You are on page 1of 22

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

สาขาวิชานิตศ
ิ าสตร์ ชุดวิชาความรูเ้ บือ
้ งต้นเกี่ยวกับกฎหมายทัว่ ไป

หลักการใช้กฎหมาย
หลักการใช้กฎหมาย

1. หลักการใช้กฎหมายกับข้อเท็จจริง
2. หลักการตีความกฎหมาย
3. การอุดช่องว่างในกฎหมาย
1. หลักการใช้กฎหมายกับข้อเท็จจริง

1.1 การอานและการเขาใจกฎหมาย
1.2 การแปลความหมายของบทบัญญัติ
1.3 การใชบทบัญญัติกับขอเท็จจริง
1.4 ปญหาการใชกฎหมาย
1. หลักการใช้กฎหมายกับข้อเท็จจริง

1.1 การอานและการเขาใจกฎหมาย
 กฎหมายบัญญัติขึ้นตามหลักวิชาในทางนิติศาสตรประสงคใหอาน
แลวเขาใจไดงาย สามารถนําไปปฏิบัติได อาจมีการใชภาษา
กฎหมาย หรือภาษาเทคนิคอื่นผูใชกฎหมายควรทําความเขาใจกับ
หลักการรางกฎหมายและการใชภาษาในกฎหมายโดยทั่วไปกอนจะ
นํากฎหมายมาใชกับขอเท็จจริง
1. หลักการใช้กฎหมายกับข้อเท็จจริง

1.2 การแปลความหมายของบทบัญญัติ
 การแปลความหมายของบทบัญญัติเพื่อใหทราบวากฎหมายบัญญัติ
ไวอยางไร เพราะกฎหมายจะกําหนดสิทธิหนาที่ของบุคคลและสภาพ
บังคับแกผูฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามกฎหมายไว
 การแปลความหมายของบทบัญญัติสามารถกระทําไดโดยการทํา
ความเขาใจเนื้อหาของกฎหมายดวยการอานกฎหมายทั้งฉบับ
โครงสร้างของกฎหมายโดยทั่วไป

1. ชื่อกฎหมาย 6. บทเฉพาะกาล
2. คําปรารภและบทอาศัยอํานาจ 7. ผูรักษาการตามกฎหมายและผูลงนาม
3. นิยามศัพทหรือบทวิเคราะหศัพท รับสนองพระบรมราชโองการ
4. เนื้อหาสาระของกฎหมาย 8. ภาคผนวกหรือบัญชีทายกฎหมาย
5. บทกําหนดโทษหรือสภาพบังคับ 9. เหตุผลในการตรากฎหมาย
การใช้ภาษาในกฎหมาย

1. การใช้ภาษาธรรมดาหรือภาษาสามัญ
2. การใช้ภาษากฎหมาย
3. การใช้ภาษาเทคนิคหรือภาษาวิชาการอื่น
4. การใช้นิยามศัพท์
1. หลักการใช้กฎหมายกับข้อเท็จจริง

1.3 การใชบทบัญญัติกับขอเท็จจริง
มีสองประการคือ การใชกฎหมายในทางทฤษฎี และ การใชกฎหมายในทางปฏิบัติ
 การใชกฎหมายในทางทฤษฎี เปนเรื่องของหลักวิชาเพื่อใชในการบัญญัติ
กฎหมายโดยพิจารณาถึงขอบเขตการบังคับใชกฎหมาย เชน บุคคล สถานที่ วัน
เวลาที่เกี่ยวของ ประเภท ลําดับศักดิ์ของกฎหมาย และอํานาจในการตรา
กฎหมาย
1. หลักการใช้กฎหมายกับข้อเท็จจริง

1.4 ปญหาการใชกฎหมาย
 การใชกฎหมายในทางปฏิบัติ เปนเรื่องของการใชกฎหมายกับ
ขอเท็จจริงเฉพาะเรื่อง ซึ่งหาหลักเกณฑไดยาก เพราะบุคคลที่
เกี่ยวของตางเปนผูใชกฎหมายดวยกัน ซึ่งมักใชกฎหมายตามความรู
ความเขาใจของตนนอกจากนี้ตัวบทกฎหมายเองก็อาจมีความ
บกพรอง จึงอาจนําไปสูปญหาการใชกฎหมาย
2. หลักการตีความกฎหมาย

2.1 หลักการตีความกฎหมาย
2.2 การตีความตามลายลักษณอักษร
2.3 การตีความตามเจตนารมณ
2.4 เครื่องมือที่ใชในการหยั่งทราบเจตนารมณของกฎหมาย
2. หลักการตีความกฎหมาย

2.1 หลักการตีความกฎหมาย
 การตีความกฎหมาย คือ การคนหาความหมายของบทกฎหมายที่เคลือบคลุม
ไมชัดเจน หรืออาจแปลความไดหลายนัย เพื่อนํากฎหมายมาใชปรับกับ
ขอเท็จจริงซึ่งตองอาศัยหลักวิชา ความรู ประสบการณและสามัญสํานึกอาจ
แยกไดเปน 2 ประการ คือ
 การตีความตามลายลักษณอักษร และ
 การตีความตามเจตนารมณ
2. หลักการตีความกฎหมาย

การตีความตามลายลักษณอักษร
 การตีความตามลายลักษณอักษร คือ การหยั่งทราบความหมายของ
ถอยคําจากตัวอักษรของบทกฎหมายนั้นเองโดยวิธีการตางๆ เชน การหา
ความหมายตามธรรมดาของถอยคําการหาความหมายจากภาษาเทคนิค
หรือภาษาทางวิชาการ หรือจากความหมายพิเศษ
2. หลักการตีความกฎหมาย

การตีความตามเจตนารมณ
 การตีความตามเจตนารมณ คือ การหยั่งทราบความหมายของถอยคํา
ในบทกฎหมายจากเจตนารมณ หรือความมุงหมายของกฎหมายนั้น
โดยอาศัยเครื่องมือตางๆ ทั้งจากตัวกฎหมายนั้นเอง หรือสิ่งที่อยู
ภายนอกกฎหมาย
2. หลักการตีความกฎหมาย

การตีความตามเจตนารมณ
 การหาเจตนารมณของกฎหมาย มีทฤษฎีที่เกี่ยวของอยู 2 ทฤษฎี คือ
 ทฤษฎีอําเภอจิต (Subjective Theory) และ
 ทฤษฎีอําเภอการณ (Objective Theory)
2. หลักการตีความกฎหมาย

ทฤษฎีอําเภอจิต (Subjective Theory)


 เห็นวาจะคนพบเจตนารมณของกฎหมายไดจากเจตนาของผูบัญญัติ
กฎหมายนั้นเอง เชน การพิจารณาจากตนรางกฎหมาย รายงานการ
ประชุมพิจารณารางกฎหมายในชั้นตางๆ ตลอดจนคําอภิปรายใน
รัฐสภา เพื่อชวยใหทราบวา ที่กฎหมายใชถอยคําเชนนั้นเพราะผู
บัญญัติกฎหมายมีเจตนาอยางไร
2. หลักการตีความกฎหมาย

ทฤษฎีอําเภอการณ (Objective Theory)


 เห็นวาตองคนหาเจตนารมณของกฎหมายจากตัวกฎหมาย
นั้นเองวาบทกฎหมายนั้นมีความมุงหมายอยางไร แตการจะนํา
ทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่งมาใชแตเพียงอยางเดียวอาจไมชวยใหการ
ตีความกฎหมายมีความสมบูรณในทางปฏิบัติจึงมักใชทั้งสอง
ทฤษฎีประกอบกัน
2. หลักการตีความกฎหมาย

2.4 เครื่องมือที่ใชในการหยั่งทราบเจตนารมณของกฎหมาย
(1) ขอความในกฎหมายหรือที่ลงประกาศพรอมกับกฎหมาย
ไดแก ชื่อกฎหมาย คําปรารภ หรือพระราชปรารภของกฎหมายหรือ
หมายเหตุทายกฎหมาย
2. หลักการตีความกฎหมาย

2.4 เครื่องมือที่ใชในการหยั่งทราบเจตนารมณของกฎหมาย
(2) เอกสารหรือสภาพแวดลอมอื่นที่เกี่ยวของกับกฎหมาย เชน
บันทึกหลักการและเหตุผลประกอบรางกฎหมาย รายงานการประชุม
พิจารณารางกฎหมาย หรือคําอภิปรายในรัฐสภา ตลอดจนเอกสาร หรือ
สภาพการณที่เปนอยูกอนหรือขณะใชบังคับกฎหมาย
2. หลักการตีความกฎหมาย

2.4 เครื่องมือที่ใชในการหยั่งทราบเจตนารมณของกฎหมาย
(3) หลักการตีความทั่วไป เชน
- การตีความใหกฎหมายมีผลใชบังคับได
- การตีความโดยอานกฎหมายทั้งฉบับหรืออานกฎหมายหลายฉบับ
- การตีความกฎหมายบัญญัติยกเวนจากหลักทั่วไป
- การตีความตามหลักความเปนธรรมหรือสามัญสํานึก
- กรณีการตีความตามตัวอักษรกับการตีความตามเจตนารมณขัดแยงกัน
(ตองถือการตีความตามเจตนารมณเปนใหญ)
2. หลักการตีความกฎหมาย

2.4 เครื่องมือที่ใชในการหยั่งทราบเจตนารมณของกฎหมาย
(4) การตีความตามกฎหมายพิเศษ เชน
กฎหมายอาญาตองตีความอยางเครงครัด
3. การอุดช่องว่างในกฎหมาย

ชองวางในกฎหมาย คือ การที่ไมมีบทกฎหมายจะยกมาปรับแก


ขอเท็จจริงไดโดยตรงในทางแพงและพาณิชยป.พ.พ.(มาตรา 4) ใหวินิจฉัย
คดีนั้นตามจารีตประเพณีแหงทองถิ่น หรือโดยอาศัยเทียบบทกฎหมาย
ใกลเคียงอยางยิ่งหรือตามหลักกฎหมายทั่วไป ตามลําดับ
จบสาระสําคัญ
หน่วยที่ 9

You might also like