You are on page 1of 17

ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมธรรมชาติ

สิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเรานั้น เรียกรวมกันวา สิ่งแวดลอม ซึ่งแบงได 2 ชนิด คือ


1. สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ เปนสิ่งแวดลอมที่อยูรอบตัวเรา และเกิดเองตามธรรมชาติ เชน
ภูเขา ปาไม แมนํ้า ทะเล มหาสมุทร เปนตน
2. สิ่งแวดลอมทางวัฒนธรรม เปนสิ่งที่อยูรอบตัวเราและเกิดจากการสรางสรรค หรือสั่งสม หรือ
ถูกกําหนดโดยมนุษย เชน กฎระเบียบ ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรม เปนตน
สิ่งแวดลอมทั้ง 2 ชนิดนี้ ในปจจุบันกําลังประสบปญหากับความเสื่อมโทรมเปนอยางมาก สมควร
ที่จะไดรับการอนุรักษอยางถูกตอง จะทําใหมีความสมบูรณและมั่นคงของสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติและ
วัฒนธรรม

ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ ก็คือ สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติที่มนุษยสามารถนํามาใชประโยชนได
ทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญนั้นมีอยู 6 ชนิด คือ ดิน นํ้า ปาไม สัตวปา แรธาตุ และอากาศ
ทรัพยากรดิน ประเทศไทยเปนประเทศที่อยูในเขตรอนชื้น ทําใหอินทรียวัตถุที่ตายทับถมกันใน
ดินจะมีการยอยสลายเร็วมาก และผสมอยูในดินเปนจํานวนมากทําใหดินมีคุณสมบัติเปนกรด ซึ่งจัดเปน
ดินที่มีคุณภาพตํ่า (ดินที่มีคุณสมบัติเปนดางจะเปนดินที่มีคุณภาพสูง) ถึงแมวาดินจะมีคุณสมบัติเปนกรด
ก็สามารถนํามาใชประโยชนไดดีถานําไปใชเพาะปลูกพืชที่ตองการดินที่มีคุณสมบัติเปนกรด ในปจจุบัน
ปญหาการใชทรัพยากรดินของไทยมีปญหาอยู 2 ประการดังนี้
1. ปญหาการใชดินผิดวิธี เชน การเพาะปลูกพืชซํ้าซากในฤดูกาลตางๆ การทําไรเลื่อนลอย การ
ใชที่ดินโดยปราศจากการบํารุงดิน (ไมใสปุยบํารุงดิน) หรือบางครั้งอาจจะใสปุยเคมีมากเกินไปทําใหดิน
เสีย หรือในพื้นที่มีความลาดเอียง การปลูกพืชไมเหมาะสมกับลักษณะภูมิประเทศ ทําใหดินเสื่อมคุณภาพ
อยางมาก
2. ปญหาการใชที่ดินผิดประเภท เชน การใชพื้นที่มีความอุดมสมบูรณเหมาะแกการเพาะปลูกไป
เปนการสรางที่อยูอาศัย สรางโรงงานอุตสาหกรรม สรางศูนยธุรกิจการคาหรืออาจจะสรางสนามกีฬา
เปนตน ทําใหไมไดใชคุณภาพของดิน
ปญหาทัง้ 2 นี้ สามารถแกไขไดโดยการศึกษาถึงปญหาวามีสาเหตุใด วิธแี กไขตองแกไขทีต่ น เหตุ
โดยเฉพาะปญหาตางๆ ในขอ 1 สวนปญหาในขอ 2 นั้น จะตองใชกฎหมายที่มีการกําหนดพื้นที่
เกษตรกรรม พื้นที่ที่อยูอาศัยพื้นที่เศรษฐกิจดานอุตสาหกรรมเปนตน
ทรัพยากรนํ้า เนื่องจากประเทศไทยตั้งอยูในเขตรอนชื้น มีปริมาณนํ้าคอนขางสูง แตเปนนํ้าที่ได
จากนํ้าฝน (ภูเขาตางๆ ในประเทศไทยไมมีหิมะปกคลุม) แตในปจจุบันสภาพแวดลอมไดแปรเปลี่ยนไป

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 37


จากเดิมมาก ประชากรก็เพิ่มมากขึ้น การประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เชน การเกษตรกรรมและ
อุตสาหกรรมมีการใชนํ้าเพิ่มมากขึ้น จึงทําใหเกิดปญหาเกี่ยวกับนํ้าอยู 2 ประการดังนี้
1. ปริมาณนํ้าในฤดูตางๆ มากนอยไมเทากัน ในรอบปหนึ่งๆ ชวงฤดูฝนเปนชวงที่ประเทศไทยมี
ปริมาณนํ้ามาก แตฤดูหนาวและฤดูรอนจะมีปริมาณนํ้านอยลง บางปอาจเกิดนํ้าขาดแคลนขึ้นไดการ
เกษตรกรรมบางครั้งตองชลอการเพาะปลูกออกไป บางครั้งอาจจะตองหันไปปลูกพืชที่ใชปริมาณนํ้านอย
แทน เชน ถั่วเหลือง เปนตน
2. คุณภาพของนํ้าเสื่อมคุณภาพลง เนื่องจากประชากรเพิ่มมากขึ้น ความกาวหนาทางเทคโนโลยี
การเกษตรกรรม และการประกอบอุตสาหกรรมทําใหมีการนําสารเคมีมาใช ปริมาณนํ้าเสียเพิ่มมากขึ้น ซึ่ง
ประชากรที่เพิ่มมากขึ้นจะทิ้งนํ้าเสียเหลานั้นลงสูแหลงนํ้าธรรมชาติ ทําใหนํ้ามีคุณภาพเสื่อมไป
ปญหาที่ 1 นัน้ มีวธิ แี กไขปญหาดวยการปลูกปาเพิม่ มากขึน้ รักษาพืน้ ทีป่ า ใหมคี วามอุดมสมบูรณ
มากขึ้น สรางเขื่อน สรางอางเก็บนํ้า เหมืองฝายเพิ่มมากขึ้น เพื่อกักเก็บนํ้าในฤดูฝนไวใชในชวงฤดูแลง
ปญหาที่ 2 นัน้ มีวธิ แี กไขโดยไมควรทิง้ สิง่ ปฏิกลู และนําเสี
้ ย ตลอดจนสารเคมีลงแหลงนําธรรมชาติ

นํ้าทิ้งจากชุมชน และโรงงานอุตสาหกรรมควรบําบัดใหนํ้ามีคุณภาพดีกอนที่จะปลอยลงแหลงนํ้า อีก
ประการหนึ่งควรออกฎหมายควบคุม และมีบทลงโทษผูกระทําผิดใหรุนแรงยิ่งขึ้น
ทรัพยากรปาไม ปาไมในประเทศไทยเปนปาไมเมืองรอน แตความชุมชื้นในภูมิภาคตางมีปริมาณ
มากนอยตางกัน ทําใหแบงประเภทปาไมได 2 ประเภท คือ
1. ปาไมผลัดใบเมืองรอน เปนปาไมที่พบมากที่สุดในประเทศไทย เพราะปาชนิดนี้จะอยูในเขตที่
มีความชุมชื้นสลับกับความแหงแลง (เขตอากาศทุงหญาเมืองรอน) เรียกอีกอยางหนึ่งวา ปาโปรง เชน ปา
เบญจพรรณ ปาแดง และปาชายหาด โดยเฉพาะปาเบญจพรรณมีมากที่สุด และพบในทุกภูมิภาคของไทย
2. ปาไมไมผลัดใบเมืองรอน เปนปาไมที่พบอยูในเขตที่มีความชื้นสูง และบริเวณที่มีความสูงจาก
ระดับนํ้าทะเลมากๆ เชน ภูเขาสูง ปาไมชนิดนี้จะมีใบเขียวชอุมตลอดป เชน ปาดงดิบ หรือปาดิบชื้น (พบ
ในเขตภูมิอากาศแบบมรสุมเมืองรอน) ปาดิบเขา ปาสนเขา จะพบในเขตภูเขาสูงของภาคเหนือ ปาเลนนํ้า
เค็ม (ปาชายเลน) และปาพรุ พบมากในเขตตะวันออก และบริเวณชายฝงทะเลของภาคใต
ปญหาของปาไมในประเทศไทยปจจุบันนี้เปนปญหาการลดลงของพื้นปาไมอยางรุนแรงเนื่องมา
จากการตัดไมแปรรูปทางธุรกิจของนายทุนมากเกินไป และบางครั้งอาจจะกระทําโดยผิดกฎหมาย การ
ขยายพื้นที่เพาะปลูกของเกษตรกร และการทําไรเลื่อนลอยของชาวไทยภูเขา ปญหาเหลานี้สามารถแกไข
ไดดวยการประกาศพื้นที่ปาที่มีอยูใหเปนพื้นที่สงวนแหงชาติ อุทยานแหงชาติ ปลูกปาเพิ่มเติม ออก
พระราชบัญญัติปดปา (ไมมีการอนุญาตใหทําอุตสาหกรรมปาไมในพื้นที่ปาธรรมชาติ) เปนตน
ทรัพยากรสัตวปา สัตวเปนสิง่ ทีช่ ว ยรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ในขณะเดียวกันสัตวยงั ทําหนาที่
เปนสีสันใหกับปาไม แตในปจจุบันปาไมมีพื้นที่ลดลง ปริมาณของสัตวก็พลอยลดลงตามไปดวย นอกจาก
นี้ตัวการสําคัญที่ทําใหสัตวปาลดปริมาณลงอยางมาก ก็คือมนุษย มีการนําสัตวปามาเปนอาหาร เปนเครื่อง

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 38


ประกอบยาสมุนไพร และยังมีการลาเพื่อเกมกีฬา เปนตน ดังนั้นการอนุรักษใหสัตวปามีปริมาณเพิ่มขึ้น
และคงอยูคูกับโลกตลอดไป รัฐบาลไดกําหนดมาตรการสําคัญไวดังนี้
1. ออกพระราชบัญญัติกําหนดประเภทของสัตวปาบางชนิดเปนสัตวสงวน หามเลี้ยง และหามมี
ไวในครอบครองเด็ดขาด
2. ออกพระราชบัญญัตกิ าหนดประเภทของสั
ํ ตวปา บางชนิดไวเปนสัตวคมุ ครองประเภทที่ 1 และ
ประเภทที่ 2 โดยพิจารณาจากการลาเพื่อเปนอาหาร หรือเกมกีฬาหรือไม เปนตน
3. กําหนดพื้นที่ที่มีอยูเปนเขตคุมครองและรักษาพันธุสัตวปา เพื่อใชเปนที่อยูอาศัยของสัตวปา
อยางปลอดภัย เปนตน
ทรัพยากรแรธาตุ แรธาตุในประเทศไทยมีมากมายหลายชนิด มีการนําแรธาตุตางๆ มาใชและนํา
มาจําหนายแลวเปนเวลาชานาน แตเทคนิคในการนําแรขึ้นมาใชยังไมทันสมัย จึงทําใหนําแรมาใชไมได
เต็มที่ ในขณะเดียวกัน การนําแรออกไปจําหนายยังตางประเทศมักจะสงออกไปในรูปของวัตถุดิบ ซึ่ง
จําหนายไดราคาไมสงู และในปจจุบนั แรธาตุตา งๆ ก็ลดปริมาณลงไปเปนอันมาก จึงสมควรทีจ่ ะใชแรธาตุ
เหลานั้นใหเกิดประโยชนมากที่สุด และใชอยางประหยัด แรธาตุที่สําคัญสามารถแยกประเภทไดดังนี้
ก. แรโลหะ เปนแรที่พบในหินแกรนิต พบมากในจังหวัดตางๆ ดังนี้
เหล็ก - ลพบุรี นครสวรรค กาญจนบุรี ชลบุรี
ทองแดง - เลย ขอนแกน
บ็อกไซด - สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช
ดีบุก แทนทาลัม - ระนอง พังงา ภูเก็ต
ทังสเตน (วุลแฟรม) - เชียงราย นครศรีธรรมราช
ทองคํา - ประจวบคีรีขันธ ปราจีนบุรี นราธิวาส
สังกะสี - ตาก
ตะกั่ว - กาญจนบุรี
แมงกานีส - ชลบุรี นราธิวาส ยะลา เลย
ข. แรอโลหะ เปนแรที่พบในหินชั้น
ฟลูออไรด - ลําพูน ลําปาง ราชบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี สุราษฎรธานี
ยิบซั่ม - พิจิตร สุราษฎรธานี นครสวรรค ลําปาง
เกลือหิน - มหาสารคาม อุดรธานี อุบลราชธานี นครราชสีมา ชัยภูมิ ยโสธร
เกลือทะเล - สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
ดินมารล (ดินสอพอง) - ลพบุรี
ดินเกาลิน (ดินขาว) - ลําปาง
หินออน - สระบุรี สุโขทัย นครนายก กําแพงเพชร

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 39


ทรายแกว - ระยอง
โพแตซ - ชัยภูมิ นครราชสีมา อุดรธานี หนองคาย สกลนคร
ค. แรเชื้อเพลิง-กัมมันตภาพรังสี เปนแรที่พบในหินชั้น
ถานหิน - ลําพูน ลําปาง กระบี่
นํ้ามัน - เชียงใหม ขอนแกน กําแพงเพชร อาวไทย
หินนํ้ามัน - ตาก ลําพูน
กาซธรรมชาติ - ขอนแกน อาวไทย
ยูเรเนียม - ขอนแกน (ทอเรียม – พังงา ระนอง ภูเก็ต)
ง. รัตนชาติ เปนแรที่พบในหินบะซอลต ซึ่งเปนหินแกรนิตชนิดหนึ่ง
พลอย - จันทบุรี ตราด กาญจนบุรี
ทรัพยากรอากาศ อากาศที่บริสุทธิ์เปนสิ่งที่มีความสําคัญตอการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต แตใน
ภาพปจจุบันอากาศไมมีความบริสุทธิ์ เนื่องจากมลพิษในอากาศสูงมากขึ้น เนื่องจากการกระทําของมนุษย
และตามธรรมชาติ (ภูเขาไฟระเบิด ไฟปา ละอองเกสรดอกไม ฝุนละอองจากอินทรีย และอนินทรียวัตถุ
สําหรับการกระทําของมนุษยนั้น ถาชวยกันคนละไมคนละมืออากาศก็จะมีมลพิษนอยลง เชน หมั่นตรวจ
เช็คสภาพเครื่องจักร เครื่องยนตอยูเสมอ ลดการเผาปา และเผาขยะ ลดการใชสาร CFC และสารตะกั่ว
ควบคุมการใชสารเคมี และกัมมันตภาพรังสีอยางมีประสิทธิภาพ แลวอากาศในโลกก็จะมีความบริสุทธิ์
มากยิ่งขึ้น ปญหาโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นจากภาวะเรือนกระจกก็จะลดนอยลงดวย

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 40


ประชากรไทย

ในปจจุบันประเทศไทยมีประชากรประมาณ 62 ลานคน (พ.ศ.2543) ประชากรสวนใหญมี


เชื้อชาติไทย นับถือพระพุทธศาสนา รองลงไปนับถือศาสนาอิสลาม และคริสต ตามลําดับ ประกอบ
อาชีพเกษตรกรรมประมาณ 60% อาศัยอยูในเขตที่ราบลุมแมนํ้า และที่ราบชายฝงทะเล ปจจุบันยังมีอัตรา
การเพิ่มของประชากรที่ไมสัมพันธกับการพัฒนาประเทศในดานตางๆ จึงตองมีการวางแผนครอบครัวกับ
วางแผนพัฒนาประเทศใหสอดคลองกัน
ความหนาแนนของประชากรทั่วประเทศ เฉลี่ยประมาณ 122 คน ตอตารางกิโลเมตร สวนความ
หนาแนนในแตละภาคเรียงตามลําดับไดดังนี้
ความหนาแนน
ภาคเหนือ ประชากร (ลานคน)
( คน : 1 ตารางกิโลเมตร)
ภาคกลาง 207 19.0
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 127 21.4
ภาคใต 121 8.2
ภาคตะวันออก 114 4.0
ภาคเหนือ 68 6.4
ภาคตะวันตก 57 3.1

จังหวัดตางๆ ทีม่ ปี ระชากรเกิน 1 ลานคนมีอยู 18 จังหวัด (พ.ศ. 2543) โดยแยกเปนภูมภิ าคไดดงั นี้
- ภาคเหนือ จังหวัด เชียงใหม เชียงราย
- ภาคกลาง จังหวัด กรุงเทพมหานคร นครสวรรค เพชรบูรณ
- ภาคใต จังหวัด นครศรีธรรมราช สงขลา
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัด นครราชสีมา บุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ อุบลราชธานี
รอยเอ็ด ขอนแกน ชัยภูมิ อุดรธานี สกลนคร
- ภาคตะวันออก จังหวัดชลบุรี
ในปจจุบันนี้มีประชากรหญิงมากกวาชายอยูประมาณ 8 แสนคน แมวาอัตราการเพิ่มประชากรมี
แนวโนมลดลงก็ตาม แตอัตราการเพิ่มยังอยูในระดับที่ไมเหมาะสม ดังนั้น คุณภาพของประชากรจึงยังไม
สมบูรณนัก ไมวาจะเปนดานการศึกษา คุณธรรม จริยธรรม ความขยันอดทนและสุขอนามัย ทําใหประสบ
ปญหาประชากรในดานตางๆ เชน ปญหาเศรษฐกิจ ปญหาสุขภาพ ปญหาการศึกษา ปญหาทางสังคม และ
ปญหาการอพยพยายถิ่น ปญหาตางๆ เหลานี้สามารถแกไขได ถารวมมือกันทุกฝาย ทั้งภาครัฐและเอกชน
เชน

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 41


1. ควบคุมอัตราการเพิ่มของประชากรใหอยูในระดับที่เหมาะสม
2. จัดสรรสาธารณูปโภคไปยังภูมิภาคตางๆเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตชาวชนบท
3. สงเสริมการลงทุนในภูมิภาคตางๆ เพื่อกระจายรายได และสกัดกั้นการอพยพของชาวชนบท
เขาเมือง
4. จํากัดจํานวนแรงงานตางชาติ และตรวจจับแรงงงานตางชาติที่ลักลอบเขาเมืองผิดกฎหมาย
เพื่อมีงานรองรับแรงงานไทยที่ยังวางงานอยู
ทะเลไทย
ประเทศไทยมีอาณาเขตติดตอทะเลถึง 2 ทะเล ดังนี้
1. ทะเลจีนใต คือ ทะเลบริเวณอาวไทยซึ่งเปนสวนหนึ่งของมหาสมุทรแปซิฟก ทะเลจีนใตบริเวณ
นี้เปนเขตนํ้าตื้น จัดเปนเขตไหลทวีป เรียกวา ไหลทวีปชุนดา มีความลึกประมาณ 80 เมตร (บริเวณที่ลึกที่
สุดอยูใตอําเภอสัตหีบ ประมาณ 200 กิโลเมตร) ทะเลในเขตนี้ใชเดินเรือติดตอระหวางประเทศไดดี (เมือง
ทาริมทะเลไดแก แหลมฉบัง เกาะสีชัง ทาเรือมาบตาพุด ทาเรือพาณิชยสัตหีบ ทาเรือสงขลา และ
ทาเรือกรุงเทพฯ) ใชเปนแหลงทองเที่ยว เปนแหลงประมงที่สําคัญของประเทศ และใตทองทะเลนี้อุดม
สมบูรณดวยปโตรเลียม (นํ้ามันและกาซธรรมชาติ)
2. ทะเลอันดามัน เปนทะเลดานตะวันตกของภาคใต ซึ่งเปนสวนหนึ่งของมหาสมุทรอินเดียทะเล
ในเขตนี้เปนเขตนํ้าลึก นอกจากใชเดินเรือติดตอระหวางประเทศ (เมืองทาริมทะเลไดแก ทาเรือภูเก็ต) ยัง
ใชเปนแหลงทองเที่ยว เปนแหลงประมงทะเล และใตทองทะเลมีแรดีบุกมาก

ลักษณะกายภาพและประชากรในภูมิภาคตางๆของไทย

ภาคเหนือ
ทําเลที่ตั้ง
ภาคเหนือตั้งอยูทางตอนบนสุดของประเทศ มีอาณาเขตติดตอกับประเทศ พมาและลาว ประกอบ
ดวยจังหวัดตางๆ 9 จังหวัด คือ แมฮองสอน เชียงใหม เชียงราย แพร นาน ลําปาง ลําพูน พะเยา และ
อุตรดิตถ

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 42


ภาคเหนือ : เขตการปกครอง ภาคเหนือ : ลักษณะภูมิประเทศ

ลักษณะภูมิประเทศ ภาคเหนือมีภูมิประเทศสําคัญ 2 แบบดังนี้


1. เทือกเขา เทือกเขาในภาคเหนือทอดเปนแนวเหนือใตขนานกัน 4 เทือก คือ เทือกเขาหลวง-
พระบาง ผีปนนํ้า ถนนธงชัย และแดนลาว ยอดสูงสุดคือ ยอดดอยอินทนนท บนเทือกเขาถนนธงชัย
เทือกเขาเหลานี้เปนแหลงทรัพยากรปาไม สัตวปา แรธาตุ และตนนํ้า ลําธาร แมนํ้าที่อยูในเขตภาคเหนือ
แบงได 3 กลุม คือ กลุมที่ไหลไปทางเหนือลงสูแมนํ้าโขงที่จังหวัดเชียงราย ไดแก แมนํ้าสาย รวก ฝาง กก
และอิง กลุมที่ไหลไปทางตะวันตกลงสูแมนํ้าสาละวิน ที่จังหวัดแมฮองสอน ไดแก แมนํ้าปาย เมย และ
ยวม กลุมที่ไหลไปทางใตลงสูแมนํ้าเจาพระยา ที่จังหวัดนครสวรรค ไดแก แมนํ้าปง วัง ยม และนาน
แมนํ้านานยาวที่สุดในภาคเหนือ
2. แองที่ราบระหวางภูเขา เกิดจากการทับถมของตะกอนที่แมนํ้าลําธารพัดพามาจากภูเขา ทับถม
กันเชิงเขา พื้นที่นี้มีความสมบูรณ เปนแหลงชุมชนที่สําคัญ เปนที่ตั้งของตัวเมืองหลักในภูมิภาค
ลักษณะภูมิอากาศ ภาคเหนือมีภูมิอากาศแบบทุงหญาเมืองรอน (Aw) นอกจากบนภูเขาสูงที่
อุณหภูมิของอากาศจะเปลี่ยนตามระดับความสูง มีอยู 3 ฤดู คือ รอน ฝน และหนาว มีพิสัยอุณหภูมิของ
อากาศคอนขางสูงเพราะภูมิภาคนี้ไมติดทะเล
ทรัพยากรธรรมชาติ
1. ปาไม ภาคเหนืออุดมดวยพื้นที่ปาไม มีเนื้อที่ปาไมมากที่สุดในประเทศ สวนใหญเปนปาเบญจ
พรรณ สวนบนเทือกเขาสูงจะเปนปาสนเขาและปาดิบเขา (ตนนํ้าลําธาร)
2. แรธาตุ มีแรธาตุคอ นขางอุดมสมบูรณ ทัง้ ทังสะเตน ฟลูออไรด ดินขาวเกาลิน ถานหิน และนํามั
้ น

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 43


3. นํ้า แหลงตนนํ้าลําธาร กวานพะเยา เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนกิ่วลม เขื่อนแมงัด-สมบูรณชล เขื่อนแมก
วงอุดมธารา
4. ดิน ดินในเขตภาคเหนือแบงตามที่ตั้งได เชน ดินภูเขา (สมบูรณตํ่า) ดินเชิงเขา (สมบูรณปาน
กลาง) ดินลุมนํ้า (สมบูรณสูง)
ประชากร ประมาณ 6 ลานคน มีทั้งคนไทยบนพื้นราบ (คนเมือง) และคนไทยภูเขา สวนใหญตั้ง
ถิ่นฐานในเขตแองที่ราบระหวางภูเขาและประกอบอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรมแปรรูปวัตถุดิบการ
เกษตร ไมแกะสลัก เซรามิกส การทองเที่ยว
ปญหา
- ลักษณะภูมิประเทศเปนภูเขาสูง การคมนาคมไมสะดวก
- การลักลอบขนสินคาผิดกฎหมายและลักลอบเขาเมือง
- การลักลอบตัดไมและขุดแร
- ปญหาความยากจน ขาดการศึกษาและถูกลอลวง
- ปญหาสุขภาพอนามัย
ภาคกลาง
ทําเลที่ตั้ง ตั้งอยูบริเวณตอนกลางของประเทศ มีอาณาเขตติดตอกับประเทศลาวและติดตอกับภูมิ
ภาคตางๆ ทุกภาค ยกเวนภาคใต ประกอบดวยจังหวัดตางๆ ถึง 22 จังหวัด โดยแบงเปน

ภาคกลาง : เขตการปกครอง ภาคกลาง : ลักษณะภูมิประเทศ

1. ภาคกลางตอนบน ไดแก จังหวัดสุโขทัย พิษณุโลก กําแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ อุทัยธานี


และนครสวรรค

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 44


2. ภาคกลางตอนลาง ไดแก จังหวัด ชัยนาท สิงหบุรี ลพบุรี อางทอง สระบุรี สุพรรณบุรี อยุธยา
ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพฯ นครนายก นครปฐม สมุทรปราการ สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม
ลักษณะภูมิประเทศ ภาคกลางมีภูมิประเทศแตกตางกัน 2 ประเภท ไดแก
1. ที่ราบ พื้นที่สวนใหญของภูมิภาคเปนที่ราบเกิดจากการกระทําของแมนํ้าพัดพาตะกอนมา
ทับถม สันนิษฐานวา เดิมภาคกลางเปนเปลือกโลกที่ทรุดตัวจมอยูใตทะเล แลวแมนํ้าจากภาคเหนือพัดพา
ตะกอนมาทับถมทําใหเกิดที่ราบประเภทตางๆ เชน ภาคกลางตอนบนจะมีที่ราบลูกฟูกและที่ราบขั้นบันได
สวนที่ราบภาคกลางตอนลางจะเปนที่ราบนํ้าทวมถึงและที่ราบดินดอนสามเหลี่ยมปากแมนํ้า มีความอุดม
สมบูรณมาก จึงเปนพื้นที่ที่มีประชากรอาศัยหนาแนน
2. ที่สูงบริเวณขอบตะวันออกและตะวันตกของภาค เปนเปลือกโลกดั้งเดิม มีความตางระดับเปน
เนินเขาและภูเขาโดดอยูหลายแหง
ในภาคกลางมีแมนํ้าสายใหญๆ ไหลผานหลายสาย เชน แมนํ้าเจาพระยา ทาจีน ปาสัก และมี
แมนํ้าแมกลองไหลออกทะเลที่จังหวัดสมุทรสงคราม
ลักษณะภูมิอากาศ ภาคกลางมีลักษณะภูมิอากาศแบบทุงหญาเมืองรอน (Aw) บริเวณตอนบนจะมี
ความชื้นตํ่า เพราะอยูใกลทะเล จึงไดรับอิทธิพลจากทะเลเต็มที่ ภาคนี้มี 3 ฤดูคือ ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดู
หนาว
ทรัพยากรธรรมชาติ
1. ดิน ดินสวนใหญเปนดินตะกอนนํ้าพา ทางตอนบนจะเปนดินรวนปนทราย เหมาะแกการปลูก
พืชไร แตตอนลางจะเปนดินละเอียด (ดินเหนียว) เหมาะแกการทํานาปลูกขาว
2. นํ้า แมนํ้าสายใหญๆ ไหลผานหลายสาย และมีการสรางเขื่อนขนาดใหญ กั้นกักเก็บนํ้าไวใช
อยางเต็มที่ เชน เขื่อนเจาพระยา (แมนํ้าเจาพระยา) เขื่อนกระเสียว (แมนํ้าสาขาของทาจีน) เขื่อนปาสักชล
สิทธิ์ (แมนํ้าปาสัก) นอกจากนี้ยังมีแหลงนํ้าธรรมชาติ เชน บึงบรเพ็ด บึงสีไฟ
3. ปาไม ภาคกลางมีปาไมเบญจพรรณทางตอนบน และปาชายเลนบริเวณชายฝงทะเล ในเขต
จังหวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม และกรุงเทพมหานคร
4. แรธาตุ แรทพี่ บสวนใหญเปนแรอโลหะ เชน หินออน ดินมารล ยิปซัม่ เกลือทะเล มีแรเชือ้ เพลิง
ที่สําคัญคือ นํ้ามันปโตรเลียม สวนโลหะที่สําคัญคือ เหล็ก
ประชากร มีประชากรประมาณ 19 ลานคน อันดับ 2 รองจากภาคอีสาน แตมีความหนาแนนมาก
ที่สุด เพราะเปนศูนยกลางในดานตางๆ ของประเทศ และพื้นที่สวนใหญเปนที่ราบที่สมบูรณ สวนใหญ
ประชากรประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทํานา และปลูกพืชไร อุตสาหกรรมในกรุงเทพฯ และปริมณฑล

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 45


ปญหา
- ปญหานํ้าทวมและภัยแลงสลับกันเรื่อยมา
- ปญหาการอพยพยายถิ่นเขามาของคนในภูมิภาคอื่น
- ในเมืองใหญจะมีปญ  หาการจราจรติดขัด ขยะมูลฝอย มลพิษทางอากาศ นําเสี
้ ย อาชญากรรม
ยาเสพติด แหลงอบายมุข ชุมชนแออัด โสเภณี สาธารณูปโภคไมเพียงพอ การวางงาน คา
ครองชีพสูง เปนตน

ภาคตะวันออก
ทําเลที่ตั้ง ตั้งอยูดานตะวันออกของประเทศ มีอาณาเขตติดตอประเทศกัมพูชา ประกอบดวย
จังหวัดตางๆ 7 จังหวัด ไดแก ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี สระแกว ระยอง จันทบุรี และตราด

ภาคตะวันออก : เขตการปกครอง ภาคตะวันออก : ลักษณะภูมิประเทศ

ลักษณะภูมิประเทศ
1. ที่ราบชายฝงทะเล ที่ราบคอนขางกวางริมฝงอาวไทย มีหาดทรายและเกาะที่สวยงามเปนแหลง
ทองเที่ยวอยูทั่วไป แมนํ้าในเขตนี้จะเปนแมนํ้าสายสั้นๆ ไหลจากภูเขาแลวลงสูทะเล จึงใชประโยชนได
จํากัด
2. เทือกเขาสูง เทือกเขาที่สําคัญคือเทือกเขาจันทบุรีและเทือกเขาบรรทัด ทอดเปนแนวตอนกลาง
ของภูมิภาค และแนวชายแดนไทยกัมพูชาในจังหวัดจันทบุรีและตราด
3. ที่ราบลุมแมนํ้า อยูบริเวณตอนบนของภูมิภาคในเขตจังหวัดปราจีนบุรี และฉะเชิงเทรา คือ
แมนํ้าบางปะกง บริเวณ 2 ฝงแมนํ้าเปนที่ราบสมบูรณ มีการทํานาและปลูกผลไมมาก

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 46


ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิอากาศในภูมิภาคนี้มี 2 ประเภท ดังนี้
1. ภูมภิ าคแบบทุง หญาเมืองรอน (Aw) พบบริเวณตอนเหนือของเทือกเขาจันทบุรี และบรรทัด ปริมาณ
ฝนตกนอย เพราะถูกแนวภูเขาขวางกัน้ เหมาะแกการปลูกพืชไร (ออย มันสําปะหลัง ขาวโพด สับปะรด)
2. ภูมอิ ากาศแบบมรสุมเมืองรอน (Aw) พบบริเวณชายฝง ตอนใตของเทือกเขาจันทบุรี และบรรทัด
ปริมาณฝนตกชุก เพราะอยูในดานที่รับลมภูเขา เหมาะแกการปลูกพืชสวน (สวนผลไมตางๆ)
ภาคตะวันออกมี 3 ฤดูไดแก ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดูหนาว มีพิสัยอุณหภูมิตํ่าเพราะอยูใกลทะเล
แตจังหวัดที่อยูตอนใน จะมีพิสัยอุณหภูมิสูงกวา เพราะอยูหา งไกลทะเลมากกวา
ทรัพยากรธรรมชาติ
1. นํ้า ภาคตะวันออกมีปญหาเรื่องนํ้า เพราะแมนํ้าสายสั้น ดินไมอุมนํ้า และภูมิประเทศไมเอื้อตอ
การสรางเขื่อนขนาดใหญ
2. ดิน ดินสวนใหญเปนดินรวนปนทราย การระบายนํ้าดี
3. ปาไม ปาที่พบในภาคบริเวณเทือกเขาจะเปนปาดิบชื้น บริเวณชายฝงทะเลเปนปาชายเลน และ
พื้นที่เหนือเทือกเขาจันทบุรีขึ้นไปจะเปนปาเบญจพรรณ
4. แรธาตุ แรธาตุที่สําคัญในภูมิภาคไดแก พลอยชนิดตางๆ (จันทบุรี ตราด) ทรายแกว (ระยอง)
และแมงกานีส (ชลบุรี)
ประชากร ประชากรประมาณ 3.9 ลานคน สวนใหญอาศัยอยูใ นเขตทีร่ าบชายฝง ทะเล และทีร่ าบลุม
แมนํ้า ประกอบอาชีพเกษตรกรรม (เพาะปลูก เลี้ยงสัตว ประมง) ปจจุบันภาคตะวันออกมีการพัฒนาให
เปนเขตอุตสาหกรรม (ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา) ตามโครงการพัฒนาชายฝงทะเลภาคตะวันออก ทําใหมี
ประชากรในภูมิภาคอื่นอพยพเขาไปขายแรงงงานเปนจํานวนมาก
ปญหา
- ปญหาชายแดนไทยกัมพูชา มีการลักลอบเขาเมืองและขนสินคาผิดกฎหมาย
- ปญหานานนํ้าระหวางไทย กัมพูชา และเวียดนาม
- ปญหาขาดแคลนนํ้าในฤดูแลงเพื่อการเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
- ปญหาการลักลอบตัดไมในปาและขุดแร
- ปญหาเกิดจากอุตสาหกรรมทองเที่ยว เชน สิ่งแวดลอม คาครองชีพสูง อบายมุขตางๆ อาชญา
กรรม ยาเสพติด โสเภณี ชุมชนแออัด การวางงาน ขยะมูลฝอย สาธารณูปโภค
ขาดแคลน

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 47


ภาคตะวันตก
ทําเลที่ตั้ง ตั้งอยูตามแนวชายแดนไทย-พมา ประกอบดวยจังหวัดตางๆ 5 จังหวัด ไดแก ตาก
กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ

ภาคตะวันตก : เขตการปกครอง ภาคตะวันตก : ลักษณะภูมิประเทศ


ลักษณะภูมิประเทศ มีภูมิประเทศแตกตางกัน 3 ประเภท ดังนี้
1. เทือกเขาสูง เปนภูมิประเทศสวนใหญตอเนื่องจากภาคเหนือ ประกอบดวย เทือกเขาถนนธงชัย
และตะนาวศรี มีแรธาตุอุดมสมบูรณ ปาไมและตนกําเนิดของแมนํ้าสายตางๆ เชน แควนอย แควใหญ แม
นํ้าเพชรบุรี และปราณบุรี เปนตน
2. ที่ราบลุมแมนํ้า เนื่องจากภูมิภาคนี้มีแมนํ้าสายใหญๆไหลผาน คือ แมนํ้าแมกลอง และแมนํ้า
เพชรบุรี ไดพัดพาตะกอนมาทับถม จึงทําใหมีพื้นที่สมบูรณเปนหยอมๆ
3. ที่ราบชายฝงทะเล เปนที่ราบบริเวณชายฝงอาวไทย (เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ) มีหาดทราย
และที่ราบกวางเหมาะแกการปลูกพืชไร (ออย สับปะรด)
ลักษณะภูมิอากาศ ภาคตะวันตกมีภูมิอากาศแบบทุงหญาเมืองรอน (Aw) มีฤดูกาล 3 ฤดู ไดแก ฤดู
รอน ฤดูฝน และฤดูหนาว มีพิสัยอุณหภูมิสูงบริเวณตอนบนของภาค และในบริเวณชายฝงทะเลจะมีพิสัย
อุณหภูมิตํ่า ภาคตะวันตกเปนเขตเงาฝนของเทือกเขาถนนธงชัยและตะนาวศรี ที่กั้นลมมรสุมฤดูรอนจาก
ทะเลอันดามัน
ทรัพยากรธรรมชาติ
1. ดิน ดินในภาคตะวันตก มีทั้งดินภูเขา ดินลุมแมนํ้าและดินชายฝงทะเล ที่มีคุณสมบัติเหมาะใน
การเพาะปลูกแตกตางกันไป

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 48


2. นํา้ แมนาในภู
ํ้ มภิ าคนีม้ ปี ริมาณนํามากและไหลเชี
้ ย่ ว แมวา ภูมภิ าคนีจ้ ะเปนเขตเงาฝน แตมปี ริมาณ
นํามาก
้ ถามีการชลประทานทีด่ ี ก็จะใชทาเกษตรกรรมได
ํ ดี ในภูมภิ าคนีม้ กี ารสรางเขือ่ นชลประทาน และ
เขือ่ นผลิตพลังงานไฟฟาเกือบทุกจังหวัด ยกเวนราชบุรี เพราะมีทรี่ าบมาก และประชากรอาศัยหนาแนน
3. ปาไม ในภาคตะวันตกมีปาไมมาก คิดเปนรอยละของพื้นที่ในภูมิภาคประมาณ 50% เปนปา
เบญจพรรณ (ตาก) และปาไผ (กาญจนบุรี)
4. แรธาตุ แรทสี่ าคั ้ น สังกะสี (ตาก) ตะกัว่ พลอย (กาญจนบุร)ี ฟอสเฟต (ราชบุร)ี
ํ ญๆ ไดแก หินนํามั
ฟลูออไรด (เพชรบุรี) ทองคํา (ประจวบคีรีขันธ)
ประชากร มีประชากรประมาณ 3 ลานคน อาศัยอยูในบริเวณที่ราบลุมแมนํ้าและที่ราบชายฝงทะเล
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และมีการประกอบอาชีพแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เชน นําตาลทราย ้
(กาญจนบุรี) สับปะรดกระปอง (เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ) เครื่องปนดินเผา (ราชบุรี)
ปญหา
- ปญหาชายแดนไทยพมา มีการลักลอบเขาเมือง ขนสินคาผิดกฎหมาย การสูรบของชนกลุม
นอยในพมา
- ปญหาการลักลอบตัดไมในปาและการขุดแร
- ปญหานํ้าเนาเสียในแมนํ้าแมกลองจากการปลอยนํ้าเสีย
- ปญหาความเสื่อมโทรมของธรรมชาติจากนักทองเที่ยว
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ทําเลที่ตั้ง อยูดานตะวันออกคอนขางไปทางเหนือของประเทศ มีอาณาเขตติดตอกับประเทศลาว
และกัมพูชา เปนภูมิภาคที่มีขนาดใหญที่สุด และมีประชากรมากที่สุด ประกอบดวยจังหวัดตางๆ 19
จังหวัด แบงออกเปน 2 เขต ดังนี้
1. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน จังหวัดกาฬสินธุ ขอนแกน นครพนม มุกดาหาร มหาสารคาม
เลย สกลนคร อุดรธานี หนองคาย หนองบัวลําภู จังหวัดเหลานี้อยูเหนือแมนํ้าชี
2. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลาง จังหวัดรอยเอ็ด ยโสธร อุบลราชธานี ชัยภูมิ ศรีสะเกษ บุรรี มั ย
สุรินทร นครราชสีมา อํานาจเจริญ จังหวัดเหลานี้อยูใตแมนํ้าชี

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 49


ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : เขตการปกครอง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่สวนใหญเปนที่ราบสูง แตบริเวณขอบตะวันตกและใตกับตอนกลาง
เปนเทือกเขาสูง
1. ที่ราบสูง ที่ราบสูงในภูมิภาคนี้สันนิษฐานวาเปนเปลือกโลกใตทะเล แลวยกตัวขึ้นมา โดยมี
ขอบสูงดานตะวันตกและดานใต ลาดไปทางตะวันออก เรียกวา ที่ราบสูงโคราช
2. เทือกเขาสูง เปนเทือกเขาที่เกิดจากการยกตัวของเปลือกโลก (Uplifting) ตั้งอยูบริเวณขอบ
ตะวันตก ไดแก เทือกเขาเพชรบูรณ ดงพญาเย็น ขอบดานใตไดแก เทือกเขาสันกําแพง พนมดงรัก สวน
บริเวณตอนกลางของภูมภิ าค ไดแก เทือกเขาภูพาน และเทือกเขาภูพานยังแบงพืน้ ทีภ่ มู ภิ าคเปนแองโคราช
และแองสกลนครดวย
ลักษณะภูมอิ ากาศ ภูมภิ าคนีม้ ภี มู อิ ากาศคอนขางแหงแลง ประเภททุง หญาเมืองรอน (Aw) มีฤดูกาล 3
ฤดู ไดแก ฤดูรอน ฤดูฝน และฤดูหนาว ภูมิภาคนี้มีพิสัยอุณหภูมิสูง เพราะอยูหางไกลทะเล อิทธิพลของ
ทะเลเขาไปไมถึง
ทรัพยากรธรรมชาติ
1. ดิน ดินสวนใหญเปนดินรวนปนทราย ไมอุมนํ้า และมีเกลือปะปนอยูในดินเค็ม เปนอุปสรรค
ตอการเพาะปลูก
2. นํ้า ภาคนี้มีฝนตกนอย เพราะเปนเขตเงาฝนของลมมรสุมฤดูรอน แตฝนที่ตกสวนใหญ เปนฝน
ที่มาจากพายุหมุนพัดมาจากทะเลจีนใต จังหวัดที่ฝนตกมากที่สุดคือ นครพนม ในภูมิภาคนี้จึงมีการสราง
เขื่อน และอางเก็บนํ้าเปนจํานวนมาก เพราะเปนภูมิภาคที่คอนขางแหงแลง
3. ปาไม เนื่องจากเปนภูมิภาคที่มีประชากรมาก จึงทําใหพื้นที่ปามีนอย (รอยละของพื้นที่ตํ่าสุด
ประมาณ 12.4) สวนใหญเปนปาแดง

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 50


4. แรธาตุ แรที่สําคัญไดแก เกลือหิน (เกลือสินเธาว) โปแตช เหล็ก แมงกานีส ทองแดง กาซธรรม
ชาติและยูเรเนียม
ประชากร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีประชากรประมาณ 21 ลานคน หรือประมาณ 1 ใน 3 ของ
ประชากรในประเทศ สวนใหญอาศัยอยูร มิ ฝง แมนามู
ํ้ ล แมนาชี
ํ้ แมนาสงคราม
ํ้ ํ้ นอกจากนี้ อาศัย
และแมนาโขง
อยูริมแหลงนํ้า และตามเสนทางคมนาคม ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และมีการอพยพไปยังภูมิภาคอื่นๆ
มากกวาภูมิภาคอื่นๆ ทั้งหมด สวนใหญอยูในเขตภาคกลางตอนลาง โดยเฉพาะกรุงเทพฯ และปริมณฑล
ปญหา
- ความยากจน เนื่องจากประชากรมาก แหงแลง ดินขาดความสมบูรณจึงมีรายไดตํ่า
- ปญหาคนไทยเชื้อสายเวียดนาม
- ปญหาดินเค็ม และขาดแคลนนํ้า
- ปญหาการอพยพยายถิ่น
- ปญหาฝนทิ้งชวง
ภาคใต
ทําเลที่ตั้ง ตั้งอยูทางตอนใตของประเทศ บนคาบสมุทรหรือดามขวานของไทย ประกอบดวย
จังหวัดตางๆ 14 จังหวัด แบงออกเปน 2 กลุม ดังนี้

ภาคใต : เขตการปกครอง ภาคใต : ลักษณะภูมิประเทศ

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 51


1. ภาคใตฝงตะวันออก ไดแก จังหวัดชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ยะลา
ปตตานี นราธิวาส
2. ภาคใตฝงตะวันตก ไดแก จังหวัดพังงา ระนอง ภูเก็ต กระบี่ ตรัง สตูล ทางตอนบนของภาคติด
ตอกับประเทศพมา และตอนลางติดตอกับประเทศมาเลเซีย
ลักษณะภูมิประเทศ ภาคใตมีลักษณะภูมิประเทศเปนคาบสมุทร ถูกขนาบดวยทะเลจีนใต (อาว
ไทย) และทะเลอันดามัน
1. เทือกเขาสูง ประกอบดวยเทือกเขาภูเก็ต เทือกเขานครศรีธรรมราช เทือกเขาสันกาลาคีรี ทอด
เปนแนวตอเนื่องมาจากเทือกเขาในเขตภาคเหนือและภาคตะวันตก มียอดสูงสุดคือ ยอดเขาหลวงบน
เทือกเขานครศรีธรรมราช
2. ที่ราบชายฝงทะเล
- ดานอาวไทย เปนชายฝง ยกตัว จะมีทรี่ าบกวาง ชายหาดทอดเปนแนวยาว อาวลากูน โขดหินชาย
ฝง และสันทรายจะงอย
- ดานอันดามัน เปนชายฝงจมตัว จะมีที่ราบแคบ ชายหาดเปนชวงสั้นๆ ชายฝงเวาแหวง เกาะ
แกงมาก และบริเวณปากแมนํ้ามีชวากทะเล
3. ที่ราบลุมแมนํ้า สวนใหญแมนํ้าในภูมิภาคจะเปนสายสั้นคลายภาคตะวันออก แตมีที่ราบลุมอัน
อุดมสมบูรณอยูบางบริเวณฝงตะวันออกของภูมิภาค เชน ที่ราบสุราษฎร ที่ราบรอบทะเลสาบสงขลา และ
ที่ราบปตตานี เปนตน
ลักษณะภูมิอากาศ ภาคใตมีภูมิอากาศแตกตางจากภูมิภาคอื่น คือ เปนภูมิอากาศแบบมรสุมเมือง
รอน (Aw) มีพิสัยอุณหภูมิตํ่า เพราะอยูใกลทะเลและมีฤดูกาลเพียง 2 ฤดูกาล ไดแก ฤดูรอนและฤดูฝน
เพราะความใกลชิดกับทะเล จึงมีความรุนแรงของอากาศคอนขางสูง เชน วาตภัย และอุทกภัย
ทรัพยากรธรรมชาติ
1. ดิน ดินในภาคใตแบงตามทําเลที่ตั้งไดหลายประเภท เชน ดินตะกอนนํ้าพาทับถมบริเวณ
ลุมแมนํ้า เหมาะแกการเพาะปลูกผลไมและทํานา ดินชายฝงทะเล ดินชายหาด ดินเหลานี้ใชเพาะปลูกได
แตมีคุณสมบัติเค็ม และดินพรุ มีความเปนกรดสูง เหมาะแกการปลูกหญาเลี้ยงสัตว
2. นํ้า ภาคใตมีฝนตกชุก แมนํ้าเปนสายสั้นๆ คลายภาคตะวันออก จึงนํามาใชประโยชนไดนอย
เขื่อนกั้นแมนํ้าที่สําคัญ เชน เขื่อนบางลาง (ยะลา) เขื่อนรัชชประภา (สุราษฎรธานี)
3. ปาไม ปาไมสวนใหญเปนปาไมผลัดใบ เพราะฝนตกชุก เชน ปาดิบชื้น ปาเลนนํ้าเค็ม ปาพรุ
และปาชายหาด

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 52


4. แรธาตุ ภาคใตมีแรธาตุมาก เหมือนกับภาคเหนือและตะวันตก เพราะอยูในแนวของสายแร
(เทือกเขา) เดียวกัน เชน ดีบุก (ระนอง พังงา ภูเก็ต) วุลแฟรม (นครศรีธรรมราช) ทองคํา (นราธิวาส)
ทอเรียม โคลัมเบียน แทนทาลัม (ระนอง พังงา ภูเก็ต) ยิปซัม (สุราษฎรธานี) หินปูน (นครศรีธรรมราช)
ถานหินลิกไนต (กระบี่)
ประชากร ประชากรของภาคประมาณ 8 ลานคน ตั้งถิ่นฐานอยูบริเวณที่ราบชายฝงตะวันออก
ประกอบดวยเกษตรกรรม ทําเหมืองแร และประมง นับถือพุทธศาสนา และอิสลาม (บริเวณชายแดน
มาเลเซีย)
ปญหา
- ปญหาพรมแดนและนานนํ้า
- ปญหาดินเค็มและความรุนแรงของอากาศ
- ปญหาการลักลอบตัดไมทําลายปาและขุดแร
- ปญหาการลักลอบขนสินคาผิดกฎหมายและลักลอบเขาเมือง
- ปญหาขบวนการโจรกอการราย

สังคมศึกษา อ.คมกฤษณ ศิริวงษ 53

You might also like