำรทำควำมเย็นให้ต่ำลง จะ
ส่ งผลให้สำรทำควำมเย็นพร้อมที่จะระเหยตัวที่อุณหภูมิต่ำ ก่อนส่ งต่อไปยังคอยล์เย็น

รู ปที่ 2.3.1.4 วำล์วลดควำมดัน [13]


( แหล่งที่มำ : https://airconpartsservice.com/ )
16

2.3.1.5 ) กรองสิ่ งสกปรก ( Filter Drier ) กรองสิ่ งสกปรก ทำหน้ำที่ กรองฝุ่ นผง กรองสิ่ งสกปรก
ต่ำงๆที่ผ่ำนเข้ำมำ และ ดูดซับควำมชื้ นที่มกั จะเกิดหรื อตกค้ำงอยู่ภำยในระบบในช่ วงที่น้ ำยำแอร์
กำลังจะเปลี่ยนสถำนะ เพื่อกรองสิ่ งสกปรกก่อนที่จะผ่ำนไปยังวำล์วลดควำมดันและถ้ำหำกเครื่ อง
ทำงำนผิดปกติหรื อมีกรดเกิดขึ้นอุปกรณ์น้ ียงั สำมำรถดูดซับกรดเอำไว้ดว้ ย โดยภำยในไส้กรองจะมี
สำรต่ำงๆ เช่น ซิลิกำเจล , แคลเซียม , ซัลเฟตและอลูมินำเจล

รู ปที่ 2.3.1.5 กรองสิ่ งสกปรก [14]


( แหล่งที่มำ : http://www.flowtechworld.com/article/article-4973/ )

2.3.1.6 ) สำรทำควำมควำมเย็น ( Refrigerant ) เป็ นสำรที่สำมำรถเปลี่ยนสถำนะไปมำจำกของเหลว


ไปเป็ นไอและจำกไอกลับ กลำยเป็ นของเหลวได้ง่ ำ ย เมื่ อ สำรท ำควำมเย็น เปลี่ ย นสถำนะจำก
ของเหลวไปเป็ นไอก็จะดูดควำมร้อนจำกบริ เวณใกล้เคียงเข้ำมำที่คอยล์เย็นและจะคำยควำมร้ อน
ออกเมื่อเปลี่ยนสถำนะจำกของเหลวอีกครั้งที่คอนเดนเซอร์
คุณสมบัติของสำรทำควำมเย็นจะต้องมีเสถียรภำพที่ดีและใช้งำนได้นำน โดยประสิ ทธิภำพ
ของสำรทำควำมเย็นนั้นจะต้องไม่ลดลง มีรำคำถูก นำพำควำมร้อนได้ดี ไม่ติดไฟ ไม่ระเบิด ไม่ทำ
ปฏิกิริยำกับน้ ำมันหล่อลื่น ไม่ทำปฏิกิริยำกับน้ ำ มีปริ มำตรของแก๊สต่อหน่ วยน้ ำหนักน้อยและใช้
แรงอัดให้เป็ นของเหลวต่ำ
17

รู ปที่ 2.3.1.6 สำรทำควำมเย็น [15]


( แหล่งที่มำ : http://www.refrigerant-trading.com/ )

2.4 ชนิดของคอมเพรสเซอร์ ระบบทาความเย็น [16]


คอมเพรสเซอร์ น้ นั จะสำมำรถแบ่งวิธีกำรอัดแก๊สหรื อน้ ำยำ โดยทัว่ ไปแล้วเครื่ องอัดอำกำศ
ภำยในบ้ำนหรื อที่พกั อำศัยมักจะนิ ยมใช้คอมเพรสเซอร์ 3 รู ปแบบนี้ ได้แก่ แบบโรตำรี่ แบบลูกสู บ
และแบบสโกรล เนื่องจำกเป็ นที่นิยม รำคำไม่แพง และระบบที่ไม่ซบั ซ้อนจนเกินไป
2.4.1 ) คอมเพรสเซอร์แบบโรตำรี่ ( Rotary Compressor ) คอมเพรสเซอร์แบบโรตำรี่ จะทำ
กำรดูดอัดน้ ำยำในสถำนะแก๊ส โดยอำศัยกำรกวำดตัวตำมแกนของโรเตอร์ เนื่องจำกคอมเพรสเซอร์
แบบโรตำรี่ น้ นั มีขีดจำกัดในกำรทำงำน คือจะสำมำรถทำงำนได้อย่ำงมีประสิ ทธิภำพสู งและกินไฟที่
น้อย จะต้องใช้กับ เครื่ องปรั บ อำกำศที่ ข นำดควำมเย็นนั้นไม่เกิ น 1-3 ตัน แต่ถ ้ำขนำดควำมเย็น
มำกกว่ำนี้ คอมเพรสเซอร์แบบนี้จะทำงำนได้ไม่เต็มประสิ ทธิภำพ

รู ปที่ 2.4.1 คอมเพรสเซอร์แบบโรตำรี่ [17]


( แหล่งที่มำ : https://www.nt-air.com/ )
18

2.4.2 ) คอมเพรสเซอร์ แ บบลู ก สู บ ( Reciprocating Compressor ) คอมเพรสเซอร์ แ บบ


ลูกสู บนี้ จะมีกำรทำงำนคล้ำยกับลูกสู บภำยในรถยนต์เป็ นระบบอัดแบบชักขึ้นชักลง โดยที่แต่ละ
กระบอกสู บนั้นจะประกอบไปด้วยชุ ดของลิ้นทำงด้ำนดู ดและด้ำนอัดซึ่ งจะอยู่ติดกับวำล์วเพลต
( Valve Plate ) ในขณะที่ลูกสู บตัวที่หนึ่งเคลื่อนที่ลงในจังหวะดูด ลูกสู บตัวที่สองก็จะเคลื่อนที่ไป
ในจังหวะอัดเช่นกัน

รู ปที่ 2.4.2 คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ [18]


( แหล่งที่มำ : https://www.nt-air.com/ )

2.4.3 ) คอมเพรสเซอร์ แบบสโกรล ( Scroll Compressor ) เป็ นคอมเพรสเซอร์ ที่ได้รับกำร


คิดค้นขึ้นมำใหม่โดยกำรนำเอำข้อดีของคอมเพรสเซอร์แบบลูกสู บและแบบโรตำรี่ มำรวมกัน จึงทำ
ให้คอมเพรสเซอร์ ชนิ ดนี้ มีประสิ ทธิ ภำพดีข้ ึนกว่ำทั้ง 2 แบบแรก ส่ วนกำรใช้งำนคอมเพรสเซอร์
แบบสโกรลนั้ น จะอำศั ย ควำมเร็ ว ในกำรหมุ น ใบพั ด เพื่ อ ท ำให้ เ กิ ด แรงดั น ภำยในเรื อน
คอมเพรสเซอร์ ควำมเร็ วที่ปลำยใบพัดอำจสู งถึง 850 ฟุต/วินำที และมีควำมเร็ วรอบต่ำสุ ด ที่ จะ
สำมำรถทำงำนได้ 3450 รอบ/นำที โดยหลักกำรแล้วกำรทำงำนจะใช้ใบพัด 2 ชุด ( เคลื่อนที่และอยู่
กับที่ ) ขับเคลื่อนโดยกำรให้เพลำลูกเบี้ยวรู ปหน้ำตัดเป็ นวงกลม บนลูกเบี้ยวนั้นจะเจำะเป็ นช่องๆ
เพื่อให้สำมำรถใส่ ใบพัดได้ ลูกเบี้ยวและใบพัดจะติดตั้งอยูใ่ นเรื อนคอมเพรสเซอร์ ผิวด้ำนในจะเป็ น
วงกลม ตำแหน่งของจุดศูนย์กลำงลูกเบี้ยวและเรื อนคอมเพรสเซอร์ จะอยู่เยื้องศูนย์กนั โดยระยะที่
แคบที่ สุ ดจะเป็ นระยะผิ วนอกของลู ก เบี้ ย วจะสั ม ผัส ผิ ว ภำยในคอมเพรสเซอร์ พ อดี จึ งท ำให้มี
ประสิ ทธิภำพในกำรดูดและอัดส่งสำรทำควำมเย็นได้ดีและกำรทำงำนมีเสี ยงที่เบำกว่ำลูกสูบ
19

รู ปที่ 2.4.3 คอมเพรสเซอร์แบบสโกรล [19]


( แหล่งที่มำ : https://www.nt-air.com/ )

2.5 ถังเก็บลมอัด [20]


ถังเก็บลมอัด ( Compressed Air Receiver Tank ) เป็ นอุปกรณ์ที่ช่วยทำให้กำรจ่ำยลมอัดนั้น
คงที่อย่ำงสม่ำเสมอและเพียงพอต่อกำรจ่ำยลมอัดให้กบั กำรใช้งำนหรื อจ่ำยให้กบั อุปกรณ์ต่ำงๆได้
อย่ำงมีประสิ ทธิภำพ
นอกจำกจะเป็ นกำรสำรองปริ มำณลมอัดไว้ใช้งำนแล้ว ยังมีประโยชน์สำหรับกำรทำให้
ควำมดันในระบบเท่ำ กันเพื่ อลดแรงกระแทกที่ สำมำรถเกิ ดขึ้ นได้จำกกำรอัดของลู กสู บ และยัง
สำมำรถรักษำรักษำแรงดันในระบบให้อย่ำงสม่ำเสมอ เรำสำมำรถสรุ ปประโยชน์ของถังเก็บลมอัด
ได้ ดังต่อไปนี้
2.5.1 ช่วยลดปริ มำณควำมชื้ นที่ อยู่ภำยในถังเก็บลม และยังช่วยกำจัดฝุ่ นละออง , น้ ำมัน
เช่น น้ ำมันที่ใช้ในกำรหล่อลื่นคอมเพรสเซอร์ที่มีโอกำสติดออกมำตำมลมอัดและจะยังมีโอกำสตก
ลงสู่กน้ ถังรวมถึงพวกฝุ่ นละอองต่ำงๆจะได้มีโอกำสระบำยออกจำกลมอัด
2.5.2 สำมำรถช่วยลดแรงกระแทกและทำให้กำรไหลของอำกำศไปตำมท่อจ่ำยลมหลัก
อย่ำงสม่ำเสมอซึ่งจำเป็ นอย่ำงยิง่ โดนเฉพำะสำหรับกำรใช้เครื่ องอัดลมชนิดลูกสู บอัดอำกำศ
2.5.3 เพื่อช่วยลดต้นทุน เนื่องจำกเครื่ องอัดลมไม่ได้ตอ้ งกำรเดินเครื่ องอยูต่ ลอดเวลำ ทำให้
สำมำรถประหยัดค่ำไฟฟ้ำได้ดว้ ย
20

เนื่องจำกเป็ นถังควำมดันจึงจำเป็ นที่จะต้องถูกสร้ำงขึ้นให้ถูกต้องและได้มำตรฐำน เช่น กำร


ใช้แผ่นโลหะที่ มี ค วำมหนำอย่ำ งเพีย งพอและกำรเชื่ อมตัวถังที่ต้องกระท ำอย่ำงถูก ต้อง เพื่ อให้
สำมำรถทนต่อควำมกดดันของอำกำศที่อยูภ่ ำยในถังและสำมำรถใช้งำนได้จริ ง
กำรใช้งำนถังเก็บลมอัดที่มีขนำดใหญ่ จะมีพ้ืนผิวของถังพักอำกำศที่มำกจึงทำให้เกิดกำรส่ ง
ควำมร้อนของแรงดันอำกำศไปยังบรรยำกำศภำยนอกของถังอย่ำงรวดเร็ ว และเมื่ออำกำศมีแรงดัน
อุณหภูมิจะลดลงไอน้ ำจะสำมำรถติดตำมมำด้วยกับลมบำงส่ วนจะถูกกลัน่ ตัวออกเป็ นหยดน้ ำ อยู่
ภำยในถังลมอัดนี้ ดังนั้นต้องเปิ ดวำล์วระบำยทุกครั้งหลังกำรใช้งำนเสร็ จ
นอกจำกนี้ กำรติดตั้งเก็บลมแล้ว อุปกรณ์ที่ควรมีก็คือ อุปกรณ์ Safety Valve เพื่อทำหน้ำที่
ระบำยควำมดันที่เกินออกสู่บรรยำกำศ
ดังนั้น วำล์วระบำยที่กลัน่ ตัวและเกจวัดควำมดันจำเป็ นที่จะต้องติดตั้งอยู่กบั ถังเก็บลมอัดด้วย และ
ท่อทำงระหว่ำงปั๊มลมหรื อ Air Compressor มำยังถังเก็บลมอัดควรจะมีลิ้นกันกับอยูอ่ ีกด้วย

รู ปที่ 2.5 ถังเก็บลมอัด [21]


( แหล่งที่มำ : http://www.sarawootmachinery.com/product/brand/9/ )
21

2.6 การอนุรักษ์ พลังงานในระบบอากาศอัด [22]


2.6.1 กำรอนุรักษ์พลังงำนในระบบอำกำศอัด
ในกำรประเมินสมรรถนะกำรทำงำนและประสิ ทธิ ภำพของระบบอัดอำกำศจำเป็ นต้องมีรำยกำร
ตรวจวัดดังต่อไปนี้
2.6.1.1 ) กำรตรวจวัดค่ำพลังงำนไฟฟ้ำ
สำมำรถตรวจวัดได้โดยกำรใช้เครื่ องมือวัดค่ำพลังงำนไฟฟ้ ำ ( Power Meter ) ซึ่ งสำมำรถอ่ำนค่ำ
พลังงำนไฟฟ้ำที่มีหน่วยเป็ นกิโลวัตต์ ( Kw ) ได้โดยตรงหรื อคำนวณค่ำพลังงำนไฟฟ้ำจำกสมกำร
พลังไฟฟ้ำ = แรงดัน x กระแส x ค่ำตัวประกอบกำลัง ( กรณีไฟฟ้ำ 1 เฟส )
พลังไฟฟ้ำ = x แรงดัน x กระแส x ค่ำตัวประกอบกำลัง ( กรณีไฟฟ้ำ 3 เฟส )
3.6.1.2 ) กำรตรวจวัดค่ำอัตรำกำรผลิตอำกำศอัด
สำมำรถตรวจวัดได้ 2 วิธี ดังต่อไปนี้
3.6.1.2.1 ) ตรวจวัดจำกปริ มำณลมดูด ( Free Air Delivery : FAD )
ตรวจวัดได้โดยกำรใช้เครื่ องมือวัดควำมเร็ วลม ( เมตร/นำที ) และพื้นที่ช่องลมเข้ำ ( ตำรำงเมตร )
และคำนวณหำปริ มำณลมจำกสมกำร
อัตรำกำรผลิตอำกำศอัด ( ลูกบำศก์เมตร/นำที ) = ควำมเร็วลม x พื้นที่ช่องลมเข้ำ

ตัวอย่ำง
เครื่ องอัดอำกำศขนำด 75 กิโลวัตต์ มีพ้ืนที่หน้ำกำกดูดอำกำศ 0.33 m3 ตรวจวัดควำมเร็ วลม
เฉลี่ยได้ 0.67 m/s จงหำอัตรำกำรผลิตอำกำศอัด ?
จำกสูตร อัตรำกำรผลิตอำกำศอัด = ควำมเร็วลม x พื้นที่ช่องลมเข้ำ
= 0.67 x 0.33 x 60
= 13.27 m3/min
3.6.1.2.2 ) ตรวจวัดจำกกำรจับเวลำกำรอัดอำกำศเข้ำถังลม
เป็ นวิธีกำรที่ส ำมำรถตรวจวัดอัตรำกำรผลิ ตอำกำศอัดได้แม่นยำมำก แต่ตอ้ งทำกำรทดสอบใน
ช่วงเวลำที่ไม่มีกำรใช้อำกำศอัดของเครื่ องจักร โดยมีข้นั ตอนดังต่อไปนี้

• หยุดเครื่ องอัดอำกำศและปิ ดวำล์วด้ำนจ่ำยอำกำศอำกำศออกจำกถัง


• เดรนน้ ำในถังลมออกให้หมดและอ่ำนค่ำควำมดันจำกเกจวัดให้ต่ำกว่ำควำมดันใช้งำน
อย่ำงน้อย 1 บำร์ ( เช่น ใช้งำนที่ควำมดัน 7 บำร์ ให้ทำกำรเดรนลมจนเกจวัดควำมดันที่
ถังลมต่ำกว่ำ 6 บำร์ )
• ทำกำรเดินเครื่ องอัดอำกำศและจับเวลำที่ใช้ในกำรอัดอำกำศจำก 6 ถึง 7 บำร์
22

อัตรำกำรผลิตอำกำศอัด = ( ปริ มำตรถัง+ท่อก่อนถึงวำล์ว ) / เวลำที่ใช้ : หน่วย m3/min


ตัวอย่ำง
เครื่ องอัดอำกำศขนำด 37 kW ตั้งควำมดันไว้ที่ 6.0 – 7.1 Barg มีขนำดถังเก็บอำกำศอัดรวม
ท่อเท่ำกับ 3.32 m3 ทดสอบอัตรำกำรผลิตอำกำศอัดโดยกำรจับเวลำตั้งแต่ 6.0 ไปจนถึง 7.1 Barg ได้
เท่ำกับ 36.02 วินำที จงหำอัตรำกำรผลิตอำกำศอัด ?
จำกสูตร อัตรำกำรผลิตอำกำศอัด = ( ปริ มำตรถัง+ท่อก่อนถึงวำล์ว ) / เวลำที่ใช้
= ( 3.32 x 60 ) / 36.02
= 5.53 m3/min
2.6.1.3 ) กำรหำประสิ ทธิภำพของพลังงำนของเครื่ องอัดอำกำศ
ในขั้นตอนนี้ จะเป็ นกำรตรวจสอบค่ำดัชนี กำรใช้พลังงำนของเครื่ องอัดอำกำศ ซึ่ งเป็ นเครื่ องมื อ
สำหรับติดตำมกำรทำงำนให้มีประสิ ทธิภำพอยูต่ ลอดเวลำโดยกำรใช้กำรเปรี ยบเทียบกับค่ำพิกดั

ตัวอย่ำงที่ 1
เครื่ องอัดอำกำศชนิ ดสกรู ขนำด 37 kW มีขนำดถัง 300 ลิตร กำรใช้พลังงำนไฟฟ้ำในช่วง
Load 35 kW สำมำรถจับเวลำในช่วงอัดอำกำศ ( Load ) จำก 7 Barg ไปจนถึง 8 Barg ได้ 3 วินำที
เครื่ องอัดอำกำศจะมีค่ำประสิ ทธิภำพเท่ำใด ?
อัตรำกำรผลิตอำกำศ = {(ขนำดถัง + ท่อ) x (ควำมดันทดสอบสู งสุ ด - ควำมดันทดสอบต่ำสุด)
x 60 } / ( เวลำที่ใช้ x 1.013 x 1000 )
= 300 x ( 8 – 7 ) x 60 / 3 x 1.013 x 1000
= 5.08 m3/min
ค่ำประสิ ทธิภำพ = พลังไฟฟ้ำ / อัตรำกำรผลิตอำกำศ
= 35 / 5.08
= 6.89 m3/min
23

ตัวอย่ำงที่ 2
เครื่ องอัดอำกำศชนิ ดสกรู ขนำด 75 kW มีกำรใช้พลังงำนไฟฟ้ำในช่วง Load 78 kW พื้นที่
หน้ำกำกด้ำนลมเข้ำ 0.35 m2 ควำมเร็ วลมเฉลี่ย 4 จุด 0.65 m/s เครื่ องอัดอำกำศจะมีค่ำประสิ ทธิภำพ
เท่ำใด ?
อัตรำกำรผลิตอำกำศ = พื้นที่ดูดอำกำศ x ควำมเร็วลมเฉลี่ย x 60
= 0.35 x 0.6 x 60
= 12.60 m3/min
ค่ำประสิ ทธิภำพ = พลังไฟฟ้ำ / อัตรำกำรผลิตอำกำศ
= 78 / 12.60
= 6.19 kW/m3/min

2.7 การคานวณหาปริมาณอัดอากาศที่ผลิตได้ และประสิทธิภาพเครื่ องอัดอากาศ [23]


V x (Poff − Pon )
ปริ มำณอำกำศอัดที่ผลิตได้ AP (Air Produced) = ลิตรต่อวินำที
(T x 1.013)
โดย V = ปริ มำตรของถังพักลม (ลิตร)
Poff = กำรตั้งค่ำควำมดันอำกำศอัดด้ำนสู ง (บำร์)
Pon = กำรตั้งค่ำควำมดันอำกำศอัดด้ำนต่ำ (บำร์)
T = เวลำในกำรอัดอำกำศ (วินำที) โดยเป็ นค่ำเฉลี่ยจำกกำรวัด 5 ครั้ง

ตัวอย่ำง
โรงงำนเอบีซี ได้ทำกำรตรวจวัดปริ มำณอำกำศอัด ตำมแนวทำงของชุดควำมรู ้น้ ี โดยจำก
กำรตรวจวัดระบบอำกำศอัดได้ขอ้ มูลจำกกำรตรวจดังนี้
ขนำดถังเก็บอำกำศอัด 3 ลูกบำศก์เมตร ( V = 3,000 ลิตร )
ควำมดันอำกำศอัด ทดสอบคือ 6.5 บำร์ – 7.5 บำร์ ( Pon= 6.5 บำร์, Poff= 7.5 บำร์ )
เวลำเฉลี่ยในกำรอัดอำกำศ คือ 30 วินำที ได้จำกกำรเฉลี่ย 5 ครั้ง ( T = 30 วินำที )
ดังนั้นปริ มำณอำกำศอัดที่ผลิตได้ AP ( Air Produced ) = V x ( Poff - Pon ) / ( T x 1.013 )
= 3,000 x ( 7.5 – 6.5 ) / ( 30 x 1.013 )
= 98.71 ลิตรต่อวินำที
ปริ มำณอำกำศอัดที่ผลิตได้ ( 𝐴𝑃 )
ประสิ ทธิภำพเครื่ องอัดอำกำศ ( AE ) =
กำลังไฟฟ้ำ ( 𝑃𝑤 )
= 98.71 / 75
= 1.316 ลิตรต่อวินำทีต่อกิโลวัตต์
24

2.8 งานวิจัยที่เกีย่ วข้อง


2.8.1 Dionysios (2015, น. 51-63.) [24] ศึ ก ษำเรื่ องกำรเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภำพของเครื อข่ ำย
คอมเพรสเซอร์ ใ นแบบคู่ ข นำนด้ว ย Real Time Optimization ( RTO ) ของคอมเพรสเซอร์ ใ น
กระบวนกำรผลิตของอุตสำหกรรมเคมี ที่ BASF,SE ประเทศเยอรมัน โดยนำเสนอกำรบูรณำกำรณ์
ของข่ำยงำนที่เหมำะสมที่สุดของ Compressor แบบขนำน เพื่อเชื่อมต่อกับลักษณะงำนที่หลำกหลำย
ช่วยในกำรตัดสิ นใจ ได้แก่ กำรจัดตำรำงดำเนิ นงำนที่เหมำะสมและกำหนดเวลำในกำรซ่ อมบำรุ ง
มุ่งเน้นกำรตัดสิ นใจในกำร เปิ ด-ปิ ด Compressor และกำรเดินเครื่ องให้เหมำะสมตำม Load โดย
พิจำรณำจำกควำมสัมพันธ์ ของกำรใช้งำนในแต่ละวันจำกสมกำร Regression model เพื่อหำสภำวะ
ในกำรเดินเครื่ องที่เหมำะสมที่สุด จำกนั้นทำกำรเก็บข้อมูล วิเครำะห์ขอ้ มูลและตรวจสอบวิเครำะห์
หำควำมผิดปกติของระบบ พบว่ำจำกกำรทดลองในระบบ RTO มีสภำวะกำรเดินเครื่ องที่เหมำะสม
กับ Load กำรใช้งำน สำมำรถลดปริ มำณกำรใช้พลังงำนไฟฟ้ำ ได้เมื่อเทียบกับสภำวะเดินเครื่ อง
แบบเดิม
2.8.2 วีรศัก ดิ์ สมัค รกำร (2554). [25] ศึ ก ษำเรื่ องกำรปรั บปรุ ง เครื่ อ งอัด อำกำศใช้ง ำน
อัตโนมัติเพื่อลดต้นทุนในระบบ โดยกำรติดตั้งชุดควบคุมเครื่ องอัดอำกำศอัตโนมัติ ( Group Control
Panel ) เพื่อควบคุมกำรทำงำนของเครื่ องอัดอำกำศจำนวน 5 เครื่ อง ให้ทำงำนเหมำะสมกับควำม
ต้องกำรแรงดันลมที่ใช้ในกระบวนกำรผลิต ส่ งผลให้ชว่ั โมงกำรทำงำนของเครื่ องลดลงได้โดยเฉลี่ย
918.82 ชั่วโมงต่ อเครื่ อง คิดเป็ น 45% และลดกำรสู ญเสี ยในระบบ ลดกำรใช้พลังงำนไฟฟ้ ำลง
129,709.95 บำทต่อเดือน
2.8.3 Huibin (2011). [26] ศึกษำกำรลดกำรใช้พลังงำนไฟฟ้ำของระบบ Air Compressor
ด้วยกำรบูรณำกำรออกแบบชุดควบคุมแสดงผล โดยศึกษำ Air Compressor จำนวน 5 เครื่ อง ภำยใน
โรงงำนผลิ ตถ่ำ นหิ น มลฑลซำนตง ประเทศจี น ซึ่ งประกอบด้วย Air Compressor ชนิ ด Screw
จ ำนวน 2 เครื่ อ ง และ ชนิ ด Piston จ ำนวน 3 เครื่ อ ง โดยติ ด ตั้ง ระบบ Soft Start ส ำหรั บ Air
Compressor ชนิ ด Screw และติ ดตั้ง Inverter สำหรับแบบ Piston พร้ อมเซนเซอร์ สั่ง เปิ ด-ปิ ด ปั๊ ม
ระบำยควำมร้อนตำมสถำนะกำรของเครื่ อง ซึ่งระบบทั้งหมดจะถูกควบคุมด้วย PLC Controller จำก
งำนวิจยั พบว่ำโรงงำนสำมำรถลดค่ำพลังงำนไฟฟ้ำในระบบ Air Compressor ลงได้ เนื่องจำกจำนวน
ชัว่ โมงกำรทำงำนลดลง เพรำะเครื่ อง Air Compressor ทำงำนตำมโหลดควำมต้องกำรจริ งของกำร
ผลิตและในส่ วนของ Air Compressor ชนิด Screw สำมำรถเดินเครื่ องสลับกันได้พร้อมตั้งเวลำเวลำ
ในกำร เปิ ด-ปิ ด เครื่ องเพื่อให้เครื่ องได้ทำงำนที่ชวั่ โมงใกล้เคียงกันและง่ำยต่อกำรบำรุ งรักษำ
2.8.4 ชญำนิศ เฉลิมสุข (2561). [27] งำนวิจยั นี้มีเป้ำหมำยที่จะลดกำรสู ญเสี ยจำกกำรรั่วไหล
ของระบบอำกำศอัดในโรงงำนอุตสำหกรรมเพื่อลดกำรสู ญเสี ยของพลังงำนไฟฟ้ ำ ซึ่ งเครื่ องอัด
อำกำศและท่อลมมี กำรเสื่ อมสภำพตำมระยะเวลำ นอกจำกนี้ ย งั เป็ นกำรเพิ่ ม ประสิ ทธิ ภำพกำร
ทำงำนของเครื่ องอัดอำกำศกำรดำเนินกำรใช้กำรตรวจสอบด้วยพำวเวอร์มิเตอร์ และควบคุมเครื่ อง
25

อัดอำกำศ จำนวน 2 เครื่ องให้ทำงำนสอดคล้องกับปริ มำณแรงดันลมที่ใช้ในกระบวนกำรผลิตจำก


กำรปรับปรุ งกำรแก้ไขโดยกำรเปลี่ยนอุปกรณ์ที่ต่ำงๆให้เหมำะสม ที่เป็ นยูเนี่ยน ก็นำเอำท่อเฟล็กซ์
และหน้ำแปลนเข้ำมำช่วยให้กำรเดิ นของลมสะดวกและเหมำะสมมำกขึ้น หลังจำกนั้นได้ทำกำร
ตรวจสอบลมไม่พบลมที่ รั่วไหลออกมำตำมท่อและข้อต่อ ทำให้กำรทำงำนของเครื่ องอัดอำกำศ
สมบูรณ์มำกยิง่ ขึ้น ค่ำใช้จ่ำยในส่ วนของค่ำไฟฟ้ำมีกำรลดลงอย่ำงเห็นได้ชดั และสำมำรถลดปริ มำณ
กำรใช้พลังงำนไฟฟ้ำที่สูญเสี ยจำกชัว่ โมงกำรทำงำนของเครื่ องอัดอำกำศ ผลกำรดำเนินงำนหลังกำร
แก้ปัญหำที่เกิดขึ้นภำยในระบบส่ งอำกำศ พบว่ำสำมำรถลดค่ำใช้จ่ำยในด้ำนค่ำไฟฟ้ำของ โรงงำน
โดย 3 เดือนก่อนกำรเปลี่ยนอุปกรณ์จะใช้ไฟฟ้ำในกำรผลิตสิ นค้ำของโรงงำนอยูท่ ี่ 617,081.93 บำท
และหลังกำร เปลี่ยนอุปกรณ์อยูท่ ี่ 522,135.77 บำท
2.8.5 ฐิตินนั ท์ สังข์ทอง (2018). [28] หน่วยงำนยูทิลิต้ ีของโรงงำนผลิตผงซักฟอกทำหน้ำที่
จ่ำยระบบสำธำรณูปโภคให้กับฝ่ ำยผลิตประกอบไปด้วย ไฟฟ้ำ น้ ำประปำ ไอน้ ำ ก๊ำซธรรมชำติซ่ ึ ง
พบว่ำโรงงำนกรณี ศึกษำมีสัดส่ วนกำรใช้พลังงำนไฟฟ้ำในระบบอำกำศอัด ไม่สอดคล้องกับกำร
ผลิต เช่น ในวันที่ไม่มีกำรผลิตแต่มีกำรใช้พ ลังำนในระบบอัดอำกำศ นัน่ หมำยควำมว่ำหน่วยงำนที่
ดู แ ลไม่ มี ก ำรบริ ห ำรจัด กำรกำรผลิ ต อำกำศอัด ให้เ หมำะสมสอดคล้อ งกับ แผนกำรผลิ ต ท ำให้
สิ้ นเปลืองพลังงำน โดยพบว่ำกำรใช้พลังงำนในระบบอัดอำกำศเฉลี่ยหนึ่งปี ย้อนหลังปี 2016 เท่ำกับ
124,862 กิ โลวัตต์ชั่ว โมงต่ อ เดื อน มี ค่ำใช้จ่ำ ย 434,519 บำทต่อเดื อ น คิดเป็ นค่ำสั ด ส่ วนกำรใช้
พลังงำน 17% ของพลังงำนไฟฟ้ำที่ใช้ ทั้งหมดในโรงงำน ดังนั้นจึงต้องกำรลดพลังงำนลงโดยกำร
จ่ำยอำกำศอัดให้ส้อดคล้องกับแผนกำรผลิต งำนวิจยั นี้ ได้วิเครำะห์ขอ้ มูลกำรจ่ำยอำกำศอัดให้กบั
วำลว์ควบคุมระบบจัดเรี ยงสิ นค้ำด้วยหุ่นยนต์และเครื่ องจักรที่ใช้ในกำรบรรจุผลิตภัณฑ์โดยศึกษำ
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงตัวแปรอัตรำกำรไหลของอำกำศอัดที่ใช้งำนหน่ วยลิ ตรต่อวิ นำที ที่ระดับ
แรงดัน 6.5 บำร์เกจ ปริ มำณผลผลิตผงซักฟอกและจำนวนเครื่ องจักรที่ใช้ในกำรบรรจุผงซักฟอก ทำ
ให้พบว่ำได้สมกำรในกำรทำอัตรำกำรไหลของระบบอำกำศอัด ซึ่ งมีควำมสัมพันธ์ทำงสถิติที่ระดับ
ควำมเชื่ อมัน่ 95% และ R2 = 74.79% จำกนั้น นำค่ำอัตรำกำรไหลที่ได้จำกสมกำรไปวำงแผนปิ ด
เครื่ องอัดอำกำศล่วงหน้ำตำมแผนกำรผลิต พบว่ำสำมำรถประเมินผลกำรลดพลังงำนไฟฟ้ำในระบบ
อัดอำกำศลงได้ 186,125 กิโลวัตต์ชวั่ โมงต่อปี มีผลประหยัด 651,439 บำทต่อปี
26

บทที3่
รายละเอียดการปฏิบัติงาน
3.1 ชื่ อและที่ต้ังของสถานประกอบการ
บริ ษทั เอซี อาร์ แมเนจเม้นท์ จากัด 216/65 แอล.พี.เอ็น ทาวเวอร์ ชั้น 15 ถนน นางลิ้นจี่
แขวง ช่องนนทรี เขต ยานนาวา กรุ งเทพมหานคร 10120
รายละเอียดบริ ษทั : บริ การด้านการบริ หารจัดการอสังหาริ มทรัพย์
โทรศัพท์ : 02-285-4645

รู ปที่ 3.1 แผนที่ต้งั บริ ษทั เอซีอาร์ แมเนจเม้นท์ จากัด

รู ปที่ 3.2 โลโก้ตราบริ ษทั


27

3.2 ลักษณะการประกอบการ ผลิตภัณฑ์ การให้ บริการหลักขององค์กร


บริ ษทั เอซี อาร์ แมเนจเม้นท์ จากัด เป็ นบริ ษทั ที่ ก่อตั้งขึ้นเพื่อให้บริ การด้า นการบริ หาร
จัดการอสังหาริ มทรัพย์ เช่น อาคาร สานักงาน อาคารชุด และ เซอร์วิสอพาร์ทเม้นท์ ทั้งในกรุ งเทพฯ
ปริ มณฑล และ หัวหิ น ซึ่ งเป็ นบริ ษทั ภายใต้กลุ่ม บริ ษทั แอคคิ้วท์ เรี ยลตี้ จากัด เป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญด้าน
การให้บริ การ ด้านธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์อย่างครบวงจรมานานกว่า 10 ปี ซึ่งจะมีการบริ หารหลาย
หน่วยงาน ดังนี้ ระบบวิศวกรรม ระบบบัญชี การเงิน ธุ รการ การจัดซื้ อจัดจ้าง กฏหมาย และ นิ ติ
กรรม บริ หารงานอย่างมีแบบแผนตรงตามวัตถุประสงค์ของลูกค้าเพื่อให้ลูกค้าได้รับความพึงพอใจ
3.3 รู ปแบบการจัดองค์กรการและการบริหารงานขององค์ กร
บริ ษทั เอซีอาร์ แมเนจเม้นท์ จากัด

รู ปที่ 3.3 ตาแหน่งงานในบริ ษทั เอซีอาร์ แมเนจเม้นท์ จากัด


28

3.4 ตาแหน่ งและลักษณะงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย


ตาแหน่งงานที่นักศึกษาได้รับมอบหมาย ช่างประจาอาคาร (Building Technician) งานที่
ต้องรั บ ผิ ดชอบคื อการ ดู แลและบ ารุ ง รั ก ษาเครื่ องจัก รภายในอาคาร เช่ น ปั๊ ม น้ า ดี (Cold Water
Pump) ปั๊ มน้ าเพิ่มแรงดัน (Booster Pump) ปั๊ มสระว่ายน้ า (Pool Pump) เครื่ องสู บน้ าดับเพลิง (Fire
Pump) ปั๊ มรักษาแรงดันน้ าดับเพลิง (Jockey Pump) เครื่ องกาเนิ ดไฟฟ้า (Generator) ตูไ้ ฟฟ้า (Main
Distribution Board , MDB) และ บ่อบาบัดน้ าเสี ย (Waste Water Treatment) รวมไปถึงการบริ การ
เจ้าของร่ วม (ผูพ้ กั อาศัย) ภายในอาคารและคอยให้คาแนะนาต่างๆ
3.5 ชื่ อและตาแหน่ งงานของพนักงานที่ปรึกษา
ชื่อพนักงานที่ปรึ กษา : นาย ภานุวฒั น์ โยธา
ตาแหน่ง : หัวหน้าช่างประจาอาคาร
3.6 ระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน
เริ่ มปฏิบตั ิงาน : 1 มิถุนายน 2562
สิ้ นสุ ดการปฏิบตั ิงาน : 1 พฤศจิกายน 2562
3.7 ขั้นตอนและวิธีการดาเนินงาน
3.7.1 อาจารย์ที่ปรึ กษาสหกิจตรวจสอบสถานที่ปฏิบตั ิงาน

รู ปที่ 3.7.1 สถานที่ปฏิบตั ิงาน


29

3.7.2 พนักงานที่ปรึ กษาอธิบายการทางานของระบบปั๊มเพิ่มแรงดัน

รู ปที่ 3.7.2 พนักงานที่ปรึ กษาอธิบายการทางานของระบบปั๊มเพิ่มแรงดัน

3.7.3 พนักงานที่ปรึ กษาอธิบายความสาคัญของระบบปั๊มเพิ่มแรงดัน

รู ปที่ 3.7.3 พนักงานที่ปรึ กษาอธิบายความสาคัญของระบบปั๊มเพิ่มแรงดัน


30

3.8 ขั้นตอนการสร้ างและทดสอบ


3.8.1 ขั้นตอนและวิธีดาเนินการสร้างชิ้นงาน
3.8.1.1 ตรวจสอบคอมเพรสเซอร์ ตเู้ ย็นที่ไม่ได้ใช้งาน สามารถตรวจสอบตูเ้ ย็นว่าดี
หรื อไม่ดี โดยการทดสอบสตาร์ทตูเ้ ย็นว่าสามารถทางานได้ปกติหรื อไม่

รู ปที่ 3.8.1.1 ตูเ้ ย็นที่ไม่ได้ใช้งาน

3.8.1.2 ตรวจสอบสภาพของคอมเพรสเซอร์ เมื่อตรวจสอบสภาพของตูเ้ ย็นว่าใช้


งานได้ สามารถท าการตัด ท่ อ ทองแดงที่ ค อมเพรสเซอร์ เ พื่ อ น ามาทดสอบหารอยรั่ ว ภายใน
คอมเพรสเซอร์

รู ปที่ 3.8.1.2 คอมเพรสเซอร์ ตเู้ ย็น


31

3.8.1.3 ถ่ า ยน้ ามั น คอมเพรสเซอร์ ชุ ด เก่ า ออก เมื่ อ ตรวจสอบสภาพของ


คอมเพรสเซอร์ เพื่อหารอยรั่วแล้วไม่พบปั ญหา สามารถดาเนินการถ่ายน้ ามันคอมเพรสเซอร์เก่าออก
เพื่อเติมน้ ามันคอมเพรสเซอร์ชุดใหม่

รู ปที่ 3.8.1.3 ถ่ายน้ ามันคอมเพรสเซอร์ชุดเก่า

3.8.1.4 เติมน้ ามันคอมเพรสเซอร์ ชุดใหม่ เมื่อถ่ายน้ ามันคอมเพรสเซอร์ ชุดเก่าออก


หมดแล้ว ดาเนิ นการเติมน้ ามันคอมเพรสเซอร์ ชุดใหม่ เพื่อบารุ งรักษาและเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของ
คอมเพรสเซอร์

น้ ำมันชุดใหม่

รู ปที่ 3.8.1.4 เติมมันคอมเพรสเซอร์ชุดใหม่


32

3.8.1.5 เชื่ อมท่อเพื่อวัดกาลัง ด้านดูด -อัดของคอมเพรสเซอร์ ดาเนิ นการตัดท่ อ


ทองแดงและต่อชุดทดสอบกาลังด้านดูด-ด้านอัดของคอมเพรสเซอร์เพื่อตรวจสอบหาประสิ ทธิภาพ

รู ปที่ 3.8.1.5 เชื่อมท่อทองแดงและต่อชุดทดสอบ

3.8.1.6 ตรวจวัดแรงดันด้านดูดของคอมเพรสเซอร์ ดาเนินการตรวจวัดแรงดันด้าน


ดูดของคอมเพรสเซอร์ โดยการต่อสายแมนิโฟล์ดเกจเข้ากับชุดทดสอบกาลัง

แรงดันด้ำนดูด

รู ปที่ 3.8.1.6 ตรวจวัดแรงดันด้านดูด


33

3.8.1.7 ตรวจวัดแรงดันด้านอัดของคอมเพรสเซอร์ ดาเนินการตรวจวัดแรงดันด้าน


อัดของคอมเพรสเซอร์ โดยการต่อสายแมนิโฟล์ดเกจเข้ากับชุดทดสอบกาลัง

แรงดันด้ำนอัด

รู ปที่ 3.8.1.7 ตรวจวัดแรงดันด้านอัด

3.8.1.8 ตรวจสอบสภาพของถังเก็บลมอัด ดาเนินการตรวจสอบสภาพของถังเก็บ


ลมอัดโดยการปิ ดวาล์วด้านลมออกและอัดลมเข้าไปให้เต็มถังเก็บลมอัด สามารถตรวจสอบแรงดัน
ลมได้ที่เกจวัดความดัน แล้วทิ้งไว้ 10 – 20 นาที เพื่อตรวจสอบแรงดันที่เกจวัดความดันลดลงหรื อไม่

รู ปที่ 3.8.1.8 ตรวจสอบถังเก็บลมอัด


34

3.8.1.9 เชื่อมฐานยึดคอมเพรสเซอร์ ดาเนินการเชื่อมฐานชุดใหม่ยึดติดกับฐานของ


คอมเพรสเซอร์ ตูเ้ ย็น เพื่อติดตั้งที่ถงั เก็บลมอัดและทาให้สะดวกต่อการเปลี่ยนคอมเพรสเซอร์ หาก
เกิดการชารุ ด

รู ปที่ 3.8.1.9 เชื่อมฐานคอมเพรสเซอร์

3.8.1.10 ติดตั้งสายลมและคอปเปอร์ ดาเนิ นการต่อสายลมและคอปเปอร์ เพื่อให้


สามารถต่ออุปกรณ์ไปใช้งานได้สะดวกมากขึ้น

รู ปที่ 3.8.1.10 ติดตั้งสายลมและคอปเปอร์


35

3.8.1.11 ประกอบชิ้นงานพร้อมนาไปใช้งาน ดาเนิ นการประกอบชิ้นงานทั้งหมด


เข้ากับถังเก็บลมอัดและต่ออุปกรณ์เพื่อนาไปใช้งาน

รู ปที่ 3.8.1.11 ประกอบชิ้นงาน

3.8.2 ขั้นตอนและวิธีการทดสอบ
3.8.2.1 อุปกรณ์และวิธีการใช้งานปั๊มลม
3.8.2.1.1 ท่อลมด้านดูด หากจะทาการสตาร์ทคอมเพรสเซอร์ตอ้ งเปิ ดหัว
ปิ ดลมด้านดูดทุกครั้ง เพราะคอมเพรสเซอร์ ตอ้ งดูดอากาศจาก
ภายนอกแล้วอัดอากาศเข้าสู่ถงั เก็บ
3.8.2.1.2 ปลัก๊ ไฟ เมื่อต้องการสตาร์ ทคอมเพรสเซอร์ จะต้องเสี ยบปลัก๊ ไฟ
เพื่อใช้งานทุกครั้ง
3.8.2.1.3 สวิตซ์ควบคุมแรงดัน จะเป็ นอุปกรณ์เพื่อสั่งให้คอมเพรสเซอร์
ท างาน หากต้ อ งการสตาร์ ท ต้ อ ง ดึ ง สวิ ต ซ์ ข้ ึ นเพื่ อ สั่ ง ให้
คอมเพรสเซอร์ทางานและกดสวิตซ์ลงเพื่อปิ ดการทางาน
3.8.2.1.4 บอลวาล์ว เป็ นวาล์วที่ใช้สาหรับกันลมออก หากต้องการเปิ ดใช้
งานแรงดันลมให้ดนั ที่ดา้ มจับของตัวเรื อนบอลวาล์วเพื่อเปิ ดให้
แรงดันลมไหลผ่าน
3.8.2.1.5 หัวเป่ าลม เป็ นอุปกรณ์สาหรับนาแรงดันลมไปใช้งาน เช่น เป่ า
สิ่ งสกปรกของกรองเครื่ องปรับอากาศ
3.8.2.1.6 เกจวัดความดัน เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับตรวจสอบแรงดันลมใน
ถังเก็บว่าอยูใ่ นระดับไหน
36

3.สวิตซ์ควบคุมแรงดัน 5.หัวเป่ ำลม

4.บอลวำล์ว 1.ท่อลมด้ำนดูด

6.เกจวัดควำมดัน

2.ปลัก๊ ไฟ

รู ปที่ 3.8.2.1 อุปกรณ์ของปั๊มลม

3.8.2.2 ขั้นตอนและวิธีการทดสอบ
ดาเนิ นการตรวจสอบสภาพของปั๊ มลม เปิ ดท่อลมด้านดูดและถ่ายน้ าในถังทิ้งทุกครั้งก่อน
การใช้งานปั๊มลมเพื่อให้ภายในถังเก็บลมนั้นว่างเปล่าและเริ่ มทาการทดสอบโดยการจับเวลา 10 ครั้ง
และจดบันทึกข้อมูลเพื่อหาค่าเฉลี่ยของเวลาที่แรงดัน 0 Barg ไปจนถึง 8 Barg และทดสอบเพื่อหา
ประสิ ทธิภาพโดยการจับเวลา 10 ครั้ง โดยเริ่ มที่แรงดันที่สูงที่สุดจาก 7 Barg ไปจนถึง 8 Barg ว่าใช้
ระยะเวลาอัดอากาศเท่าใดแล้วหาค่าเฉลี่ยที่ได้เพื่อทาการคานวณ

รู ปที่ 3.8.2.2 ทดสอบประสิ ทธิภาพเครื่ องอัดอากาศ


37

3.9 อุปกรณ์ และเครื่ องมือที่ใช้


รายละเอียดของอุปกรณ์และเครื่ องมือที่ใช้ทาโครงการ มีดงั ต่อไปนี้

อุปกรณ์
1. คอมเพรสเซอร์ตเู้ ย็น AE 1330 YK
2. ถังเก็บอากาศ JET
3. คอปเปอร์สวมเร็ว
4. สายลมสปริ ง PU
5. ปื นเป่ าลม
6. ปื นเติมลมแบบมีเกจ
7. ชุดวาล์วทดสอบแรงดัน
8. แมนิโฟล์ดเกจ ( Manifold Gauge )
9. วาล์วระบายความดัน ( Pressure Relief Valve )
10. เกจวัดความดัน ( Pressure Gauge )
11. สวิตซ์ควบคุมแรงดัน ( Pressure Switch )
Hardware
1. เครื่ องคอมพิวเตอร์ DELL
2. เครื่ องถ่ายเอกสาร Cannon
3. โทรศัพท์มือถือ I phone , Samsung
4. เครื่ องคิดเลข CASIO รุ่ น fx-991MS
โปรแกรมสาเร็จรู ป
1. โปรแกรม Microsoft Word 2016
2. โปรแกรม Microsoft Excel 2016
38

บทที่ 4
ผลการปฏิบัติงานตามโครงงาน
4.1 ผลการเก็บข้อมูล
ทาการตรวจวัดโดยการจับเวลาขณะที่ เครื่ องอัดอากาศทางาน ตั้งแต่ 0 Barg ไปจนถึง 8 Barg และ
ทดสอบระยะเวลาอัดช่วง 7 Barg ไปจนถึง 8 Barg ของถังลมขนาด 9 ลิตร เพื่อทาการทดสอบหาระยะเวลาใน
การอัดอากาศของคอมเพรสเซอร์ ตูเ้ ย็น ขนาด 1/8 HP / 79.11W และปั๊ มลม ขนาด 0.75 HP / 550W ว่าใน
ระยะ 1 Barg สามารถอัดอากาศได้เท่าใด

4.2 ตารางแสดงผลการทดสอบ
ตารางที่ 4.2.1 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 1 Barg

เวลาที่ใช้ ( วินาที )
ปั๊มลม คอมเพรสเซอร์
ทดสอบครั้งที่ 1 5.75 25.37
ทดสอบครั้งที่ 2 5.67 32.08
ทดสอบครั้งที่ 3 6.19 49.07
ทดสอบครั้งที่ 4 5.80 34.24
ทดสอบครั้งที่ 5 5.93 49.27
ทดสอบครั้งที่ 6 5.99 19.21
ทดสอบครั้งที่ 7 5.88 32.17
ทดสอบครั้งที่ 8 6.07 49.61
ทดสอบครั้งที่ 9 6.39 43.68
ทดสอบครั้งที่ 10 6.26 48.99
ค่าเฉลี่ยที่ได้ 5.99 38.37
39

ตารางที่ 4.2.2 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 2 Barg

เวลาที่ใช้ ( วินาที )
ปั๊มลม คอมเพรสเซอร์
ทดสอบครั้งที่ 1 12.59 79.91
ทดสอบครั้งที่ 2 12.77 81.76
ทดสอบครั้งที่ 3 12.38 94.15
ทดสอบครั้งที่ 4 12.46 82.76
ทดสอบครั้งที่ 5 12.19 100.49
ทดสอบครั้งที่ 6 12.21 67.88
ทดสอบครั้งที่ 7 12.78 85.34
ทดสอบครั้งที่ 8 12.20 92.99
ทดสอบครั้งที่ 9 12.78 88.71
ทดสอบครั้งที่ 10 12.53 94.75
ค่าเฉลี่ยที่ได้ 12.48 86.87

ตารางที่ 4.2.3 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 3 Barg

เวลาที่ใช้ ( วินาที )
ปั๊มลม คอมเพรสเซอร์
ทดสอบครั้งที่ 1 19.83 130.37
ทดสอบครั้งที่ 2 19.68 131.31
ทดสอบครั้งที่ 3 19.63 145.50
ทดสอบครั้งที่ 4 19.57 137.94
ทดสอบครั้งที่ 5 19.17 152.70
ทดสอบครั้งที่ 6 19.06 118.97
ทดสอบครั้งที่ 7 19.63 135.64
ทดสอบครั้งที่ 8 19.57 146.81
ทดสอบครั้งที่ 9 19.36 137.68
ทดสอบครั้งที่ 10 19.56 145.15
ค่าเฉลี่ยที่ได้ 19.50 138.20
40

ตารางที่ 4.2.4 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 4 Barg

เวลาที่ใช้ ( วินาที )
ปั๊มลม คอมเพรสเซอร์
ทดสอบครั้งที่ 1 28.07 187.24
ทดสอบครั้งที่ 2 27.63 190.89
ทดสอบครั้งที่ 3 27.66 199.07
ทดสอบครั้งที่ 4 27.84 215.52
ทดสอบครั้งที่ 5 27.11 213.50
ทดสอบครั้งที่ 6 27.35 181.91
ทดสอบครั้งที่ 7 28.10 201.16
ทดสอบครั้งที่ 8 28.12 202.88
ทดสอบครั้งที่ 9 27.33 192.23
ทดสอบครั้งที่ 10 28.17 200.47
ค่าเฉลี่ยที่ได้ 27.73 198.49

ตารางที่ 4.2.5 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 5 Barg

เวลาที่ใช้ ( วินาที )
ปั๊มลม คอมเพรสเซอร์
ทดสอบครั้งที่ 1 38.36 247.51
ทดสอบครั้งที่ 2 37.47 251.59
ทดสอบครั้งที่ 3 38.34 260.24
ทดสอบครั้งที่ 4 38.14 281.76
ทดสอบครั้งที่ 5 36.84 279.26
ทดสอบครั้งที่ 6 37.72 251.65
ทดสอบครั้งที่ 7 37.61 280.55
ทดสอบครั้งที่ 8 37.75 266.39
ทดสอบครั้งที่ 9 37.37 251.84
ทดสอบครั้งที่ 10 37.75 261.00
ค่าเฉลี่ยที่ได้ 37.73 263.18
41

ตารางที่ 4.2.6 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 6 Barg

เวลาที่ใช้ ( วินาที )
ปั๊มลม คอมเพรสเซอร์
ทดสอบครั้งที่ 1 49.23 300.18
ทดสอบครั้งที่ 2 48.78 300.25
ทดสอบครั้งที่ 3 48.53 318.58
ทดสอบครั้งที่ 4 49.07 338.72
ทดสอบครั้งที่ 5 48.89 344.44
ทดสอบครั้งที่ 6 47.80 330.11
ทดสอบครั้งที่ 7 48.37 365.45
ทดสอบครั้งที่ 8 47.96 323.95
ทดสอบครั้งที่ 9 48.18 305.14
ทดสอบครั้งที่ 10 48.06 317.45
ค่าเฉลี่ยที่ได้ 48.48 324.43

ตารางที่ 4.2.7 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 7 Barg

เวลาที่ใช้ ( วินาที )
ปั๊มลม คอมเพรสเซอร์
ทดสอบครั้งที่ 1 60.02 382.97
ทดสอบครั้งที่ 2 61.34 379.87
ทดสอบครั้งที่ 3 61.44 382.45
ทดสอบครั้งที่ 4 62.59 419.65
ทดสอบครั้งที่ 5 63.90 430.50
ทดสอบครั้งที่ 6 63.01 438.32
ทดสอบครั้งที่ 7 64.19 433.11
ทดสอบครั้งที่ 8 63.56 388.85
ทดสอบครั้งที่ 9 62.54 366.20
ทดสอบครั้งที่ 10 62.65 381.79
ค่าเฉลี่ยที่ได้ 62.52 400.37
42

ตารางที่ 4.2.8 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันที่ 0 Barg ไปจนถึง 8 Barg

เวลาที่ใช้ ( วินาที )
ปั๊มลม คอมเพรสเซอร์
ทดสอบครั้งที่ 1 81.24 462.36
ทดสอบครั้งที่ 2 82.19 476.65
ทดสอบครั้งที่ 3 82.83 434.64
ทดสอบครั้งที่ 4 83.54 483.29
ทดสอบครั้งที่ 5 83.86 494.09
ทดสอบครั้งที่ 6 83.49 508.81
ทดสอบครั้งที่ 7 83.09 494.49
ทดสอบครั้งที่ 8 84.07 451.80
ทดสอบครั้งที่ 9 83.65 428.98
ทดสอบครั้งที่ 10 82.87 444.53
ค่าเฉลี่ยที่ได้ 83.08 467.96

ตารางที่ 4.2.9 ตารางผลการทดสอบจากแรงดันสูงสุดที่ 7 Barg ไปจนถึง 8 Barg

เวลาที่ใช้ ( วินาที )
ปั๊มลม คอมเพรสเซอร์
ทดสอบครั้งที่ 1 22.60 41.02
ทดสอบครั้งที่ 2 24.05 65.04
ทดสอบครั้งที่ 3 22.72 54.89
ทดสอบครั้งที่ 4 22.70 57.02
ทดสอบครั้งที่ 5 22.75 78.41
ทดสอบครั้งที่ 6 22.29 69.04
ทดสอบครั้งที่ 7 23.25 56.51
ทดสอบครั้งที่ 8 21.78 58.11
ทดสอบครั้งที่ 9 21.82 55.22
ทดสอบครั้งที่ 10 21.95 56.57
ค่าเฉลี่ยที่ได้ 22.59 59.18
43

ตารางที่ 4.2.10 ตารางสรุ ปค่าเฉลี่ยที่ได้

เวลาที่ใช้ ( วินาที )
ปั๊มลม คอมเพรสเซอร์
0 Barg ถึง 1 Barg 5.99 38.37
0 Barg ถึง 2 Barg 12.48 86.87
0 Barg ถึง 3 Barg 19.50 138.20
0 Barg ถึง 4 Barg 27.73 198.49
0 Barg ถึง 5 Barg 37.73 263.18
0 Barg ถึง 6 Barg 48.48 324.43
0 Barg ถึง 7 Barg 62.52 400.37
0 Barg ถึง 8 Barg 83.08 467.96
7 Barg ถึง 8 Barg 22.59 59.18
44

4.3 รู ปแสดงกราฟผลการทดสอบ

9
y = -0.0008x2 + 0.1627x + 0.0627
y = -1E-05x2 + 0.0216x + 0.1257
8 83.08 467.96

7 62.52 400.37

6 48.48 324.43

5 37.73 263.18 ปั๊มลม


แรงดัน

คอมเพรสเซอร์
4 27.73 198.49 Poly. (ปั๊มลม)
Poly. (คอมเพรสเซอร์ )
3 19.5 138.2

2 12.48 86.87

1 5.99 38.37

0 0
0 100 200 300 400 500

เวลา (วินาที)

รู ปที่ 4.3.1 กราฟแสดงระยะเวลาในการอัดแรงดันลมช่วง 0 Barg ถึง 8 Barg

8.2
y = 0.0443x + 7
y = 0.0169x + 7
8 22.59 59.18

7.8

7.6
ปั๊มลม
แรงดัน

คอมเพรสเซอร์
7.4 Poly. (ปั๊มลม)
Poly. (คอมเพรสเซอร์ )

7.2

7 7

6.8
0 10 20 30 40 50 60 70

เวลา (วินาที)

รู ปที่ 4.3.2 กราฟแสดงระยะเวลาในการอัดแรงดันลมช่วง 7 Barg ถึง 8 Barg


45

4.4 ตรวจสอบค่ามาตรฐานของคอมเพรสเซอร์ตูเ้ ย็น

รู ปที่ 4.4 ตรวจสอบค่ามาตรฐานของคอมเพรสเซอร์ [29]


( แหล่งที่มา http://www.siam-air.com/siam-air1/index.php/shortcode/2014-08-15-06-52-14/คอมเพรสเซอร์
ตูเ้ ย็น-ตูแ้ ช่-az,-ae-model-r134-detail )
46

4.4.1 คานวณพลังงานไฟฟ้าของคอมเพรสเซอร์ [30]


หน่วย ทีบียู เทียบ หน่วย วัตต์ ได้คือ
เครื่ องปรับอากาศขนาด 12000 Btu/hr = 1 ton ทาความเย็น = 3.52 kW
ต้องการทราบหน่วย Btu/hr ให้เอา 0.293071 หารด้วย ( 1 kW = 1000 )
1 บีทียู เท่ากับ 0.293071 วัตต์ 1000 บีทียู เท่ากับ 293.1 วัตต์

ตัวอย่าง
( 12000 / 1000 ) x 293 = 3516 วัตต์ หรื อ 3.52 กิโลวัตต์

คอมเพรสเซอร์ รุ่ น AE 1330 YK มี Btu/hr จากค่ามาตรฐาน = 270


สามารถทาการแปลงหน่วยได้ดงั นี้
( 270 / 1000 ) x 293 = 79.11 วัตต์ หรื อ 0.07 กิโลวัตต์

4.5 คานวณหาปริ มาณอัดอากาศที่ผลิตได้และประสิ ทธิภาพเครื่ องอัดอากาศ


4.51 คานวณปริ มาณและประสิ ทธิภาพคอมเพรสเซอร์ตูเ้ ย็น
V x (Poff − Pon )
จากสูตรปริ มาณอากาศอัดที่ผลิตได้ AP (Air Produced) = ลิตรต่อวินาที
(T x 1.013)

โดย V = ปริ มาตรของถังพักลม (ลิตร)


Poff = การตั้งค่าความดันอากาศอัดด้านสู ง (บาร์ )
Pon = การตั้งค่าความดันอากาศอัดด้านต่า (บาร์)
T = เวลาในการอัดอากาศ (วินาที) โดยเป็ นค่าเฉลี่ยจากการวัด 10 ครั้ง
เวลาในการทาอากาศอัดจาก 7 Barg ไปจนถึง 8 Barg ของคอมเพรสเซอร์ ใช้เวลาที่ 59.18 วินาที
ขนาดถังเก็บอากาศอัด ( V = 9 ลิตร )
ความดันอากาศอัด ทดสอบคือ 7 บาร์ – 8 บาร์ ( Pon= 7 บาร์, Poff= 8 บาร์ )
เวลาเฉลี่ยในการอัดอากาศ คือ 59.18 วินาที ได้จากการเฉลี่ย 10 ครั้ง ( T = 59.18 วินาที )
ดังนั้น ปริ มาณอากาศอัดที่ผลิตได้ AP ( Air Produced ) = V x ( Poff - Pon ) / ( T x 1.013 )
= 9 x ( 8 – 7 ) / ( 59.18 x 1.013 )
= 0.15 ลิตรต่อวินาที
ประสิ ทธิภาพเครื่ องอัดอากาศ ( AE ) = ปริ มาณอากาศอัดที่ผลิตได้ / กาลังไฟฟ้า
= 0.15 / 0.07
= 2.14 ลิตรต่อวินาทีต่อกิโลวัตต์
47

4.5.2 คานวณปริ มาณและประสิ ทธิภาพปั๊มลม


V x (Poff − Pon )
จากสูตรปริ มาณอากาศอัดที่ผลิตได้ AP (Air Produced) = ลิตรต่อวินาที
(T x 1.013)

โดย V = ปริ มาตรของถังพักลม (ลิตร)


Poff = การตั้งค่าความดันอากาศอัดด้านสู ง (บาร์ )
Pon = การตั้งค่าความดันอากาศอัดด้านต่า (บาร์)
T = เวลาในการอัดอากาศ (วินาที) โดยเป็ นค่าเฉลี่ยจากการวัด 10 ครั้ง
เวลาในการทาอากาศอัดจาก 7 Barg ไปจนถึง 8 Barg ของปั๊ มลม ใช้เวลาที่ 22.59 วินาที
ขนาดถังเก็บอากาศอัด ( V = 9 ลิตร )
ความดันอากาศอัด ทดสอบคือ 7 บาร์ – 8 บาร์ ( Pon= 7 บาร์, Poff= 8 บาร์ )
เวลาเฉลี่ยในการอัดอากาศ คือ 22.59 วินาที ได้จากการเฉลี่ย 10 ครั้ง ( T = 22.59 วินาที )
ดังนั้น ปริ มาณอากาศอัดที่ผลิตได้ AP ( Air Produced ) = V x ( Poff - Pon ) / ( T x 1.013 )
= 9 x ( 8 – 7 ) / ( 22.59 x 1.013 )
= 0.39 ลิตรต่อวินาที
ประสิ ทธิภาพเครื่ องอัดอากาศ ( AE ) = ปริ มาณอากาศอัดที่ผลิตได้ / กาลังไฟฟ้า
= 0.39 / 0.55
= 0.70 ลิตรต่อวินาทีต่อกิโลวัตต์

4.6 คานวณค่าใช้พลังงานไฟฟ้า
4.6.1 ผลการคานวณค่าไฟฟ้าของคอมเพรสเซอร์ตูเ้ ย็น
กาลังไฟฟ้าของคอมเพรสเซอร์ AE 1330 YK = 0.07 kW
ชัว่ โมงการทางานของเครื่ องอัดอากาศ = 2 ชัว่ โมง/วัน x 30 เดือน
= 60 ชัว่ โมง/เดือน
พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ของเครื่ องอัดอากาศ = 0.07 kW x 60 ชัว่ โมง/เดือน
= 4.20 kWh/เดือน
คิดเป็ นค่าใช้จ่ายพลังงานไฟฟ้า ( เดือน ) = 4.20 kWh/เดือน x 2.34 บาท/kWh
= 9.82 บาท/เดือน
คิดเป็ นค่าใช้จ่ายพลังงานไฟฟ้า ( ปี ) = 9.82 บาท/เดือน x 12 เดือน
= 117.84 บาท/ปี
48

4.6.2 ผลการคานวณค่าไฟฟ้าของปั๊มลม
กาลังไฟฟ้าของปั๊มลม = 0.55 kW
ชัว่ โมงการทางานของเครื่ องอัดอากาศ = 2 ชัว่ โมง/วัน x 30 เดือน
= 60 ชัว่ โมง/เดือน
พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ของเครื่ องอัดอากาศ = 0.55 kW x 60 ชัว่ โมง/เดือน
= 33 kWh/เดือน
คิดเป็ นค่าใช้จ่ายพลังงานไฟฟ้า ( เดือน ) = 33 kWh/เดือน x 3.24 บาท/kWh
= 106.92 บาท/เดือน
คิดเป็ นค่าใช้จ่ายพลังงานไฟฟ้า ( ปี ) = 106.92 บาท/เดือน x 12 เดือน
= 1,283 บาท/ปี

อัตราค่าบริ การไฟฟ้าจาก การไฟฟ้านครหลวง ปี 2562 [31]


( แหล่งที่มา https://promotions.co.th/บทความ/อัตราค่าไฟฟ้าหน่วยละกี.html )

4.7 เปรี ยบเทียบราคาปั๊มลมแบบสร้างเองกับปั๊มลมสาเร็ จรู ป


ตารางที่ 4.7.1 ตารางราคาในการสร้างปั๊มลมจากคอมเพรสเซอร์
ปั๊มลมแบบสร้างเอง ประมาณราคา ( บาท )
1. คอมเพรสเซอร์ตเู้ ย็น AE 1330 YK 500
2. ถังเก็บลมอัด 9 ลิตร 500
3. อุปกรณ์ขอ้ ต่อต่างๆ 100
4. ค่าบริ การถ่ายน้ ามันคอมเพรสเซอร์ และเชื่อมยึดฐาน 400
รวมราคา 1,500
หมายเหตุ ราคาในการสร้างปั๊ มลมจากคอมเพรสเซอร์สามารถลดลงได้ หากมีอุปกรณ์เหลือใช้
ตารางที่ 4.7.2 ตารางราคาในการซื้อปั๊มลมสาเร็ จรู ป
ปั๊มลมแบบสาเร็ จรู ป ราคา ( บาท )
1. ปั๊มลม ขนาด 3/4 HP / 550W ขนาดถัง 9 ลิตร 3,000

รวมราคา 3,000
49

บทที่ 5
สรุปผลการทดลองและข้ อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการปฏิบัติงาน
ในการออกปฏิบตั ิงานสหกิจศึกษาระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2562 ถึงวันที่ 1 พฤศจิกายน
2562 ทาให้ได้ทราบถึ งหลักการการท างานของระบบปั๊ มลม , ประเภทของปั๊ มลมและหลัก การ
ท างานของปั๊ ม ลมรวมถึ ง ได้ท ราบถึ งการประยุก ต์สร้ า งชิ้ นงานจากอุ ป กรณ์ เหลื อใช้ตามอาคาร
บ้านเรื อนเพื่อให้สามารถใช้ป ระโยชน์ไ ด้ ยังทาให้ได้รู้ว่าวิธีการค านวณค่าไฟฟ้ าและการหาค่า
ประสิ ทธิภาพของปั๊มนั้นสามารถคานวณได้ดว้ ยวิธีใด

ตารางที่ 5.1 ตารางค่ามาตรฐานคอมเพรสเซอร์ตูเ้ ย็น


MODEL HP BTU/HR APPL. MOTOR LRA FLA PRICE
AZ1327Y 1/15 229 LBP R.S.I.R 6.70 0.50 N/A
AZ1320Y 1/20 194 LBP R.S.I.R 5.30 0.48 N/A
AZ1330Y 1/8 270 LBP R.S.I.R 6.46 0.55 N/A
AZ1335Y 1/8 317 LBP R.S.I.R 8.30 0.73 N/A
AZ1340Y 1/5 358 LBP R.S.I.R 6.90 0.75 N/A
AZ1350Y 1/5 409 LBP R.S.I.R 8.70 0.77 N/A
AE1320Y 1/20 194 LBP R.S.I.R 5.40 0.54 N/A
AE1330Y 1/8 270 LBP R.S.I.R 5.44 0.55 N/A
AE1340Y 1/6 375 LBP R.S.I.R 7.00 0.77 N/A
AE1350Y 1/6 461 LBP R.S.I.R 12.00 0.90 N/A
AE1360Y 1/5 539 LBP R.S.I.R 10.00 1.00 N/A
AE1370Y 1/5 635 LBP R.S.I.R 12.60 1.17 N/A
AE1390Y 1/4 860 LBP R.S.I.R 14.10 1.28 N/A
AE2370Y 1/5 631 LBP C.S.I.R 6.50 1.18 N/A
AE2390Y 1/4 809 LBP C.S.I.R 9.20 1.40 N/A
AE2410Y 1/3 921 LBP C.S.I.R 12.75 2.00 N/A
AE2413Y 3/8 1126 LBP C.S.R 12.90 1.40 N/A
AEA2415Y 1/2 1262 LBP C.S.R 11.60 1.34 N/A
AE2417Y 1/6 1706 HBP R.S.I.R 11.50 1.60 N/A
AE2425Y 1/5 2491 HBP R.S.I.R 13.60 2.20 N/A
50

AE3440Y 3/8 3634 HBP R.S.I.R 11.30 3.00 N/A


AE4425Y 1/5 2388 HBP C.S.I.R 10.70 2.15 N/A
AE4430Y 1/3 2798 HBP C.S.I.R 12.00 2.50 N/A
AE4435Y 3/8 3078 HBP C.S.I.R 14.10 2.70 N/A
AE4440Y 1/2 3668 HBP C.S.I.R 14.70 3.10 N/A
AE4448Y 1/2 4060 HBP C.S.I.R 23.90 3.45 N/A
AE4459Y-SR 1/2 4947 HBP C.S.R 15.70 3.00 N/A
AE7415Y 1/4 1259 MBP C.S.I.R 11.50 1.82 N/A
AE7423Y 1/3 1958 MBP C.S.I.R 18.50 2.28 N/A
AE7430Y 1/2 2542 MBP C.S.R 12.75 2.18 N/A
AE9437Y-SR 5/8 3139 / 5732 MBP/HBP C.S.R 16.30 2.64 / 3.50 N/A

คอมเพรสเซอร์ รุ่ น AE 1330 YK มี Btu/hr จากค่ามาตรฐาน = 270

สามารถทาการแปลงหน่วยได้ดงั นี้
( 270 / 1000 ) x 293 = 79.11 วัตต์ หรื อ 0.07 กิโลวัตต์

5.1.1 หลังจากการทดสอบแรงดันด้านดูด คอมเพรสเซอร์ยงั อยูใ่ นสภาพดี ไม่มีรอยรั่ว

แรงดันด้านดูด

รู ปที่ 5.1.1 แรงดันด้านดูด


51

5.1.2 หลังจากการทดสอบแรงดันด้านอัด คอมเพรสเซอร์สามารถอัดแรงดันได้เกิน 450 Psi

แรงดันด้านอัด

รู ปที่ 5.1.2 แรงดันด้านอัด

5.1.3 หลังจากทดสอบขณะคอมเพรสเซอร์ทางาน
เริ่ มทดสอบโดยการจับ เวลาขณะสตาร์ ท คอมเพรสเซอร์ ให้เริ่ มการทางานที่ 0 Barg ให้
ทางานไปจนถึง 8 Barg ว่าใช้ระยะเวลาในการทางานกี่วินาที และทาการทดสอบหาประสิ ทธิภาพ
ของคอมเพรสเซอร์โดยการจับเวลาที่ช่วง 7 Barg ไปจนถึง 8 Barg เพื่อทาการตรวจวัดประสิ ทธิภาพ
ในการอัดอากาศ โดยการตรวจวัดทั้งหมด 10 ครั้ งและหาค่าเฉลี่ ย หลังจากการตรวจสอบพบว่า
คอมเพรสเซอร์ทางานที่ 0 Barg ไปจนถึง 8 Barg ใช้เวลา 467.96 วินาที และ 7 Barg ไปจนถึง 8 Barg
ใช้เวลา 59.18 วินาที

รู ปที่ 5.1.3 จับเวลาขณะคอมเพรสเซอร์ทางาน


52

5.1.4 ตารางค่าเฉลี่ยเวลาที่ได้ จากการทดสอบ 10 ครั้ง


ตารางที่ 5.1.4 ผลค่าเฉลี่ยเวลาที่ได้จากการทดลอง

เวลาที่ใช้ ( วินาที )
ปั๊มลม คอมเพรสเซอร์
0 Barg ถึง 1 Barg 5.99 38.37
0 Barg ถึง 2 Barg 12.48 86.87
0 Barg ถึง 3 Barg 19.50 138.20
0 Barg ถึง 4 Barg 27.73 198.49
0 Barg ถึง 5 Barg 37.73 263.18
0 Barg ถึง 6 Barg 48.48 324.43
0 Barg ถึง 7 Barg 62.52 400.37
0 Barg ถึง 8 Barg 83.08 467.96
7 Barg ถึง 8 Barg 22.59 59.18

5.1.5 รู ปตารางเปรี ยบเทียบคอมเพรสเซอร์ ตเู ้ ย็นและปั๊มลม

รู ปที่ 5.1.5 ตารางเปรี ยบเทียบคอมเพรสเซอร์ ตเู ้ ย็นและปั๊มลม


53

5.2 สรุปการเลือกใช้ ปั๊มลมจากคอมเพรสเซอร์ ตู้เย็น


สาเหตุ ที่ ท าให้ เ ลื อ กใช้ ปั๊ ม ลมจากคอมเพรสเซอร์ ตู้ เ ย็ น เนื่ อ งจากทางผู ้จัด ท าได้มี
คอมเพรสเซอร์ ตเู ้ ย็นที่ไม่ได้ใช้งาน จึงได้นาเสนอกับทางแผนกช่างว่าจะทาการสร้างปั๊ มลมจากวัสดุ
เหลือใช้ เพราะว่ามีราคาในการสร้างที่ถูกกว่าการซื้อปั๊มลมแบบสาเร็ จรู ป ถึงแม้วา่ คอมเพรสเซอร์จะ
มี ประสิ ทธิ ภาพในการทางานที่สูงกว่าแต่การอัดอากาศจะต่ากว่าแบบสาเร็ จรู ป แต่ เพราะว่าทาง
โครงการไม่ได้มีการอนุมตั ิให้ทาการซื้ อปั๊มลมไว้ใช้งาน ทางแผนกช่างจึงต้องทาการจัดหาปั๊มลมไว้
ใช้งานและจากผลการทดสอบพบว่าขณะที่คอมเพรสเซอร์ทางานจะมีเสี ยงที่เบากว่าปั๊มลมสาเร็ จรู ป
ปริ มาณอากาศอัดที่ผลิตได้อยูท่ ี่ 0.15 ลิตรต่อวินาที, ประสิ ทธิภาพเครื่ องอัดอากาศอยูท่ ี่ 2.14 ลิตรต่อ
วินาทีต่อกิโลวัตต์, ค่าใช้จ่ายพลังงานไฟฟ้า(ต่อเดือน) อยู่ที่ 9.82 บาทต่อเดือน หากคอมเพรสเซอร์
ชารุ ดจะสามารถเปลี่ยนคอมเพรสเซอร์ ใหม่ได้เสมอและราคาในการสร้างชิ้นงานนั้นจะถูกกว่าการ
ซื้อปั๊มลมตามร้านค้าถึง 50% หรื อ 1,500 บาท
5.3 ข้อเสนอแนะระหว่างการปฏิบัติงาน
5.3.1 ในการพัฒ นาครั้ งต่ อ ไปหากต้อ งการใช้ แ รงดั น ลมที่ ม ากขึ้ น ควรที่ จ ะเลื อ กใช้
คอมเพรสเซอร์ที่มีขนาดใหญ่ข้ ึนเพราะจะสามารถอัดลมได้เร็ วกว่าเดิมและควรเลือกถังเก็บแรงดันที่
มีขนาดใหญ่ เพื่อเก็บลมให้ได้มากยิง่ ขึ้น
5.3.2 ในส่ วนของถังเก็บลมอัดนั้น สามารถประยุกต์ได้โดยการสร้างจาก ถังแก๊สและถัง
ดับเพลิงทัว่ ไป โดยที่ถงั ดับเพลิงนั้นสามารถทนแรงดันได้มากถึง 195 Psi และ ถังแก๊สนั้นไม่ควรใช้
หากมีแรงดันลมที่มากกว่า 90 Psi เพราะอาจจะทาให้เกิดอุบตั ิเหตุขณะใช้งานได้
54

บรรณานุกรม

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน. (2555). การอนุรักษ์


พลังงานในระบบอากาศอัด. เข้าถึงได้จาก https://ienergyguru.com/2015/11
/energyconservation-air-compressor/
ฐิตินนั ท์ สังข์ทอง และ จิรพัฒน์ เงาประเสริ ฐวงศ์. (2018). การลดพลังงานในระบบอัดอากาศ
ตามแผนการผลิต. เข้าถึงได้จาก http://researchs.eng.cmu.ac.th
/UserFiles/File/Journal/25_3/20.pdf
เถลิง พลเจริ ญ, ชาญชัย บุญสุ ชาติ และ ชญานิศ เฉลิมสุ ข. (2561). การลดการสูญเสียจาก
การรั่ วไหลของระบบอากาศอัดในโรงงานอุตสาหกรรม. เข้าถึงได้จาก
http://www.thonburi-u.ac.th/Journal_SIT/Vol2_No3_3.pdf
บริ ษทั ก้าวหน้า อินดัสทรี ส์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ ง จากัด. (2562). ถังเก็บลมอัด. เข้าถึงได้จาก
https://www.kaowna.co.th/ถังเก็บลมอัด-หรื อ-compressed-air-receiver-tank
บริ ษทั ไชยทรัพย์ อินเตอร์ เทค จากัด. (2561). ชนิดของคอมเพรสเซอร์ . เข้าถึงได้จาก
https://www.nt-air.com/สาระน่ารู ้/83-ชนิดของคอมเพรสเซอร์
บริ ษทั บางกอก เอกสยาม จากัด. (2562). ประเภทของปั๊ มลม. เข้าถึงได้จาก
https://www.108hardware.com/articles/มารู ้จกั ประเภทปั้มลม.html
วิรัช เดชาสิ ริสิงห์. (2562). ปั๊ มลมประเภทไดอะเฟรม. เข้าถึงได้จาก
https://www.thaiprint.org/2019/04/vol120/knowledge120-02/
วีระศักดิ์ สมัครการ, เอราวัด ล่าเต๊ะ และ วันเฉลิม บุราณเดช. (2554). ปรั บปรุ งเครื่ องอัด
อากาศใช้ งานระบบอัตโนมัติ เพื่อลดค่ าต้ นทุนในระบบ. เข้าถึงได้จาก
http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_3/20.pdf
ศูนย์เผยแพร่ แนวทางการอนุรักษ์พลังงานในภาคอุตสาหกรรม. (2557). การอนุรักษ์ พลังงานใน
ระบบอากาศอัด. เข้าถึงได้จาก http://www.iie.or.th/iie2016/download.php
สุ ขประเสริ ฐเซอร์ วสิ . (2562). ทดสอบแรงอัด....แรงดูดของคอมตู้เย็นทางด้ านเทคนิค. เข้าถึงได้จาก
https://www.youtube.com/watch?v=gQbRJXuxckY
Dionysios, P. (2015). Applied Energy: Optimization of a network of compressors in
parallel:Real Time Optimization ( RTO ) of compressors in chemical plants – An
industrial case study. Retrieved from http://researchs.eng.cmu.ac.th
/UserFiles/File/Journal/25_3/20.pdf
55

Huibin, L. and Xuehua, L. (2011). Advance in control engineering information science:


Integrated Monitoring System Design of Hybrid Air compressors. Retrieved from
http://researchs.eng.cmu.ac.th/UserFiles/File/Journal/25_3/20.pdf
59

ประวัติผ้ จู ัดทำ

รหัสนักศึกษา 5911100013
ชื่อ-นามสกุล นาย วัชระ อุกอาจ
อีเมล์ naknuiza@hotmail.co.th
เบอร์โทรศัพท์ 087-708-0474
คณะ วิศวกรรมศาสตร์
สาขา เครื่ องกลต่อเนื่อง 2 ปี
ที่อยู่ 159 ถ.อัสสัมชัญ แขวง บางไผ่ เขต บางแค กรุ งเทพมหานคร 10160
ผลงาน การสร้างและทดสอบปั๊มลมจากคอมเพรสเซอร์ตเู้ ย็น

You might also like