You are on page 1of 19

แคตตาล็อกและราคา (Price List) มอเตอร์เบรกเกอร์ (MPCB)

แหล่งร่วมแคตตาล็อกและราคา (Price list) มอเตอร์เบรกเกอร์ (Motor Breaker) ที่เราได้รวบรวมนั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่ม


ความสะดวกส�ำหรับผู้ที่สนใจหรือก�ำลังหาข้อมูลเพื่อท�ำการเลือกซื้อ มอเตอร์เบรกเกอร์ ซึ่งในบทความนี้เราได้เตรียมแคตตาล็อกจากแบรนด์ที่ถือได้
ว่าเป็นแบรนด์ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมของเมื่องไทย อาทิเช่น แบรนด์ Schneider Electric, ABB และ Lovato Electric

สินค้าแนะน�ำ
พิกัดกระแสลัดวงจร ที่ 400V (kA)
Brand รุ่นสินค้า ช่วงปรับกระแส ราคา (บาท)
Icu Ics

11SM1B48 17 – 23 A 25 12.5 2,197.8

GV2ME21 17 – 23 A 15 6 2,040

GV2P21 17 – 23 A

MS116-20 16- 20 A 50 2,600

ฟ รี
ห ลด
วน ์ โ
ดา

ดูและเลือกซื้อมอเตอร์ เบรกเกอร์ Motor Breaker


ราคาถูก คุณภาพดี หลากหลายแบรนด์ดังที่นี่
แคตตาล็อกและราคาตั้ง Price List มอเตอร์เบรกเกอร์ Motor เลือกซื้อมอเตอร์เบรกเกอร์ Motor Breaker ผ่านหน้าเว็บออนไลน์
Breaker จากแบรนด์ Schneider, ABB และ Lovato พร้อมให้คุณ หลากหลายแบรนด์ดัง Schneider Electric, ABB และ Lovato
ดาวน์โหลดฟรี เพียงแค่แสกน QR Code ด้านล่างนี้ Electric สินค้าราคาถูก คุณภาพดี และของแท้ 100%

ดาวน์โหลดแคตตาล็อกและราคาตั้ง 02-105-0567
เข้าดูแคตตาล็อกได้ที่นี่ info@factomart.com
https://mall.factomart.com/motor-breaker/
catalog-and-price-lists/ @factomart เข้าดูสินค้าได้ที่นี่
ศูนย์รวมคู่มือมอเตอร์ เบรกเกอร์
มอเตอร์เบรกเกอร์ (Motor Breaker) หรือจะเรียกว่าอีกชื่อว่า Motor Protection Circuit Breaker (MPCB) เป็น
อุปกรณ์ประเภทป้องกันไฟฟ้าเฉพาะ ซึ่งออกแบบมาใช้กับมอเตอร์ไฟฟ้าโดยเฉพาะ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีแบบใหม่ที่ออกแบบ
มาเพื่อให้เหมาะกับการสตาร์ทมอเตอร์ สามารถใช้กับวงจรมอเตอร์ทั้ง 60 Hz และ 50 Hz มอเตอร์เบรกเกอร์จะต่างจากเบรก
เกอร์ทั่วไปตรงที่ช่วยลดความยุ่งยากในการเลือกใช้งาน ที่มักพบเจอเมื่อใช้เบรกเกอร์ทั่วไป
ข้อมูลที่เรารวบรวมไว้เกี่ยวกับมอเตอร์เบรกเกอร์ Motor Breaker มีหลากหลายหัวข้อที่น่าสนใจ และศูนย์รวมแคต
ตาล็อกและราคาตั้ง Pricelist ของรุ่นยอดนิยม จากแบรนด์ดังที่เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีให้คุณเลือกหารุ่นที่ถูกใจได้อย่าง
รวดเร็ว โดยทาง factomart.com ได้รวบรวมบทความจากเว็บไซต์มาเรียบเรียงเป็นคู่มือเอกสารให้คุณศึกษา โดยมีบทความ
เรื่องต่างๆ ดังนี้

1 มอเตอร์ เบรกเกอร์ Motor Breaker คืออะไร


เบรกเกอร์ส�ำหรับสตาร์ทมอเตอร์ Motor Circuit Breaker หรือ
เรียกย่อๆ ว่า MPCB อุปกรณ์ตัวนี้นับว่าเป็นอุปกรณ์แบบใหม่
2 ท�ำไมต้องใช้มอเตอร์ เบรกเกอร์แทนเบรกเกอร์
ทั่วไป เพื่อสตาร์ทมอเตอร์
มาหาค�ำตอบกันว่าท�ำไมต้องใช้มอเตอร์เบรกเกอร์ในการสตาร์ท
มอเตอร์ แทนที่จะใช้เบรกเกอร์ทั่วไป
3 วิธีการเลือกมอเตอร์เบรกเกอร์ Motor Breaker
สนใจลงโฆษณา
ให้เหมาะสม
ถ้าจะเลือกมอเตอร์ เบรกเกอร์ไปใช้งานนั้น ต้องค�ำนึงถึง 3
อย่างหลักๆ ก็คือ พิกัดมอเตอร์ พิกัดกระแส และพิกัดแรงดัน
4 มอเตอร์เบรกเกอร์ติดตั้งง่าย ประหยัดพื้นที่ด้วย
อุปกรณ์เสริม
ตัวอย่างการติดตั้งมอเตอร์เบรกเกอร์ จะได้เห็นว่าถ้าใช้มอเตอร์
เบรกเกอร์ คุณจะได้ประหยัดพื้นที่ไปได้มากแค่ไหน
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
https://mall.factomart.com/
advertise-with-factomart/

เข้าชมเว็บไซต์ที่นี่
https://mall.factomart.com/motor-breaker/

2
คู่มือและศูนย์รวมข้อมูลแมกเนติก คอนแทคเตอร์ Magnetic Contactor
ศูนย์รวมความรู้แมกเนติกคอนแทคเตอร์ใน Factomart Industrial Products Marketplace
ห้างสรรพสินค้าอุตสาหกรรมออนไลน์แห่งแรกในประเทศไทย เรารวบรวมข้อมูลอยู่ในหน้านี้ ไม่ว่าจะเป็น
ข้อมูลของแต่ละแบรนด์ หรือวิธีการเลือกใช้ เรายังมีลิงค์ไปที่แหล่งข้อมูลต่างๆ อีกด้วย เข้าดูเว็บไซต์ที่นี่
https://mall.factomart.
แมกเนติกคอนแทคเตอร์ คือ อุปกรณ์สวิทช์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า เพื่อการเปิด-ปิด ของหน้าสัมผัส com/magnetic-
contactor/
(Contact) ท�ำงานโดยอาศัยอ�ำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าช่วยในการเปิด-ปิดหน้าสัมผัส ในการตัดต่อวงจร
ไฟฟ้า เช่น เปิด-ปิด การท�ำงานของวงจรควบคุมมอเตอร์ นิยมใช้ในวงจรของระบบแอร์ , ระบบควบคุม
มอเตอร์ หรือใช้ในการควบคุมเครื่องจักรต่างๆ

คู่มือและศูนย์รวมข้อมูลโอเวอร์โหลด รีเลย์ Overload Relay


การสตาร์ทมอเตอร์ในแต่ละครั้งจะมีอุปกรณ์ที่ใช้งานอยู่หลายอย่าง เช่น เบรกเกอร์ ไทเมอร์
หรือแมกเนติกคอนแทคเตอร์ ตรงแมกเนติกตัวหลักนี่เองจะต้องมีอุปกรณ์หนึ่งอย่างที่ต้องต่อเข้าไปด้วย
ตลอด นั่นก็คือ “โอเวอร์โหลด รีเลย์ (Overload Relay)” แล้วโอเวอร์โหลดรีเลย์มันคืออะไร มีหน้าที่
ส�ำคัญอย่างไร ถึงจ�ำเป็นจะต้องต่อเข้ากับแมกเนติกทุกครั้งเวลาสตาร์ทมอเตอร์ หรือข้อสงสัยที่ว่ามัน เข้าดูเว็บไซต์ที่นี่
https://mall.factomart.
แตกต่างกับเซอร์กิต เบรกเกอร์อย่างไร ใช้แทนกันได้ไหม บทความในหน้านี่จะช่วยให้คุณได้ท�ำความ com/overload-relay/
รู้จักกับโอเวอร์โหลด รีเลย์ได้เข้าใจมากขึ้น รู้ซะทีว่ามันมีความจ�ำเป็นต่อการสตาร์ทมอเตอร์มากน้อย
เพียงใด เพื่อให้คุณตัดสินใจได้ถูกต้องหากจะต้องหาซื้อไปใช้งานจริงๆ

สนใจลงโฆษณา
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
https://mall.factomart.com/
advertise-with-factomart/

3
บทที่ 1 : มอเตอร์ เบรกเกอร์ Motor Breaker คืออะไร

เปิดหน้าเว็บไซต์ที่นี่
https://mall.
factomart.com/
what-is-motor-
breaker/

การจะสตาร์ทมอเตอร์นั้นมีอุปกรณ์ที่ใช้อยู่หลายอย่าง นอกจากแมกเนติกกับโอเวอร์โหลดที่ถือว่าเป็นอุปกรณ์ส�ำคัญ
แล้ว ยังมีอุปกรณ์อีกตัวหนึ่งที่จะขาดไปไม่ได้เลย นั้นก็คือ เบรกเกอร์ส�ำหรับสตาร์ทมอเตอร์ หรือที่เรียกกันว่า Motor Circuit
Breaker หรือเรียกย่อๆ ว่า MPCB อุปกรณ์ตัวนี้นับว่าเป็นอุปกรณ์ใหม่ที่ออกแบบมาเพื่อใช้ในการสตาร์ทมอเตอร์โดยเฉพาะ
ทดแทนการใช้เบรกเกอร์แบบทั่วไปที่มีข้อจ�ำกัดอยู่ บางคนอาจจะเคยได้ยินหรือรู้จักเบรกเกอร์ชนิดนี้กันแล้ว และอาจมีคนที่ยัง
ไม่รู้จักเบรกเกอร์ชนิดนี้มาก่อน บทความนี้จะพาคุณไปท�ำความรู้จักกับ Motor Circuit Breaker อย่างละเอียด

สนใจลงโฆษณา

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
https://mall.factomart.com/
advertise-with-factomart/

4
มอเตอร์เบรกเกอร์ (Motor Breaker) คืออะไร

มอเตอร์เบรกเกอร์ (Motor Breaker) หรือจะเรียกว่าอีกชื่อว่า Motor Protection Circuit Breaker (MPCB) เป็นอุปกรณ์ประเภทป้องกัน
ไฟฟ้าเฉพาะ ซึ่งออกแบบมาใช้กับมอเตอร์ไฟฟ้าโดยเฉพาะ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีแบบใหม่ที่ออกแบบมาเพื่อให้เหมาะกับการสตาร์ทมอเตอร์
สามารถใช้กับวงจรมอเตอร์ทั้ง 60 Hz และ 50 Hz มอเตอร์เบรกเกอร์จะต่างจากเบรกเกอร์ทั่วไปตรงที่ช่วยลดความยุ่งยากในการเลือกใช้งาน ที่มักพบ
เจอเมื่อใช้เบรกเกอร์ทั่วไป

มอเตอร์ เบรกเกอร์ (Motor Breaker) ท�ำอะไรได้บ้าง?

ป้องกันความผิดพลาด ป้องกันมอเตอร์เกิด ป้องกันเฟสไม่สมดุล


ทางไฟฟ้า การโอเวอร์โหลด และการสูญเสียเฟส
ป้องกันความผิดพลาดทางไฟฟ้า เช่น ป้องกันความผิดพลาดทางไฟฟ้า เช่น การป้องกันความไม่สมดุลของเฟสและ
การลัดวงจร ไฟรั่วหรือไฟช็อต มอเตอร์ การลัดวงจร ไฟรั่วหรือไฟช็อต มอเตอร์ การสูญเสียเฟส เงื่อนไขทั้งสองอย่างนี้
เบรกเกอร์สามารถขัดจังหวะความผิด เบรกเกอร์สามารถขัดจังหวะความผิด สามารถท�ำให้มอเตอร์สามเฟสเสียหาย
พลาดทางไฟฟ้าใดๆ ที่อยู่ต�่ำกว่าค่า พลาดทางไฟฟ้าใดๆ ที่อยู่ต�่ำกว่าค่า ได้ ดังนั้นมอเตอร์จะถูกปลดออกทันที
Breaking Capacity (Icu) ได้ Breaking Capacity (Icu) ได้ เมื่ อ ตรวจพบข้ อ ผิ ด พลาดจากทั้ ง สอง
กรณีนี้

5
การท�ำงานของมอเตอร์ เบรกเกอร์ (Motor Breaker)
การท�ำงานของมอเตอร์ เบรกเกอร์จะมีการท�ำงานที่เหมือนกับน�ำการท�ำงานของโอเวอร์โหลด รีเลย์ และเซอร์กิต เบรกเกอร์ มารวมกัน
เพราะมอเตอร์เบรกเกอร์ก็คืออุปกรณ์ที่รวมหน้าที่ท�ำงานของ 2 อุปกรณ์เอาไว้ด้วยกัน คือสามารถป้องกันการลัดวงจรและโอเวอร์โหลดได้
ภายในโอเวอร์โหลดมีขดลวดความร้อน (Heater) พันกับแผ่นไบเมทัล (Bimetal หรือแผ่นโลหะผลิตจากโลหะต่างชนิดกัน) เชื่อมติดกัน
เมื่อได้รับความร้อนแผ่นโลหะจะโก่งตัว ขดลวดความร้อนซึ่งเป็นทางผ่านของกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟไปมอเตอร์ เมื่อกระแสไหลเข้าสูงในระดับ
ค่าหนึ่ง ส่งผลขดลวดความร้อนท�ำให้แผ่นไบเมทัลร้อนและโก่งตัว ดันให้หน้าสัมผัสปกติปิด NC ของโอเวอร์โหลดที่ต่ออนุกรมอยู่กับแผงควบคุมเปิด
วงจร ตัดกระแสไฟฟ้าจากคอล์ยแม่เหล็กของคอนแทกเตอร์ ท�ำให้หน้าสัมผัสหลัก (Main Contact) ของคอนแทกเตอร์ ปลดมอเตอร์ออกจากแหล่ง
จ่ายไฟ ป้องกันมอเตอร์ความเสียหายจากไฟเกินได้
ข้อแตกต่างหลักระหว่าง MPCB กับเบรคเกอร์อื่น ๆ คือ MPCB สามารถป้องกันการผันผวนของเฟสและการสูญเสียเฟสได้ ในมอเตอร์สาม
เฟสต้องใช้ตัวน�ำไฟฟ้ที่มีแรงดันไฟฟ้าที่สมดุล เพื่อให้ท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความไม่สมดุลหากมากกว่า 2% จะเป็นอันตรายต่ออายุการใช้
งานของมอเตอร์ หากแรงดันไฟฟ้าเฟสเกิดการสูญเสียไปอย่างฉับพลัน ผลกระทบจะยิ่งมากขึ้นเนื่องจากมอเตอร์จะท�ำงานต่อไปได้เพียงสองขั้นตอน
เท่านั้น เบรคเกอร์ป้องกันมอเตอร์สามารถตรวจจับเงื่อนไขเหล่านี้ได้โดยการวัดความแตกต่างระหว่างแรงดันไฟฟ้าเฟส และจะปลดมอเตอร์ทันทีถ้า
เกิดปัญหาขึ้น

56
บทที่ 2 : ท�ำไมต้องใช้มอเตอร์เบรกเกอร์แทนเบรกเกอร์ทั่วไป เพื่อสตาร์ท
มอเตอร์

เปิดหน้าเว็บไซต์ที่นี่
https://mall.
factomart.com/
why-use-a-motor-
breaker-for-start-
ing-the-motor/

มาหาค�ำตอบกันว่าท�ำไมต้องใช้มอเตอร์เบรกเกอร์ในการสตาร์ทมอเตอร์ แทนที่จะใช้เบรกเกอร์ทั่วไป เราจะพาคุณไป


ไขข้อสงสัยเหล่านี้กัน เราจะแสดงให้เห็นข้อแตกต่างระหว่างการเลือกใช้มอเตอร์เบรกเกอร์กับเบรกเกอร์ทั่วไปนั้นแตกต่างกัน
อย่างไร ท�ำไมถึงควรเลือกใช้มอเตอร์เบรกเกอร์มาใช้ถึงดีกว่าเบรกเกอร์ทั่วไป และเป็นการอธิบายถึงความเข้าใจผิดๆ ที่ว่า
มอเตอร์เบรกเกอร์ใช้ได้กับมอเตอร์ขนาดเล็กเท่านั้นอีกด้วย

สนใจลงโฆษณา

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
https://mall.factomart.com/
advertise-with-factomart/

7
เหตุผลที่ต้องใช้มอเตอร์ เบรกเกอร์ แทนเบรกเกอร์ทั่วไป เพื่อสตาร์ทมอเตอร์
1 พิกัดกระแสไม่ต้องเผื่อ สามารถเลือกตามพิกัดกระแสของมอเตอร์ได้เลย
การเลือกใช้งานเบรกเกอร์ทั่วไปนั้นจะต้องเลือกตามพิกัดกระแสไฟที่ใช้งาน ถ้าจะเลือกไปใช้กับมอเตอร์ก็ต้องเทียบพิกัดกระแสไฟกับขนาด
แรงดันที่ใช้กับมอเตอร์ ก่อนที่จะน�ำไปใช้สตาร์ทมอเตอร์ ดังนั้นบางทีก็ไม่มีพิกัดกระแสไฟที่พอดี อาจจะพิกัดเกินบาง น้อยไปบ้าง แต่ถ้าเป็นมอเตอร์
เบรกเกอร์แล้วสามารถเลือกไปตามพิกัดกระแสของมอเตอร์ได้เลย แค่ดูว่าพิกัดมอเตอร์แรงม้าเท่าใด จะใช้กับพิกัดกระแสเท่าใด

2 ค่า kA สูงกว่า
ค่า Ultimate Breaking capacity Icu หรือที่เรียกกันว่า kA สูงอยู่ที่ประมาณ 100 kA โดยที่ถ้าเป็นเบรกเกอร์ MCB จะมีค่า ค่า Icu อยู่ที่
10 kA ถึง 15kA ดังนั้นถ้าหากใช้มอเตอร์เบรกเกอร์สตาร์ทมอเตอร์ก็ไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับปัญหาไฟช็อต

3 ติดตั้งง่ายและประหยัดพื้นที่

ภาพแสดงการติดตั้งโดยใช้มอเตอร์ เบรกเกอร์ ภาพแสดงการติดตั้งโดยใช้เบรกเกอร์ MCCB


การติดตั้งอุปกรณ์ส�ำหรับสตาร์ทมอเตอร์ ถ้าเลือกใช้เบรกเกอร์ทั่วไป จะต้องต่อแมกเนติก คอนแทคเตอร์ + เบรกเกอร์ทั่วไป + โอเวอร์
โหลด รีเลย์ เข้าด้วยกัน ต้องใช้อุปกรณ์ถึง 3 อย่าง ท�ำให้ต้องใช้พื้นที่เยอะในการจัดวางอุปกรณ์ แต่ถ้าใช้มอเตอร์เบรกเกอร์ อุปกรณ์ที่ใช้ก็มีแค่แมก
เนติกกับมอเตอร์เบรกเกอร์เท่านั้น เพราะมอเตอร์เบรกเกอร์บางรุ่นมีโอเวอร์โหลด รีเลย์อยู่ในตัวเลย ท�ำให้พื้นที่ในการติดตั้งลดลง

8
4 มี Pad lock ป้องกันขณะท�ำการซ่อมบ�ำรุง
บนมอเตอร์ เบรกเกอร์จะมีฟังก์ชั่นพิเศษอยู่หนึ่งอย่าง เรียกว่า Pad Lock เป็นส่วนที่ใช้ส�ำหรับล็อกป้องกันตัวเบรกเกอร์ กรณีที่มีการซ่อม
บ�ำรุงจะท�ำการล็อกส่วนนี้เอาไว้ด้วยลูกกุญแจ เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องไปเปิดหรือปิดมอเตอร์เบรกเกอร์ ขณะที่ช่างก�ำลังปฏิบัติงาน ช่วย
ป้องกันอันตรายให้กับช่างได้

5 ความเข้าใจผิดๆ ที่ว่ามอเตอร์เบรกเกอร์ใช้ได้กับมอเตอร์ขนาดเล็กเท่านั้น
ความเชื่อผิดๆ ที่ว่า ใช้ได้กับมอเตอร์ขนาดเล็กเท่านั้น ซึ่งของ Lovato นั้นใช้ได้กับพิกัดมอเตอร์สูงสุดถึง 55kW หรือ 75 Hp ซึ่งพิกัดนี่ถือว่า
ไม่เล็กและถือเป็นพิกัดที่ส่วนใหญ่ใช้งานตามโรงงานอุตสาหกรรม

9
บทที่ 3 : วิธีการเลือกมอเตอร์เบรกเกอร์ (Motor Breaker) ให้เหมาะสม

เปิดหน้าเว็บไซต์ที่นี่
https://mall.
factomart.com/
how-to-choose-a-
motor-breaker/

การจะเลือกมอเตอร์ เบรกเกอร์ไปใช้งานนั้นจะมีวิธีการเลือกที่ไม่แตกต่างจากเบรกเกอร์ทั่วไปมากนัก ถ้าจะเลือก


มอเตอร์ เบรกเกอร์ไปใช้งานนั้น ต้องค�ำนึงถึง 3 อย่างหลักๆ ก็ คือ พิกัดมอเตอร์ พิกัดกระแส และพิกัดแรงดัน นอกจากนี้ยัง
มีตัวอย่างการเลือกจากแคตตาล็อกจริงมาให้คุณได้ดูเป็นตัวอย่างอีกด้วย

สนใจลงโฆษณา

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
https://mall.factomart.com/
advertise-with-factomart/

10
ปัจจัยในการเลือกมอเตอร์เบรกเกอร์ Motor Breaker
1 ค่าที่ต้องดูบนมอเตอร์ไฟฟ้า
พิกัดแรงดัน

บนมอเตอร์ เบรกเกอร์จะมีฟังก์ชั่นพิเศษอยู่หนึ่งอย่าง เรียกว่า Pad Lock เป็นส่วนที่ใช้ส�ำหรับล็อกป้องกันตัวเบรกเกอร์ กรณีที่มีการซ่อม


บ�ำรุงจะท�ำการล็อกส่วนนี้เอาไว้ด้วยลูกกุญแจ เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องไปเปิดหรือปิดมอเตอร์เบรกเกอร์ ขณะที่ช่างก�ำลังปฏิบัติงาน ช่วย
ป้องกันอันตรายให้กับช่างได้

พิกัดมอเตอร์

บน Nameplate มอเตอร์ไฟฟ้า จะมีค่าพิกัดมอเตอร์บอกไว้อยู่ ให้สังเกตหน่วยที่บอกเป็น kW จากภาพตัวอย่างบนมอเตอร์ตัวนี้มีพิกัด


มอเตอร์ตั้งแต่ 30 - 38 kW ระบุไว้อยู่ แบ่งตามพิกัดแรงดันไฟ

11
2 ค่าที่ต้องดูบนมอเตอร์ เบรกเกอร์
พิกัดกระแสลัดวงจร (Icu)

ค่ากระแสลัดวงจรหรือ Icu คือ พิกัดกระแสลัดวงจรสูงสุดที่เบรกเกอร์ทนได้ โดยไม่เกิดความเสียหายกับตัวเบรกเกอร์ มักแสดงในหน่วย


kA เป็นค่ากระแสที่บ่งบอกถึงความสามารถของเบรกเกอร์ที่สามารถทนได้ เมื่อมีการท�ำงานที่ผิดพลาด ซึ่งเบรกเกอร์สามารถทนได้เพียงเวลาสั้นๆ
เท่านั้น โดยทั่วไปเป็นเวลาที่ท�ำให้เบรกเกอร์ทริป เช่น ถ้าค่า 50 kA จะหมายถึงค่ากระแสที่เบรกเกอร์สามารถทนได้ 50,000 A ในระยะเวลาสั้นๆ
ก่อนที่เบรกเกอร์จะทริป

ช่วงปรับค่ากระแสไฟโอเวอร์โหลด

ช่วงปรับค่ากระแสโอเวอร์โหลดนี้ จะมีความสัมพันธ์กับค่ากระแสบนมอเตอร์ไฟฟ้า เช่น บนมอเตอร์ก�ำหนดกระแสไว้ 55 A เมื่อน�ำ 1.15 x


55 = 63.25 A ค่ากระแสที่ค�ำนวณมานี้ก็คือค่ากระแสสูงสุดที่ท�ำให้มอเตอร์ท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นจึงต้องเลือกช่วงกระแสบนมอเตอร์
เบรกเกอร์ที่มีค่าใกล้เคียงที่สุด ซึ่งก็คือ 48 - 65 A มาใช้สตาร์ทมอเตอร์

12
ตัวอย่างการเลือกมอเตอร์ เบรกเกอร์

จาก Nameplate ของมอเตอร์ที่แสดงไว้ ต้องการที่จะสตาร์ทมอเตอร์แบบ Delta ที่พิกัดแรงดัน 400V พิกัดมอเตอร์ 30 kW และกระแสไฟ


55 A ดังนั้นจะต้องน�ำค่าพิกัดมอเตอร์ 30 kW ไปเทียบกับแคตตาล็อกของมอเตอร์ เบรกเกอร์ เพื่อหารุ่นที่เหมาะสม

จากรูปเป็นตัวอย่างแคตตาล็อกมอเตอร์ เซอร์กิตเบรกเกอร์ ของ Schneider Electric รุ่น TeSys protection components Thermal
Magnetic motor circuit breakers GV2 P, GV3 P and GV3 ME80 ซึ่งจะน�ำมาเป็นตัวอย่างแสดงวิธีการเลือก
หลังจากที่เราได้พิกัดมอเตอร์ 30 kW ที่แรงดันไฟฟ้า 400/415 V และกระแสใช้งานที่ Full Load 55 A ดังนั้นมอเอตร์ เบรกเกอร์ที่เหมาะ
สมควรเป็นรุ่น GV3P65 เนื่องจากมีช่วงปรับค่ากระแสโอเวอร์โหลดตั้งแต่ 48 - 65 A นอกจากนี้ยังสามารถทนกระแสลัดวงจรถึง 50 kA ซึ่งเพียงพอ
ส�ำหรับป้องกันเบรกเกอร์ระเบิด ในกรณีที่เกิดการลัดวงจรได้

13
บทที่ 4 : มอเตอร์เบรกเกอร์ติดตั้งง่าย ประหยัดพื้นที่ด้วยอุปกรณ์เสริม

เปิดหน้าเว็บไซต์ที่นี่
https://mall.
factomart.com/
how-to-choose-
inductive-
proximity-sensor/

ในตู้คอนโทรลมอเตอร์ที่มีพื้นที่จ�ำกัด มีอุปกรณ์มากมายที่ต้องติดตั้งเข้าไป ดังนั้นจึงต้องหาวิธีที่ช่วยประหยัดพื้นที่


ดังนั้นถ้าเลือกใช้เบรกเกอร์ทั่วไปติดตั้งเข้าไป จ�ำเป็นต้องใช้พื้นที่เพิ่มขึ้น แต่ถ้าหากเปลี่ยนมาใช้มอเตอร์เบรกเกอร์แทน จะท�ำให้ลด
การใช้พื้นที่ลงได้ แต่ถ้าจะอธิบายอย่างเดียวก็คงไม่เห็นภาพ ดังนั้นเราจึงมีตัวอย่างการติดตั้งมอเตอร์เบรกเกอร์ มาให้คุณดู
คุณจะได้เห็นว่าถ้าใช้มอเตอร์เบรกเกอร์ คุณจะได้ประหยัดพื้นที่ไปได้มากแค่ไหน

สนใจลงโฆษณา

ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
https://mall.factomart.com/
advertise-with-factomart/

14
เปรียบเทียบการติดตั้งด้วย MCCB และมอเตอร์เบรกเกอร์
ในส่วนนี้จะน�ำการติดตั้งแบบที่ใช้มอเตอร์ เบรกเกอร์ กับการติดตั้งแบบที่ใช้เบรกเกอร์ทั่วไปมาเปรียบเทียบกัน

ภาพแสดงการติดตั้งโดยใช้มอเตอร์ เบรกเกอร์ ภาพแสดงการติดตั้งโดยใช้เบรกเกอร์ MCCB

Motor Circuit Breaker ที่มีโอเวอร์โหลดในตัว MCCB + แมกเนติกคอนแทคเตอร์ +


ประเด็นเปรียบเทียบ ใช้ควบคู่กับแมกเนติก คอนแทคเตอร์ โอเวอร์โหลดรีเลย์
1. ความนิยม ยังใช้น้อยอยู่เพราะเป็นเทคโนโลยีใหม่เป็นเทรนน�ำเสนอ เป็นแบบที่ส่วนใหญ่ใช้กัน
2. Wiring สายไฟ วายริ่งง่าย มีอุปกรณ์เสริมที่สามารถประกอบตัว ต้องท�ำไวน์วิ่งจาก mccb เข้าแมกเนติก จ�ำเป็น
มอเตอร์เซอร์กิตเบรกเกอร์เข้ากับตัวแมกเนติกได้เลย ต้องใช้สายไฟและก็ใช้คนท�ำ wiring
โดยที่ไม่ต้องวายริ่งด้วยมือหรือใช้สายไฟ
3. ค่า kA ค่า Ultimate Breaking capacity Icu หรือที่เรียกกันว่า ค่าออกแบบถูกต้องแล้วใช้ตัว MCCB ต้องอัพไซส์
kA สูงอยู่ที่ประมาณ 100 kA (MCB มีค่า Icu ประมาณ เข้าไปเพื่อที่จะ ทน Over load กระแสเริ่มต้น
10-15kA ) ของมอเตอร์ได้ บางที่ใช้อุปกรณ์ไม่ถูกต้องเลือก
ใช้เป็น MCB ที่ไม่สามารถทนกระแสช็อตเซอร์กิต
ได้พบเห็นได้ทั่วไปในโรงท�ำตู้ในกรณีที่เกิด Short
Circuit ขึ้นจะเกิดระเบิดได้ ซึ่งสามารถสร้าง
ความเสียหายไปถึงมอเตอร์ กับพวกอุปกรณ์อื่นๆ
ได้
4. พื้นที่การติดตั้ง ใช้พื้นที่น้อยประหยัดพื้นที่ ใช้พื้นที่เยอะกว่าพอสมควรโดยเฉพาะยี่ห้อ ABB
โอเวอร์โหลดตัวค่อนข้างที่จะยาว

15
ตัวอย่างการติดตั้งของแบรนด์ Lovato
การติดตั้งโดยใช้มอเตอร์ เบรกเกอร์ การติดตั้งโดยใช้เบรกเกอร์ทั่วไป

ภายในมอเตอร์ เซอร์กิตเบรกเกอร์ ประกอบไปด้วยเซอร์กิต แต่ถ้าในระบบทั่วไปต้องใช้เซอร์กิต เบรกเกอร์ที่ต้องอัพ Size


เบรกเกอร์ และโอเวอร์โหลด รีเลย์ เมื่อต้องการใช้งานก็น�ำไปต่อเข้ากับ ต่อกับคอนแทคเตอร์และโอเวอร์โหลด รีเลย์ รวมทั้งหมด 3 อย่าง ซึ่งเรา
แมกเนติก คอนแทคเตอร์ ได้เลย ไม่จ�ำเป็นต้องต่อโอเวอร์โหลด รีเลย์ จะเห็นความแตกต่างระหว่างการเลือกใช้อุปกรณ์ทั้ง 2 แบบ ในเรื่องแรก
เข้าไปด้วย การต่อแบบนี้จะใช้อุปกรณ์แค่ 2 อย่าง คือ มอเตอร์ เบรก เลย คือเรื่องขนาด และการ wiring สาย ที่ต้องต่อจากเบรกเกอร์ไปยัง
เกอร์และแมกเนติก คอนแทคเตอร์ ท�ำให้ใช้พื้นที่ในการติดตั้งน้อย คอนแทคเตอร์ ท�ำให้ต้องใช้ตู้ขนาดใหญ่ขึ้น ไหนจะขนาดเบรกเกอร์ที่
ส่วนการต่อทั้ง 2 อุปกรณ์เข้าด้วยกันนั้นจะอาศัยอุปกรณ์เสริม ต้องเพิ่มขนาดขึ้น ท�ำให้ตู้ก็ต้องขนาดใหญ่ขึ้นตามด้วย ท�ำให้ราคา
ที่ออกแบบมาให้ไม่ต่องใช้สายไฟในการ wiring แบบเดิม เห็นได้เลยว่า ต้นทุนในการท�ำตู้ก็สูงขึ้นตามมาอีก
สะดวกและรวดเร็วกว่าการใช้ wiring แบบเดิมเป็นอย่างมาก

หลังจากที่เราได้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างการติดตั้งโดยใช้มอเตอร์ เบรกเกอร์กับการติดตั้งโดยใช้เบรกเกอร์ทั่วไป อย่างแรกที่เห็นได้ชัด


เลยก็คือ เรื่องพื้นที่ที่ใช้ติดตั้ง จะเห็นได้ว่าถ้าใช้มอเตอร์ เบรกเกอร์ จะใช้อุปกรณ์เพียงแค่ 2 อย่าง ท�ำให้ใช้พื้นที่น้อย อีกทั้งยังมีอุปกรณ์เสริมแบบ
พิเศษที่ออกแบบมาส�ำหรับการ wiring สายโดยเฉพาะ แทนการใช้สายไฟต่อแบบเดิม ที่สะดวกต่อการใช้งาน เป็นระเบียบ และปลอดภัยกว่าแบบเดิม
มาก
หากคุณสนใจสินค้า สามารถเข้าไป ดูและเลือกซื้อมอเตอร์เบรกเกอร์ Motor Breaker ได้ที่หน้าเว็บออนไลน์ของเรา มีสินค้าหากหลายรุ่น
จากแบรนด์ดังให้เลือกมากมาย ถ้าคุณมีข้อสงสัยหรืออยากสอบถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับสินค้า สามารถแชทมาหาเราได้ทันทีจากช่องแชทด้านล่างขวา
มือ หรือส่งเมลล์มาที่ info@factomart.com หรือผ่าน Line ที่ @factomart และเบอร์โทร 021-050-567 ได้หลากหลายช่องทาง มีผู้เชี่ยวชาญให้ค�ำ
แนะน�ำตลอดเวลาท�ำการ

16
แคตตาล็อกและราคา (Price List) มอเตอร์เบรกเกอร์ (MPCB)
แหล่งร่วมแคตตาล็อกและราคา (Price list) มอเตอร์เบรกเกอร์ (Motor Breaker) ที่เราได้รวบรวมนั้นมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่ม
ความสะดวกส�ำหรับผู้ที่สนใจหรือก�ำลังหาข้อมูลเพื่อท�ำการเลือกซื้อ มอเตอร์เบรกเกอร์ ซึ่งในบทความนี้เราได้เตรียมแคตตาล็อกจากแบรนด์ที่ถือได้
ว่าเป็นแบรนด์ที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมของเมื่องไทย อาทิเช่น แบรนด์ Schneider Electric, ABB และ Lovato Electric

สินค้าแนะน�ำ
พิกัดกระแสลัดวงจร ที่ 400V (kA)
Brand รุ่นสินค้า ช่วงปรับกระแส ราคา (บาท)
Icu Ics

11SM1B48 17 – 23 A 25 12.5 2,197.8

GV2ME21 17 – 23 A 15 6 2,040

GV2P21 17 – 23 A

MS116-20 16- 20 A 50 2,600

ฟ รี
ห ลด
วน ์ โ
ดา

ดูและเลือกซื้อมอเตอร์ เบรกเกอร์ Motor Breaker


ราคาถูก คุณภาพดี หลากหลายแบรนด์ดังที่นี่
แคตตาล็อกและราคาตั้ง Price List มอเตอร์เบรกเกอร์ Motor เลือกซื้อมอเตอร์เบรกเกอร์ Motor Breaker ผ่านหน้าเว็บออนไลน์
Breaker จากแบรนด์ Schneider, ABB และ Lovato พร้อมให้คุณ หลากหลายแบรนด์ดัง Schneider Electric, ABB และ Lovato
ดาวน์โหลดฟรี เพียงแค่แสกน QR Code ด้านล่างนี้ Electric สินค้าราคาถูก คุณภาพดี และของแท้ 100%

ดาวน์โหลดแคตตาล็อกและราคาตั้ง 02-105-0567
เข้าดูแคตตาล็อกได้ที่นี่ info@factomart.com
https://mall.factomart.com/motor-breaker/
catalog-and-price-lists/ @factomart เข้าดูสินค้าได้ที่นี่

You might also like