You are on page 1of 21

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

สาขาวิชานิตศ
ิ าสตร์ ชุดวิชาความรูเ้ บือ
้ งต้นเกี่ยวกับกฎหมายทัว่ ไป

กฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน
1. การแบ่งประเภทของกฎหมาย

1. แบงตามเนื้อหาของกฎหมาย ซึ่งอาจแบงเปน
1. กฎหมายสารบัญญัติ เชน
• ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
• ประมวลกฎหมายอาญา
2. กฎหมายวิธีสบัญญัติ เชน
• ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง และ
• ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
1. การแบ่งประเภทของกฎหมาย

2. แบงตามวัตถุประสงคของการบังคับใช หรือพิจารณาจากนิติสัมพันธ
ซึ่งอาจแบงไดเปน 2 ประเภท คือ
• กฎหมายเอกชน
• กฎหมายมหาชน
2. ประโยชน์ในการแบ่งประเภทกฎหมาย

1. การนําคดีขึ้นสูศาล
ประเทศที่มีการแยกประเภทกฎหมายเปนกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน
จะแบงแยกศาลในการพิจารณาคดีดวย ถาเปนคดีแพง คดีพาณิชย ศาลที่มีอํานาจใน
การพิจารณาคือ ศาลยุติธรรม ถาเปนคดีปกครองก็จะนําไปฟอง ศาลปกครอง
สวนประเทศที่ไมมีการแบงแยกกฎหมายออกเปนกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน
เมื่อมีคดีไมวาจะเปนเรื่องใด ศาลที่มีอํานาจในการพิจารณาคดี ไดแก ศาลยุติธรรม
2. ประโยชน์ในการแบ่งประเภทกฎหมาย

2. ประโยชนในแงกฎหมายสารบัญญัติ
การแยกประเภทกฎหมายออกเปนกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน
ทําใหหลักกฎหมายสารบัญญัติมีความแตกตางกันดวยเพราะปรัชญาที่อยู
เบื้องหลังหลักกฎหมายทั้งสองแตกตางกัน
2. ประโยชน์ในการแบ่งประเภทกฎหมาย

3. ประโยชนในดานกฎหมายวิธีสบัญญัติ
วิธีพิจารณาคดีในศาลก็แตกตางกันศาลยุติธรรม สวนใหญใชวิธีพิจารณา
แบบกลาวหาสวนในศาลปกครองใช ระบบไตสวน
3. หลักเกณฑ์การแบ่งกฎหมายเอกชนและ
กฎหมายมหาชน

1. หลักเกณฑเกี่ยวกับบุคคลผูกอนิติสัมพันธ
กฎหมายมหาชน เปนกฎหมายที่ใชบังคับกับสถานะและนิติสัมพันธ ซึ่ง
รัฐหรือหนวยงานของรัฐกอกับเอกชนซึ่งรัฐหรือหนวยงานของรัฐอยูในฐานะ
ผูปกครองเอกชนอยูในฐานะผูอยูใตการปกครอง กฎหมายเอกชน ใชบังคับ
กับสถานะและนิติสัมพันธ ระหวางเอกชนกับเอกชนในฐานะผูใตปกครอง และ
อยูในฐานะที่เทาเทียมกัน
3. หลักเกณฑ์การแบ่งกฎหมายเอกชนและ
กฎหมายมหาชน

1. หลักเกณฑเกี่ยวกับบุคคลผูกอนิติสัมพันธ
กฎหมายมหาชน เปนกฎหมายที่ใชบังคับกับสถานะและนิติสัมพันธ ซึ่ง
รัฐหรือหนวยงานของรัฐกอกับเอกชนซึ่งรัฐหรือหนวยงานของรัฐอยูในฐานะ
ผูปกครองเอกชนอยูในฐานะผูอยูใตการปกครอง
กฎหมายเอกชน ใชบังคับกับสถานะและนิติสัมพันธ ระหวางเอกชนกับ
เอกชนในฐานะผูใตปกครอง และอยูในฐานะที่เทาเทียมกัน
3. หลักเกณฑ์การแบ่งกฎหมายเอกชนและ
กฎหมายมหาชน

2. เกณฑที่เกี่ยวกับวัตถุประสงคของนิติสัมพันธ
จุดประสงคของกฎหมายมหาชนที่รัฐหรือหนวยงานของรัฐกอขึ้นเปนไป
เพื่อประโยชนสาธารณะสวนจุดประสงคของนิติสัมพันธตามกฎหมายเอกชน
มุงประโยชนของเอกชนเฉพาะราย
3. หลักเกณฑ์การแบ่งกฎหมายเอกชนและ
กฎหมายมหาชน

3. เกณฑที่เกี่ยวกับวิธีการใชในการกอนิติสัมพันธระหวางกัน
นิติสัมพันธตามกฎหมายเอกชนเกิดขึ้นโดยความสมัครใจตามหลักเสรีภาพ
ในการทําสัญญา
สวนนิติสัมพันธในกฎหมายมหาชนนั้นรัฐหรือหนวยงานของรัฐ มีฐานะ
เหนือกวาเอกชนจึงไมตองอาศัยความสมัครใจของเอกชน
3. หลักเกณฑ์การแบ่งกฎหมายเอกชนและ
กฎหมายมหาชน

4. เกณฑเกี่ยวกับเนื้อหา
กฎหมายมหาชน เปนกฎเกณฑที่มีลักษณะทั่วไป เปนกฎหมายที่มีลักษณะ
เปนการบังคับใหตองปฏิบัติตามตกลงยกเวนไมได
สวนกฎหมายเอกชน เอกชนสามารถตกลงยกเวนบทบัญญัติของกฎหมาย
ได หากบทบัญญัตินั้นมิใชบทบัญญัติที่เกี่ยวของกับความสงบเรียบรอยหรือ
ศีลธรรมอันดีของประชาชน
4. ข้อจํากัดของการแยกประเภทกฎหมาย

1. ขอจํากัดในความเปนจริง
รัฐไดมีการจัดตั้งหนวยงานที่มิใชสวนราชการหรือจัดตั้งนิติบคุ คลใน
กฎหมายเอกชน ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อดําเนินกิจกรรมที่มีลักษณะพาณิชยกรรม
และอุตสาหกรรม และการดําเนินกิจกรรมโดยใชกฎหมายเอกชน
นอกจากนั้น รัฐมิไดเปนผูผูกขาดแตเพียงผูเดียวในการดําเนินกิจกรรม
เกี่ยวกับการบริการสาธารณะในหลายกรณีเอกชนก็ไดเขามารวมมือกับรัฐใน
การดําเนินกิจกรรมที่เปนประโยชนสาธารณะ เชน องคกรวิชาชีพตาง ๆ
4. ข้อจํากัดของการแยกประเภทกฎหมาย

2. ขอวิจารณเชิงทฤษฎี
2.1 การแบงประเภทกฎหมายออกเปนกฎหมายเอกชนและ
กฎหมายมหาชน พบเฉพาะในระบบกฎหมายสกุลโรมาโน-เยอรมานิก
เทานั้น ไมไดพบในทุกระบบกฎหมาย
4. ข้อจํากัดของการแยกประเภทกฎหมาย

2. ขอวิจารณเชิงทฤษฎี
2.2 การแยกประเภทกฎหมายออกเปนกฎหมายมหาชนกับกฎหมายเอกชน
โดยทฤษฎีประโยชน แตมีปญหาเพราะไมอาจแยกเรื่องนั้นวาเปนกฎหมาย
เอกชนหรือกฎหมายมหาชน เพราะอาจปะปนกัน ในกฎหมายเอกชนหลาย
บทบัญญัติก็เปนบทบัญญัติบังคับตกลงยกเวนไมได เพราะเปนกฎหมายเกี่ยวกับ
ความสงบเรียบรอย และศีลธรรมอันดีของประชาชน
5. พั ฒนาการกฎหมายมหาชนในประเทศไทย

แบงออกเปน 3 ระยะ
1. ยุคกอนการปฏิรูประบบกฎหมาย
2. ยุคปฏิรูประบบกฎหมาย
3. ยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง
5. พั ฒนาการกฎหมายมหาชนในประเทศไทย

1. ยุคกอนการปฏิรูประบบกฎหมาย
ยังไมมีการแบงแยกประเภทกฎหมายเปนกฎหมายเอกชนกับ
กฎหมายมหาชนอยางชัดเจน
5. พั ฒนาการกฎหมายมหาชนในประเทศไทย

2. ยุคปฏิรูประบบกฎหมาย
ในสมัยรัชกาลที่ 5 ไดมีการปรับปรุงประเทศทุกดาน มีการปรับปรุง
ระบบศาลโดยรวมศาลทุกศาลขึ้นตรงตอกระทรวงยุติธรรม ปรับปรุง
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และกฎหมายอาญา และไดมีการวาจาง
นักกฎหมายตางชาติเขามาเปนที่ปรึกษาดานกฎหมาย มีการเริ่มแยกเรื่องที่
เปน กฎหมายแพงและพาณิชยกับเรื่องที่เปนกฎหมายอาญาออกจากกัน
5. พั ฒนาการกฎหมายมหาชนในประเทศไทย

3. ยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง
แนวคิดในการแบงแยกประเภทกฎหมายออกเปนกฎหมายมหาชน กับ
กฎหมายเอกชน เริ่มเดนชัดขึ้นมีการสอนวิชากฎหมายมหาชน เชน กฎหมาย
ปกครองกฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายการคลังในมหาวิทยาลัยตางๆ และ
มีการผลักดันใหมีการจัดตั้งศาลปกครองเพื่อพิจารณาคดีปกครองมาโดยตลอด
จนในที่สุดไดมีการจัดตั้งศาลปกครองขึ้นตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2540
6. การแยกสาขาย่อยกฎหมายเอกชนและ
กฎหมายมหาชน

1. การแยกสาขายอยในกฎหมายเอกชน
กฎหมายนี้ถือวาอยูในสาขายอยกฎหมายเอกชน ไดแก
กฎหมายแพง กฎหมายพาณิชย
6. การแยกสาขาย่อยกฎหมายเอกชนและ
กฎหมายมหาชน

1. การแยกสาขายอยในกฎหมายมหาชน อาจแยกออกเปน
1) กฎหมายมหาชนภายใน ไดแก
- กฎหมายรัฐธรรมนูญ กฎหมายปกครอง
- กฎหมายอาญา กฎหมายการคลังและภาษีอากร
2) กฎหมายมหาชนระหวางประเทศ ไดแก
- กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง
จบสาระสําคัญ
หน่วยที่ 11

You might also like