You are on page 1of 1

7 เทคนิคการอ่านชีววิทยา ให้จ ำได้ไม่มีลืม

1. สแกนภาพรวมของหนังสื อ โดยการเปิ ดดูผา่ น ๆ ทั้งเล่มก่อนอ่านจริ ง เพื่อทำความเข้าใจภาพรวม หรื อกำหนดเป้ าหมายในการอ่าน ซึ่งเปรี ยบเสมือนการกำหนดเส้นชัย
และวางแผนการเดินทางไปสู่ จุดหมายได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
2. จินตนาการเนื้ อหาให้เป็ นภาพ เป็ นหัวใจสำคัญของการอ่านวิชาชีววิทยา เมื่อฝึ กบ่อย ๆ จะทำให้สมองทำหน้าที่เปรี ยบเสมือนเครื่ องฉายภาพ ที่พร้อมจะฉายภาพในความ
คิดออกมาใช้ได้ตลอดเวลา นอกจากนี้ การเลือกอ่านหนังสื อที่มีเนื้ อหาและภาพประกอบที่ครบถ้วน สวยงาม จะส่ งผลให้จดจำข้อมูลได้ดีข้ ึน เพราะโดยทัว่ ไปสมองจะ
ประมวลผลภาพได้ดีกว่าตัวอักษร
3. อ่านให้รู้กว้างก่อนรู ้ลึก โดยเริ่ มอ่านจากบทนำของแต่ละบท ทำให้ผอู้ ่านเห็นภาพรวมกว้าง ๆ ของบทนั้น ๆ แล้วจึงเจาะรายละเอียดของเนื้ อหาในแต่ละหัวข้อ
4. 4. รับข้อมูลโดยใส่ ใจคุณภาพในการอ่านมากกว่าปริ มาณในการอ่าน เพราะจะทำให้ได้เนื้ อหาครบถ้วนและจดจำเนื้อหาได้ดีกว่า หากเพิ่มคุณภาพในการอ่านได้มาก
พอแล้ว จึงลองพัฒนาทักษะการอ่านเร็ วในระดับที่รักษาคุณภาพในการอ่านไว้ได้
5. 5. ส่ งออกข้อมูลจากการอ่านให้ได้ 3-4 ครั้งต่อสัปดาห์ สมองจะจำเรื่ องนั้นไม่มีลืม ซึ่งสามารถทำได้หลายวิธี เช่น จดโน๊ต เน้นข้อความส่ วนที่สำคัญ เล่าเนื้อหาให้คน
อื่นฟัง หรื อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในหัวข้อนั้น ๆ เป็ นต้น
6. 6. เข้าใจธรรมชาติของการอ่าน ซึ่งโดยทัว่ ไปคนเรามักมีสมาธิมากเป็ นพิเศษในช่วง 5 นาทีแรก และ 5 นาทีสุดท้าย ของการอ่าน ซึ่งเป็ นปรากฏการณ์ทางจิตวิทยาที่
เรี ยกว่า “ความมุ่งมัน่ ช่วงเริ่ มต้น” และ “ความมุ่งมัน่ ช่วงสุ ดท้าย” ดังนั้นการอ่าน หนังสื อครั้งละ 15 นาที โดยแบ่งเป็ น 4 ครั้ง มีประสิ ทธิภาพมากกว่าการอ่านรวดเดียว
60 นาที เพราะสมองจดจำข้อมูลได้ถึง 4 รอบหรื อ 40 นาที ตัวอย่างการนำไปประยุกต์ใช้ เช่น แบ่งเนื้อหาที่อ่านในแต่ละบทเป็ นหัวข้อหรื อ concept เป็ นต้น
7. 7. ฝึ กทำข้อสอบ เพื่อทำให้รู้จุดสำคัญและแนวโน้มเนื้ อหาที่น ำมาออกข้อสอบ รวมถึงประเมินว่าเรายังจำเนื้ อหา หรื อยังไม่เข้าใจในส่ วนไหน เมื่อเปิ ดข้ามไปอ่านใน
หัวข้อที่อยากรู ้ จะจำเนื้อหาได้ดี เพราะมีเป้ าหมายในการอ่านที่ชดั เจน
8.

You might also like