You are on page 1of 377

9Y121-03840_A4_cover.

pdf 23/2/2553 14:56:27


ถึงผูอา น

คูมือซอมเลมนี้จัดทําขึ้นเพื่อใหบุคคลากรผูมีหนาที่ในการตรวจสภาพเครื่องยนตไดรับทราบขอมูลเกี่ยวกับกลไกการทํางาน
การตรวจสภาพ และการบํารุงรักษาเครื่อง M6040DT-SU ประกอบดวยเนื้อหา 4 สวนดังนี้: “ขอมูล”, “ขอมูลทั่วไป”, “ระบบกลไก”
และ “การตรวจซอม”

Q ขอมูล
บทนี้มีขอความดังตอไปนี้
• ความปลอดภัยในการทํางาน
• สติ๊กเกอรความปลอดภัย
• ขอมูลจําเพาะ
• ขนาด

Q ขอมูลทัว่ ไป
บทนี้มีขอความดังตอไปนี้
• หมายเลขเครื่องยนต
• หมายเลขรุน
• ขอควรระวังทั่วไป
• รายการซอมบํารุง
• การตรวจเช็คและบํารุงรักษา
• เครื่องมือพิเศษ

Q ระบบกลไก
หัวขอนี้อธิบายโครงสรางและฟงกชันการทํางานของรถแทรกเตอร กอนจะผานไปยังบทตอไป โปรดแนใจวาไดอานบทนี้แลว
โปรดดูคูมือซอมฉบับลาสุด (เอกสารที่ 9Y021-01870 / 9Y021-18200) เกี่ยวกับเครื่องยนตดีเซลและกลไกการทํางานของ
แทรกเตอรที่คูมือซอมไมไดอธิบายไว

Q การตรวจซอม
บทนี้มีขอความดังตอไปนี้
• ปญหาและวิธีการแกไข
• คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ
• คาแรงขัน
• การตรวจเช็ค การถอด และการตรวจซอม

ขอมูล รูปภาพประกอบและคามาตรฐานที่ใชทั้งหมดในคูมือเลมนี้ เปนขอมูลของผลิตภัณฑรุนลาสุดในชวงเวลาที่ทําการจัดพิมพ


บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงขอมูลทั้งหมดไดตลอดเวลาโดยมิตองแจงใหทราบ
เนื่องจากคูมือฉบับนี้อธิบายถึงเครื่องยนตหลายรุน ขอมูลหรือภาพประกอบและภาพถายอาจแสดงมากกวา 1 รุน

ธันวาคม 2009
© KUBOTA Corporation 2009
I ขอมูล
ขอมูล

สารบัญ
1. ความปลอดภัยในการทํางาน ..................................................................................................................... I-1
2. แผนสติ๊กเกอรความปลอดภัย .................................................................................................................... I-4
3. ขอมูลจําเพาะของแทรกเตอร ..................................................................................................................... I-7
4. ความเร็วในการขับเคลื่อน ........................................................................................................................ I-8
5. ขนาดแทรกเตอร ................................................................................................................................... I-9
M6040DT-SU, WSM ขอมูล

1. ความปลอดภัยในการทํางาน
ความปลอดภัยในการทํางาน
• สัญลักษณนี้ หรือ “สัญลักษณเตือนภัย” ของอุตสาหกรรมตอไปนี้จะถูกใชในคูมือซอมและแผนสติ๊กเกอรที่ติดบนแทรกเตอร เพื่อใหระมัดระวัง
เหตุที่อาจเกิดอันตรายถึงขั้นบาดเจ็บได ขอใหอานเนื้อหาสวนนี้และปฏิบัติตามใหถูกตอง
• ผูอานตองเขาใจเนื้อหาในสวนนี้ รวมถึงขอกำหนดดานความปลอดภัยตางๆ กอนลงมือซอมหรือใชแทรกเตอรรุนนี้

อันตราย
• แสดงถึงสถานการณทลี่ อแหลมตอการเกิดอันตรายรายแรงถึงขั้นบาดเจ็บสาหัสหรือเสียชีวติ หากไมหลีกเลีย่ ง

คําเตือน
• แสดงถึงสถานการณทเี่ ปนไปไดทอี่ าจเกิดอันตรายรายแรงถึงขัน้ บาดเจ็บสาหัสหรือเสียชีวิต หากไมหลีกเลี่ยง

ขอควรระวัง
• แสดงถึงสถานการณทเี่ ปนไปไดทอี่ าจเกิดอันตรายขัน้ บาดเจ็บปานกลางหรือเล็กนอย หากไมหลีกเลี่ยง

ขอสําคัญ
• แสดงถึงแทรกเตอรหรือทรัพยสินอาจเสียหายได หากใชงานไมถูกตอง

หมายเหตุ
• แสดงถึงขอมูลที่เปนประโยชน
WSM000001INI0001TH1
กอนที่คุณจะเริ่มใหบริการ
• อานคําแนะนําทั้งหมด และคําแนะนําดานความปลอดภัยในคูมือนี้
รวมถึงคําแนะนําในแผนสติ๊กเกอรที่ติดบนแทรกเตอรของคุณ
• ทําความสะอาดบริเวณที่ทํางานและที่ตัวแทรกเตอร
• จอดแทรกเตอรบนพื้นราบและมั่นคง แลวใสเบรกมือ
• วางอุปกรณตอพวงลงบนพื้น
• ดับเครื่องยนต และดึงกุญแจสตารทออก
• ถอดสายไฟขั้วลบออกจากแบตเตอรี่
• แขวนปาย “หามใชแทรกเตอร” ขณะที่จอดเพื่อรอซอมหรือ
ตรวจเช็ค
WSM000001INI0010TH1
เริ่มงานอยางปลอดภัย
• เมื่อคุณสตารทเครื่องยนต อยาดําเนินการตามขั้นตอนดังตอไปนี้
– ลัดวงจรระหวางขั้วของมอเตอรสตารท
– ไมผานสวิตชสตารทนิรภัย
• หามเปลี่ยนหรือถอดชิ้นสวนใดๆ ของระบบความปลอดภัย
แทรกเตอร
• กอนสตารทเครื่องยนต ตองแนใจวาคันเกียรทั้งหมดอยูที่ตําแหนง
เกียรวางหรืออยูในตําแหนงไมทํางาน
• เมื่อคุณอยูที่พื้นดิน อยาสตารทเครื่องยนต สตารทเครื่องยนต
ขณะนั่งบนที่นั่งคนขับเทานั้น
WSM000001INI0015TH0

I-1
M6040DT-SU, WSM ขอมูล
ใชแทรกเตอรอยางปลอดภัย
• อยาใชแทรกเตอรหลังจากคุณดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล ยา
หรือคุณเหนื่อยลา
• แตงกายรัดกุมและสวมอุปกรณนิรภัยที่เหมาะสมกับงาน
• ใชเฉพาะเครื่องมือที่ออกแบบใหใชเทานั้น อยาใชเครื่องมือหรือ
ชิ้นสวนที่เปนการทดแทน
• เมื่อตรวจสภาพไมนอยกวา 2 คน โปรดแนใจวาคุณปฏิบัติงาน
อยางปลอดภัย
• อยาตรวจสภาพแทรกเตอรที่อยูบนแมแรงเทานั้น ใชแทนที่ปลอดภัย
เพื่อยึดแทรกเตอรเสีย
• อยาแตะชิ้นสวนที่รอน หรือชิ้นสวนที่หมุนเมื่อเครื่องยนตทํางาน
• หามถอดฝาหมอน้ําขณะที่เครื่องยนตกําลังทํางาน ขณะที่เครื่องยนต
ยังรอนอยู มิฉะนั้น น้ํารอนจะพุงออกมาจากหมอน้ํา เอาฝาหมอน้ํา
ออกเฉพาะเมื่อมีอุณหภูมิต่ําพอที่จะใชมือเปลาแตะได คลายฝา
หมอน้ําอยางชาๆ เพื่อระบายความดันกอนที่คุณจะถอดออกจนหมด
• ของเหลวที่รั่วออกมาดวยแรงดันสูง (น้ํามันเชื้อเพลิงหรือน้ํามัน
ไฮดรอลิก) สามารถแทรกซึมผานผิวหนังทําใหบาดเจ็บสาหัสได
ใหระบายความดันกอนจะถอดทอน้ํามันไฮดรอลิกหรือทอน้ํามัน
เชื้อเพลิง และยึดขอตอที่ประกอบเขาทั้งหมดใหแนนกอนจายน้ํามัน
ที่มีแรงดันสูงเขาไป
• หามเปดระบบเชื้อเพลิงที่มีแรงดันสูง น้ํามันแรงดันสูงที่เหลืออยูใน
ทอน้ํามันเชื้อเพลิงทําใหบาดเจ็บรายแรงได หามถอดหรือพยายาม
ซอมแซมทอน้ํามันเชื้อเพลิง เซนเซอร หรือสวนประกอบอื่นๆ
ระหวางปมฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงแรงดันสูงและหัวฉีดตางๆ บน
เครื่องยนตที่ทํางานดวยระบบน้ํามันเชื้อเพลิงคอมมอนเรล
แรงดันสูง
• ใชอุปกรณปองกันหูที่เหมาะสม (ครอบหูหรือจุกอุดหู) เพื่อปองกัน
การบาดเจ็บเนื่องจากเสียงดัง
• ระมัดระวังเกีย่ วกับไฟฟาดูด ECU ของเครื่องยนตใหแรงดันมากกวา
DC100 V และกระทําตอหัวฉีด
WSM000001INI0012TH1
ปองกันไฟ
• น้ํามันเชื้อเพลิงนั้นติดไฟไดงายมากและทําใหเกิดการระเบิดไดใน
บางกรณี หามสูบบุหรี่ หรือทําใหเกิดประกายไฟ ในบริเวณทํางาน
• เพื่อปองกันไมใหเกิดประกายไฟฟาจากการลัดวงจรโดยไมไดตั้งใจ
ใหถอดสายขั้วลบของแบตเตอรี่ออกกอนเปนอันดับแรก และ
ประกอบคืนเปนอันดับสุดทายทุกครั้ง
• แกสจากแบตเตอรี่อาจระเบิดได ระวังอยาใหเกิดประกายไฟหรือ
เปลวไฟบริเวณเหนือแบตเตอรี่ โดยเฉพาะขณะชารจแบตเตอรี่
• ตรวจเช็คใหแนใจวาไมมนี ้ํามันเชื้อเพลิงหกอยูบนเครื่องยนต
WSM000001INI0005TH1

I-2
M6040DT-SU, WSM ขอมูล
ใหพื้นทีท่ ํางานมีอากาศที่ไหลวนไดดี
• ถาเครื่องยนตกําลังทํางาน โปรดแนใจวา ระบายอากาศของพื้นที่
ไดดี หามเดินเครื่องยนตในหองที่อากาศถายเทไมสะดวก
กาซไอเสียนั้นมีคารบอนมอนอกไซดที่เปนพิษตอรางกายอยู
WSM000001INI0006TH1

เทของเหลวอยางถูกตอง
• หามเทของเหลวจําพวกสารเคมีลงบนพื้น ทอระบายน้ํา
หรือแหลงน้ําตามธรรมชาติเชนแมน้ํา บึง หรือบอน้ํา
อานขอกําหนดในการปองกันและอนุรักษสิ่งแวดลอมใหเขาใจ
กอนทําการกําจัดน้ํามันเครื่อง, น้ํามันเชื้อเพลิง, สารหลอเย็น,
น้ํากรดในแบตเตอรี่ และขยะที่เปนอันตรายตางๆ
WSM000001INI0007TH1

ปองกันการสัมผัสถูกน้ํากรด
• หลีกเลี่ยงมิใหน้ํายาแบตเตอรี่สัมผัสกับดวงตา มือ และเสื้อผา
กรดซัลฟวริกในน้ํายาแบตเตอรี่มีพิษ และอาจลวกผิวหนัง เสื้อผา
และทําใหตาบอดได หากคุณทําน้ํายาแบตเตอรี่หกใสตวั เอง ใหลาง
บริเวณที่โดนกรดดวยน้ําสะอาด และทําการปฐมพยาบาลทันที
WSM000001INI0008TH1

การเตรียมพรอมรับมือเหตุฉุกเฉิน
• เตรียมอุปกรณปฐมพยาบาลและถังดับเพลิงใหพรอมทุกครั้ง
• เก็บหมายเลขโทรศัพทฉุกเฉินไวใกลเครื่องโทรศัพทของคุณเสมอ
WSM000001INI0009TH1

I-3
M6040DT-SU, WSM ขอมูล

2. แผนสติ๊กเกอรความปลอดภัย
แผนสติ๊กเกอรความปลอดภัยตอไปนี้จะติดตั้งอยูบนแทรกเตอร หากพบวาสติ๊กเกอรชํารุด อานไมได หรือสูญหาย ใหจัดซื้อมาติดใหม
รหัสสติ๊กเกอรแตละแผนจะอยูในรายการอะไหล
WSM000001INI0013TH0

9Y1210383INI0001TH0

I-4
M6040DT-SU, WSM ขอมูล

9Y1210383INI0002TH0

I-5
M6040DT-SU, WSM ขอมูล

9Y1210383INI0003TH0
ใสใจกับแผนสติ๊กเกอรระวังอันตราย คําเตือน และขอควรระวังตางๆ
1. รักษาความสะอาดแผนสติ๊กเกอรระวังอันตราย คําเตือน และขอควรระวัง โดยปราศจากสิ่งกีดขวาง
2. ทําความสะอาดแผนสติ๊กเกอรระวังอันตราย คําเตือน และขอควรระวัง โดยใชสบูและน้ําเช็ดทําความสะอาด
3. เปลี่ยนแผนสติ๊กเกอรระวังอันตราย คําเตือน และขอควรระวังที่ชํารุดหรือเสียหายใหม และหาซื้อไดจากรานผูแทนจําหนายคูโบตา
4. กรณีที่จะติดแผนสติ๊กเกอรระวังอันตราย คําเตือน และขอควรระวังชิ้นใหม จะตองแนใจวาเปนชนิดเดียวกันและจะตองติดอยูในตําแหนงเดิม
5. การติดแผนสติ๊กเกอรระวังอันตราย คําเตือน และขอควรระวังชิ้นใหม ตองทําความสะอาดเช็ดจุดที่จะติดใหแหงและตองติดใหเรียบรอย
โดยกดไลฟองอากาศออกทั้งหมด
9Y1210365INI0005TH0

I-6
M6040DT-SU, WSM ขอมูล

3. ขอมูลจําเพาะของแทรกเตอร
M6040SU
รุน
ระบบขับเคลื่อน 4 ลอ
รุน V2403-M-DI-TE2
ประเภท เครื่องยนตดีเซล 4 จังหวะ ชนิดฉีดเขาหองเผาไหมโดยตรง ระบายความรอนดวยของเหลว
จํานวนกระบอกสูบ 4
ปริมาตรกระบอกสูบ 2434 ซม.3 (148.6 ลบ.นิ้ว)
ขนาดกระบอกสูบและชวงชัก 87 × 102.4 มม. (3.4 × 4.0 นิ้ว)
อัตราความเร็วรอบ 2700 นาที-1 (รอบตอนาที)
อัตราการความเร็วรอบเดินเบาต่ํา 920 ถึง 1000 นาที-1 (รอบตอนาที)
เครือ่ งยนต แรงมาสุทธิ 43.3 กิโลวัตต (59 แรงมา)*
แรงมาที่เพลา PTO
38 กิโลวัตต (51.7 แรงมา)* / 2700 นาที-1 (รอบตอนาที)
(สังเกตการณจากโรงงาน)
แรงบิดสูงสุด 200 นิวตัน·เมตร (148 ปอนดแรง·ฟุต) / 1400 ถึง 1600 นาที-1 (รอบตอนาที)
แบตเตอรี่ 12 โวลต, RC : 133 นาที, CCA 582A
ความจุถังน้ํามันเชื้อเพลิง 57.0 ลิตร (15.1 แกลลอนสหรัฐ, 12.5 แกลลอนอังกฤษ)
ความจุหองขอเหวี่ยง 7.2 ลิตร (7.6 ควอรตสหรัฐ, 6.3 ควอรตอังกฤษ)
ความจุน้ําระบายความรอน 8.0 ลิตร (8.5 ควอรตสหรัฐ, 7.0 ควอรตอังกฤษ)
ความยาวทั้งหมด 3420 มม. (134.6 นิ้ว)
ความกวางทั้งหมด
1865 มม. (73.43 นิ้ว)
(ความกวางชวงลอต่ําสุด)
ความสูงทั้งหมด 2340 มม. (92.13 นิ้ว)
ขนาด
ระยะลอ 2000 มม. (78.7 นิ้ว)
ความกวางชวง ลอหนา 1360, 1460 มม. (53.54, 57.48 นิ้ว)
ลอ ลอหลัง 1420 ถึง 1720 มม. (55.91 ถึง 67.7 นิ้ว)
ความสูงใตทองต่ําสุด 435 มม. (17.1 นิ้ว) (ประกับคานลาก)
น้ําหนัก 1800 กก. (3968 ปอนด)
ขนาดยาง ลอหนา 9.5-22
มาตรฐาน ลอหลัง 16.9-28
คลัตช แบบแหงแผนเดี่ยว
ระบบขับเคลื่อน
พวงมาลัย ระบบพวงมาลัยพาวเวอรแบบน้ํามันแรงดันสูง
เบรก การขับเคลื่อน แผนแบบเปยกหลายแผน (เชิงกล)
ชุดเฟองทาย แบบกลไกล็อกเฟองดอกจอก (ดานหลัง)
ระบบควบคุมไฮดรอลิก การควบคุมตําแหนง
ความจุปม 41.6 ลิตร (11.0 แกลลอนสหรัฐ, 9.15 แกลลอนอังกฤษ)/นาที
จุดตอพวงอุปกรณ 3 จุด ประเภท I & II
ระบบไฮดรอลิก 1900 กก. (4189 ปอนด) วัดที่ปลายแขนยกตัวลาง
น้ําหนักยกสูงสุด
1500 กก. (3307 ปอนด) ที่ตําแหนงหางจากจุดยก 610 มม. (24 นิ้ว)
การควบคุมไฮดรอลิกระยะไกล วาลวระยะไกล
แรงดันระบบ 19.1 เมกะปาสคาล (195 กิโลกรัมแรง/ซม.2, 2773 ปอนด/ตร. นิ้ว)
คลัตชอิสระ แผนแบบเปยกหลายแผน
ทิศทางการหมุน ตามเข็มนาฬิกา มองจากดานหลัง
PTO P.T.O.
ความเร็วรอบ
ที่กําลังใชงาน 6 รองฟน : 540 นาที-1 (รอบตอนาที) ที่ความเร็วรอบของเครือ่ งยนต 2295 นาที-1 (รอบตอนาที)
PTO
บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนแปลงขอมูลจําเพาะโดยไมแจงใหทราบลวงหนา
หมายเหตุ: *การประเมินโดยบริษัทผูผ ลิต
9Y1210383INI0004TH0

I-7
M6040DT-SU, WSM ขอมูล

4. ความเร็วในการขับเคลือ่ น
(ที่รอบเครือ่ งยนตสงู สุด)
รุน M6040SU
ขนาดยาง (ลอหลัง) 16.9-28
เกียรชวย เกียรหลัก กม./ชม. ไมล/ชม.
1 2.5 1.6
L 2 3.4 2.1
(ต่ํา) 3 5.2 3.2
4 7.7 4.8
1 9.2 5.7
H 2 12.5 7.77
(สูง) 3 19.0 11.8
4 28.3 17.6
1 3.2 2.0
R 2 4.3 2.7
(ถอยหลัง) 3 6.6 4.1
4 9.9 6.2
บริษทั ฯ ขอสงวนสิทธิใ์ นการเปลี่ยนแปลงขอมูลจําเพาะโดยไมแจงใหทราบลวงหนา
9Y1210383INI0005TH0

I-8
M6040DT-SU, WSM ขอมูล

5. ขนาดแทรกเตอร

9Y1210383INI0006TH0

I-9
G ขอมูลทั่วไป
ขอมูลทั่วไป

สารบัญ
1. รายละเอียดแทรกเตอร .......................................................................................................................... G-1
[1] ชื่อรุนและหมายเลขของเครื่องยนต ..................................................................................................... G-1
[2] หมายเลขกระบอกสูบ ..................................................................................................................... G-3
2. ขอควรระวังทั่วไป ............................................................................................................................... G-4
3. ขอควรระวังในการดูแลอุปกรณไฟฟาและสายไฟ ......................................................................................... G-5
[1] สายไฟ ....................................................................................................................................... G-5
[2] แบตเตอรี่ .................................................................................................................................... G-7
[3] ฟวส .......................................................................................................................................... G-7
[4] ขั้วตอสายไฟ................................................................................................................................ G-7
[5] การดูแลอุปกรณทดสอบวงจร ........................................................................................................... G-8
[6] สีของสายไฟ ................................................................................................................................ G-9
4. น้ํามันหลอลื่น น้ํามันเชื้อเพลิง และน้ําระบายความรอน ................................................................................. G-10
5. คาแรงขัน ........................................................................................................................................ G-12
[1] การใชสกรู โบลต และนอตทั่วๆ ไป .................................................................................................. G-12
[2] สตัดโบลต ................................................................................................................................ G-13
[3] หัวอัดระบบไฮดรอลิก .................................................................................................................. G-13
(1) หัวอัดทอน้ํามันไฮดรอลิก ........................................................................................................ G-13
(2) นอตติดหัวทอไฮดรอลิก .......................................................................................................... G-13
(3) ขอตอ ขอตองอ และอื่นๆ......................................................................................................... G-14
6. การบํารุงรักษา.................................................................................................................................. G-15
7. การตรวจเช็คและบํารุงรักษา ................................................................................................................. G-17
[1] การตรวจสอบประจําวัน ................................................................................................................ G-17
(1) การตรวจเช็ค ....................................................................................................................... G-17
(2) ตําแหนงที่ตองอัดจาระบีทุกวัน .................................................................................................. G-18
[2] ตรวจเช็คเมื่อใชงานครั้งแรกครบ 50 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร .............................................................. G-19
[3] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 50 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร..................................................................... G-22
[4] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 100 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร ................................................................... G-25
[5] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 200 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร ................................................................... G-30
[6] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 300 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร ................................................................... G-31
[7] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 400 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร ................................................................... G-32
[8] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 600 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร ................................................................... G-33
[9] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 800 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร ................................................................... G-33
[10] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 1500 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร ................................................................. G-34
[11] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 3000 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร ................................................................. G-34
[12] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 1 ปการทํางานแทรกเตอร............................................................................. G-34
[13] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 2 ปการทํางานแทรกเตอร............................................................................. G-35
[14] การดูแลตรวจสอบตามความตองการ (อื่นๆ) ........................................................................................ G-38
8. เครื่องมือพิเศษ.................................................................................................................................. G-41
[1] เครื่องมือพิเศษสําหรับเครื่องยนต ..................................................................................................... G-41
[2] เครื่องมือพิเศษสําหรับแทรกเตอร ..................................................................................................... G-57
9. ยาง ............................................................................................................................................... G-68
[1] แรงดันลมยาง ............................................................................................................................. G-68
[2] การปรับตั้งลอ ............................................................................................................................ G-69
(1) ลอหนา .............................................................................................................................. G-69
(2) ลอหลัง............................................................................................................................... G-70
[3] การเติมของเหลวในยาง ................................................................................................................. G-71
10. ขอกําหนดของอุปกรณตอพวง ............................................................................................................... G-75
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

1. รายละเอียดแทรกเตอร
[1] ชื่อรุนและหมายเลขของเครื่องยนต
เมือ่ ทานติดตอผูแทนจําหนายแทรกเตอรคูโบตาในเขตพื้นที่เพื่อขอรับบริการ
ทานควรแจงหมายเลขผลิตของเครื่องยนต หมายเลขแทรกเตอร และชั่วโมงการทํางาน
ดวยทุกครั้ง
(1) แผนปายบอกหมายเลขแทรกเตอร (3) หมายเลขผลิตของเครือ่ งยนต
(2) หมายเลขการผลิตแทรกเตอร
9Y1210383GEG0001TH0

G-1
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
หมายเลขผลิตของเครื่องยนต
หมายเลขผลิตของเครื่องยนตเปนหมายเลขที่ใชบงชี้วาเครื่องยนตนี้ไดผลิตออกมา
เปนลําดับที่เทาไหร โดยจะอยูถัดจากหมายเลขรุนเครื่องยนต
หมายเลขผลิตของเครื่องยนตจะสามารถบอกใหทราบถึงเดือนและปที่ผลิต
ดังรายละเอียดตามตารางขางลางนี้
ปที่ผลิต
ตัวอักษรหรือตัวเลข ป ตัวอักษรหรือตัวเลข ป
1 2001 F 2015
2 2002 G 2016
3 2003 H 2017
4 2004 J 2018
5 2005 K 2019
6 2006 L 2020
7 2007 M 2021
8 2008 N 2022
9 2009 P 2023
A 2010 R 2024
B 2011 S 2025
C 2012 T 2026
D 2013 V 2027
E 2014

เดือนที่ผลิต
หมายเลขชุดเครื่องยนต
เดือน
0001 ~ 9999 10000 ~
มกราคม A0001 ~ A9999 B0001 ~
กุมภาพันธ C0001 ~ C9999 D0001 ~
มีนาคม E0001 ~ E9999 F0001 ~
เมษายน G0001 ~ G9999 H0001 ~
พฤษภาคม J0001 ~ J9999 K0001 ~
มิถุนายน L0001 ~ L9999 M0001 ~
กรกฎาคม N0001 ~ N9999 P0001 ~
สิงหาคม Q0001 ~ Q9999 R0001 ~
กันยายน S0001 ~ S9999 T0001 ~
ตุลาคม U0001 ~ U9999 V0001 ~
พฤศจิกายน W0001 ~ W9999 X0001 ~
ธันวาคม Y0001 ~ Y9999 Z0001 ~

ตัวอยาง V2403-M-9E0001
“9” หมายถึง 2009 สวน “E” หมายถึง เดือนมีนาคม ดังนั้น 9E หมายความวา
เครื่องยนตนี้ผลิตในเดือนมีนาคม ป ค.ศ. 2009
(1) รุน เครื่องยนตและหมายเลขการผลิต
9Y1210383GEG0002TH0

G-2
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

[2] หมายเลขกระบอกสูบ
หมายเลขกระบอกสูบของเครื่องยนตดีเซล V2403-M ไดถูกแสดงไวเปนตัวอยาง
ดังรูป
ลําดับของกระบอกสูบจะเปนหมายเลข 1 หมายเลข 2 หมายเลข 3 และหมายเลข 4
โดยเริ่มนับจากเสื้อเกียร
9Y1210383GEG0003TH0

G-3
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

2. ขอควรระวังทั่วไป
• ในการถอดชิ้นสวน ใหวางชิ้นสวนบนพื้นสะอาด และจัดใหเปนระเบียบเพื่อ
ปองกันการสับสน เมื่อตองประกอบสกรู โบลต และนอตควรใสไวในจุดเดิม
เพื่อปองกันการผิดพลาดในการประกอบ
• เมื่อตองการใชเครื่องมือพิเศษ ทานควรใชเครื่องมือพิเศษของแทจากคูโบตา
เครื่องมือพิเศษที่ไมไดใชเปนประจํา ควรจัดทำตามแบบที่แนบมากับคูมือเลมนี้
• กอนถอดหรือซอมระบบไฟฟา ตองถอดสายดินออกจากแบตเตอรี่ออกทุกครั้ง
เพื่อปองกันระบบไฟฟาลัดวงจรหรือช็อต
• กอนวัดขนาดของชิ้นสวน ควรทําความสะอาดสิ่งสกปรก ฝุนผง และคราบน้ํามัน
ออกจากชิ้นสวน เพื่อจะไดขนาดของชิ้นงานที่แนนอน
• เมื่อตองการเปลี่ยนอะไหลใหใชอะไหลแทของคูโบตาเทานั้น เพื่อรักษา
ประสิทธิภาพของการไหล เพื่ออายุการใชงานนานขึ้น และการใชงานอยาง
ปลอดภัย
• ในการถอดและประกอบ ตองเปลี่ยนประเก็นและแหวนยางใหมทุกครั้ง และ
ควรทาจาระบี (1) ที่แหวนยางหรือซีลกันน้ํามันตัวใหมกอนประกอบ
• เมื่อตองการถอดและประกอบแหวนล็อกดานนอก หรือแหวนล็อกดานใน ตองหัน
ดานที่คมของแหวน (3) ไปทางดานที่แรงกระทํา (2)
• เมื่อใสสลักสปริง ใหหันดานที่ผาไปทางดานที่แรงกระทํา โดยดูที่ภาพแสดงไว
ดานซายมือ
• เพื่อปองกันมิใหระบบไฮดรอลิกเสียหาย ใชน้ํามันไฮดรอลิกเกรดที่บริษัทฯ
ระบุใหใชหรือเทียบเทาเทานั้น
• ทําความสะอาดชิ้นสวนกอนทําการวัด
• บิดหัวฉีดดวยแรงบิดใหแนน เพิ่มแรงบิดมากเกินไป อาจทําใหชุดไฮดรอลิกหรือ
หัวฉีด เกิดความเสียหายได แรงบิดไมเพียงพอ อาจทําใหน้ํามันรั่วออกมาได
• เมื่อใชทอใหม บิดนอตใหแนน หลังจากนั้น ทําใหนอตใหหลวม (ประมาณ
45 องศา) และจัดใหตรงกอนที่จะบิดใหแนน (ไมควรใชกระดาษกาวปด)
• เมื่อถอดปลายทั้งสองของทอ ใหถอดปลายลางออกกอน
• ใชคีมในการดึงออกและติดตั้ง จับดานหนึ่งใหมั่นคง และหมุนอีกดานหนึ่งเพื่อ
ปองกันไมใหหมุนรอบ
• ตรวจดูวาทอของขอตอแบบผายและสวนเทเปอรของทอไมมีฝุนและรอยขีดขวน
• เมื่อขันจุกอัดจาระบีแลว ทําความสะอาดขอตอและใหแรงดัน 2 ถึง 3 เทา
ของแรงดันสูงสุด เพื่อตรวจดูวาน้ํามันรั่วหรือไม
(1) จาระบี (A) แหวนล็อกดานนอก
(2) แรงกระทํา (B) แหวนล็อกดานใน
(3) ดานที่มีคม
(4) แรงกระทําในแนวแกน
(5) ทิศทางการหมุน
WSM000001GEG0106TH1

G-4
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

3. ขอควรระวังในการดูแลอุปกรณไฟฟาและสายไฟ
ปฏิบัติตามขอควรระวังในการดูแลอุปกรณไฟฟาและสายไฟเหลานี้ เพื่อความ
มั่นใจในความปลอดภัยและปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับแทรกเตอรและอุปกรณ
อื่นๆ
ขอสําคัญ
• ตรวจเช็คสายไฟวาชํารุด และหลวมหรือไม เปนประจําทุกป โดยตองใหความรู
แกลูกคาเพื่อสามารถตรวจเช็คไดเอง หรือนําแทรกเตอรมารับการบริการจาก
ตัวแทนจําหนายในการตรวจเช็คตามระยะเวลาการใชงาน
• อยาทําการดัดแปลงหรือเปลี่ยนอุปกรณไฟฟา และสายไฟใหผิดไปจากเดิม
• เมื่อตองการถอดสายไฟแบตเตอรี่ ใหถอดสายไฟขัว้ ลบที่แบตเตอรี่กอน
และเมื่อตองการตอสายไฟแบตเตอรี่ ใหตอสายไฟที่ขั้วบวกแบตเตอรี่กอน
(1) ขั้วลบ (2) ขั้วบวก
WSM000001GEG0062TH1

[1] สายไฟ
• ขันนอตยึดขั้วตอสายไฟใหแนนพอดี
(1) ถูกตอง (ขันแนนพอดี) (2) ไมถูกตอง (การขันไมแนนจะทําใหไฟฟา
ไหลผานไมสะดวก)
WSM000001GEG0063TH1

• อยาใหสายไฟสัมผัสชิ้นสวนที่เปนอันตราย
(1) ชิ้นสวนอื่นที่เปนอันตรายกับสายไฟ (3) การเดินสายไฟ (ถูกตอง)
(ดานที่มีคม) (4) ชิ้นสวนอื่นที่เปนอันตรายกับสายไฟ
(2) การเดินสายไฟ (ไมถูกตอง)
WSM000001GEG0064TH1

• ซอมหรือเปลี่ยนสายไฟที่เสื่อมสภาพหรือหมดอายุทันทีที่พบเห็น
(1) หมดอายุ (3) เทปฉนวนพันสายไฟทําจากไวนิล
(2) เสือ่ มสภาพ
WSM000001GEG0065TH1

G-5
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
• ใสปลอกยางปองกันสายไฟใหแนน
(1) ปลอกยาง (A) ถูกตอง
(B) ไมถูกตอง
WSM000001GEG0066TH1

• ยึดตัวยึดสายไฟใหแนน และระวังอยาใหสายไฟเสียหาย
(1) ตัวยึด (พันเปนเกลียว) (3) ตัวยึด
(2) ตัวรัดสายไฟ (4) รอยนูนจากการเชื่อม
WSM000001GEG0067TH1

• ตัวยึดสายไฟใหพันเปนเกลียว อยาใหสายไฟบิด ดึงสายไฟใหตรงไมใหหยอน


ยกเวนกรณีชิ้นสวนที่เคลื่อนที่ สายไฟอาจตองหยอนไดเล็กนอย
(1) สายไฟ (A) ถูกตอง
(2) ตัวยึด (B) ไมถูกตอง
WSM000001GEG0068TH1

• ระวังอยาติดตัง้ ใหชิ้นสวนทับสายไฟ
(1) สายไฟ (A) ไมถูกตอง
WSM000001GEG0069TH1

• หลังจากติดตั้งสายไฟเสร็จแลวใหตรวจดูฝาครอบ และลักษณะการยึดใหดี
โดยเฉพาะสายไฟขั้วแบตเตอรี่
(1) ฝาครอบ
(ติดตั้งฝาครอบอยางถูกตอง)
WSM000001GEG0070TH1

G-6
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

[2] แบตเตอรี่
• ระวังอยาตอสายไฟที่ขั้วแบตเตอรี่ระหวางขั้วบวกและขั้วลบสลับกัน
• เมือ่ ตองการถอดสายไฟแบตเตอรี่ ใหถอดสายไฟขั้วลบที่แบตเตอรี่กอ น
และเมื่อตองการตอสายไฟแบตเตอรี่ ควรตรวจเช็คขั้วสายไฟและตอขั้วบวกกอน
• ไมใชแบตเตอรี่ที่มีความจุ (แอมแปร-ชั่วโมง) ไมตรงกับคามาตรฐานที่กําหนด
• หลังจากตอสายไฟเขากับตนขั้วแบตเตอรี่แลว ใหทาจาระบีที่รอนจัดที่ขั้ว
แบตเตอรี่ดังกลาว และปดฝาครอบใหแนน
• ทําความสะอาดแบตเตอรี่ไมใหมีฝุน และสิ่งสกปรกสะสมบนตัวแบตเตอรี่
ขอควรระวัง
• ระวังอยาใหน้ํากรดแบตเตอรี่กระเด็นโดนผิวหนังหรือเสื้อผา หากสัมผัสหรือ
เปรอะเปอนใหรีบลางออกดวยน้ําสะอาดทันที
• ควรถอดแบตเตอรี่ออกจากแทรกเตอรทุกครั้ง เมื่อทําการชารจแบตเตอรี่
• ควรถอดฝาปดชองเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ออกกอนทุกครั้ง เมื่อทําการชารจ
แบตเตอรี่
• ใหทําการชารจแบตเตอรี่ในสถานทีๆ่ อากาศถายเทไดสะดวก และไมมีเปลวไฟ
หรือประกายไฟอยูใกลๆ เนื่องจากขณะทําการชารจแบตเตอรี่จะเกิดกาซไฮโดรเจน
และออกซิเจน ซึ่งอาจทําใหเกิดระเบิดได
WSM000001GEG0071TH1

[3] ฟวส
• ใชฟวสตามขนาดที่กําหนด
หามใชฟวสที่มีขนาดเล็กหรือใหญกวาคาที่กําหนด
• หามใชเหล็กหรือลวดทองแดงแทนที่ฟวส
• ไมควรติดตัง้ ไฟสองสวาง, วิทยุ ฯลฯ เขากับแทรกเตอรที่ไมไดติดตั้งระบบ
สํารองไฟ
• ไมควรติดตัง้ อุปกรณเสริม ถากระแสที่ใชงานเกินความจุของฟวสระบบไฟสํารอง
(1) ฟวส (3) ฟวสหลัก
(2) ฟวสสาย
WSM000001GEG0072TH1

[4] ขั้วตอสายไฟ
• ขั้วตอสายไฟบางชนิดตองกดเพื่อคลายล็อกกอนจึงจะถอดออกได
(A) กด
WSM000001GEG0073TH1

G-7
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
• อยาดึงที่สายไฟขณะถอดขั้วตอสายไฟ
• ใหจับที่ขั้วตอสายไฟในขณะทําการถอดขอตอขั้วสายไฟ
(A) ถูกตอง (B) ไมถูกตอง
WSM000001GEG0074TH1

• ใชกระดาษทรายในการทําความสะอาดคราบสนิมบนขั้วตางๆ
• ทําการซอมขั้วตอที่เสียรูป และตองมัน่ ใจวาไมมีขั้วตอที่หลุดออกมานอกฉนวน
(1) ขั้วตอที่หลุดออกมานอกฉนวน (3) กระดาษทราย
(2) ขัว้ ตอที่เสียรูป (4) สนิม
WSM000001GEG0075TH1

• ควรเช็คขั้วตอสายไฟตัวเมียวาอยูในสภาพสมบูรณ ปากไมอามากเกินไป
(A) ถูกตอง (B) ไมถูกตอง
WSM000001GEG0076TH1

• ขนาดของปลอกพลาสติกที่ใชหุมขั้วตอสายไฟ ตองมีขนาดใหญพอที่จะหุม
ขั้วตอสายไฟไดทั้งอัน
(1) ฝาครอบ (A) ถูกตอง
(B) ไมถูกตอง
WSM000001GEG0077TH1

[5] การดูแลอุปกรณทดสอบวงจร
• ใชงานอุปกรณทดสอบตามคูมือที่มากับอุปกรณทดสอบเทานั้น
• ตรวจเช็คขั้วไฟฟา และยานการใชงาน
WSM000001GEG0078TH1

G-8
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

[6] สีของสายไฟ
• สีของสายไฟจะระบุเปนรหัสสี
• สัญลักษณ “/” แสดงสีและริ้ว
(ตัวอยาง)
ริ้วสีแดงบนสายไฟสีขาว : W/R
สีของสายไฟ รหัสสี
สีดํา B
สีน้ําตาล Br
สีเขียว G
สีเทา Gy หรือ Gr
สีน้ําเงิน L
สีเขียวออน Lg
สีสม Or
สีชมพู P
สีมว ง Pu หรือ V
สีแดง R
สีฟา Sb
สีขาว W
สีเหลือง Y

(1) สีสายไฟ (2) ริว้ สี


WSM000001GEG0079TH0

G-9
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

4. น้ํามันหลอลื่น น้ํามันเชื้อเพลิง และน้ําระบายความรอน


ความจุ น้ํามันหลอลื่น น้ํามันเชื้อเพลิง
ตําแหนง
M6040SU และน้ําระบายความรอน
57.0 ลิตร • น้ํามันเชื้อเพลิงดีเซลหมายเลข 2-D
1 ถังน้ํามันเชื้อเพลิง 15.1 แกลลอนสหรัฐ • น้ํามันเชื้อเพลิงดีเซลหมายเลข 1-D
12.5 แกลลอนอังกฤษ หากอุณหภูมิต่ํากวา −10 °C (14 °F)
8.0 ลิตร
2 น้ําระบายความรอน 8.5 ควอรตสหรัฐ น้ําสะอาดผสมกับสารปองกันการแข็งตัว
7.0 ควอรตอังกฤษ
น้ํามันเครื่อง
น้ํามันเครื่อง API CC หรือ CD
• ต่ํากวา 0 °C (องศาเซลเซียส)
(32 °F (องศาฟาเรนไฮด)) SAE10W,
7.2 ลิตร 10W-30 หรือ 10W-40
3 หองเครื่องยนต (รวมไสกรอง) 7.6 ควอรตสหรัฐ • 0 ถึง 25 °C (องศาเซลเซียส)
6.3 ควอรตอังกฤษ (32 ถึง 77 °F (องศาฟาเรนไฮด))
SAE20, 10W-30 หรือ 10W-40
• สูงกวา 25 °C (องศาเซลเซียส)
(77 °F (องศาฟาเรนไฮด)) SAE30, 10W-30
หรือ 10W-40
40.0 ลิตร
4 หองเกียร 42.3 ควอรตสหรัฐ น้ํามันคูโบตา UDT หรือ SUPER UDT*
35.2 ควอรตอังกฤษ
8.0 ลิตร
น้ํามันคูโบตา UDT หรือ SUPER UDT*
5 เสื้อคานลอหนา 8.5 ควอรตสหรัฐ
หรือน้ํามันเกียร SAE80, SAE90
7.0 ควอรตอังกฤษ
การอัดจาระบีตามจุดตางๆ
ตําแหนง หมายเลขของตําแหนงทีอ่ ัดจาระบี ความจุ ชนิดของจาระบี
แขนกลาง 2
กานยก 1
แทนยึดเสื้อเกียรคานลอหนา 2 จาระบีอเนกประสงค
อัดจนลนออก
6 แทนยึดคานลอหนา 2 NLGI-2 หรือ NLGI-1
คันเกียรชวย 2 (GC-LB)
กระบอกยกระบบไฮดรอลิก 2
ขั้วแบตเตอรี่ 2 พอประมาณ
* น้ํามันเกียรที่ใชรวมกับระบบไฮดรอลิกของแทจากคูโบตา
9Y1210383GEG0004TH0

G-10
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
หมายเหตุ
• น้ํามันเครื่อง : น้ํามันทีใ่ ชในเครื่องยนต ควรเปนน้ํามันเครื่องเกรดทีไ่ ดรับรองมาตรฐานจากสถาบันปโตรเคมีแหงประเทศอเมริกา (American
Petroleum Institute, API) และเปนน้ํามันเครื่องของสมาคมยานยนต (SAE) ทีเ่ หมาะสมตามชวงอุณหภูมิที่ระบุไวในตารางดานบน
หามใชน้ํามันเกียรตางชนิดผสมเขาดวยกัน
• สวนแทรกเตอรทมี่ ีการใชงานอยางหนัก ทีจ่ ําเป็นตองใชน้ํามันเชื้อเพลิงทีม่ ีระดับกํามะถันสูง ควรใชน้ํามันหลอลื่นชนิด CF, CD หรือ CE
ทีม่ ีคาเลขฐานรวมสูง หากใชงานน้ํามันหลอลื่น CF-4 หรือ CG-4 รวมกับน้ํามันเชื้อเพลิงทีม่ ีคากํามะถันสูง จะตองทําการเปลีย่ นน้ํามันหลอลืน่
บอยครั้งขึ้น
• ในการใชเชื้อเพลิงทั้งที่มีคากํามะถันต่ําหรือน้ํามันเชื้อเพลิงที่มีคากํามะถันสูง ตองใชน้ํามันหลอลื่นใหถูกตองควบคูดว ยทุกครั้ง
เกรดของน้ํามัน น้ํามันเชื้อเพลิง
หมายเหตุ
หลอลื่น กํามะถันต่ํา กํามะถันสูง
CF P P TBN ≥ 10
CF-4 P X
CG-4 P X
P : แนะนําใหใช X : ไมควรนํามาใช
น้ํามันเกียร
• เปนน้ํามันทีใ่ ชในการหลอลื่นระบบสงกําลังและยังสามารถใชรวมกับระบบไฮดรอลิกของแทรกเตอรดวย เพื่อการทํางานอยางเต็มประสิทธิภาพ
และการหลอลื่นระบบสงกําลังที่สมบูรณ ทานจําเปนตองใชน้ํามันชนิดมัลติเกรด เราแนะนําใหทานใชน้ํามันคูโบตา UDT หรือ SUPER UDT
เพื่อการปกปองและประสิทธิภาพการใชงานสูงสุด
หามใชน้ํามันเกียรตางชนิดผสมเขาดวยกัน
Q ความจุของน้ําและน้ํามันที่กําหนดเปนการประมาณจากโรงงานผูผลิต
9Y1210383GEG0006TH0

G-11
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

5. คาแรงขัน
[1] การใชสกรู โบลต และนอตทั่วๆ ไป
สกรู โบลต และนอตตางๆ ทีไ่ มมีคาแรงขันกําหนดไวในคูมือซอมเลมนี้ ใหใชคาแรงขันตามตารางดานลาง

เครื่องหมายที่หัวโบลต ไมระบุหรือ 4T 7T 9T

เครื่องหมายที่หวั นอต ไมระบุหรือ 4T


6T
วัสดุที่เปนชิ้นสวนที่รับแรงขับ เหล็กธรรมดา ผสมอะลูมิเนียม เหล็กธรรมดา ผสมอะลูมิเนียม เหล็กธรรมดา
กิโล กิโล กิโล กิโล กิโล
นิวตัน· กรัม ปอนด นิวตัน· กรัม ปอนด นิวตัน· กรัม ปอนด นิวตัน· กรัม ปอนด นิวตัน· กรัม ปอนด
หนวย
เมตร แรง· แรง·ฟุต เมตร แรง· แรง·ฟุต เมตร แรง· แรง·ฟุต เมตร แรง· แรง·ฟุต เมตร แรง· แรง·ฟุต
เมตร เมตร เมตร เมตร เมตร
7.9 ถึง 0.80 ถึง 5.8 ถึง 7.9 ถึง 0.80 ถึง 5.8 ถึง 9.81 ถึง 1.00 ถึง 7.24 ถึง 7.9 ถึง 0.80 ถึง 5.8 ถึง 12.3 ถึง 1.25 ถึง 9.05 ถึง
M6
9.3 0.95 6.8 8.8 0.90 6.5 11.2 1.15 8.31 8.8 0.90 6.5 14.2 1.45 10.4
18 ถึง 1.8 ถึง 13 ถึง 17 ถึง 1.7 ถึง 13 ถึง 24 ถึง 2.4 ถึง 18 ถึง 18 ถึง 1.8 ถึง 13 ถึง 30 ถึง 3.0 ถึง 22 ถึง
M8
20 2.1 15 19 2.0 14 27 2.8 20 20 2.1 15 34 3.5 25
40 ถึง 4.0 ถึง 29 ถึง 32 ถึง 3.2 ถึง 24 ถึง 48 ถึง 4.9 ถึง 36 ถึง 40 ถึง 4.0 ถึง 29 ถึง 61 ถึง 6.2 ถึง 45 ถึง
M10
45 4.6 33 34 3.5 25 55 5.7 41 44 4.5 32 70 7.2 52
63 ถึง 6.4 ถึง 47 ถึง 78 ถึง 7.9 ถึง 58 ถึง 63 ถึง 6.4 ถึง 47 ถึง 103 ถึง 10.5 ถึง 76.0 ถึง
M12 – – –
72 7.4 53 90 9.2 66 72 7.4 53 117 12.0 86.7
108 ถึง 11.0 ถึง 79.6 ถึง 124 ถึง 12.6 ถึง 91.2 ถึง 167 ถึง 17.0 ถึง 123 ถึง
M14 – – – – – –
125 12.8 92.5 147 15.0 108 196 20.0 144
167 ถึง 17.0 ถึง 123 ถึง 197 ถึง 20.0 ถึง 145 ถึง 260 ถึง 26.5 ถึง 192 ถึง
M16 – – – – – –
191 19.5 141 225 23.0 166 304 31.0 224
246 ถึง 25.0 ถึง 181 ถึง 275 ถึง 28.0 ถึง 203 ถึง 344 ถึง 35.0 ถึง 254 ถึง
M18 – – – – – –
284 29.0 209 318 32.5 235 402 41.0 296
334 ถึง 34.0 ถึง 246 ถึง 368 ถึง 37.5 ถึง 272 ถึง 491 ถึง 50.0 ถึง 362 ถึง
M20 – – – – – –
392 40.0 289 431 44.0 318 568 58.0 419
WSM000001GEG0001TH1

G-12
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

[2] สตัดโบลต
วัสดุที่เปนชิ้นสวนที่รับแรงขับ เหล็กธรรมดา ผสมอะลูมิเนียม
กิโล กิโล
นิวตัน· กรัม ปอนด นิวตัน· กรัม ปอนด
หนวย
เมตร แรง· แรง·ฟุต เมตร แรง· แรง·ฟุต
เมตร เมตร
12 ถึง 1.2 ถึง 8.7 ถึง 8.9 ถึง 0.90 ถึง 6.5 ถึง
M8
15 1.6 11 11 1.2 8.6
25 ถึง 2.5 ถึง 18 ถึง 20 ถึง 2.0 ถึง 15 ถึง
M10
31 3.2 23 25 2.6 18
30 ถึง 3.0 ถึง 22 ถึง
M12 31 3.2 23
49 5.0 36
62 ถึง 6.3 ถึง 46 ถึง
M14 – – –
73 7.5 54
98.1 ถึง 10.0 ถึง 72.4 ถึง
M16 – – –
112 11.5 83.1
172 ถึง 17.5 ถึง 127 ถึง
M18 – – –
201 20.5 148
WSM000001GEG0002TH1

[3] หัวอัดระบบไฮดรอลิก
(1) หัวอัดทอน้ํามันไฮดรอลิก
คาแรงขัน
ขนาดทอน้ํามัน ดานเกลียว
นิวตัน·เมตร กิโลกรัมแรง·เมตร ปอนดแรง·ฟุต
02 1/8 13.8 ถึง 15.6 1.40 ถึง 1.60 10.2 ถึง 11.5
03
1/4 22.6 ถึง 27.4 2.30 ถึง 2.80 16.7 ถึง 20.2
04
05
3/8 45.2 ถึง 52.9 4.60 ถึง 5.40 33.3 ถึง 39.0
06
WSM000001GEG0097TH0

(2) นอตติดหัวทอไฮดรอลิก
คาแรงขัน
ขนาดทอ
นิวตัน·เมตร กิโลกรัมแรง·เมตร ปอนดแรง·ฟุต
ϕ4 × t1.0 19.7 ถึง 29.4 2.00 ถึง 3.00 14.5 ถึง 21.6
ϕ6 × t1.0 24.6 ถึง 34.3 2.50 ถึง 3.50 18.1 ถึง 25.3
ϕ8 × t1.0 29.5 ถึง 39.2 3.00 ถึง 4.00 21.7 ถึง 28.9
ϕ10 × t1.0 39.3 ถึง 49.0 4.00 ถึง 5.00 29.0 ถึง 36.1
ϕ12 × t1.5 49.1 ถึง 68.6 5.00 ถึง 7.00 36.2 ถึง 50.6
ϕ15 × t1.6 108 ถึง 117 11.0 ถึง 12.0 79.6 ถึง 86.7
ϕ18 × t1.6 108 ถึง 117 11.0 ถึง 12.0 79.6 ถึง 86.7
WSM000001GEG0098TH0

G-13
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
(3) ขอตอ ขอตองอ และอื่นๆ
คาแรงขัน
รายการ ดานเกลียว
นิวตัน·เมตร กิโลกรัมแรง·เมตร ปอนดแรง·ฟุต
PF 1/8 45 ถึง 53 4.5 ถึง 5.5 33 ถึง 39
POA-PF PF 1/4 74 ถึง 83 7.5 ถึง 8.5 55 ถึง 61
(หัวอัดพรอมแหวนยาง) PF 3/8 93.2 ถึง 102 9.50 ถึง 10.5 68.8 ถึง 75.9
PF 1/2 113 ถึง 122 11.5 ถึง 12.5 83.2 ถึง 90.4
PF 1/8 23 ถึง 26 2.3 ถึง 2.7 17 ถึง 19
POB-PF PF 1/4 36 ถึง 43 3.6 ถึง 4.4 26 ถึง 31
(ขอตองอพรอมแหวนยาง
และไมมีนอต) PF 3/8 54 ถึง 63 5.5 ถึง 6.5 40 ถึง 47
PF 1/2 73 ถึง 83 7.4 ถึง 8.5 54 ถึง 61
PF 1/8 9.8 ถึง 14 1.0 ถึง 1.5 7.3 ถึง 10
ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด PF 1/4 30 ถึง 34 3.0 ถึง 3.5 22 ถึง 25
(NPT) PF 3/8 49 ถึง 68 5.0 ถึง 7.0 37 ถึง 50
PF 1/2 69 ถึง 88 7.0 ถึง 9.0 51 ถึง 65
WSM000001GEG0099TH0

G-14
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

6. การบํารุงรักษา
ลํา ชัง่ โมงการทํางาน ขอ
รายการ ชวงเวลา ดูที่หนา
ดับ 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 550 600 650 700 สําคัญ
แทนยึดคานลอหนา ทุกวัน G-18
การอัดจาระบีตามจุด
1 ทุก 50
ตางๆ กระบอกยกระบบไฮดรอลิก 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 G-24
ชม.
ทุก 50
2 ระบบสตารทเครือ่ งยนต ตรวจเช็ค 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 G-22
ชม.
ทุก 50
3 การขันโบลตยึดลอ ตรวจเช็ค 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 G-23
ชม.
ทุก 100
4 สภาพแบตเตอรี่ ตรวจเช็ค 3 3 3 3 3 3 3 *5 G-28
ชม.
ทุก 100
5 สายพานพัดลม ปรับตั้งใหม 3 3 3 3 3 3 3 G-26
ชม.
ทุก 100
6 แปนเบรก ปรับตั้งใหม 3 3 3 3 3 3 3 G-27
ชม.
ทุก 100
7 แปนคลัตช ปรับตั้งใหม + 3 3 3 3 3 3 3 G-26
ชม.
ทําความ ทุก 100
3 3 3 3 3 3 3 *1 G-25
ไสกรองตัวนอก สะอาด ชม.
8 ไสกรองอากาศ
เปลี่ยนใหม ทุก 1 ป *2 G-34
ไสกรองตัวใน เปลี่ยนใหม ทุก 1 ป G-34
ทุก 100
ตรวจเช็ค 3 3 3 3 3 3 3 G-26
9 ทอน้ํามันเชื้อเพลิง ชม.
เปลี่ยนใหม ทุก 2 ป *4 G-37
ทุก 200
10 น้ํามันเครื่อง เปลี่ยนถาย + 3 3 3 G-30
ชม.
ทุก 200
11 ไสกรองน้ํามันเครือ่ ง เปลี่ยนใหม + 3 3 3 G-30
ชม.
ทุก 200
12 ระยะสอบลอหนา (โท-อิน) ปรับตั้งใหม 3 3 3 G-31
ชม.
ทุก 200
ตรวจเช็ค 3 3 3 G-31
13 ทอน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอร ชม.
เปลี่ยนใหม ทุก 2 ป *4 G-37
ทุก 200
ตรวจเช็ค 3 3 3 G-30
14 ทอยางหมอน้ําและเข็มขัดรัดทอ ชม.
เปลี่ยนใหม ทุก 2 ป G-37
ทุก 200
ตรวจเช็ค 3 3 3 G-30
15 ทอไอดี ชม.
เปลี่ยนใหม ทุก 2 ป *3 G-37
ทุก 300
16 ไสกรองน้ํามันไฮดรอลิก เปลี่ยนใหม + 3 3 G-31
ชม.
ทุก 400
17 ไสกรองน้ํามันเชื้อเพลิง เปลี่ยนใหม 3 G-32
ชม.
ทําความ ทุก 400
18 กรองดักน้ํา 3 G-32
สะอาด ชม.
ทุก 600
19 น้ํามันเกียร เปลี่ยนถาย 3 G-33
ชม.
ทุก
20 น้ํามันเสื้อคานลอหนา เปลี่ยนถาย 3 G-33
600 ชม.
G-15
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
ลํา ชั่งโมงการทํางาน ขอ
รายการ ชวงเวลา ดูที่หนา
ดับ 50 100 150 200 250 300 350 400 450 500 550 600 650 700 สําคัญ
ทุก 600
21 แทนยึดคานลอหนา ปรับตั้งใหม 3 G-33
ชม.
ทุก 800
22 ระยะหางวาลวเครื่องยนต ปรับตั้งใหม *4 G-33
ชม.
ทุก 1500
23 แรงดันการฉีดของหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง ตรวจเช็ค *4 G-34
ชม.
ทุก 3000
24 เทอรโบชารจเจอร ตรวจเช็ค *4 G-34
ชม.
ทุก 3000
25 ปมแรงดันสูง ตรวจเช็ค *4 G-34
ชม.
26 ระบบหลอเย็น ลางหมอน้ํา ทุก 2 ป G-35
27 น้ําระบายความรอน เปลี่ยนถาย ทุก 2 ป G-35
28 ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง ไลลม ซอมบํารุง G-38
29 น้ําในหองคลัตช ถายออก ตาม G-38
30 ฟวส เปลี่ยนใหม สภาพการ G-39
31 เบาหลอดไฟ เปลี่ยนใหม ใชงาน G-39
ขอสําคัญ
• งานที่กํากับดวย + จะตองดําเนินการใหเสร็จหลังจาก 50 ชั่วโมงแรกของการปฏิบัติงาน
• *1 : ควรทําความสะอาดชุดไสกรองอากาศบอยๆ หากใชงานในสถานทีซ่ ึ่งมีฝุนมาก
• *2 : ทุกปหรือหลังจากทําความสะอาดแลว 6 ครั้ง
• *3 : เปลี่ยนใหมเมื่อจําเปนเทานั้น
• *4 : ปรึกษาตัวแทนจําหนายของคูโบตาสําหรับบริการนี้
• *5 : หากใชงานแบตเตอรี่นอยกวา 100 ชั่วโมงตอป ใหตรวจเช็คสภาพแบตเตอรี่โดยอานคาจากสัญญาณเตือนทุกๆ ป
9Y1210383GEG0007TH0

G-16
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

7. การตรวจเช็คและบํารุงรักษา
ขอควรระวัง
• ทําการตรวจเช็ค และตรวจซอมแทรกเตอรบนพื้นราบ, ดับเครื่องยนต, ล็อกเบรกไว และหนุนลอเพื่อปองกันการเคลื่อนตัวของแทรกเตอร
9Y1210365GEG0006TH0

[1] การตรวจสอบประจําวัน
เปนการตรวจเช็คใหทราบถึงสภาพปจจุบันของแทรกเตอร ทําใหคาดการณปญหาที่อาจเกิดขึ้น และดำเนินการปองกันไวกอนได
ซึ่งมีรายการตรวจเช็คกอนติดเครื่องตามรายการดังนี้
9Y1210365GEG0007TH0

(1) การตรวจเช็ค
• ตรวจเช็คบริเวณที่เคยเกิดปญหามาแลว
• เดินดูสภาพโดยรอบแทรกเตอร
1. ตรวจเช็คแรงดันลมยางและสภาพยางที่สึกหรอหรือเสียหาย
2. ตรวจการรั่วของน้ําและน้ํามันเครื่อง
3. ตรวจเช็คระดับน้ํามันเครื่อง
4. ตรวจเช็คระดับน้ํามันเกียร
5. ตรวจเช็คระดับน้ําระบายความรอน
6. ตรวจเช็คและทําความสะอาดแผงหมอน้ําและตะแกรงกั้น
7. ตรวจเช็คโบลตและนอตยึดลอตองแนน
8. ใสใจกับปายเตือนอันตราย คําเตือน และขอควรระวังตางๆ
9. ทําความสะอาดรอบๆ ทอรวมไอเสียและหมอพักไอเสียของเครื่องยนต
10. ตรวจเช็คโครงกันคว่ํา
• ขณะนั่งบนที่นั่งคนขับ
1. ตรวจเช็คแปนเหยียบคันเรง แปนเหยียบเบรก และคันเหยียบคลัตช
2. ตรวจเช็คเบรกมือ
3. ตรวจเช็คพวงมาลัย
4. ตรวจเช็คสภาพเข็มขัดนิรภัย
• บิดสวิตชกญุ แจ
1. ตรวจเช็คไฟเตือนบนแผงหนาปดกอนสตารทวาไฟติดครบทุกดวงหรือไม
2. ตรวจเช็คไฟหนา ไฟทาย ไฟฉุกเฉิน และไฟเบรก รวมถึงทําความสะอาดหากจําเปน
3. ตรวจเช็คการทํางานของมิเตอรและเกจวัดตางๆ
• สตารทเครื่องยนต
1. ตรวจไฟเตือนการทํางานบนแผงหนาปดวาดับหรือไม
2. ดูสีของควันไอเสีย
3. ทดสอบการทํางานของเบรกวาทํางานถูกตองหรือไม
9Y1210383GEG0008TH0

G-17
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
(2) ตําแหนงทีต่ องอัดจาระบีทกุ วัน
การอัดจาระบีตามจุดตางๆ
1. อัดจาระบีอเนกประสงคในตําแหนงเหลานี้
2. เมือ่ จะอัดจาระบีลงบนแทนยึดคานลอหนา ใหถอดปลั๊ก (2) แลวอัดจาระบีจนลน
ออกจากทอปลั๊ก
หลังจากอัดจาระบีแลว ประกอบปลั๊ก (2) เขาที่เดิม
(1) หัวอัดจาระบี (แทนยึดคานลอหนา) (4) หัวอัดจาระบี (แขนกลาง)
(2) ปลัก๊ (5) หัวอัดจาระบี (กานยก)
(3) หัวอัดจาระบี (แทนยึดคานลอหนา)
9Y1210383GEG0045TH0

G-18
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

[2] ตรวจเช็คเมื่อใชงานครั้งแรกครบ 50 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร


การเปลี่ยนถายน้ํามันเครื่อง

ขอควรระวัง
• ดับเครื่องยนตทกุ ครั้งกอนการเปลี่ยนน้ํามัน
• ปลอยใหเครื่องยนตเย็นตัวเพราะน้ํามันมีความรอนและอาจลุกไหมได
1. วิธีถายน้ํามันที่ใชแลวออกไป ใหถอดปลั๊กถายน้ํามัน (1) ที่ดานลางของเครื่องยนต
ออก แลวถายน้ํามันใสอางน้ํามันเครื่องจนหมด การถายน้ํามันเครื่องจะทําไดงาย
ในขณะที่เครื่องยนตยังอุนอยู
2. หลังจากถายน้ํามันออกหมดแลว ประกอบปลั๊กถายน้ํามัน (1) เขาที่เดิม
3. เติมน้ํามันเครื่องใหมใหไดระดับระหวางขีดบนและขีดลางของกานวัดระดับ
น้ํามันเครื่อง (3)
หมายเหตุ
• ดูที่หัวขอ “4. สารหลอลื่น น้ํามันเชื้อเพลิง และน้ําระบายความรอน” ในหัวขอ
ขอมูลทั่วไป
(1) ปลั๊กถายน้ํามัน A : ใชไดเมื่อระดับน้ํามันอยูใ นชวงนี้
(2) ชองเติมน้ํามันเครื่อง
(3) กานวัดระดับน้ํามันเครื่อง
9Y1210383GEG0009TH0

การเปลี่ยนไสกรองน้ํามันเครื่อง

ขอควรระวัง
• ดับเครื่องยนตทกุ ครั้ง กอนการเปลี่ยนไสกรองน้ํามันเครื่อง
• ปลอยใหเครื่องยนตเย็นตัวเพราะน้ํามันมีความรอนและอาจลุกไหมได
1. ถอดไสกรองน้ํามัน (1) ออก
2. ทาน้ํามันเครื่องที่สะอาดลงบนซีลยางของไสกรองลูกใหมบางๆ
3. ประกอบไสกรองลูกใหมโดยใชมือหมุนอยางรวดเร็วจนสัมผัสกับหนาแปลน
จากนั้น ใชมือหมุนตอไปใหแนนอีกครึ่งรอบ
4. โดยปกติหลังจากเปลี่ยนไสกรองน้ํามันเครื่องลูกใหมแลว ระดับน้ํามันเครื่อง
จะลดลงเล็กนอย ทําการตรวจเช็คการรั่วซึมรอบๆ ซีลของไสกรอง และตรวจเช็ค
ระดับของน้ํามันเครื่องที่กานวัดระดับน้ํามันเครื่อง แลวจึงเติมน้ํามันเครื่องจนอยู
ในระดับที่กําหนด
ขอสําคัญ
• เพื่อปองกันความเสียหายอยางรุนแรงตอเครื่องยนต ควรใชไสกรองน้ํามันเครื่อง
ของแทจากคูโบตาเทานั้น
(1) ไสกรองน้ํามันเครือ่ ง
9Y1210383GEG0010TH0

G-19
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
การเปลี่ยนไสกรองน้ํามันไฮดรอลิก

ขอควรระวัง
• ดับเครื่องยนตทุกครั้ง กอนการเปลีย่ นไสกรองน้ํามันเครื่อง
• ปลอยใหเครื่องยนตเย็นตัวเพราะน้ํามันมีความรอนและอาจลุกไหมได
1. ถอดปลั๊กถายน้ํามัน (1) ที่อยูดานลางหองเกียรออก แลวถายน้ํามันใสอาง
น้ํามันเครื่องจนหมด
2. หลังจากถายน้ํามันออกหมดแลว ประกอบปลั๊กถายน้ํามัน (1) เขาที่เดิม
3. ถอดไสกรองน้ํามันไฮดรอลิก (2) ทั้งสองลูกออก
4. เช็ดเศษเหล็กออกจากไสกรองแมเหล็ก (3) ดวยผาสะอาด
5. ทาน้ํามันเกียรที่สะอาดลงบนซีลยางของไสกรองลูกใหมบางๆ
6. หมุนไสกรองใหแนนอยางรวดเร็วจนสัมผัสกับหนาแปลน แลวใชมือหมุนตอไป
ใหแนนอีกครึ่งรอบ
7. หลังจากเปลี่ยนไสกรองใหมแลว เติมน้ํามันเกียรใหไดระดับที่ขีดบนของกานวัด
ระดับน้ํามัน (4)
8. หลังจากเดินเครื่องยนตเปนเวลา 2-3 นาที ใหหยุดเครื่องเพื่อตรวจเช็คระดับน้ํามัน
และเติมใหไดระดับที่กําหนดอีกครั้ง
9. ตรวจเช็คใหแนใจวาไมมีน้ํามันเกียรรั่วออกมาจากซีลของไสกรอง
ขอสําคัญ
• เพื่อปองกันความเสียหายอยางรุนแรงตอระบบไฮดรอลิก ควรใชไสกรอง
น้ํามันเกียรของแทจากคูโบตาเทานั้น
• หามใชแทรกเตอรทนั ทีหลังจากเปลี่ยนน้ํามันเกียร ใหเดินเครื่องที่ความเร็ว
ปานกลางเปนเวลา 2-3 นาที เพือ่ ปองกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับเกียร
(1) ปลั๊กถายน้ํามัน A : ใชไดเมื่อระดับน้ํามันอยูในชวงนี้
(2) ไสกรองน้ํามันไฮดรอลิก
(3) แมเหล็กไสกรอง
(4) กานวัดระดับน้ํามันเกียร
9Y1210383GEG0011TH0

G-20
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียร

ขอควรระวัง
• ปลอยใหเครื่องยนตเย็นตัวกอนทําการเปลี่ยนเพราะน้ํามันรอนและอาจลุกไหมได
1. วิธีถายน้ํามันที่ใชแลวออกไป ใหถอดปลั๊กถายน้ํามัน (1) ที่อยูดานลางหองเกียร
ออก แลวถายน้ํามันใสอางน้ํามันเครื่องจนหมด
2. หลังจากถายน้ํามันออกหมดแลว ประกอบปลั๊กถายน้ํามัน (1) เขาที่เดิม
3. เติมน้ํามันใหมคูโบตา SUPER UDT ใหไดระดับที่ขีดบนของกานวัดระดับ
น้ํามันเกียร (2)
4. หลังจากเดินเครื่องยนตเปนเวลา 2-3 นาที ใหหยุดเครื่องเพื่อตรวจเช็คระดับน้ํามัน
และเติมน้ํามันใหไดระดับที่กําหนดอีกครั้ง
ขอสําคัญ
• หามใชแทรกเตอรทันทีหลังจากเปลี่ยนน้ํามันเกียร ใหเดินเครื่องทีค่ วามเร็ว
ปานกลางเปนเวลา 2-3 นาที เพื่อปองกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับเกียร
หมายเหตุ
• ดูที่หัวขอ “4. สารหลอลื่น น้ํามันเชื้อเพลิง และน้ําระบายความรอน” ในหัวขอ
ขอมูลทั่วไป
(1) ปลั๊กถายน้ํามัน A : ใชไดเมื่อระดับน้ํามันอยูใ นชวงนี้
(2) กานวัดระดับน้ํามันเกียร
(3) ชองเติมน้ํามันเครื่อง
9Y1210383GEG0012TH0
ระยะฟรีแปนคลัตช
1. ดับเครื่องยนต และดึงกุญแจออก
2. คอยๆ เหยียบแปนคลัตชและวัดระยะฟรี “L” ที่แปนคลัตช
3. หากจําเปนตองปรับตัง้ ใหคลายนอตล็อก (1) และหมุนขอตอปรับตัง้ (2)
เพื่อปรับความยาวของกานเพลากดคลัตชใหไดคาที่ยอมรับได
4. ขันนอตล็อกใหมใหแนน (1)
ระยะฟรีคลัตช “L” ที่แปน 35 ถึง 45 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
คลัตช 1.4 ถึง 1.8 นิ้ว

(1) นอตล็อก L : ระยะฟรี


(2) ขอตอปรับตั้ง
9Y1210383GEG0013TH0

G-21
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

[3] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 50 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร


การตรวจเช็คระบบสตารทเครื่องยนต

ขอควรระวัง
• ไมใหผูอื่นอยูใกลแทรกเตอรขณะทดสอบ
• หามใชงานแทรกเตอรทไี่ มผานการทดสอบ
Q การเตรียมความพรอมกอนทําการทดสอบ
1. โยกคันควบคุมทั้งหมดไปที่ตําแหนง “เกียรวาง”
2. ใชเบรกจอดรถและดับเครื่องยนต
Q การทดสอบที่ 1 : สวิตชสําหรับคันเกียรหลัก
1. นั่งบนที่นั่งคนขับ
2. ปลดคันควบคุมคลัตช PTO (2)
3. โยกคันเกียรหลัก (1) ไปที่แตละตําแหนง (1, 2, 3, 4)
4. เหยียบแปนคลัตช (3) ใหสุด
5. บิดกุญแจไปที่ตําแหนง “สตารท”
6. เครื่องยนตตองไมติด
Q การทดสอบที่ 2 : การตรวจเช็คสวิตชนิรภัยของคันควบคุมคลัตช PTO
1. นั่งบนที่นั่งคนขับ
2. ใชคันควบคุมคลัตช PTO (2)
3. เหยียบแปนคลัตช (3) ใหสุด
4. โยกคันเกียรหลัก (1) ไปที่ตําแหนงวาง
5. บิดกุญแจไปที่ตําแหนง “สตารท”
6. เครื่องยนตตองไมติด
Q ภายหลังการทดสอบ
หากเครื่องยนตติดในระหวางทําการทดสอบใดๆ ขางตน ใหปรับหรือเปลี่ยน
สวิตชนิรภัย
(1) คันเกียรหลัก (3) แปนคลัตช
(2) คันควบคุมคลัตช PTO
9Y1210383GEG0014TH0

G-22
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
การตรวจคาแรงขันนอตยึดลอ

ขอควรระวัง
• หามขับแทรกเตอรโดยที่กระทะลอ ลอยาง ยังยึดไมแนน
• หากนอตมีการคลายตัว ใหขันนอตกลับเขาที่ดวยคาแรงขันที่กําหนด
• หมัน่ ตรวจเช็คโบลตและนอตที่ยึดอยูเปนประจํา และคอยดูแลใหแนนอยูเสมอ
1. ตรวจเช็คโบลตและนอตยึดลอเปนประจํา โดยเฉพาะเมื่อเริ่มใชแทรกเตอรใหมๆ
ถาตรวจพบวาหลวม ใหขันแนนดวยคาแรงขันดังนี้
168 ถึง 196 นิวตัน·เมตร
นอตยึดลอหนา 17.1 ถึง 20.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
124 ถึง 145 ปอนดแรง·ฟุต
260 ถึง 304 นิวตัน·เมตร
นอตยึดจานยึดกระทะลอหนา 26.5 ถึง 31.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
192 ถึง 224 ปอนดแรง·ฟุต
คาแรงขัน
260 ถึง 304 นิวตัน·เมตร
นอตยึดลอหลัง 26.5 ถึง 31.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
192 ถึง 224 ปอนดแรง·ฟุต
260 ถึง 304 นิวตัน·เมตร
นอตยึดฝาครอบลอหลัง 26.5 ถึง 31.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
192 ถึง 224 ปอนดแรง·ฟุต

(1) นอตยึดลอหนา (3) นอตยึดลอหลัง


(2) นอตยึดจานยึดกระทะลอหนา (4) นอตยึดฝาครอบลอหลัง
9Y1210383GEG0015TH0

G-23
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
การอัดจาระบีตามจุดตางๆ
1. อัดจาระบีอเนกประสงคในตําแหนงเหลานี้ ทุกๆ 50 ชั่วโมง
2. หากทานใชงานแทรกเตอรในสภาพแวดลอมที่มีความชื้นสูงและสกปรกมาก
ใหหลอลื่นหัวอัดจาระบีบอยๆ
(1) หัวอัดจาระบี (แทนยึดเสื้อเกียรคานลอหนา) (3) หัวอัดจาระบี (คันเกียรชวย)
[ขวา, ซาย] (4) ขั้วแบตเตอรี่
(2) หัวอัดจาระบี (แกนกําปนไฮดรอลิก)
9Y1210383GEG0016TH0

G-24
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

[4] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 100 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร


การทําความสะอาดไสกรองอากาศ
1. ถอดฝาครอบไสกรองอากาศ (4) และไสกรองตัวนอก (2)
2. ทําความสะอาดไสกรองตัวนอก :
• เมื่อมีคราบฝุนเกาะติดอยูที่ไสกรอง เปาลมออกจากทางดานในของไสกรอง
ลมอัดตองมีแรงดันต่ํากวา 205 kPA (2.1 กิโลกรัมแรง/ซม.2,
30 ปอนด/ตร.นิ้ว)
• เมื่อมีคราบเขมาหรือน้ํามันเกาะติดที่ไสกรอง ใหจุมไสกรองในน้ําผสม
ผงซักฟอกประมาณ 15 นาที แลวลางน้ําหลายๆ ครั้ง ลางออกดวยน้ําสะอาด
แลวปลอยทิ้งไวใหแหง เมื่อไสกรองแหงสนิทดีแลว ใหใชไฟสองดูภายใน
ของไสกรอง และตรวจเช็คดูวามีความเสียหายเกิดขึ้นหรือไม
3. เปลี่ยนไสกรองตัวนอก : ทุกๆ หนึ่งป หรือหลังจากทําความสะอาดแลว 6 ครั้ง
แลวแตวาจะถึงเวลาใดกอน
หมายเหตุ
• ตรวจเช็ความีฝุนอุดตันอยูที่วาลวสุญญากาศ (3) หรือไม
ขอสําคัญ
• กรองอากาศทําจากชิ้นสวนทีแ่ หง ดังนั้น หามชโลมน้ํามันบนกรองอากาศ
• หามเดินเครื่องขณะทีถ่ อดไสกรองออก
• ตองแนใจวาไดประกอบกลับครอบกันฝุนโดยใหลูกศร ↑ (ที่ดานหลังของครอบ
กันฝุน) ชี้ขึ้นบน หากประกอบครอบกันฝุนไมถูกตอง วาลวระบายฝุนจะไมทํางาน
และฝุนจะเกาะติดอยูที่ไสกรอง
• หามสัมผัสไสกรองตัวใน ยกเวนในกรณีที่ตองเปลี่ยนไสกรองดังกลาวใหม
Q วาลวสุญญากาศ
เปดวาลวสุญญากาศสัปดาหละหนึ่งครั้งในกรณีที่ใชงานแทรกเตอรตามปกติ
หรือทุกวันเมื่อใชงานแทรกเตอรในที่ที่มีฝุนมากเพื่อขจัดฝุนละอองและสิ่งสกปรก
ขนาดใหญ
(1) ไสกรองตัวใน (นิรภัย) (3) วาลวสุญญากาศ
(2) ไสกรองตัวนอก (4) ฝาครอบ
9Y1210383GEG0017TH0

G-25
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
ความตึงสายพานพัดลม

ขอควรระวัง
การปองกันไมใหเกิดอันตราย :
• ดับเครื่องยนตทุกครั้ง กอนการตรวจเช็คความตึงสายพาน
1. ดับเครื่องยนต และดึงกุญแจออก
2. ใชนิ้วโปงกดชองกึง่ กลางสายพานระหวางมูเ ล
3. ถาคาความตึงที่ไดไมถูกตอง ใหคลายสกรูยึดไดชารจ (1) ออก วางคานไวระหวาง
ไดชารจและเครื่องยนต ขยับไดชารจออกจนกระทั่งไดความตึงของสายพานพัดลม
ตามที่กําหนด
4. เปลี่ยนสายพานพัดลมใหมหากพบวาชํารุด
ระยะหยอน (A) เมื่อกดตรง
ชวงกลางของสายพาน 7 ถึง 9 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
(98 นิวตัน [10 กิโลกรัมแรง, 0.28 ถึง 0.35 นิ้ว
22 ปอนดแรง])

(1) สกรู A : ตรวจเช็คความตึงสายพาน


B : การขันแนน
9Y1210383GEG0018TH0
การตรวจเช็คทอน้ํามันเชื้อเพลิง
1. ตรวจเช็คดูทอน้ํามันทุกสาย (1) และเข็มขัดรัดทอ (2) ทุกจุดวาไมมีการเสียหายและ
รัดแนน อยูในสภาพสมบูรณ
2. ถาพบวาทอไอดีหรือเข็มขัดรัดทอเสียหายหรือชํารุด ใหทําการซอมแซมหรือ
เปลี่ยนใหมทันที
หมายเหตุ
• หากถอดทอน้ํามันเชื้อเพลิงออก ใหทําการไลลมออกจากระบบน้ํามันเชื้อเพลิง
ใหถูกตอง
(โปรดดูเรื่อง “การไลลมในระบบน้ํามันเชื้อเพลิง”)
(1) ทอน้ํามันเชื้อเพลิง (2) เข็มขัดรัด
9Y1210383GEG0019TH0
การปรับตั้งระยะฟรีแปนคลัตช
• ดูที่ “[2] ตรวจเช็คเมื่อใชงานครั้งแรกครบ 50 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร”
ในบทนี้
9Y1210383GEG0020TH0

G-26
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
การปรับตั้งระยะฟรีแปนเบรก
1. ปลดเบรกมือ
2. คอยๆ เหยียบแปนเบรก แลววัดระยะฟรี “A” ที่ปลายแปนเบรก
3. หากคาที่วัดไดไมตรงตามคามาตรฐานที่กําหนดไว ใหคลายนอตล็อก (2)
และหมุนขอตอปรับตัง้ (1) เพื่อปรับความยาวของกานใหไดคาที่ยอมรับได
4. ขันนอตล็อกใหมใหแนน (2)
40 ถึง 45 มม.
ระยะฟรีเบรก “A” คามาตรฐานที่กําหนด
1.6 ถึง 1.8 นิ้ว
ขอสําคัญ
• ตั้งระยะฟรีของเบรกทั้งขางซายและขวาใหเทากันเสมอ
(1) ขอตอปรับตั้ง A : ระยะฟรี
(2) นอตล็อก
9Y1210365GEG0017TH0

G-27
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
การตรวจเช็คสภาพแบตเตอรี่
• การปองกันไมใหแบตเตอรี่ระเบิด : สําหรับแบตเตอรี่แบบชารจซ้ํา โปรดปฏิบัติ
ตามคําแนะนําตอไปนี้
อันตราย
• หยุดใชงานหรือชารจแบตเตอรี่แบบชารจซ้ําในกรณีทรี่ ะดับน้ําต่ํากวาระดับขีด
ต่ําสุด
มิฉะนั้น ชิ้นสวนประกอบแบตเตอรี่อาจเสื่อมสภาพกอนกําหนด ซึ่งจะทําให
อายุการใชงานของแบตเตอรี่สั้นลงหรือทําใหเกิดการระเบิดได ตรวจเช็คระดับ
น้ํามันเปนประจํา และเติมน้ํากลั่นตามที่ตองการโดยใหระดับน้ําอยูระหวางระดับ
ขีดบน UPPER และขีดลาง LOWER
ขอควรระวัง
• หามถอดฝาปดชองเติมน้ํากลั่นออกขณะสตารทเครื่อง
• หลีกเลี่ยงมิใหน้ํากรดแบตเตอรี่สัมผัสกับดวงตา มือ และเสือ้ ผา หากสัมผัสใหรีบ
ลางน้ําออกใหสะอาด และไปพบแพทยทันที
• ระวังอยาใหมีสะเก็ดไฟอยูใกลแบตเตอรี่ กาซไฮโดรเจนผสมกับออกซิเจนเปนสาร
ทีส่ ามารถระเบิดไดงายมาก
• สวมแวนตานิรภัย และถุงมือยางทุกครั้งที่ทํางานกับแบตเตอรี่
หมายเหตุ
• แบตเตอรี่ที่ติดตั้งมาจากโรงงานนั้นเปนแบบชารจไฟใหมไมได หากไฟแสดง
สถานะเปนสีขาว หามชารจแบตเตอรี่ ใหเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหมแทน
1. การใชงานแบตเตอรี่ไมถูกวิธีจะทําใหอายุการใชงานสั้นลง และเปนการสิ้นเปลือง
คาใชจายในการซอมบํารุง
2. แบตเตอรี่ที่ติดมากับแทรกเตอรเปนประเภทที่ไมตองทําการบํารุงรักษาใดๆ
แตอาจตองทําการเปลี่ยนเมื่อแบตเตอรี่เสื่อม
หากพลังงานแบตเตอรี่ต่ําลง เครื่องยนตจะสตารทติดยากและแสงไฟจะไมคอย
สวาง การตรวจเช็คแบตเตอรี่อยางสม่ําเสมอจึงถือเปนสิ่งสําคัญ
3. ตรวจเช็คสภาพของแบตเตอรี่โดยการอานคาสัญญาณเตือน
สถานะของไฟแสดงสถานะ
คาความถวงจําเพาะของน้ํากรดแบตเตอรีแ่ ละคุณภาพของน้ํากรด
สีเขียว
แบตเตอรีอ่ ยูในสภาพดี
สีดํา จําเปนตองชารจแบตเตอรี่ใหม
สีขาว ตองเปลี่ยนแบตเตอรี่

(1) แบตเตอรี่ (2) ไฟแสดงสถานะ


9Y1210383GEG0021TH0

G-28
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
การชารจแบตเตอรี่

ขอควรระวัง
• ขณะใชงานแบตเตอรี่จะเกิดกาซไฮโดรเจนและออกซิเจนในแบตเตอรี่ ซึ่งสามารถ
ระเบิดไดงายมาก ระวังอยาใหเกิดประกายไฟหรือเปลวไฟบริเวณแบตเตอรี่
โดยเฉพาะขณะทําการชารจแบตเตอรี่
• กอนจะชารจแบตเตอรี่ ควรตรวจสอบใหแนใจวาไดปดฝาปดชองลมเขาที่แนน
ดีแลว (ถาติดตั้งไว)
• ในการถอดสายไฟออกจากแบตเตอรี่ ใหถอดขั้วลบที่แบตเตอรี่กอน
ในการประกอบสายไฟเขาแบตเตอรี่ ใหเริ่มจากขัว้ บวกที่แบตเตอรี่กอน
• อยาทําการตรวจเช็คกระแสไฟวามีหรือไม โดยใชวิธีนําโลหะวางพาดระหวาง
ขั้วบวกและขั้วลบของแบตเตอรี่
ใหใชโวลตมิเตอรหรือไฮโดรมิเตอรในการวัดเทานั้น
1. หากตองการชารจแบตเตอรี่แบบชา ใหตอขั้วบวกของแบตเตอรี่เขากับขั้วบวก
ของเครื่องชารจ และขั้วลบของแบตเตอรี่เขากับขั้วลบของเครื่องชารจ จากนั้น
ใหทําการชารจซ้ําตามวิธีการชารจปกติ
2. การชารจแบบเร็วมีไวสําหรับกรณีฉุกเฉินเทานั้น การชารจแบบนี้จะสามารถชารจ
แบตเตอรี่ในอัตราที่สูงในระยะเวลาสั้นๆ
เมือ่ ทําการชารจแบบเร็วแลว จําเปนจะตองชารจแบตเตอรี่ใหมอีกครั้งใหเร็วที่สุด
เทาที่จะทําได
หากไมรีบชารจไฟใหม จะทําใหอายุการใชงานของแบตเตอรี่สั้นลง
3. ถาไฟแสดงสถานะเปลี่ยนจากสีดําเปนสีเขียว แสดงวาแบตเตอรี่ชารจอยู
4. เมือ่ เปลี่ยนแบตเตอรี่ใหมแทนแบตเตอรี่เกา ใชแบตเตอรี่ที่มีคามาตรฐานตาม
ตารางดานลาง
ตาราง
กระแสไฟไหล
ประเภท ความจุสํารอง ออกขณะสตารท อัตราชารจไฟ
โวลต (V)
แบตเตอรี่ (นาที) เครื่องยนตเย็น ปกติ (แอมแปร)
(SAE)
80D26R 12 133 582 6.5

CCA: กระแสไฟไหลออกขณะสตารทเครื่องยนตเย็น

Q คําแนะนําในการเก็บรักษา
1. เมือ่ เก็บแทรกเตอรไวเปนระยะเวลานาน ใหถอดแบตเตอรี่ออกจากแทรกเตอร
ปรับน้ํากรดแบตเตอรี่ใหอยูในระดับที่เหมาะสม และเก็บแบตเตอรี่ไวในที่แหง
และไมมีแสงแดดสองโดยตรง
2. แบตเตอรี่จะคายประจุออกมาเองเมือ่ เก็บแบตเตอรี่ไว ทําการประจุแบตเตอรี่ใหม
ทุกๆ สามเดือนในฤดูรอน ทุกๆ หกเดือนในฤดูหนาว
(1) แบตเตอรี่
9Y1210383GEG0022TH0

G-29
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

[5] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 200 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร


การเปลี่ยนถายน้ํามันเครื่อง
• ดูที่ “การเปลี่ยนถายน้ํามันเครื่อง” ใน “ตรวจเช็คเมื่อใชงานครั้งแรกครบ
50 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร”
9Y1210383GEG0023TH0
การเปลี่ยนไสกรองน้ํามันเครื่อง
• ดูที่ “การเปลี่ยนถายน้ํามันเครื่อง” ใน “ตรวจเช็คเมื่อใชงานครั้งแรกครบ
50 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร”
9Y1210383GEG0024TH0
การตรวจเช็คทอยางหมอน้ําและเข็มขัดรัดทอ
ตรวจเช็คความเรียบรอยของทอยางหมอน้ําทุกๆ 200 ชั่วโมงการทํางาน หรือทุกๆ
6 เดือน แลวแตวาอยางใดถึงกอน
1. หากเข็มขัดรัดทอ (2) ไมแนนหรือมีน้ํารั่วออกมา ใหรัดเข็มขัด (2) ใหแนน
2. หากทอยางหมอน้ํา (1) บวม แข็ง หรือมีรอยปริแตก ใหเปลี่ยนทอยาง (1)
ใหมและขันเข็มขัดรัดทอ (2) ใหแนน
เปลี่ยนทอยางหมอน้ําและเข็มขัดรัดทอทุกๆ 2 ป หรือเปลี่ยนเมื่อพบวาบวม
แข็งหรือมีรอยปริแตก
Q ขอควรระวังเมื่อเครื่องยนตเกิดความรอนจัด
ใหปฏิบัติตามคําแนะนําตอไปนี้ เมื่อน้ําระบายความรอนมีอุณหภูมิสูง
เกือบถึงหรือสูงกวาจุดเดือด ซึ่งเรียกวา “เครื่องรอนจัด”
1. หยุดการใชงานแทรกเตอรทันที และจอดไวในบริเวณที่ปลอดภัยและปลอยให
เครื่องยนตเรงรอบเดินเบา
2. หามดับเครื่องยนตทันที ใหปลอยเครื่องยนตเรงรอบเดินเบาประมาณ 5 นาที
จึงดับเครื่องยนต
3. ออกหางจากแทรกเตอรประมาณ 10 นาที และอยาเขาใกลขณะที่มีไอรอนพน
ออกมาจากเครื่องยนต
4. ตรวจเช็คเครื่องยนต วาไมมีอันตรายที่เสี่ยงตอการสัมผัสไอน้ําหรือความรอน
แกไขตนเหตุของเครื่องยนตรอนโดยตรวจเช็คตามคูมือ โปรดดูในบท “ปญหา
และวิธีการแกไข” ที่หัวขอ 1. เครื่องยนต จากนัน จึงสตารทเครื่องยนตอีกครั้ง
(1) ทอยางหมอน้ํา (2) เข็มขัดรัดทอ
9Y1210383GEG0025TH0
การตรวจเช็คทอไอดี
1. ตรวจเช็คดูทอ ไอดีและเข็มขัดรัดทอทุกจุดวาไมมกี ารเสียหายและรัดแนนอยูใ นสภาพ
สมบูรณ
2. ถาพบวาทอไอดีหรือเข็มขัดรัดทอเสียหายหรือชํารุด ใหทําการซอมแซมหรือ
เปลี่ยนใหมทันที
(1) ทอยาง (2) เข็มขัดรัดทอ
9Y1210383GEG0026TH0

G-30
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
การตรวจเช็คทอน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอร

ขอควรระวัง
• ดับเครื่องยนตกอ นตรวจเช็คหรือทําการเปลี่ยนแปลงใดๆ ดังที่จะกลาวตอไปนี้
• อยาลืมตรวจเช็คทอน้ํามันเชื้อเพลิงเปนระยะๆ ทอน้ํามันเชื้อเพลิงมีการสึกหรอ
และขอบเขตอายุการใชงาน น้ํามันจึงอาจรั่วซึมออกมาในขณะที่เครื่องยนตกําลัง
ทํางาน ทําใหเกิดเพลิงไหมได
1. ตรวจเช็คดูทอน้ํามันทุกสาย (1) และเข็มขัดรัดทอ (2) ทุกจุดวาไมมีการเสียหาย
และรัดแนนอยูในสภาพสมบูรณ
2. ถาพบวาทอไอดีหรือเข็มขัดรัดทอ (2) เสียหายหรือชํารุด ใหทําการซอมแซมหรือ
เปลี่ยนใหมทันที
(1) ทอน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอร (2) เข็มขัดรัดทอ
9Y1210383GEG0027TH0
การปรับตั้งระยะสอบลอหนา (โท-อิน)
1. จอดแทรกเตอรไวในบริเวณพื้นเรียบ
2. หมุนพวงมาลัยใหลอหนาตัง้ ตรง
3. วางอุปกรณตอ พวงลง ดึงเบรกจอดรถ และดับเครื่องยนต
4. วัดระยะระหวางปกยางที่ดานหนายาง ที่ความสูงดุมลอ
5. วัดระยะระหวางปกยางที่ดานหลังยาง ที่ความสูงดุมลอ
6. ระยะที่วัดไดดานหนาควรจะนอยกวาดานหลัง ถาไมไดมาตรฐานตามที่กําหนด
ใหทําการปรับตั้งความยาวของคันชัก-คันสง
ระยะสอบลอหนา (โท-อิน) 2 ถึง 8 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
(B–A) 0.08 ถึง 0.3 นิ้ว
Q การปรับตั้งระยะสอบลอหนา (โท-อิน)
1. ถอดแหวนล็อกออก (1)
2. คลายนอตล็อกคันชัก-คันสง (2)
3. หมุนปลายคันชัก-คันสงเพื่อปรับระยะจนไดระยะสอบลอหนา (โท-อิน)
ตรงตามคาที่กําหนด
4. ขันนอตล็อกคันชัก-คันสง (2) ใหแนนอีกครั้ง
5. ใสแหวนล็อก (1) ของขอตอคันชัก-คันสง (3)
167 ถึง 196 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตล็อกคันชัก-คันสง 17 ถึง 20 กิโลกรัมแรง·เมตร
123.2 ถึง 144.6 ปอนดแรง·ฟุต

(1) แหวนล็อก (A) ระยะหางระหวางกึ่งกลางลอหนาดานหนา


(2) นอตล็อกคันชัก-คันสง (B) ระยะหางระหวางกึ่งกลางลอหนาดานหลัง
(3) ขอตอคันชัก-คันสง (C) “ดานหนา”
9Y1210383GEG0028TH0

[6] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 300 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร


การเปลี่ยนไสกรองน้ํามันไฮดรอลิก
• ดูที่ “การเปลี่ยนไสกรองน้ํามันไฮดรอลิก” ใน “ตรวจเช็คเมื่อใชงานครั้งแรกครบ
50 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร”
9Y1210365GEG0033TH0

G-31
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

[7] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 400 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร


การเปลี่ยนไสกรองน้ํามันเชื้อเพลิง
1. ปดกอกน้ํามันเชื้อเพลิง (2)
2. ถอดไสกรองน้ํามันเชื้อเพลิง (1)
3. ชโลมน้ํามันเชื้อเพลิงบางๆ ลงบนผิวสัมผัสปะเก็นไสกรองลูกใหมกอ นที่จะขัน
สกรู
4. จากนั้น ขันใหแนนโดยใชมือขางเดียว
5. เปดกอกน้ํามันเชื้อเพลิง (2)
6. ระบายลมออกจากระบบน้ํามันเชื้อเพลิง (ดูที่ “การไลลมในระบบน้ํามันเชื้อเพลิง”
ในบทนี้)
7. สตารทเครื่องยนต และตรวจเช็คการรั่วของน้ํามันเชื้อเพลิง
ขอสําคัญ
• เพื่อปองกันความเสียหายอยางรุนแรงตอเครื่องยนต ควรใชไสกรองน้ํามัน
เชื้อเพลิงของแทจากคูโบตาเทานั้น
• หามลางไสกรองน้ํามันเชื้อเพลิง และนํากลับมาใชใหม
(1) ไสกรองน้ํามันเชื้อเพลิง (A) ปด
(2) กอกน้ํามันเชื้อเพลิง (B) เปด
9Y1210383GEG0046TH0
การทําความสะอาดกรองดักน้ํา
1. ปดกอกน้ํามันเชื้อเพลิง (1)
2. คลายเกลียวของแหวนยึด (2) ออกและถอดถวย (3) ออกมา จากนั้นลางดานในดวย
น้ํามันกาด
3. หลังจากทําความสะอาดเสร็จแลว ประกอบเครื่องขจัดน้ํา อยาใหเลอะฝุนและ
คราบสกปรก
4. ระบายลมออกจากระบบน้ํามันเชื้อเพลิง (ดูที่ “การไลลมในระบบน้ํามันเชื้อเพลิง”
ในบทนี้)
หมายเหตุ
• ไมควรทํางานนี้ในพื้นที่ทํางาน ควรทําในทีส่ ะอาด
(1) กอกน้ํามันเชื้อเพลิง (A) “ปด”
(2) แหวนยึด
(3) ถวย
(4) แหวนยาง
(5) ทุนลอยสีแดง
9Y1210383GEG0047TH0

G-32
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

[8] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 600 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร


การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียร
• ดูที่ “การเปลี่ยนถายน้ํามันเกียร” ใน “ตรวจเช็คเมื่อใชงานครั้งแรกครบ
50 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร”
9Y1210365GEG0034TH0
การเปลี่ยนถายน้ํามันคานลอหนา
1. ในการถายน้ํามันที่ใชแลวออกไป ใหถอดปลั๊กถายน้ํามันดานซายและดานขวา (3)
และปลั๊กเติมน้ํามัน (1) ที่เสื้อคานลอหนาออก แลวถายน้ํามันใสอางน้ํามันเครื่อง
จนหมด
2. ประกอบปลั๊กถายน้ํามัน (3) หลังจากถายน้ํามันเสร็จแลว
3. ถอดปลั๊กถายดานซายและดานขวาออก (2)
4. เติมน้ํามันใหม
5. เมือ่ เติมน้ํามันแลว ใหประกอบกลับปลั๊กเติมน้ํามัน (1) และปลั๊กถาย (2)
8.0 ลิตร
ความจุน้ํามัน 8.5 ควอรตสหรัฐ
7.0 ควอรตอังกฤษ
หมายเหตุ
• ดูที่หัวขอ “4. สารหลอลื่น น้ํามันเชื้อเพลิง และน้ําระบายความรอน” ในหัวขอ
ขอมูลทั่วไป
(1) ปลั๊กเติมน้ํามัน (3) ปลั๊กถายน้ํามัน
(2) ปลั๊กถาย
9Y1210383GEG0029TH0
การปรับตั้งแทนยึดคานลอหนา
ขอสําคัญ
• หากการปรับตั้งสลักหมุนเพลาลอหนาไมถูกตอง จะทําใหเกิดแรงสั่นสะเทือนที่
ลอหนา ซึง่ จะทําใหพวงมาลัยสัน่ ตามไปดวย
1. คลายนอตล็อก (2) ขันสกรูปรับตั้ง (1) จนยึดติดกันแลว จากนั้น ขันสกรูเพิ่มอีก
1/6 รอบ
2. ขันนอตล็อก (2) ใหแนนอีกครั้ง
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
98.1 ถึง 147.1 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตล็อก 10.0 ถึง 15.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
72.3 ถึง 108.5 ปอนดแรง·ฟุต

(1) สกรูปรับตั้ง (2) นอตล็อก


9Y1210365GEG0036TH0

[9] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 800 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร


การปรับตั้งระยะหางวาลวเครื่องยนต
• ดูที่ “การตรวจเช็คและการปรับตั้ง” ที่หัวขอ “1. เครื่องยนต”
9Y1210365GEG0078TH0

G-33
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

[10] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 1500 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร


การตรวจเช็คหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง (แรงดันการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง)
• ดูที่ “การตรวจเช็คและการปรับตั้ง” ที่หัวขอ “1. เครื่องยนต”
9Y1210365GEG0079TH0

[11] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 3000 ชั่วโมงการทํางานแทรกเตอร


การตรวจเช็คเทอรโบชารจเจอร
• ดูที่ “การตรวจเช็คและการปรับตั้ง” ที่หัวขอ “1. เครื่องยนต”
9Y1210365GEG0080TH0
การตรวจเช็คปมน้ํามันเชื้อเพลิง
• ดูที่ “การตรวจเช็คและการปรับตั้ง” ที่หัวขอ “1. เครื่องยนต”
9Y1210365GEG0081TH0

[12] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 1 ปการทํางานแทรกเตอร


การเปลี่ยนไสกรองตัวนอกและไสกรองตัวใน
• ดูที่ “การทําความสะอาดไสกรองอากาศ” ในหัวขอ “(4) ทุก 100 ชั่วโมง”
9Y1210365GEG0037TH0

G-34
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

[13] จุดตรวจเช็คเมื่อใชงานครบ 2 ปการทํางานแทรกเตอร


การลางระบบหลอเย็นและการเปลี่ยนน้ําระบายความรอน

ขอควรระวัง
• หามถอดฝาหมอน้ําขณะที่เครื่องยนตกําลังรอนอยู หมุนฝาหมอน้ําออกชาๆ
จนแรงดันภายในหมอน้ําไดถูกระบายออกมาจนหมด แลวจึงเปดฝาหมอน้ําออกได
1. ดับเครื่องยนต ถอดกุญแจออก แลวปลอยใหเครื่องเย็นตัวลง
2. ในการถายน้ําระบายความรอน เปดปลั๊กถายน้ํามัน (3) แลวถอดฝาหมอน้ํา (1)
จะตองถอดฝาหมอน้ํา (1) จึงจะสามารถระบายน้ําระบายความรอนออกมาไดหมด
3. หลังจากระบายน้ําระบายความรอนหมดแลว ใหใสปลั๊กถายน้ํามัน (3)
กลับใหแนน
4. เติมน้ําสะอาดและน้ํายาลางหมอน้ํา
5. ทําตามคูมือแนะนําการใชน้ํายาลางหมอน้ํา
6. หลังจากถายน้ําออกจนหมดแลว ใหเติมน้ําที่สะอาดและสารปองกันการแข็งตัว
จนระดับน้ําระบายความรอนอยูใตฝาหมอน้ํา (1) ปดฝาหมอน้ํา (1) ใหแนน
7. เติมน้ําระบายความรอนจนอยูในระดับ “FULL” ของถังน้ําสํารอง
8. สตารทเครื่องยนตทิ้งไวประมาณ 2-3 นาที
9. ดับเครื่องยนต
10. ตรวจเช็คระดับน้ําระบายความรอนในถังน้ําสํารอง (2) และเติมเพิ่มหากจําเปน
11. ทิ้งน้ําระบายความรอนที่ใชแลวอยางถูกวิธี
ขอสําคัญ
• หามสตารทเครื่องยนตโดยไมมีน้ําระบายความรอน
• ใชน้ําทีส่ ะอาดและสารปองกันการแข็งตัวเติมลงในหมอน้ําและถังน้ําสํารอง (2)
• เมื่อผสมกับน้ํา อัตราสวนของสารปองกันการแข็งตัวคือ 50%
• ปดฝาหมอน้ํา (1) ใหแนน หากฝาหมอน้ําหลวมหรือปดไมถูกตอง น้ําอาจจะรั่ว
ระเหยออก ทําใหเครื่องยนตรอนจัด
8.0 ลิตร
ความจุน้ําระบายความรอน 8.5 ควอรตสหรัฐ
7.0 ควอรตอังกฤษ

(1) ฝาหมอน้ํา (3) ปลั๊กถายน้ํามัน


(2) ถังน้ําสํารอง
9Y1210383GEG0030TH0

G-35
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
Q สารปองกันการแข็งตัว
ขอควรระวัง
การปองกันไมใหเกิดอันตราย :
• ขณะใชงานสารปองกันการแข็งตัว ใหใสอุปกรณปองกัน เชน ถุงมือยาง
(สารปองกันการแข็งตัวมีพิษ)
• หากดื่มสารปองกันการแข็งตัวเขาไป ใหทําใหอาเจียนและพบแพทยทันที
• เมื่อสารปองกันการแข็งตัวสัมผัสกับผิวหนังหรือเสือ้ ผา ใหลางออกทันที
• หามผสมสารปองกันการแข็งตัวหลายชนิดเขาดวยกัน สวนผสมอาจทําใหเกิด
ปฏิกิริยาทางเคมีและทําใหเกิดสารที่เปนอันตราย
• สารปองกันการแข็งตัวนั้นติดไฟไดงายมากและทำใหเกิดการระเบิดได เก็บสาร
ปองกันการแข็งตัวใหพนจากไฟและมือเด็ก
• เมื่อระบายสารเคมีออกจากเครื่องยนต ใหวางภาชนะรองรับไวใตตัวเครื่องยนต
• หามเทสารทีไ่ มใชแลวลงบนพื้น ลงในทอระบายน้ํา หรือแหลงน้ําใดๆ
• นอกจากนี้ อานขอกําหนดในการปองกันและอนุรักษสิ่งแวดลอมใหเขาใจ
กอนทําการกําจัดสารปองกันการแข็งตัว
หากน้ําระบายความรอนเกิดแข็งตัว จะทําใหกระบอกสูบและหมอน้ําเสียหายได
ดังนั้น การใชงานแทรกเตอรที่อุณหภูมิบรรยากาศต่ํากวา 0 °C (32 °F) หรือกอนการ
ใชงานหลังจากที่ไมไดใชงานมานาน ใหถายน้ําระบายความรอนออกจนหมด หรือ
ผสมน้ําเปลาน้ําระบายความรอนที่มีอายุการใชงานยาวนาน จากนั้น เติมลงในหมอน้ํา
และถังน้ําสํารอง
1. น้ําระบายความรอนอายุการใชงานยาวนาน (ตอไปนี้จะเรียกวา LLC) มีหลาย
ประเภท สําหรับเครื่องยนตรุนนี้ใหใชประเภทเอธิลีนไกลคอล (Ethylene Glycol
หรือ EG)
2. ใหใชน้ําสะอาดเติมหมอน้ําใหเต็ม แลวเทออกอีกครั้ง กอนเติมน้ําระบายความรอน
ที่ผสมดวย LLC โดยเติมน้ําสะอาดและเทออกประมาณ 2-3 ครั้งเพื่อทําความ
สะอาดหมอน้ํา
3. การผสม LLC เติม LLC ลงในน้ําระบายความรอนใหไดเปอรเซ็นต (%)
ตามอุณหภูมิที่ตองการใชงาน ระหวางผสมใหกวนใหเขากันกอนเติมลงหมอน้ํา
4. ขั้นตอนในการผสมน้ําสะอาดและสารปองกันการแข็งตัวจะแตกตางกันไปตาม
สวนผสมของสารปองกันการแข็งตัว และอุณหภูมิบรรยากาศ ใหดูมาตรฐาน
SAE J1034 หรือขอมูลเฉพาะกวานั้นใหดู SAE J814c ประกอบ
ขอสําคัญ
• เมื่อผสมสารปองกันการแข็งตัวเขากับน้ํา อัตราสวนในการผสมจะตองไมเกิน
50 %
% จุดเยือกแข็ง จุดเดือด*
โดยปริมาตรของ
สารปองกันการ °C °F °C °F
แข็งตัว
40 −24 −12 106 222
50 −37 −34 108 226
*ที่ความดัน 1.013 x 105 ปาสคาล (760 มม. ปรอท) (ความดันบรรยากาศ) สามารถเพิ่มจุดเดือดได
โดยการใชฝาปดแรงดันหมอน้ําชวยเพิ่มแรงดันภายในระบบหลอเย็น
(ตอ)

G-36
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
(มีตอ)
5. การเติม LLC
a) เติมเฉพาะน้ําเปลาหากสวนผสมลดลงเนื่องจากการระเหย
b) หากมีสวนผสมรั่วออกไป ใหเติม LLC ของผูผลิตและชนิดเดียวกันตาม
เปอรเซ็นตการผสมเดิม
* หามเติมน้ําระบายความรอนอายุการใชงานยาวนานจากผูผลิตอื่น
(ยี่หอที่ตางกันจะมีสวนผสมตางกัน ทําใหเครื่องยนตทํางานไดไมเต็ม
ประสิทธิภาพ)
6. เมือ่ ผสม LLC เรียบรอยแลว หามใชน้ํายาลางหมอน้ําใดๆ สาร LLC มีสารปองกัน
การผุกรอน ซึ่งถารวมตัวกับน้ํายาทําความสะอาดจะเกิดตะกรันซึ่งมีผลกระทบ
กับชิ้นสวนเครื่องยนตอยางรุนแรง
7. น้ําระบายความรอนอายุการใชงานยาวนานของแทจากคูโบตามีอายุการใชงาน 2 ป
อยาลืมเปลี่ยนน้ําระบายความรอนใหมทุกๆ 2 ป
หมายเหตุ
• ขอมูลดานบนแสดงถึงคามาตรฐานทีไ่ ดจากการใชสารปองกันการแข็งตัวเขมขน
ที่มีปริมาณไกลคอลต่ําสุด
• กรณีที่ระดับน้ําระบายความรอนลดลงเนื่องจากการระเหย ใหเติมน้ําเทานั้นเพื่อให
อัตราสวนของสารปองกันการแข็งตัวนอยกวา 50 % ในกรณีที่มีการรั่วของน้ํา
ระบายความรอน ใหผสมสารปองกันการแข็งตัวกับน้ําตามอัตราสวนที่กําหนด
กอนเติมลงในหมอน้ํา
9Y1210365GEG0082TH0
การเปลี่ยนทอยางหมอน้ํา (ทอน้ํา)
1. เปลี่ยนทอยางและเข็มขัดรัดทอ
ดูที่ “การตรวจเช็คทอยางหมอน้ําและเข็มขัดรัดทอ” ในหัวขอ “ทุก 200 ชั่วโมง”
9Y1210365GEG0039TH0
การเปลี่ยนทอน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอร
1. เปลี่ยนทอยางและเข็มขัดรัดทอหากจําเปน
ดูที่ “การตรวจเช็คทอน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอร” ในหัวขอ “ทุก 200 ชั่วโมง”
9Y1210365GEG0040TH0
การเปลี่ยนทอน้ํามันเชื้อเพลิง
1. เปลี่ยนทอน้ํามันเชื้อเพลิงและเข็มขัดรัดทอหากจําเปน
ดูที่ “การตรวจเช็คทอน้ํามันเชื้อเพลิง” ในหัวขอ “ทุก 100 ชั่วโมง”
9Y1210365GEG0041TH0
การเปลี่ยนทอไอดี
1. เปลี่ยนทอไอดีและเข็มขัดรัดทอหากจําเปน
ดูที่ “การตรวจเช็คทอไอดี” ในหัวขอ “ทุก 100 ชั่วโมง”
9Y1210383GEG0031TH0

G-37
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

[14] การดูแลตรวจสอบตามความตองการ (อื่นๆ)


การไลลมในระบบน้ํามันเชื้อเพลิง
Q ตองทําการไลลม
1. เมื่อถอดไสกรองน้ํามันเชื้อเพลิงหรือทอน้ํามันเชื้อเพลิง
2. เมื่อใชงานจนน้ํามันเชื้อเพลิงหมดถัง
3. หลังจากหยุดใชแทรกเตอรเปนระยะเวลายาวนาน
Q ทําตามขั้นตอนการไลลมดังนี้
1. เติมน้ํามันเชื้อเพลิงลงในถังน้ํามันเชื้อเพลิง
2. เปดจุกปดชองลม (2) ที่ปมฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง
3. สตารทเครื่องยนต แลวเดินเครื่องทิ้งไวประมาณ 30 วินาที แลวจึงดับเครื่อง
4. ปดจุกปดชองลม (2)
ขอสําคัญ
• ปดจุกปดชองลม (2) ทุกครั้ง ยกเวนเมื่อจะไลลมออกจากทอน้ํามันเชื้อเพลิง
มิฉะนั้น เครื่องยนตจะทํางานผิดปกติหรือหยุดการทํางานกลางคันบอยๆ
(1) กอกน้ํามันเชื้อเพลิง A : ปด
(2) จุกปดชองลม B : เปด
9Y1210383GEG0032TH0
การถายน้ําออกจากหองคลัตช
1. ปลั๊กถายน้ํา (1) ของแทรกเตอรจะอยูขางใตหองคลัตช
2. หลังจากใชงานแทรกเตอรขณะฝนตก หรือหลังจากลางแทรกเตอร อาจมีน้ําเขาไป
ในหองคลัตชได
3. ถอดปลั๊กถายน้ํา (1) ออกเพื่อระบายน้ํา จากนั้นขันปลั๊ก (1) เขาที่เดิมใหแนน
(1) ปลั๊กถายน้ํา
9Y1210365GEG0043TH0

G-38
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
การเปลี่ยนฟวส
1. ระบบไฟฟาของแทรกเตอรจะถูกปองกันจากความเสียหายโดยใชฟวส ฟวสขาด
จะชี้ใหเห็นถึงการใชกระแสไฟเกินหรือมีการลัดวงจรที่ใดที่หนึ่งในระบบไฟฟา
2. หากพบฟวสขาดใหเปลี่ยนใหม โดยใชฟวสขนาดเทาเดิม
ขอสําคัญ
• กอนทําการเปลี่ยนฟวสทขี่ าด ใหตรวจสอบสาเหตุทที่ ําใหฟวสขาด แลวซอมให
เรียบรอย หากไมปฏิบัติตามขั้นตอนเหลานี้ อาจทําใหเกิดความเสียหายรายแรงตอ
ระบบไฟฟาของแทรกเตอร ดูที่ขอมูลเฉพาะเกีย่ วกับการจัดการปญหาดานไฟฟา
จากหัวขอปญหา และวิธีการแกไข ในคูมือเลมนี้
Q วงจรปองกัน
ลําดับฟวส ความจุ (แอมแปร) วงจรปองกัน
a 5 ไดชารจ, เครื่องยนต
b 5 แผงหนาปด
c 10 ไฟเลี้ยว
d 15 ไฟทํางาน
e 5 แผงหนาปด (สํารอง)
f 15 ไฟหนา, ไฟทาย
g 15 ไฟกะพริบ (ไฟฉุกเฉิน)
h 5 รีเลยมอเตอรสตารท
i 10 แตร
j 50 ชารจไฟ
k 30 โซเลนอยดดับเครือ่ งยนต
l 40 สวิตชกุญแจ, ไฟหนา, ไฟฉุกเฉิน
9Y1210383GEG0033TH0
การเปลี่ยนหลอดไฟ
1. ไฟหนา :
ถอดหลอดไฟออกจากตัวเรือน แลวใสหลอดใหมเขาไปแทน
2. ไฟตําแหนงอื่นๆ :
ถอดเลนสออกแลวจึงเปลี่ยนหลอดไฟ
หลอดไฟ ความจุ
ไฟหนา 12 V, 55 / 60 W (H4)
ไฟฉุกเฉินและไฟเลี้ยว (ทรงกลม) 12 V, 23 W
ไฟฉุกเฉินและไฟเลี้ยว 12 V, 21 W
ไฟทาย 12 V, 21 / 5 W
9Y1210383GEG0034TH0

G-39
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
การเปลี่ยนไฟหนา

ขอควรระวัง
การปองกันไมใหเกิดอันตราย :
• ระวังอยาทําหลอดไฟหลน, โดนกระแทก, ใชแรงกับหลอดไฟมากเกินไป และมี
รอยขีดขวน กระจกหลอดไฟที่แตกอาจบาดได เพิ่มความระมัดระวังมากยิ่งขึน้
เมื่อใชหลอดฮาโลเจน เนื่องจากในหลอดมีแรงดันสูง
• กอนเปลี่ยนหลอดไฟ อยาลืมปดไฟและรอจนหลอดไฟเกาเย็นลง มิฉะนั้นอาจถูก
ลวกได
1. กดปุมล็อกหลอดไฟดานซายและขวา (2) คางไว จากนั้นใหถอดขั้วตอสายไฟ (1)
ออกมา
2. ถอดยางกันหลอดไฟ (3) ออก
3. ถอดที่ยึดหลอดไฟ (4) ออกและนําหลอดไฟ (5) ออกมา
4. เปลี่ยนหลอดไฟใหม และติดตั้งอุปกรณไฟหนากลับเขาไปใหมตามลําดับ
ขอสําคัญ
• ตรวจเช็คใหแนใจวาไดใชหลอดไฟใหมตามกําลังไฟทีก่ ําหนด
• หามจับผิวหนาของหลอดไฟ (แกว) ดวยมือเปลา รอยนิ้วมืออาจทําใหหลอดไฟ
เสียหาย
(1) ขั้วตอไฟฟา A : “หันดานสวนที่ยื่นที่กวางกวาของฐาน
(2) ปุมล็อก ขึ้นบน”
(3) ยางกันหลอดไฟ
(4) ที่ยึดหลอดไฟ
(5) หลอดไฟ
9Y1210365GEG0084TH0

G-40
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

8. เครื่องมือพิเศษ
[1] เครื่องมือพิเศษสําหรับเครื่องยนต
ชุดเหล็กดูดชนิดปรับขาได
รหัสหมายเลข
• 07916-09032
การใชงาน
• ใชสําหรับดึงลูกปน เฟอง และชิ้นสวนตางๆ ออกไดงาย
WSM000001GEG0011TH0

ตัวชวยใสแหวนสูบ
รหัสหมายเลข
• 07909-32111
การใชงาน
• ใชสําหรับดันลูกสูบและแหวนลูกสูบเขาไปในกระบอกสูบ
WSM000001GEG0012TH0

คีมถางแหวนลูกสูบ
รหัสหมายเลข
• 07909-32121
การใชงาน
• ใชสําหรับถอดหรือประกอบแหวนลูกสูบใหงายขึ้น
WSM000001GEG0013TH0

ชุดเกจวัดกําลังอัด (สําหรับหัวเผา)
รหัสหมายเลข
• 07909-39081 (รวมทั้งหมด)
• 07909-31291 (K)
• 07909-31301 (L)
• 07909-31311 (M)
การใชงาน
• ใชตรวจวัดกําลังอัดของเครื่องยนตดีเซล เพื่อวิเคราะหวาจําเปนตองซอมใหญ
หรือไม
ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด
• ตองใชขอตอเพิ่ม-ลดขนาด K สําหรับ 03-M-DI-E2B
(1) เกจวัด (4) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด K
(2) ชุดทอ (5) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด L
(3) ขอตอ L (6) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด M
WSM000001GEG0109TH0

G-41
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
เกจวัดแรงดันน้ํามันเครื่อง
รหัสหมายเลข
• 07916-32032
การใชงาน
• ใชตรวจวัดแรงดันน้ํามันเครื่อง
(1) เกจวัด (5) ขอตอเพิม่ -ลดขนาด 2
(2) สายน้ํามัน (6) ขอตอเพิม่ -ลดขนาด 3
(3) ขอตอเกลียว (7) ขอตอเพิม่ -ลดขนาด 4
(4) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด 1 (8) ขอตอเพิม่ -ลดขนาด 5
WSM000001GEG0015TH0
ชุดตัดมุมบาวาลว
รหัสหมายเลข
• 07909-33102
การใชงาน
• ใชตดั ทํามุมบาวาลว
มุม
• 0.79 เรเดียน (45 °)
• 0.26 เรเดียน (15 °)
เสนผานศูนยกลาง
• 28.6 มม. (1.13 นิ้ว)
• 31.6 มม. (1.24 นิ้ว)
• 35.0 มม. (1.38 นิ้ว)
• 38.0 มม. (1.50 นิ้ว)
• 41.3 มม. (1.62 นิ้ว)
• 50.8 มม. (2.00 นิ้ว)
WSM000001GEG0016TH0
ตัวทดสอบแผงหมอน้ํา
รหัสหมายเลข
• 07909-31551
การใชงาน
• ใชตรวจเช็คแรงดันฝาหมอน้ําและการรั่วซึมที่ระบบหลอเย็น
หมายเหตุ
• ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด (1) BANZAI รหัสหมายเลข RCT-2A-30S
(1) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด
WSM000001GEG0017TH0
ชุดวัดกานสูบ
รหัสหมายเลข
• 07909-31661
การใชงาน
• ใชตรวจเช็คความโกงงอของกานสูบ
ระยะที่ใชได
• ความโตในของกานสูบ เสนผานศูนยกลาง 30 ถึง 75 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.18
ถึง 2.95 นิ้ว)
• ความยาวกานสูบ 65 ถึง 300 มม. (2.57 ถึง 11.81 นิ้ว)
WSM000001GEG0020TH0
G-42
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
เครื่องทดสอบแรงดันหัวฉีด
รหัสหมายเลข
• 07909-31361
การใชงาน
• ใชตรวจเช็คแรงดันการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงและรูปแบบการพนของหัวฉีด
ระยะที่วัดได
• 0 ถึง 50 เมกะปาสคาล (0 ถึง 500 กิโลกรัมแรง/ซม.2, 0 ถึง 7000 ปอนด/ตร.นิ้ว)
WSM000001GEG0021TH0

พลาสติกเกจ
รหัสหมายเลข
• 07909-30241
การใชงาน
• ใชตรวจเช็คชองวางน้ํามัน เชน ระหวางขอเหวี่ยงกับลูกปน
ระยะที่วัดได
• สีเขียว : 0.025 ถึง 0.076 มม. (0.001 ถึง 0.003 นิ้ว)
• สีแดง : 0.051 ถึง 0.152 มม. (0.002 ถึง 0.006 นิ้ว)
• สีน้ําเงิน : 0.102 ถึง 0.229 มม. (0.004 ถึง 0.009 นิ้ว)
WSM000001GEG0022TH0
สเปรยเช็ครอยราวสีแดง
รหัสหมายเลข
• 07909-31371
การใชงาน
• ใชตรวจเช็ครอยแตก เชน ที่ฝาสูบ เสื้อสูบ
WSM000001GEG0023TH0

G-43
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
เครื่องมือเปลี่ยนบุช
การใชงาน
• ใชสําหรับตอกบุชออกและใสเขา
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษเหลานี้ไมมีจําหนายตามทองตลาด แตสามารถสั่งทําไดเอง
ตามแบบที่ใหไวตอไปนี้
[สําหรับบุชกานสูบเล็ก]
A 162 มม. (6.38 นิ้ว)
B 35 มม. (1.38 นิ้ว)
C 27 มม. (1.06 นิ้ว)
D เสนผานศูนยกลาง 35 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.38 นิ้ว)
E เสนผานศูนยกลาง 27.90 ถึง 27.95 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.098 ถึง 1.100 นิ้ว)
F เสนผานศูนยกลาง 25.00 ถึง 25.01 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.984 ถึง 0.985 นิ้ว)
a 6.3 μm (250 μin.)
b 1.25 μm (50 μin.)
c 1.25 μm (50 μin.)

[สําหรับบุชเฟองสะพาน]
A 175 มม. (6.89 นิ้ว)
B 40 มม. (1.57 นิ้ว)
C 38 มม. (1.49 นิ้ว)
D เสนผานศูนยกลาง 45 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.77 นิ้ว)
E เสนผานศูนยกลาง 41.90 ถึง 41.95 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.650 ถึง 1.652 นิ้ว)
F เสนผานศูนยกลาง 37.95 ถึง 37.97 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.494 ถึง 1.495 นิ้ว)
a 6.3 μm (250 μin.)
b 1.25 μm (50 μin.)
c 1.25 μm (50 μin.)
9Y1210365GEG0064TH0

G-44
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
เครื่องมือเปลี่ยนปลอกวาลว
การใชงาน
• ใชสําหรับสงปลอกวาลวออกและใสเขา
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษเหลานี้ไมมีจําหนายตามทองตลาด แตสามารถสัง่ ทําไดเอง
ตามแบบทีใ่ หไวตอไปนี้
A เสนผานศูนยกลาง 20 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.79 นิ้ว)
B เสนผานศูนยกลาง 12.7 ถึง 12.9 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.500 ถึง 0.508 นิ้ว)
C เสนผานศูนยกลาง 7.5 ถึง 7.6 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.295 ถึง 0.299 นิ้ว)
D 225 มม. (8.86 นิ้ว)
E 70 มม. (2.76 นิ้ว)
F 45 มม. (1.77 นิ้ว)
G เสนผานศูนยกลาง 25 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.98 นิ้ว)
H 5 มม. (0.197 นิ้ว)
I เสนผานศูนยกลาง 7.7 ถึง 8.0 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.303 ถึง 0.315 นิ้ว)
J เสนผานศูนยกลาง 20 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.787 นิ้ว)
K เสนผานศูนยกลาง 13.5 ถึง 13.8 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.531 ถึง 0.543 นิ้ว)
L 8.9 ถึง 9.1 มม. (0.350 ถึง 0.358 นิ้ว)
C1 ลบมุม 1.0 มม. (0.039 นิ้ว)
C2 ลบมุม 2.0 มม. (0.079 นิ้ว)
C0.3 ลบมุม 0.3 มม. (0.012 นิ้ว)
9Y1210365GEG0065TH0

G-45
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
แทนวางเครื่องยนต
การใชงาน
• ใชวางเครื่องยนต
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษชนิดนี้ไมมีมาให โปรดอางอิงจากภาพ
A 480 มม. (18.90 นิ้ว)
B 50 มม. (1.97 นิ้ว)
C 108.5 มม. (4.272 นิ้ว)
D 263 มม. (10.35 นิ้ว)
E 12.5 มม. (0.492 นิ้ว)
F 237.5 มม. (9.350 นิ้ว)
G 142.5 มม. (5.610 นิ้ว)
H 95 มม. (3.74 นิ้ว)
I เสนผานศูนยกลาง 4.14 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.55 นิ้ว)
J 40 มม. (1.57 นิ้ว)
K 210 มม. (8.27 นิ้ว)
L 190 มม. (7.48 นิ้ว)
M 100 มม. (3.94 นิ้ว)
N 6 มม. (0.24 นิ้ว)
O 6 มม. (0.24 นิ้ว)
P เสนผานศูนยกลาง 25 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.98 นิ้ว)
C10 ลบมุม 10 มม. (0.394 นิ้ว)
9Y1210365GEG0066TH0

G-46
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
เครื่องมือถอดประกอบชาฟตอก 1
การใชงาน
• ใชสําหรับสงชาฟตอก 1 ออกและใสเขา
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษเหลานี้ไมมีจําหนายตามทองตลาด แตสามารถสัง่ ทําไดเอง
ตามแบบทีใ่ หไวตอไปนี้
[เครื่องมือถอด]
A 135 มม. (5.31 นิ้ว)
B 72 มม. (2.83 นิ้ว)
C R40 มม. (R1.57 นิ้ว)
D 10 มม. (0.39 นิ้ว)
E 20 มม. (0.79 นิ้ว)
F เสนผานศูนยกลาง 20 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.79 นิ้ว)
G เสนผานศูนยกลาง 64.8 ถึง 64.9 มม. (เสนผานศูนยกลาง 2.551 ถึง 2.555 นิ้ว)
H เสนผานศูนยกลาง 59.8 ถึง 59.9 มม. (เสนผานศูนยกลาง 2.354 ถึง 2.358 นิ้ว)

[เครื่องมือใส]
A 130 มม. (5.12 นิ้ว)
B 72 มม. (2.83 นิ้ว)
C R40 มม. (R1.57 นิ้ว)
D 9 มม. (0.35 นิ้ว)
E 4 มม. (0.16 นิ้ว)
F 20 มม. (0.79 นิ้ว)
G เสนผานศูนยกลาง 20 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.79 นิ้ว)
H เสนผานศูนยกลาง 68 มม. (เสนผานศูนยกลาง 2.68 นิ้ว)
I เสนผานศูนยกลาง 59.8 ถึง 59.9 มม. (เสนผานศูนยกลาง 2.354 ถึง 2.358 นิ้ว)
J เสนผานศูนยกลาง 64.8 ถึง 64.9 มม. (เสนผานศูนยกลาง 2.551 ถึง 2.555 นิ้ว)
9Y1210365GEG0067TH0
ตัวหยุดการหมุนลอชวยแรง
การใชงาน
• ใชคลายเกลียวและขันแนนสกรูยึดลอชวยแรง
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษชนิดนี้ไมมีมาให โปรดอางอิงจากภาพ
A 20 มม. (0.79 นิ้ว)
B 15 มม. (0.59 นิ้ว)
C เสนผานศูนยกลาง 10 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.39 นิ้ว)
D 30 มม. (1.18 นิ้ว)
E 8 มม. (0.31 นิ้ว)
F 200 มม. (7.87 นิ้ว)
9Y1210365GEG0068TH0

G-47
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
ประแจกระบอกสําหรับนอตมูเลเพลาขอเหวี่ยง (ประแจกระบอกลึก 46 มม.)
การใชงาน
• ใชสําหรับคลายและขันแนนนอตยึดมูเลขับสายพานพัดลม
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษชนิดนี้ไมมีมาให โปรดอางอิงจากภาพ
A 100 มม. (3.94 นิ้ว)
B 25.0 มม. (0.98 นิ้ว)
C 27.0 มม. (1.06 นิ้ว)
D เสนผานศูนยกลาง 45.0 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.77 นิ้ว)
E เสนผานศูนยกลาง 35.0 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.38 นิ้ว)
F เสนผานศูนยกลาง 62.5 มม. (เสนผานศูนยกลาง 2.46 นิ้ว)
G 46.0 มม. (1.81 นิ้ว)
9Y1210365GEG0057TH0
ชุดประกอบปลอกเพลาขอเหวี่ยง
การใชงาน
• ใชซอมปลอกเพลาขอเหวี่ยงของเครื่องยนตดีเซล
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษเหลานี้ไมมีจําหนายตามทองตลาด แตสามารถสั่งทําไดเอง
ตามแบบที่ให ไวตอไปนี้
A 80.0 มม. (3.1496 นิ้ว)
B 60.1 ถึง 60.3 มม. (2.3661 ถึง 2.3740 นิ้ว)
C เสนผานศูนยกลาง 80.0 มม. (เสนผานศูนยกลาง 3.1496 นิ้ว)
D เสนผานศูนยกลาง 85.0 มม. (เสนผานศูนยกลาง 3.3465 นิ้ว)
E เสนผานศูนยกลาง 60.1 ถึง 60.3 มม. (เสนผานศูนยกลาง 2.3661 ถึง 2.3740 นิ้ว)
F 26.3 ถึง 26.4 มม. (1.0354 ถึง 1.0394 นิ้ว)
G 25.85 ถึง 25.90 มม. (1.0177 ถึง 1.0197 นิ้ว)
H 15.0 มม. (0.5906 นิ้ว)
I 5.0 มม. (0.1969 นิ้ว)

(1) แผนล็อก (3) ตัวตอกปลอกเพลาขอเหวี่ยง


(2) ปลอกตัวนํา
(ตอ)

G-48
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
(มีตอ)
การใชงาน
• ใชซอมปลอกเพลาขอเหวี่ยงของเครื่องยนตดีเซล
J 42.0 มม. (1.6535 นิ้ว)
K 30.5 ถึง 30.6 มม. (1.2008 ถึง 1.2047 นิ้ว)
L 23.0 มม. (0.9055 นิ้ว)
M 20.0 มม. (0.7874 นิ้ว)
N 2.0 มม. (0.0787 นิ้ว)
O เสนผานศูนยกลาง 31.911 ถึง 31.950 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.2563 ถึง 1.2579 นิ้ว)
P เสนผานศูนยกลาง 30.0 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.1811 นิ้ว)
Q เสนผานศูนยกลาง 5.0 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.1969 นิ้ว)
R 0.087 เรเดียน (5 °)
S เสนผานศูนยกลาง 25.0 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.9843 นิ้ว)
T เสนผานศูนยกลาง 60.0 มม. (เสนผานศูนยกลาง 2.3622 นิ้ว)
U เสนผานศูนยกลาง 79.80 ถึง 79.85 มม. (เสนผานศูนยกลาง 3.1417 ถึง 3.1437 นิ้ว)
V 10.0 มม. (0.3937 นิ้ว)
W เสนผานศูนยกลาง 0.04 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.0016 นิ้ว)
X 140 มม. (5.5118 นิ้ว)
Y 120 มม. (4.7244 นิ้ว)
Z 110 มม. (4.3307 นิ้ว)
a 50.0 มม. (1.9685 นิ้ว)
b 39.9 ถึง 40.0 มม. (1.5709 ถึง 1.5748 นิ้ว)
c 25.0 มม. (0.9843 นิ้ว)
d เสนผานศูนยกลาง 90.0 มม. (เสนผานศูนยกลาง 3.5433 นิ้ว)
e เสนผานศูนยกลาง 81.0 มม. (เสนผานศูนยกลาง 3.1890 นิ้ว)
f เสนผานศูนยกลาง 80.10 ถึง 80.15 มม. (เสนผานศูนยกลาง 3.1535 ถึง 3.1555 นิ้ว)
g เสนผานศูนยกลาง 30.0 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.1811 นิ้ว)
h เสนผานศูนยกลาง 5.0 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.1969 นิ้ว)
i 70.0 มม. (2.7559 นิ้ว)
j 50.0 มม. (1.9685 นิ้ว)
k เสนผานศูนยกลาง 40.0 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.5748 นิ้ว)
C1 ลบมุม 1.0 มม. (0.0394 นิ้ว)
C5 ลบมุม 5.0 มม. (0.1969 นิ้ว)
C0.3 ลบมุม 0.3 มม. (0.012 นิ้ว)
R1 รัศมี 1.0 มม. (รัศมี 0.0394 นิ้ว)
R2 รัศมี 2.0 มม. (รัศมี 0.0787 นิ้ว)
R10 รัศมี 10.0 มม. (รัศมี 0.3937 นิ้ว)

(2) ปลอกตัวนํา (3) ตัวตอกปลอกเพลาขอเหวี่ยง


9Y1210365GEG0058TH0

G-49
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
อุปกรณทดสอบแรงดันปมน้ํามันเชื้อเพลิง
การใชงาน
• ใชสําหรับตรวจเช็คปมน้ํามันเชื้อเพลิงวามีการรั่วไหลหรือไม
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษชนิดนี้ไมมีมาให โปรดอางอิงจากภาพ
เกจแรงดันวัดไดเต็มที่ : มากกวา 29.4 เมกะปาสคาล
A
(300 กิโลกรัมแรง/ซม.2, 4267 ปอนด/ตร.นิ้ว)
B PF 1/2
C ปะเก็นทองแดง
D หนาแปลน (วัสดุ : เหล็กกลา)
E นอตหกเหลี่ยม 27 มม. (1.06 นิ้ว) ทั่วแผน
F วัสดุยึดติด
G รอยเชื่อมที่เสนรอบวง
H นอตยึด
I เสนผานศูนยกลาง 17 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.67 นิ้ว)
J เสนผานศูนยกลาง 8 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.31 นิ้ว)
K 1.0 มม. (0.039 นิ้ว)
L เสนผานศูนยกลาง 17 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.67 นิ้ว)
M เสนผานศูนยกลาง 6.10 ถึง 6.20 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.2402 ถึง 0.2441 นิ้ว)
N 8 มม. (0.31 นิ้ว)
O 4 มม. (0.16 นิ้ว)
P เสนผานศูนยกลาง 11.97 ถึง 11.99 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.4713 ถึง 0.4721 นิ้ว)
Q PF 1/2
R 23 มม. (0.91 นิ้ว)
S 17 มม. (0.67 นิ้ว)
T 4 มม. (0.16 นิ้ว)
U เสนผานศูนยกลาง 12.00 ถึง 12.02 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.4724 ถึง 0.4732 นิ้ว)
V 100 มม. (3.94 นิ้ว)
W M12 × P1.5
X 5 มม. (0.20 นิ้ว)
9Y1210383GEG0037TH0

G-50
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
เครื่องมือเปลี่ยนบุชปรับสมดุล(สําหรับถอด)
การใชงาน
• ใชสําหรับถอดประกับบุช
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษเหลานี้ไมมีจําหนายตามทองตลาด แตสามารถสั่งทําไดเองตามแบบที่ใหไวตอไปนี้

(ตอ)

G-51
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
(มีตอ)
เสนผานศูนยกลาง 41.934 ถึง 41.950 มม.
A 25 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.98 นิ้ว) L
(เสนผานศูนยกลาง 1.6509 ถึง 1.6516 นิ้ว)
เสนผานศูนยกลาง 24.959 ถึง 24.980 มม.
B 10 มม. (0.39 นิ้ว) M
(เสนผานศูนยกลาง 0.9826 ถึง 0.9835 นิ้ว)
เสนผานศูนยกลาง 21.947 ถึง 21.960 มม.
C ลบมุม 0.3 มม. (0.01 นิ้ว) N
(เสนผานศูนยกลาง 0.8641 ถึง 0.8646 นิ้ว)
D 0.52 เรเดียน (30 °) O 28 มม. (1.10 นิ้ว)
เสนผานศูนยกลาง 46.950 ถึง 46.975 มม.
E P 29 มม. (1.14 นิ้ว)
(เสนผานศูนยกลาง 1.8484 ถึง 1.8494 นิ้ว)
เสนผานศูนยกลาง 43.934 ถึง 43.950 มม.
F Q 5 มม. (0.20 นิ้ว)
(เสนผานศูนยกลาง 1.7297 ถึง 1.7303 นิ้ว)
G 41 มม. (1.61 นิ้ว) R 36 มม. (1.42 นิ้ว)
H 32.5 มม. (1.28 นิ้ว) S 195.25 ถึง 195.75 มม. (7.687 ถึง 7.707 นิ้ว)
I 148.5 มม. (5.85 นิ้ว) T 145 มม. (5.71 นิ้ว)
เสนผานศูนยกลาง 46.50 ถึง 46.75 มม.
J U 384.75 ถึง 385.25 มม. (15.148 ถึง 15.167 นิ้ว)
(เสนผานศูนยกลาง 1.831 ถึง 1.841 นิ้ว)
เสนผานศูนยกลาง 44.950 ถึง 44.975 มม.
K
(เสนผานศูนยกลาง 1.7697 ถึง 1.7707 นิ้ว)
9Y1210365GEG0060TH0

G-52
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
เครื่องมือเปลี่ยนบุชปรับสมดุล (สําหรับประกอบ)
การใชงาน
• ใชสําหรับใสประกับบุช
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษเหลานี้ไมมีจําหนายตามทองตลาด แตสามารถสั่งทําไดเองตามแบบที่ใหไวตอไปนี้

(ตอ)

G-53
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
(มีตอ)
A 0.52 เรเดียน (30 °) O 5 มม. (0.20 นิ้ว)
B 10 มม. (0.39 นิ้ว) P 3.3 ถึง 3.7 มม. (0.130 ถึง 0.146 นิ้ว)
เสนผานศูนยกลาง 43.934 ถึง 43.950 มม.
C ลบมุม 0.3 มม. (0.01 นิ้ว) Q
(เสนผานศูนยกลาง 1.7297 ถึง 1.7303 นิ้ว)
D 182 มม. (7.16 นิ้ว) R 140 มม. (5.51 นิ้ว)
E 140 มม. (5.51 นิ้ว) S 36 มม. (1.42 นิ้ว)
F เสนผานศูนยกลาง 35 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.38 นิ้ว) T เสนผานศูนยกลาง 60 มม. (เสนผานศูนยกลาง 2.36 นิ้ว)
เสนผานศูนยกลาง 46.950 ถึง 46.975 มม.
G เสนผานศูนยกลาง 60 มม. (เสนผานศูนยกลาง 2.36 นิ้ว) U
(เสนผานศูนยกลาง 1.8484 ถึง 1.8494 นิ้ว)
เสนผานศูนยกลาง 44.950 ถึง 44.975 มม.
H 37 มม. (1.46 นิ้ว) V
(เสนผานศูนยกลาง 1.7697 ถึง 1.7707 นิ้ว)
เสนผานศูนยกลาง 21.947 ถึง 21.960 มม. เสนผานศูนยกลาง 41.934 ถึง 41.950 มม.
I W
(เสนผานศูนยกลาง 0.8641 ถึง 0.8646 นิ้ว) (เสนผานศูนยกลาง 1.6509 ถึง 1.6516 นิ้ว)
เสนผานศูนยกลาง 24.959 ถึง 24.980 มม.
J X 145 มม. (5.71 นิ้ว)
(เสนผานศูนยกลาง 0.9826 ถึง 0.9835 นิ้ว)
K 8.8 ถึง 9.2 มม. (0.346 ถึง 0.362 นิ้ว) Y 195.25 ถึง 195.75 มม. (7.687 ถึง 7.707 นิ้ว)
L เสนผานศูนยกลาง 25 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.98 นิ้ว) Z 29 มม. (1.14 นิ้ว)
M เสนผานศูนยกลาง 60 มม. (เสนผานศูนยกลาง 2.36 นิ้ว) a 36 มม. (1.42 นิ้ว)
เสนผานศูนยกลาง 46.950 ถึง 46.975 มม.
N
(เสนผานศูนยกลาง 1.8484 ถึง 1.8494 นิ้ว)
9Y1210365GEG0061TH0

G-54
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
ตะขอเกี่ยวเครื่องยนต 1
การใชงาน
• ใชเพื่อยึดเเครื่องยนตเมือ่ แขวนไว แทนการใชตะขอตัวเดิมดวยตะขอ 2 เปนชุด
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษชนิดนี้ไมมีมาให โปรดอางอิงจากภาพ
A 17 มม. (0.67 นิ้ว)
B 9 มม. (0.35 นิ้ว)
C 129 มม. (5.08 นิ้ว)
D 10.8 ถึง 11.2 มม. (0.426 ถึง 0.440 นิ้ว)
E 40 มม. (1.6 นิ้ว)
F 20 มม. (0.79 นิ้ว)
G 39 มม. (1.5 นิ้ว)
H รูขนาด 20 มม. (รู 0.79 นิ้ว)
รูเจาะขนาด 8.50 ถึง 8.80 มม.
I
(รูเจาะขนาด 0.335 ถึง 0.346 นิ้ว)
รูแบบปาดผิวปากรูขนาด 20 มม. ลึก 1 มม.
J (รูแบบปาดผิวปากรูขนาด 0.79 นิ้ว ลึก 0.04
นิ้ว)
K 20 มม. (0.79 นิ้ว)
L 140 มม. (5.51 นิ้ว)
M 15 มม. (0.59 นิ้ว)
N 175 มม. (6.89 นิ้ว)
C10 ลบมุม 10 มม. (0.39 นิ้ว)
R9 รัศมี 9.0 มม. (0.35 นิ้ว)
R10 รัศมี 10 มม. (0.39 นิ้ว)
9Y1210365GEG0062TH0

G-55
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
ตะขอเกี่ยวเครื่องยนต 2
การใชงาน
• ใชเพื่อยึดเเครื่องยนตเมื่อแขวนไว แทนการใชตะขอตัวเดิมดวยตะขอ 1 เปนชุด
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษชนิดนี้ไมมีมาให โปรดอางอิงจากภาพ
A 217 มม. (8.54 นิ้ว)
B 140 มม. (5.51 นิ้ว)
C 49 มม. (1.9 นิ้ว)
D 44 มม. (1.7 นิ้ว)
E รูขนาด 20 มม. (รู 0.79 นิ้ว)
F 30 มม. (1.2 นิ้ว)
G 71 มม. (2.8 นิ้ว)
H 10 มม. (0.39 นิ้ว)
I 85 มม. (3.3 นิ้ว)
J 0.52 เรเดียน (30 °)
K 9.0 มม. (0.35 นิ้ว)
L 120 มม. (4.72 นิ้ว)
M 10 มม. (0.39 นิ้ว)
N 139 มม. (5.12 นิ้ว)
O 10 มม. (0.39 นิ้ว)
P 44.7 ถึง 45.3 มม. (1.76 ถึง 1.78 นิ้ว)
Q 10 มม. (0.39 นิ้ว)
R 65 มม. (2.6 นิ้ว)
รูเจาะขนาด 8.50 ถึง 8.80 มม. x 2
S
(รูเจาะขนาด 0.335 ถึง 0.346 นิ้ว x 2)
รูแบบปาดผิวปากรูขนาด 20 มม. ลึก 1 มม.
T (รูแบบปาดผิวปากรูขนาด 0.79 นิ้ว
ลึก 0.04 นิ้ว)
C10 ลบมุม 10 มม. (0.39 นิ้ว)
R9 รัศมี 9.0 มม. (0.35 นิ้ว)
R10 รัศมี 10 มม. (0.39 นิ้ว)
R20 รัศมี 20 มม. (0.79 นิ้ว)
9Y1210365GEG0063TH0

G-56
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

[2] เครื่องมือพิเศษสําหรับแทรกเตอร
เครื่องถอดลูกหมากคันชัก-คันสง
รหัสหมายเลข
• 07909-39051
การใชงาน
• ใชอํานวยความสะดวกในการถอดลูกหมากคันชัก-คันสง
WSM000001GEG0029TH0

อุปกรณชวยดึงพวงมาลัย
รหัสหมายเลข
• 07916-51090
การใชงาน
• ใชถอดพวงมาลัยออกโดยไมทําใหแกนพวงมาลัยเสียหาย
WSM000001GEG0030TH0

ชุดวัดแรงดันวาลวควบคุมแรงดันน้ํามัน (รีลสี วาลว)


รหัสหมายเลข
• 07916-50045
การใชงาน
• ชวยอํานวยความสะดวกในการวัดแรงดันน้ํามัน
(1) เกจวัด (07916-50322) (6) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด C (PS3/8)
(2) สายน้ํามัน (07916-50331) (07916-50371)
(3) ขอตอเกลียว (07916-50401) (7) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด D (PT1/8)
(4) ขอตอเกลียว (07916-50341) (07916-50381)
(5) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด B (M18 × P1.5) (8) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด E (PS3/8)
(07916-50361) (07916-50392)
(9) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด F (PF1/2)
(07916-62601)
(10) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด 58 (PT1/4)
(07916-52391)
WSM000001GEG0027TH0
ชุดขอตอมิเตอรวัดอัตราการไหล
รหัสหมายเลข
• 07916-54031
การใชงาน
• ใชสําหรับทดสอบการทํางานของระบบไฮดรอลิก
(1) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด 52 (8) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด 65
(2) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด 53 (9) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด 66
(3) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด 54 (10) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด 67
(4) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด 61 (11) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด 68
(5) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด 62 (12) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด 69
(6) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด 63 (13) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาดระบบไฮดรอลิก 1
(7) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาด 64
WSM000001GEG0037TH0
G-57
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
มิเตอรวัดอัตราการไหล
รหัสหมายเลข
• 07916-52791 (มิเตอรวัดอัตราการไหล)
• 07916-52651 (สายทดสอบระบบไฮดรอลิก)
การใชงาน
• ชวยอํานวยความสะดวกในการทดสอบระบบไฮดรอลิก
(1) มิเตอรวดั อัตราการไหล (2) สายทดสอบระบบไฮดรอลิก
WSM000001GEG0036TH0
เกจวัดระยะสอบลอหนา (โท-อิน)
รหัสหมายเลข
• 07909-31681
การใชงาน
• ชวยอํานวยความสะดวกในการวัดระยะสอบลอหนา (โท-อิน) ใชไดกบั แทรกเตอร
ทุกรุน
WSM000001GEG0034TH0

หัวฉีดเบอร CH3
รหัสหมายเลข
• 07916-52501
การใชงาน
• ใชสําหรับใสสารละลายแคลเซียมคลอไรดลงในลอหลัง หรือดูดออก
WSM000001GEG0031TH0

เครื่องมือนําศูนยคลัตช B
รหัสหมายเลข
• 07916-53041
การใชงาน
• ใชยึดคลัตชของระบบขับเคลื่อนเขากับลอชวยแรง
(1) แหวนเกจ (3) นําศูนยสําหรับตําแหนงศูนยกลาง
(2) แกนกลาง
WSM000001GEG0107TH0
เหล็กดูดฝาครอบเพลาลอหลัง
รหัสหมายเลข
• 07916-51041
การใชงาน
• ใชสําหรับถอดฝาครอบเพลาลอหลังออกจากเพลาลอหลัง
WSM000001GEG0035TH0

G-58
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
ประแจเลื่อนนอตยึดเพลาลอหลัง 85
รหัสหมายเลข
• 07916-52541
การใชงาน
• ใชสําหรับถอดและใสนอตยึดเพลาลอหลัง
WSM000001GEG0108TH0

ขอตอเพิ่ม-ลดขนาดของมาลัยพาวเวอร
รหัสหมายเลข
• 07916-54021
การใชงาน
• ใชสําหรับการวัดแรงดันน้ํามันของพวงมาลัยพาวเวอร
WSM000001GEG0038TH0

เครื่องแปลงแรงดันปรับตั้งทีว่ าลระบายแรงดัน G
รหัสหมายเลข
• 07916-52751
การใชงาน
• เครื่องมือนี้จะชวยอํานวยความสะดวกในการวัดแรงดันปรับตั้งที่วาลวระบาย
แรงดันจากขอตอทอน้ํามันไฮดรอลิก ซึ่งจะใชไดกับอุปกรณทดสอบวาลวระบาย
แรงดัน
WSM000001GEG0041TH0

ตัวยึดคานลอหนา
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษชนิดนี้ไมมีมาให โปรดอางอิงจากภาพ
A 120 มม. (4.72 นิ้ว)
B 12 มม. (0.72 นิ้ว)
C M10 x P1.25
D 30 มม. (1.18 นิ้ว)
E M16 x P1.5
F 10 มม. (0.39 นิ้ว)
G 20 มม. (0.79 นิ้ว)
H 36 มม. (1.42 นิ้ว)
I 50 มม. (2.0 นิ้ว)
J 45 มม. (1.77 นิ้ว)
K 20 มม. (0.79 นิ้ว)

(1) สกรูขนาด M10 × P1.25 × L50 มม. (2 นิ้ว) (3) ตัวยึดกันการสั่นสะเทือน


(2) สกรูขนาด M16 × P1.5 × L50 มม. (2 นิ้ว)
9Y1210365GEG0073TH0

G-59
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
เครื่องมืออัดบุชเพลาแขนยกไฮดรอลิก
การใชงาน
• ใชสําหรับการเปลี่ยนบุชเพลาแขนยกไฮดรอลิกในกระบอกไฮดรอลิก
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษชนิดนี้ไมมีมาให โปรดอางอิงจากภาพ
• หากไมระบุไว : ผิวหนาทัง้ หมด 12.5 μm (500 μin.)
ดานขวา ดานซาย
เสนผานศูนยกลาง 54.7 ถึง 54.9 มม. เสนผานศูนยกลาง 49.7 ถึง 49.9 มม.
A (เสนผานศูนยกลาง 2.1535 ถึง (เสนผานศูนยกลาง 1.9567 ถึง
2.1614 นิ้ว) 1.9646 นิ้ว)
22.5 ถึง 23.5 มม. 18.5 ถึง 19.0 มม.
B
(0.729 ถึง 0.767 นิ้ว) (0.886 ถึง 0.925 นิ้ว)
C 55 มม. (2.10 นิ้ว) 60 มม. (2.36 นิ้ว)
เสนผานศูนยกลาง 32 มม. เสนผานศูนยกลาง 30 มม.
D
(เสนผานศูนยกลาง 1.26 นิ้ว) (เสนผานศูนยกลาง 1.18 นิ้ว)
เสนผานศูนยกลาง 49.7 ถึง 49.9 มม. เสนผานศูนยกลาง 44.7 ถึง 44.9 มม.
E (เสนผานศูนยกลาง 1.9567 ถึง (เสนผานศูนยกลาง 1.7598 ถึง
1.9646 นิ้ว) 1.7677 นิ้ว)
F เสนผานศูนยกลาง 70 มม. (เสนผานศูนยกลาง 2.76 นิ้ว)
G เสนผานศูนยกลาง 40 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.57 นิ้ว)
H 50 มม. (1.97 นิ้ว)
I 10 มม. (0.39 นิ้ว)
a 6.3 μm (250 μin.)
b 6.3 μm (250 μin.)
c 6.3 μm (250 μin.)
d 6.3 μm (250 μin.)
9Y1210365GEG0069TH0

G-60
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
ประแจล็อก
การใชงาน
• ใชเพื่อล็อกเสื้อดุมลอหนา
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษชนิดนี้ไมมีมาให โปรดอางอิงจากภาพ
A 170 มม. (6.69 นิ้ว)
B 130 มม. (5.12 นิ้ว)
C 63.5 มม. (2.5 นิ้ว)
D รัศมี 40 มม. (รัศมี 1.57 นิ้ว)
E 55 มม. (2.17 นิ้ว)
F 15 มม. (0.59 นิ้ว)
G 35 มม. (1.38 นิ้ว)
H 5 มม.(0.2 นิ้ว)
I 20 มม. (0.55 นิ้ว)
J 10 มม. (0.39 นิ้ว)
K 0.78 เรเดียน (45 °)
L 10 มม. (0.39 นิ้ว)
M 50 มม. (1.97 นิ้ว)
N 55 มม. (2.17 นิ้ว)
O 25 มม. (0.97 นิ้ว)
P 80 มม. (3.15 นิ้ว)
9Y1210365GEG0070TH0
ตัวถอดเพลาเฟองดอกจอก
การใชงาน
• ใชถอดเพลาเฟอง
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษชนิดนี้ไมมีมาให โปรดอางอิงจากภาพ
A 106 มม. (4.17 นิ้ว)
B 350 มม. (13.078 นิ้ว)
C 6 มม. (0.24 นิ้ว)
D 90 มม. (3.54 นิ้ว)
E 10 มม. (0.39 นิ้ว)
F 40 มม. (1.57 นิ้ว)
G เสนผานศูนยกลาง 10 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.39 นิ้ว)
H เสนผานศูนยกลาง 35.6 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.40 นิ้ว)
I 36 มม. (1.42 นิ้ว)
J เสนผานศูนยกลาง 41.6 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.64 นิ้ว)
K รหัสอะไหล นอต 3A201-4130
L M27 x P1.5
M M10 x P1.25
9Y1210365GEG0071TH0

G-61
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
ตัวนําเพลากลาง PTO
การใชงาน
• ใชประกอบเพลากลางเขากับเพลาเฟอง 21 ฟน
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษชนิดนี้ไมมีมาให โปรดอางอิงจากภาพ
A เสนผานศูนยกลาง 24.85 ถึง 24.95 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.9783 ถึง 0.9823 นิ้ว)
B 0.26 เรเดียน (15 °)
C 0.35 เรเดียน (20 °)
D เสนผานศูนยกลาง 23.7 ถึง 23.8 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.9331 ถึง 0.9370 นิ้ว)
E เสนผานศูนยกลาง 20 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.79 นิ้ว)
F 2.1 เรเดียน (120 °)
G เสนผานศูนยกลางนอยกวา 12 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.47 นิ้ว)
H 15 มม. (0.59 นิ้ว)
I 8 มม. (0.31 นิ้ว)
J 48 มม. (1.89 นิ้ว)
K รัศมีสงู สุด = 25 S
L รัศมีสงู สุด = 6.3 S
a รัศมี 1.0 มม. (รัศมี 0.039 นิ้ว)
b รัศมี 2.0 มม. (รัศมี 0.079 นิ้ว)
c รัศมี 0.8 มม. (รัศมี 0.031 นิ้ว)
9Y1210365GEG0072TH0
เครื่องอัดสปริงของคลัตชระบบไฮดรอลิก
การใชงาน
• ใชในการดึงสปริงเพื่อถอดแหวนล็อกของคลัตชไฮดรอลิกโดยเฉพาะ
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษเหลานี้ไมมีจําหนายตามทองตลาด แตสามารถสั่งทําไดเอง
ตามแบบที่ ให ไวตอไปนี้
(1) เครื่องมือ 4 (จาน) (5) นอต (M x P1.5)
(2) เครื่องมือ 3 (Clow) (6) สกรู (M5 x P1.0 - L10 มม.)
(3) เครื่องมือ 1 (ตัวโครง) (7) แหวนรอง (M5)
(4) เครื่องมือ 2 (แกนกลาง) (8) สลักสปริง (เสนผานศูนยกลาง 5.0 มม. -
L16 มม.)
9Y1210365GEG0087TH0

G-62
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
(1) เครื่องมือ 4 (จาน)
A 8 มม. (0.3 นิ้ว)
B 40 มม. (1.6 นิ้ว)
C 16 มม. (0.63 นิ้ว)
D 8 มม. (0.3 นิ้ว)
E 16 มม. (0.63 นิ้ว)
F เสนผานศูนยกลาง 5.2 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.20 นิ้ว)
G 5.70 ถึง 5.90 มม. (0.225 ถึง 0.232 นิ้ว)
H 80 มม. (3.1 นิ้ว)
(2) เครื่องมือ 3 (Clow) : 3 ชิ้น
A ลึก M5 x P1.0 x 12 มม. (ลึก 0.47 นิ้ว)
B 19 มม. (0.75 นิ้ว)
C 5 มม. (0.2 นิ้ว)
D 9.73 ถึง 10.0 มม. (0.383 ถึง 0.393 นิ้ว)
E 7.5 มม. (0.30 นิ้ว)
F เสนผานศูนยกลาง 15 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.59 นิ้ว)
G 20.05 ถึง 20.10 มม. (0.7894 ถึง 0.7913 นิ้ว)
H 110 มม. (4.33 นิ้ว)
I 60 มม. (2.4 นิ้ว)
J 5 มม. (0.2 นิ้ว)
K 50 มม. (2.0 นิ้ว)
L 6.8 มม. (0.27 นิ้ว)
M รัศมี 150 ถึง 160 มม. (5.91 ถึง 6.29 นิ้ว)
N เสนผานศูนยกลาง 4.2 มม. x ลึก 15 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.17 นิ้ว x ลึก 0.59 นิ้ว)
O 19 มม. (0.75 นิ้ว)
P 9.5 มม.(0.37 นิ้ว)
Q ลบมุม 1.0 มม. (0.039 นิ้ว)

G-63
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

(ตอ)

G-64
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
(มีตอ)
(3) เครื่องมือ 1 (ตัวโครง)
A เสนผานศูนยกลาง 140 มม. (เสนผานศูนยกลาง 5.51 นิ้ว) I รัศมี 50 มม. (2.0 นิ้ว)
B รัศมี 3 มม. (0.1 นิ้ว) J เสนผานศูนยกลาง 30 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.2 นิ้ว)
C 2.09 เรเดียน (120 °) K เสนผานศูนยกลาง 17 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.67 นิ้ว)
D 60 มม. (2.4 นิ้ว) L ลบมุม 1.0 มม. (0.039 นิ้ว)
E 35 มม. (1.4 นิ้ว) M ลบมุม 0.5 มม. (0.02 นิ้ว)
F รัศมี 5 มม. (0.2 นิ้ว) N 7 มม. (0.3 นิ้ว)
G 10.00 ถึง 10.27 มม. (0.3937 ถึง 0.4043 นิ้ว) O 20 มม. (0.79 นิ้ว)
H 20 มม. (0.79 นิ้ว) X (X-X) ทิศทางมุมมอง
(4) เครื่องมือ 2 (แกนกลาง)
A 330 มม. (13.0 นิ้ว) G 6.00 ถึง 6.58 มม. (0.237 ถึง 0.259 นิ้ว)
B 210 มม. (8.27 นิ้ว) H เสนผานศูนยกลาง 16 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.63 นิ้ว)
เสนผานศูนยกลาง 5.00 ถึง 5.18 มม.
C 52 มม. (2.0 นิ้ว) I
(เสนผานศูนยกลาง 0.197 ถึง 0.203 นิ้ว)
D 0.52 เรเดียน (30 °) J M16 x P1.5 มม.
E 11 มม. (0.43 นิ้ว) K เสนผานศูนยกลาง 13 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.51 นิ้ว)
F ลบมุม 1.0 มม. (0.039 นิ้ว)
9Y1210365GEG0074TH0

G-65
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
เครื่องแปลงความดันปรับตั้งวาลวนิรภัยกระบอกสูบ
การใชงาน
• ใชสําหรับประกอบวาลวนิรภัยเขากับชุดทดสอบหัวฉีดเพื่อวัดแรงดันเปดวาลวและตรวจเช็คความหนาแนนน้ํามันของวาลวนิรภัย
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษชนิดนี้ไมมีมาให โปรดอางอิงจากภาพ

A 45 มม. (1.77 นิ้ว) N เสนผานศูนยกลาง 10 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.39 นิ้ว)


B 40 มม. (1.58 นิ้ว) O เสนผานศูนยกลาง 7.5 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.3 นิ้ว)
C 35 มม. (13.8 นิ้ว) P 1.05 เรเดียน (60 °)
D 23.0 ถึง 23.3 มม. (0.9055 ถึง 0.9713 นิ้ว) Q เสนผานศูนยกลาง 3 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.18 นิ้ว)
E 16 มม. (0.63 นิ้ว) R 36 มม. (1.18 นิ้ว)
F เสนผานศูนยกลาง 40 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.58 นิ้ว) S 60 มม. (2.36 นิ้ว)
เสนผานศูนยกลาง 32.4 ถึง 32.7 มม.
G T 5 มม. (0.20 นิ้ว)
(เสนผานศูนยกลาง 1.2756 ถึง 1.2874 นิ้ว)
H เสนผานศูนยกลาง 21 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.83 นิ้ว) U 10 มม. (0.39 นิ้ว)
เสนผานศูนยกลาง 20.00 ถึง 20.05 มม.
I V M30 × P1.5
(เสนผานศูนยกลาง 0.7874 ถึง 0.7894 นิ้ว)
J 2.50 ถึง 2.59 มม. (0.0984 ถึง 0.1097 นิ้ว) W 0.52 เรเดียน (30 °)
K 0.79 เรเดียน (45 °) X เสนผานศูนยกลาง 8 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.32 นิ้ว)
L 0.26 เรเดียน (15 °) Y 19 มม. (0.75 นิ้ว)
M M12 × P1.5 Z 10 มม. (0.39 นิ้ว)
9Y1210365GEG0075TH0

G-66
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
เครื่องมือนําศูนยคลัตช
การใชงาน
• ใชยึดคลัตชของระบบขับเคลื่อนเขากับลอชวยแรง
หมายเหตุ
• เครื่องมือพิเศษชนิดนี้ไมมีมาให โปรดอางอิงจากภาพ
A เสนผานศูนยกลาง 18.9 ถึง 19.2 มม. (เสนผานศูนยกลาง 0.744 ถึง 0.755 นิ้ว)
B เสนผานศูนยกลาง 34.20 ถึง 34.50 มม. (เสนผานศูนยกลาง 1.347 ถึง 1.358 นิ้ว)
C 40 มม. (1.6 นิ้ว)
D 260 มม. (10.2 นิ้ว)
E ลบมุม 1.0 มม. (0.039 นิ้ว)
9Y1210365GEG0086TH0

G-67
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

9. ยาง
[1] แรงดันลมยาง
แมโรงงานผูผลิตจะเติมลมยางมาใหตามเกณฑที่กําหนด แตหากใชงานไปเรื่อยๆ
ลมยางก็จะสามารถออนลงไดตามปกติ ควรหมั่นตรวจเช็คทุกๆ วันและเติมลมยาง
หากจําเปน หากตองการเติมลมยาง ใชปมลมหรือปมมือ
• คาแรงดันลมยางทีแ่ นะนํา
ควบคุมแรงดันใหมีคาตามตารางดานลาง
หมายเหตุ
• หากมีการบรรทุกสัมภาระหรือสิ่งของทางดานหนาในปริมาณมาก ใหเติมลมยาง
ลอหนาใหถึงคาสูงสุดที่ไดกําหนดไว
ขนาดยาง แรงดันลมยาง ยีห่ อ
200 กิโลปาสคาล
ลอหนา 9.5-22, 6PR BRIDGESTONE
(2.0 กิโลกรัมแรง/ซม.2, 29 ปอนด/ตร.นิ้ว)
124 กิโลปาสคาล
ลอหลัง 16.9-28, 6PR BRIDGESTONE
(1.3 กิโลกรัมแรง/ซม.2, 18 ปอนด/ตร.นิ้ว)
166 กิโลปาสคาล
ลอหลัง 16.9-28, 8PR OTANI
(1.7 กิโลกรัมแรง/ซม.2, 24 ปอนด/ตร.นิ้ว)
ลอหลัง 159 กิโลปาสคาล
12.4-32, 6PR BRIDGESTONE
ดอกยางสูง (1.7 กิโลกรัมแรง/ซม.2, 23 ปอนด/ตร.นิ้ว)

คําเตือน
• อยาพยายามติดตั้งลอยางที่กระทะลอ ผูใสยางควรไดรับการฝกหัดมาเปนพิเศษ
และตองมีอุปกรณที่เหมาะสม
• ควรตรวจสอบใหลอมีแรงดันลมยางที่ถูกตองอยูเสมอ หามเติมลมยางขางตน
โดยใชแรงดันทีแ่ นะนําไวในคูมือผูใช
ขอสําคัญ
• หามใชยางชนิดอื่นทีไ่ มผานการรับรองจากคูโบตา
(A) ไมพอดี (1) พื้นดิน
(B) มาตรฐาน
(C) มากเกินไป
9Y1210383GEG0038TH0

G-68
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

[2] การปรับตั้งลอ
ขอควรระวัง
• ขณะทํางานบนทางลาดชันหรือทํางานพรอมกับรถพวง ใหตั้งความกวางชวงลอใหมากทีส่ ุดเทาที่จะทําไดเพื่อเสถียรภาพสูงสุด
• ใชแทนรองรับแทรกเตอร ใหมั่นคงกอนถอดลอแทรกเตอรออกมา
• หามทํางานใตอุปกรณรองรับที่ทํางานดวยระบบไฮดรอลิกใดๆ เนื่องจากอุปกรณเหลานี้อาจคืนตัว รั่วซึมออกทันที หรือลดระดับลงโดยไมไดตั้งใจ
หากจําเปนตองทําการตรวจสภาพหรือปรับตั้งอยูภายใตแทรกเตอรหรือสวนประกอบใดๆ ของแทรกเตอร ใหยึดแทรกเตอรดวยแทนรองรับที่
มั่นคงหรืออุปกรณรองรับอื่นๆ ที่เหมาะสม
• หามขับแทรกเตอรโดยทีก่ ระทะลอ ลอยาง ยังยึดไมแนน
9Y1210365GEG0047TH0

(1) ลอหนา
ระยะความกวางของลอหนาสามารถปรับตั้งไดดังแสดงในรูป ซึ่งจะแสดงยางรุน
มาตรฐาน
วิธีปรับความกวางลอ
1. ถอดโบลตยึดกระทะลอและจานยึดกระทะลอ
2. เปลี่ยนตําแหนงของกระทะลอและจานยึดกระทะลอ (ขวาและซาย) ไปยังตําแหนง
ที่ตอ งการ จากนั้นขันโบลตใหแนน
3. ปรับตั้งระยะสอบลอหนา (โท-อิน)
ขอสําคัญ
• ยึดลอดังแสดงในรูปเสมอ
• หากไมทําการยึดตามรูป ระบบสงกําลังอาจเสียหายได
• เมื่อทําการประกอบใหมหรือปรับตั้งระยะหางลอ ใหขันโบลตใหแนนตามคา
แรงขันที่กําหนด จากนั้นทําการตรวจเช็คอีกครั้งหลังขับแทรกเตอรไดระยะ 200
เมตร (200 หลา) และจากนั้นตรวจเช็คตามชวงเวลาที่กำหนดไวให
(ดูที่ “7. การตรวจเช็คและบํารุงรักษา” ในบทนี้)
หมายเหตุ
• ลอที่มีชองที่ทํามุมหรือเรียวเขา: ใหใชดานแหลมของนอตหวง
2.0 ถึง 8.0 มม.
ระยะสอบลอหนา (โท-อิน) คามาตรฐานที่กําหนด
0.08 ถึง 0.31 นิ้ว

168 ถึง 196 นิวตัน·เมตร


คาแรงขัน นอตยึดลอหนา 17.1 ถึง 20.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
124 ถึง 145 ปอนดแรง·ฟุต

260 ถึง 304 นิวตัน·เมตร


นอตยึดจานยึดกร
คาแรงขัน 9.5-22 26.5 ถึง 31.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
ะทะลอหนา
192 ถึง 224 ปอนดแรง·ฟุต

ความกวางชวงลอ (a)
ขอมูลทั่วไป
A B
1360 มม. 1460 มม.
9.5-22
53.54 นิ้ว 57.48 นิ้ว

(1) นอตยึดลอหนา (a) ความกวางชวงลอ


(2) นอตยึดจานยึดกระทะลอหนา (b) ดานแหลม
9Y1210383GEG0039TH0

G-69
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

(2) ลอหลัง
ระยะความกวางของลอหลังสามารถปรับตั้งไดดังแสดงในรูป ซึ่งจะแสดงยางรุน
มาตรฐาน
วิธีปรับความกวางลอ
1. ถอดโบลตยึดกระทะลอและ/หรือจานยึดกระทะลอ
2. เปลี่ยนตําแหนงของกระทะลอและจานยึดกระทะลอ (ขวาและซาย) ไปยังตําแหนง
ที่ตองการ จากนั้นขันโบลตใหแนน
ขอสําคัญ
• ยึดลอดังแสดงในรูปเสมอ
• หากไมทําการยึดตามรูป ระบบสงกําลังอาจเสียหายได
• เมื่อทําการประกอบใหมหรือปรับตั้งระยะหางลอ ใหขันโบลตใหแนนตามคา
แรงขันที่กําหนด จากนั้นทําการตรวจเช็คอีกครั้งหลังขับแทรกเตอรไดระยะ 200
เมตร (200 หลา) และจากนั้นตรวจเช็คตามชวงเวลาทีก่ ำหนดไวให
(ดูที่ “7. การตรวจเช็คและบํารุงรักษา” ในบทนี้)
259.9 ถึง 304.0 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตยึดลอหลัง M16 26.5 ถึง 31.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
191.7 ถึง 224.2 ปอนดแรง·ฟุต

259.9 ถึง 304.0 นิวตัน·เมตร


นอตยึดฝาครอบลอหลัง
คาแรงขัน 26.5 ถึง 31.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
(จานเหล็ก)
191.7 ถึง 224.2 ปอนดแรง·ฟุต

ความกวางชวงลอ (a) A B C D
1420 มม. 1520 มม. 1620 มม. 1720 มม.
16.9-28
55.9 นิ้ว 59.8 นิ้ว 63.8 นิ้ว 67.7 นิ้ว

(1) นอตยึดลอหลัง (3) จานยึดกระทะลอหลัง (4) กระทะลอหลัง (a) ความกวางชวงลอ


(2) นอตยึดฝาครอบลอหลัง
9Y1210383GEG0040TH0

G-70
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

[3] การเติมของเหลวในยาง
การเพิ่มน้ําหนักจะชวยทําใหแรงดึงมีคามากขึ้นสําหรับการไถทั้งบนพื้นที่นาหรือพื้นที่ไร
ดังนั้นจึงไดมีวิธีการเพิ่มน้ําหนักโดยใชการเติมน้ําหรือของเหลวอื่น เชนสารประกอบแคลเซียมคลอไรดเขาไปในยาง โดยไมตองใชน้ําเนื่องจาก
ในฤดูหนาว น้ําจะแข็งตัวที่ 0 °C (32 °F) แตสารประกอบแคลเซียมคลอไรดจะไมแข็งตัวเหมือนน้ํา และยิ่งไปกวานั้นสารประกอบแคลเซียมคลอไรด
ยังมีน้ําหนักมากกวาน้ํา เนื่องจากมีคาความถวงจําเพาะมากกวาน้ําประมาณ 20 % สําหรับการเติมสารละลายแคลเซียมคลอไรดใหปฏิบัติดังนี้
ขอสําคัญ
• หามเติมของเหลวลงในลอหนา
9Y1210365GEG0050TH0
การเตรียมสารละลายแคลเซียมคลอไรด

ขอควรระวัง
• หามเทน้ําลงไปในผงแคลเซียมคลอไรด เพราะจะเกิดปฏิกิริยายอนกลับทางเคมีซึ่ง
จะทําใหความรอนเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ใหคอยๆ ใสผงแคลเซียมคลอไรดลงในน้ํา
แทน จนกระทั่งไดสารละลายที่มีความเขมขนตามตองการ
น้ําหนักของ CaCl2 ที่ตองผสมในน้ํา 100 ลิตร
อุณหภูมิเยือกแข็ง
(26.5 แกลลอนสหรัฐ, 22.0 แกลลอนอังกฤษ)
−5 °C (23 °F) 12 กก. (26.4 ปอนด)
−10 °C (14 °F) 21 กก. (46.3 ปอนด)
−15 °C (5 °F) 28 กก. (61.7 ปอนด)
−20 °C (−4 °F) 34 กก. (75.0 ปอนด)
−25 °C (−13 °F) 40 กก. (88.2 ปอนด)
−33 °C (−22 °F) 44 กก. (97.0 ปอนด)
−35 °C (−31 °F) 49 กก. (108.0 ปอนด)
−40 °C (−40 °F) 52 กก. (114.6 ปอนด)
−45 °C (−49 °F) 56 กก. (123.5 ปอนด)
−50 °C (−58 °F) 61 กก. (134.5ปอนด)

(a) น้ํา (b) CaCl2 (แคลเซียมคลอไรด)


9Y1210365GEG0051TH0

G-71
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
การใสหัวเติมของเหลว
1. ยกลอหลังขึ้นจากพื้น
2. หมุนลอจนกระทั่งวาลวเติมลมอยูตําแหนงบนสุด
3. ถอดวาลวเติมลมออกแลวใสหัวเติมของเหลวแทน (รหัสเครื่องมือ 07916-52501)
(1) หัวเติมของเหลว (2) ทอยาง
9Y1210365GEG0052TH0

G-72
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
การเติมของเหลว

ขอควรระวัง
• รอใหสารประกอบแคลเซียมคลอไรดเย็นตัวกอนแลวจึงเติมเขาไปในยาง
• หามเติมน้ําหรือสารประกอบเขาไปในยางมากกวา 75 % ของความจุทั้งหมดในยาง
(ถึงระดับวาลวเติม)
วิธีเติมสี่วิธีนี้ สามารถใชในการเติมน้ําหรือสารละลายแคลเซียมคลอไรดเขาไปใน
ยางได
1. เติมแบบกาลักน้ํา (รูปที่ 1)
2. เติมโดยใชปม (รูปที่ 2)
3. เติมโดยใชถังอัดแรงดัน (รูปที่ 3)
4. เติมโดยตรงจากกอกน้ํา (ใชกับน้ําเทานั้น)
หมายเหตุ
• เมื่อทําการเติมเสร็จแลว ใหใสวาลวเติมลมกลับเขาที่ และเติมลมเขาไปตามแรงดัน
ที่ไดกําหนดไว
น้ําหนักที่ไดจากการเติมสารละลายแคลเซียมคลอไรดในยางตองเปน 75 %
ของความจุทั้งหมดในยาง
ขนาดยาง 16.9-24, R4
เริม่ ขนที่ −24 °C (องศาเซลเซียส)
(−11 °F (องศาฟาเรนไฮด))
แข็งตัวที่ −47 °C (องศาเซลเซียส)
280 กก. (616 ปอนด)
(−53 °F (องศาฟาเรนไฮด))
[ประมาณ 1.5 กก. (3.5 ปอนด) CaCl2 ตอน้ํา
4 ลิตร (1 แกลลอน)]
เริม่ ขนที่ −47 °C (องศาเซลเซียส)
(−53 °F (องศาฟาเรนไฮด))
แข็งตัวที่ −52 °C (องศาเซลเซียส)
296 กก. (654 ปอนด)
(−62 °F (องศาฟาเรนไฮด))
[ประมาณ 2.25 กก. (5 ปอนด) CaCl2 ตอน้ํา
4 ลิตร (1 แกลลอน)]

(1) ปม (A) ถูกตอง : อากาศ 75 % ทํางานคลายเครื่อง


(2) ถังอัดแรงดัน รองรับน้ําหนัก
(3) เครือ่ งอัดอากาศ (B) ไมถกู ตอง : น้ํา 100 %
(4) อากาศ ไมสามารถรับแรงกดได
(5) น้ํา
9Y1210383GEG0041TH0

G-73
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป
การถายน้ําหรือสารประกอบออกจากยาง
1. ยกลอหลังขึ้นจากพื้น
2. หมุนลอจนกระทั่งวาลวเติมลมอยูตําแหนงลางสุด
3. ถอดวาลวเติมลมออก และถายของเหลวออก (ของเหลวที่ต่ํากวาตําแหนงวาลวจะ
ไมสามารถถายออกได และจะคางอยูในยาง)
4. ดังนั้นเพื่อทําการถายของเหลวใหหมด ใหเสียบหัวเติมของเหลว (1) เขาไปแลว
ทําการอัดลมลงไปในหัวฉีดเพื่อไลของเหลวที่เหลือใหออกมาทางรูระบายของ
หัวฉีด (3)
(1) หัวเติมของเหลว A : อากาศที่ถูกอัดเขาไป
(2) ทอยาง
(3) รูระบาย
9Y1210365GEG0054TH0

G-74
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

10. ขอกําหนดของอุปกรณตอพวง
แทรกเตอรคันนี้ไดผานการทดสอบสมรรถนะกับอุปกรณตอพวงที่จดั จําหนาย หรือผานการรับรองโดยคูโบตา ดังนั้นการใชอุปกรณตอพวงที่
ไมไดจัดจําหนายหรือผานการยอมรับจากคูโบตาและเกินกวาขอจํากัดที่กําหนดไว หรือการใชงานที่ไมถูกตองเหมาะสมกับแทรกเตอรคูโบตา จะทําให
แทรกเตอรชํารุดหรือทํางานผิดพลาด เกิดความเสียหายตอทรัพยสิน และทําใหผูขับและผูอื่นบาดเจ็บ [ความเสียหายหรือผิดพลาดที่เกิดจากการใชงาน
อุปกรณตอพวงที่ไมเหมาะสมจะไมอยูในเงื่อนไขการรับประกัน]
WSM000001GEG0083TH0

ความกวางชวงลอ (สูงสุด) สําหรับยางฟารม ความสามารถสูงสุดในการยกที่ปลายแขนพวง


ลอหนา ลอหลัง ตัวลาง W0
1460 มม. (57.48 นิ้ว) 1720 มม. (67.7 นิ้ว) 1900 กก. (4190 ปอนด)
คาตัวเลขจริง
น้ําหนักอุปกรณ W1 และ/หรือ ขนาด น้ําหนักกดสูงสุดที่คานลาก W2 น้ําหนักบรรทุกสูงสุด W3
ตามขอมูลที่แสดงตอไปนี้
1000 กก. (2200 ปอนด) 4500 กก. (9900 ปอนด)
(แสดงในหนาถัดไป)
ความสามารถสูงสุดในการยกที่ปลายแขนยกไฮดรอลิกตัวลาง W0
น้ําหนักอุปกรณ W1 : น้ําหนักของอุปกรณตอพวงที่กดปลายแขนยกตัวลาง
น้ําหนัก กดสูงสุดที่คานลาก W2
น้ําหนักบรรทุกสูงสุด W3 :น้ําหนักบรรทุกสูงสุดขณะลากพวง (ไมรวมน้ําหนักรถพวง)

หมายเหตุ
• ขนาดของอุปกรณตอพวงขึ้นกับสภาพดินที่แทรกเตอรทํางานในลักษณะตางๆ
9Y1210383GEG0042TH0

G-75
M6040DT-SU, WSM ขอมูลทั่วไป

ลํา M6040SU
อุปกรณตอพวง หมายเหตุ
ดับ ระบบขับเคลื่อน 4 ลอ
น้ําหนักบรรทุกสูงสุด 4500 กก. (9900 ปอนด)
1 รถพวง
น้ําหนักกดสูงสุดที่คานลาก 1000 กก. (2200 ปอนด)
ความกวางในการตัดสูงสุด 2130 มม. (84 นิ้ว)
ชนิดใบตัดแบบหมุน
น้ําหนักสูงสุด 540 กก. (1200 ปอนด)
เครื่องตัด
2 ชนิดใบมีดตรง ความกวางในการตัดสูงสุด 3050 มม. (120 นิ้ว)
หญา
(รุนหนัก) น้ําหนักสูงสุด 800 กก. (1760 ปอนด)
ชนิดใบมีดแบบเคียว ความกวางในการตัดสูงสุด 2130 มม. (84 นิ้ว)
ความกวางในการทํางานสูงสุด 2130 มม. (84 นิ้ว)
3 จอบหมุน
น้ําหนักสูงสุด 800 กก. (1760 ปอนด)
ขนาดสูงสุด 24 นิ้ว × 7
4 ผานพรวนแบบจาน
น้ําหนักสูงสุด 500 กก. (1100 ปอนด)
24 นิ้ว × 3
ขนาดสูงสุด
5 ผานไถบุกเบิก 26 นิ้ว × 2
น้ําหนักสูงสุด 450 กก. (990 ปอนด)
จํานวนของใบผาล 2
6 ผานไถดินดาน
ความลึกของใบผาล 400 มม. (16 นิ้ว)
ความกวางในการตัดสูงสุด 1820 มม. (72 นิ้ว)
7 ใบมีดปาดดินหลัง 19.1 เมกะปาสคาล (195 กิโลกรัมแรง/ซม.2,
แรงดันน้ํามันสูงสุด
2773 ปอนด/ตร. นิ้ว)
ความกวางใบมีดสูงสุด 2030 มม. (79.9 นิ้ว)
8 ใบมีดดันดินดานหนา ความสูงใบมีดสูงสุด 530 มม. (20.9 นิ้ว)
น้ําหนักสูงสุด 510 กก. (1120 ปอนด)
หมายเหตุ
• ขนาดของอุปกรณตอพวงขึ้นกับสภาพดินที่แทรกเตอรทํางานในลักษณะตางๆ
9Y1210383GEG0043TH0

G-76
1 เครื่องยนต
ระบบกลไก

สารบัญ
1. เรือนเครื่องยนต ................................................................................................................................ 1-M1
[1] ลูกสูบ ...................................................................................................................................... 1-M1
[2] เครื่องมือปรับสมดุลการเคลื่อนที่ (เฉพาะรุนที่มีตัวปรับสมดุล) .................................................................. 1-M1
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

1. เรือนเครื่องยนต
[1] ลูกสูบ
กระโปรงลูกสูบฉาบดวยโมลิบดีนัมไดซัลไฟด+ ซึ่งจะชวยให
เสียงรบกวนที่เกิดจากลูกสูบและกระบวนการทํางานทั้งหมดลดลง

+โมลิบดีนัมไดซัลไฟด (MoS2)
โมลิบดีนัมไดซัลไฟด (1) เปนของแข็งสําหรับหลอลื่นซึ่งมีลักษณะ
เดียวกับแกรไฟตหรือเทฟลอน วัสดุนี้ชวยลดการสึกกรอนของโลหะ
แมวาจะมีน้ํามันหลอลื่นนอย
(1) โมลิบดีนัมไดซัลไฟด
9Y1210383ENM0001TH0

[2] เครื่องมือปรับสมดุลการเคลื่อนที่ (เฉพาะรุนที่มีตัวปรับสมดุล)


เครื่องยนตจะตองเกิดการสั่นสะเทือนเนื่องจากการเคลื่อนไหว
ไปกลับของลูกสูบ ตามทฤษฎีแลวเครื่องยนตแบบสามสูบมีโอกาสเกิด
การสั่นสะเทือนนอยกวาเครื่องยนตสี่สูบมาก (แรงเฉื่อยที่สอง เปนตน)
อยางไรก็ตาม เครื่องยนตใดที่มีชิ้นสวนที่เคลื่อนที่ไดหลายชิ้นรวมทั้ง
ลูกสูบ ยอมจะตองเกิดการสั่นสะเทือน
เครื่องยนตสี่สูบ สามารถติดน้ําหนักถวงบนเสื้อสูบเพื่อลดแรงเฉื่อย
ที่สองดังที่กลาวดานบนได ทําใหแรงสั่นสะเทือนลดลง
เครื่องยนตเครื่องนี้มีน้ําหนักถวงภายใน (1) สองลูก โดยอยูที่ดาน
ไอดีหนึ่งลูก สวนอีกลูกอยูดานไอเสีย
(1) ตัวปรับสมดุล
9Y1210383ENM0002TH0

1-M1
การตรวจซอม

สารบัญ
1. ปญหาและวิธีการแกไข ........................................................................................................................1-S1
2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ .........................................................................................................1-S5
3. คาแรงขัน .......................................................................................................................................1-S13
4. การตรวจเช็คและการปรับตัง้ ...............................................................................................................1-S15
[1] เรือนเครื่องยนต .........................................................................................................................1-S15
[2] ระบบหลอลื่น ...........................................................................................................................1-S17
[3] ระบบหลอเย็น ...........................................................................................................................1-S18
[4] ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง ...................................................................................................................1-S20
(1) ปมน้ํามันเชื้อเพลิง ................................................................................................................1-S20
(2) หัวฉีด ...............................................................................................................................1-S23
[5] เทอรโบชารจเจอร ......................................................................................................................1-S24
5. กอนถอด .......................................................................................................................................1-S25
[1] การถอดแยกเครื่องยนตออกจากเสื้อเรือนคลัตช ...................................................................................1-S25
6. การถอดและการประกอบ ...................................................................................................................1-S32
[1] สวนประกอบดานนอก ................................................................................................................1-S32
[2] ฝาสูบและวาลว..........................................................................................................................1-S33
[3] ชุดเฟองตั้งจังหวะการทํางาน, เพลาลูกเบี้ยว และลูกเบี้ยวปมน้ํามันเชื้อเพลิง .................................................1-S38
[4] ลูกสูบและกานสูบ ......................................................................................................................1-S44
[5] เพลาขอเหวี่ยง ...........................................................................................................................1-S47
7. การตรวจซอม .................................................................................................................................1-S50
[1] ฝาสูบและวาลว..........................................................................................................................1-S50
[2] ชุดเฟองตั้งจังหวะการทํางาน, เพลาลูกเบี้ยว และลูกเบี้ยวปมน้ํามันเชื้อเพลิง .................................................1-S56
[3] ลูกสูบและกานสูบ ......................................................................................................................1-S60
[4] เพลาขอเหวี่ยง ...........................................................................................................................1-S63
[5] กระบอกสูบ..............................................................................................................................1-S68
[6] ปมน้ํามันเครื่อง .........................................................................................................................1-S69
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

1. ปญหาและวิธีการแกไข
อาการ สาเหตุ วิธีแกไข ดูทหี่ นา
เครื่องยนตสตารทไมติด น้ํามันเชื้อเพลิงหมด เติมน้ํามันเชื้อเพลิงใหเต็ม G-10
มีอากาศในระบบน้ํามันเชื้อเพลิง ไลลม G-38
มีน้ําในระบบน้ํามันเชื้อเพลิง เปลี่ยนน้ํามันเชื้อเพลิงใหม G-32,
และซอม หรือเปลี่ยนระบบ G-26
น้ํามันเชื้อเพลิงใหม
ทอน้ํามันเชื้อเพลิงอุดตัน ทําความสะอาด 1-S33
ไสกรองน้ํามันเชื้อเพลิงอุดตัน เปลี่ยนใหม G-32
น้ํามันเชื้อเพลิงหรือน้ํามันเครื่องมีความหนืดสูงที่อุณหภูมิต่ํา ใชน้ํามันเชื้อเพลิงหรือน้ํามัน G-10
เครื่องตามเกรดที่กําหนด
น้ํามันเชื้อเพลิงมีจํานวนซีเทนต่ํา ใชน้ํามันเชื้อเพลิงตามที่ G-11
กําหนด
น้ํามันเชื้อเพลิงรั่วเนื่องจากนอตยึดทอน้ํามันแรงดันสูงหลวม ขันนอตใหแนน 1-S33
ตั้งจังหวะการฉีดน้ํามันไมถูกตอง ปรับตั้งใหม 1-S20
ลูกเบี้ยวปมน้ํามันเชื้อเพลิงสึกหรอ เปลี่ยนใหม 1-S43
หัวฉีดอุดตัน ซอมหรือเปลี่ยนใหม 1-S23
ปมน้ํามันเชื้อเพลิงทํางานผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 1-S38
เพลาขอเหวี่ยง เพลาลูกเบี้ยว ลูกสูบ กระบอกสูบ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 1-S44,
หรือแบริ่งติดขัด 1-S47
กําลังอัดรั่วออกจากกระบอกสูบ เปลี่ยนปะเก็นฝาสูบ 1-S15,
ขันสกรูยึดฝาสูบ หัวเผา 1-S33
และตัวยึดหัวฉีดใหแนน
จังหวะการเปดปดของวาลวไมถูกตอง ปรับตั้งใหมหรือเปลี่ยนชุด 1-S42
ชุดเฟองตั้งจังหวะการ
ทํางานใหม
ลูกสูบและกระบอกสูบสึกหรอ เปลี่ยนใหม 1-S44
ระยะหางวาลวมากเกินไป ปรับตั้งใหม 1-S16
โซลีนอยดดับเครื่องยนตทํางานผิดพลาด เปลี่ยนใหม 9-S14
มอเตอรสตารทไมหมุน แบตเตอรี่ไมมีไฟ ชารจไฟ G-29
มอเตอรสตารททํางานผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 9-S32
สวิตชกญ
ุ แจสตารททํางานผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 9-S11
สวิตช PTO ชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S23
สวิตชเกียรวางปรับตั้งไวไมถูกตองหรือชํารุด ซอมหรือเปลี่ยนใหม 9-S24
รีเลยมอเตอรสตารทชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S28
สายไฟขาด ตอใหม –

1-S1
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

อาการ สาเหตุ วิธแี กไข ดูที่หนา


รอบของเครื่องยนตเดิน ไสกรองน้ํามันเชื้อเพลิงอุดตันหรือสกปรก เปลี่ยนใหม G-32
ไมเรียบ ไสกรองอากาศอุดตัน ทําความสะอาดหรือเปลี่ยน G-25
ใหม
น้ํามันเชื้อเพลิงรั่วเนื่องจากนอตยึดทอน้ํามันแรงดันสูงหลวม ขันนอตใหแนน 1-S33
ปมน้ํามันเชื้อเพลิงทํางานผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 1-S38
แรงดันการฉีดน้ํามันไมถูกตอง ปรับตั้งใหม 1-S23
หัวฉีดติดขัดหรืออุดตัน ซอมหรือเปลี่ยนใหม 1-S23
กาวานาทํางานผิดปกติ ซอมแซม 1-S39
ควันไอเสียเปนสีขาวหรือ น้ํามันเครื่องมากเกินไป ถายออกใหไดระดับตามที่ G-10
สีน้ําเงิน กําหนด
แหวนลูกสูบและกระบอกสูบสึกหรอหรือติดขัด ซอมหรือเปลี่ยนใหม 1-S44
ตั้งจังหวะการฉีดน้ํามันไมถูกตอง ปรับตั้งใหม 1-S20
กําลังอัดไมพอ ปรับตั้งชองวางหัวลูกสูบ 1-S50
ใหม
ควันไอเสียเปนสีดําหรือ เครื่องยนตทํางานหนักเกินไป ลดการทํางานลง –
สีเทาดํา ใชน้ํามันเชื้อเพลิงเกรดต่ํา ใชน้ํามันเชื้อเพลิงตามที่ G-11
กําหนด
ไสกรองน้ํามันเชื้อเพลิงอุดตัน เปลี่ยนใหม G-32
ไสกรองอากาศอุดตัน ทําความสะอาดหรือเปลี่ยน G-25
ใหม
หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงนอย ซอมหรือเปลี่ยนหัวฉีดใหม 1-S23
เครื่องยนตไมมีกําลัง ตั้งจังหวะการฉีดน้ํามันไมถูกตอง ปรับตั้งใหม 1-S20
ชิ้นสวนเครื่องยนตที่เคลื่อนที่เกิดการติดขัด ซอมหรือเปลี่ยนใหม –
ปมน้ํามันเชื้อเพลิงทํางานผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 1-S38
หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงนอย ซอมหรือเปลี่ยนหัวฉีดใหม 1-S23
กําลังอัดรั่ว เปลี่ยนปะเก็นฝาสูบ 1-S15,
ขันโบลตยึดฝาสูบ หัวเผา 1-S33
และตัวยึดหัวฉีดใหแนน
ชุดไสกรองอากาศอุดตันหรือสกปรก ทําความสะอาดหรือเปลี่ยน G-25
ใหม
ไสกรองน้ํามันเชื้อเพลิงอุดตันหรือสกปรก ทําความสะอาดหรือเปลี่ยน G-32
ใหม

1-S2
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

อาการ สาเหตุ วิธีแกไข ดูทหี่ นา


กินน้ํามันหลอลื่น ปากแหวนลูกสูบตรงกัน จัดปากแหวนลูกสูบใหม 1-S44
แหวนกวาดน้ํามันสึกหรอหรือติดขัด เปลี่ยนใหม 1-S44
รองแหวนลูกสูบสึกหรอ เปลี่ยนลูกสูบ 1-S44
กานวาลวและปลอกนําวาลวสึกหรอ เปลี่ยนใหม 1-S51
ชาฟตอกและชาฟตกานสูบสึกหรอ เปลี่ยนใหม –
น้ํามันรั่วซึมเนื่องจากซีลหรือบรรจุภัณฑเสื่อมสภาพ เปลี่ยนใหม –
น้ํามันเชื้อเพลิงเขาไปผสมกับ ตัวผลักปมน้ํามันเชื้อเพลิงสึกหรอ เปลี่ยนปมใหม 1-S38
น้ํามันหลอลื่น หัวฉีดฉีดเชื้อเพลิงนอย ซอมหรือเปลี่ยนหัวฉีดใหม 1-S23,
1-S33
ปมน้ํามันเชื้อเพลิงชํารุด เปลี่ยนใหม 1-S38
น้ําผสมกับน้ํามันหลอลื่น ปะเก็นฝาสูบชํารุด เปลี่ยนใหม 1-S35
เสื้อสูบหรือฝาสูบมีรอยราว เปลี่ยนใหม –
แรงดันน้ํามันเครื่องต่ํา ระดับน้ํามันเครื่องต่ํากวาที่กําหนด เติมใหไดระดับที่กําหนด G-10
ตะแกรงกรองน้ํามันเครื่องอุดตัน ทําความสะอาด 1-S44
วาลวควบคุมแรงดันติดขัดเพราะสกปรก ทําความสะอาด 1-S42
สปริงวาลวควบคุมแรงดันลาหรือชํารุด เปลี่ยนใหม 1-S42
ชองวางน้ํามันระหวางชาฟตอกมากเกินไป เปลี่ยนใหม 1-S65
ชองวางน้ํามันระหวางชาฟตกานสูบมากเกินไป เปลี่ยนใหม 1-S64
ชองวางน้ํามันระหวางกระเดื่องกดลิ้นมากเกินไป เปลี่ยนใหม 1-S55
ทางเดินน้ํามันเครื่องอุดตัน ทําความสะอาด –
ใชน้ํามันเครื่องผิดชนิด ใชน้ํามันเครื่องชนิดที่ G-10
กําหนด
ปมน้ํามันเครื่องทํางานผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 1-S69
แรงดันน้ํามันเครื่องสูง น้ํามันผิดชนิด ใชน้ํามันเครื่องชนิดที่ G-10
กําหนด
วาลวควบคุมแรงดันทํางานผิดปกติ เปลี่ยนใหม 1-S42

1-S3
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

อาการ สาเหตุ วิธแี กไข ดูที่หนา


เครื่องยนตรอนจัด ระดับน้ํามันเครื่องต่ํากวาที่กําหนด เติมใหไดระดับที่กําหนด G-10
สายพานพัดลมขาดหรือหยอนเกินไป เปลี่ยนหรือปรับตั้งใหม 1-S18
ระดับน้ําระบายความรอนต่ํากวากําหนด เติมใหไดระดับที่กําหนด G-35
ตะแกรงและชองครีบหมอน้ํามีสิ่งสกปรกเขาไปอุดตัน ทําความสะอาด –
ภายในหมอน้ํามีสนิมอุดตันมาก ทําความสะอาดหรือเปลี่ยน G-35
ใหม
ชองทางเดินน้ําหลอเย็นมีสนิมอุดตันมาก ทําความสะอาดหรือเปลี่ยน –
ใหม
ฝาหมอน้ําชํารุด เปลี่ยนใหม –
เครื่องยนตทํางานหนักเกินไป ลดการทํางานลง –
ปะเก็นฝาสูบชํารุด เปลี่ยนใหม 1-S35
ตั้งจังหวะการฉีดน้ํามันไมถูกตอง ปรับตั้งใหม 1-S20
ใชน้ํามันเชื้อเพลิงผิดเกรด ใชน้ํามันเชื้อเพลิงตามที่ G-11
กําหนด
แบตเตอรี่หมดเร็ว น้ํายาอิเล็กทรอไลทของแบตเตอรี่ไมพอ เติมน้ําที่ระเหยและชารจไฟ –
สายพานพัดลมหลุด ปรับตัง้ ความตึงของ 1-S18
สายพานหรือเปลี่ยนใหม
สายไฟขาด ตอใหม –
เรคติไฟเออรทํางานผิดปกติ (ไดชารจ) ซอมหรือเปลี่ยนใหม 9-S33
ไดชารจทํางานผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 9-S33
แบตเตอรี่ทํางานผิดปกติ เปลี่ยนใหม –
9Y1210383ENS0001TH0

1-S4
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ
เรือนเครื่องยนต
รายการ คามาตรฐานที่กําหนด คาที่ยอมได
ระยะหางวาลว (ขณะเครื่องเย็น) 0.18 ถึง 0.22 มม. –
0.0071 ถึง 0.0087 นิ้ว
กําลังอัดภายในกระบอกสูบ 2.94 ถึง 3.24 เมกะปาสคาล / 2.35 เมกะปาสคาล /
(เมื่อสตารทดวยมอเตอรสตารท) 290 นาที-1 (รอบตอนาที) 290 นาที-1 (รอบตอนาที)
30 ถึง 33 กิโลกรัมแรง/ซม.2 / 24 กิโลกรัมแรง/ซม.2 /
290 นาที-1 (รอบตอนาที) 290 นาที-1 (รอบตอนาที)
427 ถึง 469 ปอนด/ตร. นิ้ว / 341 ปอนด/ตร.นิ้ว /
290 นาที-1 (รอบตอนาที) 290 นาที-1 (รอบตอนาที)

ความแตกตางระหวางกระบอกสูบ – 10 % หรือนอยกวา
ชองวางบนหัวลูกสูบ 0.60 ถึง 0.70 มม. –
0.0236 ถึง 0.0276 นิ้ว
ผิวหนาฝาสูบ ความโกงงอ – 0.05 มม. / 500 มม.
0.0020 นิ้ว /
19.69 นิ้ว
ความลึกหนาวาลว ต่ํากวาผิวหนาสูบ 0.65 ถึง 0.85 มม. 1.20 มม.
0.026 ถึง 0.033 นิ้ว 0.0472 นิ้ว
กานวาลวถึงปลอกวาลว ระยะหาง 0.040 ถึง 0.070 มม. 0.10 มม.
0.00157 ถึง 0.00276นิ้ว 0.0039 นิ้ว

• กานวาลว ความโตภายนอก 7.960 ถึง 7.975 มม. –


0.31339 ถึง 0.31398 นิ้ว

• ปลอกวาลว ความโตภายใน 8.015 ถึง 8.030 มม. –


0.31555 ถึง 0.31614 นิ้ว
หนาวาลว มุม (ดานไอดี) 0.785 เรเดียน –
45 °

มุม (ดานไอเสีย) 0.785 เรเดียน –


45 °
บาวาลว ความกวาง (ดานไอดี) 2.12 มม. –
0.0835 นิ้ว

ความกวาง (ดานไอเสีย) 2.12 มม. –


0.0835 นิ้ว

1-S5
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

รายการ คามาตรฐานทีก่ ําหนด คาที่ยอมได


บาวาลว มุม (ดานไอดี) 0.785 เรเดียน –
45 °

มุม (ดานไอเสีย) 0.785 เรเดียน –


45 °
จังหวะการเปด-ปดของวาลว (วาลวไอดี) เปด 0.16 เรเดียน (9 °) –
กอนตําแหนงศูนยตายบน

ปด 0.79 เรเดียน (45 °) –


หลังตําแหนงศูนยตายลาง
จังหวะการเปด-ปดของวาลว (วาลวไอเสีย) เปด 0.87 เรเดียน (50 °) –
กอนตําแหนงศูนยตายลาง

ปด 0.21 เรเดียน (12 °) –


หลังตําแหนงศูนยตายบน
สปริงวาลว ความยาวอิสระ 41.7 ถึง 42.2 มม. 41.2 มม.
1.6417 ถึง 1.6614 นิ้ว 1.6220 นิ้ว

ภาระที่กําหนด / 117.6 นิวตัน / 35.0 มม. 100.0 นิวตัน / 35.0 มม.


ความยาวที่ใชทดสอบ 12.0 กิโลกรัมแรง / 35.0 มม. 10.2 กิโลกรัมแรง /
26.4 ปอนดแรง / 1.3780 นิ้ว 35.0 มม.
22.5 ปอนดแรง /
1.3780 นิ้ว

ระดับเยื้องศูนย – 1.0 มม.


0.039 นิ้ว
เพลากระเดื่องกดลิ้นกับกระเดื่องกดลิ้น ชองวางน้ํามัน 0.016 ถึง 0.045 มม. 0.10 มม.
0.00063 ถึง 0.00177 นิ้ว 0.0039 นิ้ว

• เพลากระเดื่องกดลิ้น ความโตภายนอก 13.973 ถึง 13.984 มม. –


0.55012 ถึง 0.55055 นิ้ว

• กระเดื่องกดลิ้น ความโตภายใน 14.000 ถึง 14.018 มม. –


0.55118 ถึง 0.55189 นิ้ว
กานกระทุง แนวการจัดตําแหนง – 0.25 มม.
0.0098 นิ้ว

1-S6
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

รายการ คามาตรฐานที่กําหนด คาที่ยอมได


ลูกกระทุงลิ้นกับปลอกลูกกระทุงลิ้น ชองวางน้ํามัน 0.020 ถึง 0.062 มม. 0.07 มม.
0.00079 ถึง 0.00244 นิ้ว 0.0028 นิ้ว

• ลูกกระทุงลิ้น ความโตภายนอก 23.959 ถึง 23.980 มม. –


0.94327 ถึง 0.94410 นิ้ว

• ปลอกลูกกระทุงลิ้น ความโตภายใน 24.000 ถึง 24.021 มม. –


0.94488 ถึง 0.94571 นิ้ว
ชุดเฟองตั้งจังหวะการทํางาน
• เฟองขอเหวี่ยงกับเฟองสะพาน ระยะฟนเฟอง 0.0415 ถึง 0.1122 มม. 0.15 มม.
0.00163 ถึง 0.00442 นิ้ว 0.0059 นิ้ว

• เฟองสะพานกับเฟองลูกเบี้ยว ระยะฟนเฟอง 0.0415 ถึง 0.1154 มม. 0.15 มม.


0.00163 ถึง 0.00454 นิ้ว 0.0059 นิ้ว

• เฟองสะพานกับเฟองปมน้ํามันเชื้อเพลิง ระยะฟนเฟอง 0.0415 ถึง 0.1154 มม. 0.15 มม.


0.00163 ถึง 0.00454 นิ้ว 0.0059 นิ้ว

• เฟองขอเหวี่ยงกับเฟองปมน้ํามันเครื่อง ระยะฟนเฟอง 0.0415 ถึง 0.1090 มม. 0.15 มม.


0.00163 ถึง 0.00429 นิ้ว 0.0059 นิ้ว

• เฟองสะพานกับเฟองเพลาสมดุล ระยะฟนเฟอง 0.0350 ถึง 0.1160 มม. 0.15 มม.


(เฉพาะรุนที่มีตัวปรับสมดุล) 0.00138 ถึง 0.00457 นิ้ว 0.0059 นิ้ว

• เฟองลูกเบี้ยวกับเฟองเพลาสมดุล ระยะฟนเฟอง 0.0350 ถึง 0.1160 มม. 0.15 มม.


(เฉพาะรุนที่มีตัวปรับสมดุล) 0.00138 ถึง 0.00457 นิ้ว 0.0059 นิ้ว

• เฟองขอเหวี่ยงกับเฟองสะพาน 2 (เฉพาะรุนที่มี PTO ระยะฟนเฟอง 0.0415 ถึง 0.1154 มม. 0.15 มม.
ดานขาง) 0.00163 ถึง 0.00454 นิ้ว 0.0059 นิ้ว

• เฟองสะพาน 2 กับเฟองขับปมไฮดรอลิก ระยะฟนเฟอง 0.0308 ถึง 0.1062 มม. 0.15 มม.


(เฉพาะรุนที่มี PTO ดานขาง) 0.00121 ถึง 0.00418 นิ้ว 0.0059 นิ้ว
เฟองสะพาน ระยะหางดานขาง 0.12 ถึง 0.48 มม. 0.9 มม.
0.0047 ถึง 0.0189 นิ้ว 0.0354 นิ้ว
เพลาเฟองสะพานกับบุชเฟองสะพาน ชองวางน้ํามัน 0.025 ถึง 0.066 มม. 0.10 มม.
0.00098 ถึง 0.00260 นิ้ว 0.0039 นิ้ว

• เพลาเฟองสะพาน ความโตภายนอก 37.959 ถึง 37.975 มม. –


1.49445 ถึง 1.49508 นิ้ว

• บุชเฟองสะพาน ความโตภายใน 38.000 ถึง 38.025 มม. –


1.49606 ถึง 1.49705 นิ้ว

1-S7
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

รายการ คามาตรฐานทีก่ ําหนด คาที่ยอมได


เพลาลูกเบี้ยว ระยะหางดานขาง 0.07 ถึง 0.22 มม. 0.30 มม.
0.0028 ถึง 0.0087 นิ้ว 0.0118 นิ้ว
เพลาลูกเบี้ยว แนวการจัดตําแหนง – 0.01 มม.
0.0004 นิ้ว
ลูกเบี้ยว ความสูง (ไอดี) 33.27 มม. 33.22 มม.
[V2403-M-DI-TE2] 1.3098 นิ้ว 1.3079 นิ้ว

ความสูง (ไอเสีย) 33.47 มม. 33.42 มม.


1.3177 นิ้ว 1.3157 นิ้ว
ขอเพลาลูกเบี้ยวกับรูที่เสื้อสูบ ชองวางน้ํามัน 0.050 ถึง 0.091 มม. 0.15 มม.
0.00197 ถึง 0.00358 นิ้ว 0.0059 นิ้ว

• ขอเพลาลูกเบี้ยว ความโตภายนอก 39.934 ถึง 39.950 มม. –


1.57221 ถึง 1.57284 นิ้ว

• รูที่เสื้อสูบ ความโตภายใน 40.000 ถึง 40.025 มม. –


1.57480 ถึง 1.57579 นิ้ว
เพลาสมดุล ระยะหางดานขาง 0.07 ถึง 0.22 มม. 0.30 มม.
(เฉพาะรุนที่มีตัวปรับสมดุล) 0.0028 ถึง 0.0087 นิ้ว 0.0118 นิ้ว
เพลาสมดุล แนวการจัดตําแหนง – 0.02 มม.
(เฉพาะรุนที่มีตัวปรับสมดุล) 0.0008 นิ้ว
ขอเพลาสมดุลตัวที่ 1 กับลูกปนเพลาสมดุลตัวที่ 1 ชองวางน้ํามัน 0.030 ถึง 0.111 มม. 0.20 มม.
(เฉพาะรุนที่มีตัวปรับสมดุล) 0.00118 ถึง 0.00437 นิ้ว 0.0079 นิ้ว

• ขอเพลาสมดุลตัวที่ 1 ความโตภายนอก 43.934 ถึง 43.950 มม. –


1.72969 ถึง 1.73032 นิ้ว

• ลูกปนเพลาสมดุลตัวที่ 1 ความโตภายใน 43.980 ถึง 44.045 มม. –


1.73150 ถึง 1.73406 นิ้ว
ขอเพลาสมดุลตัวที่ 2 กับลูกปนเพลาสมดุลตัวที่ 2 ชองวางน้ํามัน 0.030 ถึง 0.111 มม. 0.20 มม.
(เฉพาะรุนที่มีตัวปรับสมดุล) 0.00118 ถึง 0.00437 นิ้ว 0.0079 นิ้ว

• ขอเพลาสมดุลตัวที่ 2 ความโตภายนอก 41.934 ถึง 41.950 มม. –


1.65095 ถึง 1.65158 นิ้ว

• ลูกปนเพลาสมดุลตัวที่ 2 ความโตภายใน 41.980 ถึง 42.045 มม. –


1.65276 ถึง 1.65532 นิ้ว

1-S8
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

รายการ คามาตรฐานที่กําหนด คาที่ยอมได


ขอเพลาสมดุลตัวที่ 3 กับลูกปนเพลาสมดุลตัวที่ 3 ชองวางน้ํามัน 0.020 ถึง 0.094 มม. 0.20 มม.
(เฉพาะรุนที่มีตัวปรับสมดุล) 0.00079 ถึง 0.00370 นิ้ว 0.0079 นิ้ว

• ขอเพลาสมดุลตัวที่ 3 ความโตภายนอก 21.947 ถึง 21.960 มม. –


0.86406 ถึง 0.86457 นิ้ว

• ลูกปนเพลาสมดุลตัวที่ 3 ความโตภายใน 21.980 ถึง 22.041 มม. –


0.86535 ถึง 0.86776 นิ้ว
รูสลักลูกสูบ ความโตภายใน 25.000 ถึง 25.013 มม. 25.05 มม.
0.98425 ถึง 0.98476 นิ้ว 0.9862 นิ้ว
แหวนลูกสูบตัวที่ 2 ถึงรองแหวน ระยะหาง 0.093 ถึง 0.128 มม. 0.20 มม.
[V2403-M-DI-TE2] 0.0037 ถึง 0.0050 นิ้ว 0.0079 นิ้ว
แหวนกวาดน้ํามันถึงรองแหวน ระยะหาง 0.020 ถึง 0.060 มม. 0.15 มม.
[V2403-M-DI-TE2] 0.0008 ถึง 0.0024 นิ้ว 0.0059 นิ้ว
แหวนลูกสูบตัวที่ 1 รองแหวน 0.20 ถึง 0.35 มม. 1.25 มม.
0.0079 ถึง 0.0138 นิ้ว 0.0492 นิ้ว
แหวนลูกสูบตัวที่ 2 รองแหวน 0.40 ถึง 0.55 มม. 1.25 มม.
[V2403-M-DI-TE2] 0.0157 ถึง 0.0217 นิ้ว 0.0492 นิ้ว
แหวนกวาดน้ํามัน รองแหวน 0.25 ถึง 0.45 มม. 1.25 มม.
[V2403-M-DI-TE2] 0.0098 ถึง 0.0177 นิ้ว 0.0492 นิ้ว
กานสูบ แนวการจัดตําแหนง – 0.05 มม.
0.0020 นิ้ว
สลักลูกสูบถึงบุชกานสูบเล็ก ชองวางน้ํามัน 0.014 ถึง 0.038 มม. 0.15 มม.
0.00055 ถึง 0.00150 นิ้ว 0.0059 นิ้ว

• สลักลูกสูบ ความโตภายนอก 25.002 ถึง 25.011 มม. –


0.98433 ถึง 0.98469 นิ้ว

• บุชกานสูบเล็ก ความโตภายใน 25.025 ถึง 25.040 มม. –


0.98524 ถึง 0.98583 นิ้ว
เพลาขอเหวี่ยง แนวการจัดตําแหนง – 0.02 มม.
0.00079 นิ้ว
ขอเพลาขอเหวี่ยงถึงชาฟตอก 1 ชองวางน้ํามัน 0.040 ถึง 0.118 มม. 0.20 มม.
0.00157 ถึง 0.00465 นิ้ว 0.0079 นิ้ว

• ขอเพลาขอเหวี่ยง ความโตภายนอก 59.921 ถึง 59.940 มม. –


2.35910 ถึง 2.35984 นิ้ว

• ชาฟตอก 1 ความโตภายใน 59.980 ถึง 60.039 มม. –


2.36142 ถึง 2.36374 นิ้ว

1-S9
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

รายการ คามาตรฐานทีก่ ําหนด คาที่ยอมได


ขอเพลาขอเหวี่ยงถึงชาฟตอก 2 ชองวางน้ํามัน 0.040 ถึง 0.104 มม. 0.20 มม.
0.00157 ถึง 0.00409 นิ้ว 0.0079 นิ้ว

• ขอเพลาขอเหวี่ยง ความโตภายนอก 59.921 ถึง 59.940 มม. –


2.35910 ถึง 2.35984 นิ้ว

• ชาฟตอก 2 ความโตภายใน 59.980 ถึง 60.025 มม. –


2.36142 ถึง 2.36319 นิ้ว
สลักลูกสูบถึงชาฟตกา นสูบ ชองวางน้ํามัน 0.025 ถึง 0.087 มม. 0.20 มม.
0.00098 ถึง 0.00343 นิ้ว 0.0079 นิ้ว

• สลักลูกสูบ ความโตภายนอก 46.959 ถึง 46.975 มม. –


1.84878 ถึง 1.84941 นิ้ว

• ชาฟตกานสูบ ความโตภายใน 47.000 ถึง 47.046 มม. –


1.85039 ถึง 1.85221 นิ้ว
เพลาขอเหวี่ยง ระยะหางดานขาง 0.15 ถึง 0.31 มม. 0.5 มม.
0.0059 ถึง 0.0122 นิ้ว 0.0197 นิ้ว
ขนาดเสนผานศูนยกลางกระบอกสูบ (มาตรฐาน) ความโตภายใน 87.000 ถึง 87.022 มม. 87.150 มม.
[V2403-M-DI-TE2] 3.42520 ถึง 3.42606 นิ้ว 3.4311 นิ้ว
ขนาดเสนผานศูนยกลางกระบอกสูบ ความโตภายใน 87.250 ถึง 87.272 มม. 87.400 มม.
(ใหญกวามาตรฐาน) 3.43504 ถึง 3.43591 นิ้ว 3.4409 นิ้ว
[V2403-M-DI-TE2]

1-S10
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ระบบหลอลื่น
รายการ คามาตรฐานที่กําหนด คาที่ยอมได
แรงดันน้ํามันเครื่อง ที่รอบเดินเบา มากกวา 49 กิโลปาสคาล
98 กิโลปาสคาล 0.5 กิโลกรัมแรง/ซม.2
1.0 กิโลกรัมแรง/ซม.2 7 ปอนด/ตร.นิ้ว
14 ปอนด/ตร.นิ้ว

ที่ความเร็วสูงสุด 294 ถึง 441 กิโลปาสคาล 245 กิโลปาสคาล


3.0 ถึง 4.5 กิโลกรัมแรง/ซม.2 2.5 กิโลกรัมแรง/ซม.2
42.7 ถึง 64.0 ปอนด/ตร. นิ้ว 35.6 ปอนด/ตร.นิ้ว
สวิตชแรงดันน้ํามันเครื่อง แรงดันขณะทํางาน 49 กิโลปาสคาล –
0.5 กิโลกรัมแรง/ซม.2
7 ปอนด/ตร.นิ้ว
โรเตอรตัวในถึงโรเตอรตวั นอก ระยะหาง 0.03 ถึง 0.14 มม. 0.2 มม.
0.0012 ถึง 0.0055 นิ้ว 0.0079 นิ้ว
โรเตอรตัวนอกถึงตัวปม ระยะหาง 0.11 ถึง 0.19 มม. 0.25 มม.
0.0043 ถึง 0.0075 นิ้ว 0.0098 นิ้ว
โรเตอรตัวในถึงฝาครอบ ระยะหาง 0.105 ถึง 0.150 มม. 0.20 มม.
0.00413 ถึง 0.00591 นิ้ว 0.0079 นิ้ว
ระบบหลอเย็น
รายการ คามาตรฐานที่กําหนด คาที่ยอมได
สายพานพัดลม ความตึง 7.0 ถึง 9.0 มม. –
(0.28 ถึง 0.35 นิ้ว)
การยุบลงไปเมื่อกดดวยแรง
98 นิวตัน (10 กิโลกรัมแรง,
22 ปอนดแรง)
ลิ้นควบคุมความรอน (วาลวน้ํา) อุณหภูมิที่วาลวเปด 80.5 ถึง 83.5 °C –
(ขณะเริ่มเปด) 176.9 ถึง 182.3 °F

อุณหภูมิที่วาลวเปด 95 °C –
(เปดออกเต็มที่) 203 °F
หมอน้ํา แรงดันน้ําในหมอน้ํา ไมมีการรั่วซึมที่ –
137 กิโลปาสคาล
1.4 กิโลกรัมแรง/ซม.2
20 ปอนด/ตร.นิ้ว
ฝาหมอน้ํา อัตราการตกลงของ นานกวา 10 วินาที –
แรงดันฝาหมอน้ํา เมื่อแรงดันลดลง
จาก 88 เหลือ 59 กิโลปาสคาล
จาก 0.9 ถึง 0.6
กิโลกรัมแรง/ซม.2
จาก 13 เหลือ 9 ปอนด/ตร.นิ้ว

1-S11
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง
รายการ คามาตรฐานทีก่ ําหนด คาที่ยอมได
ปมน้ํามันเชื้อเพลิง จังหวะการฉีดน้ํามัน 0.105 ถึง 0.130 เรเดียน –
(V2403-M-DI-TE2) (6.00 ถึง 7.50 °)
กอนตําแหนงศูนยตายบน
ไสกรองปม แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง – 18.63 เมกะปาสคาล
190 กิโลกรัมแรง/ซม.2
2702 ปอนด/ตร.นิ้ว
วาลวเปด/ปดทอจายน้ํามัน แรงดันน้ํามันเชื้อเพลิง 10 วินาที 5 วินาที
18.63 → 17.65 เมกะปาสคาล 18.63 → 17.65
190 → 180 กิโลกรัมแรง/ซม.2 เมกะปาสคาล
2702 → 2560 ปอนด/ตร.นิ้ว 190 → 180
กิโลกรัมแรง/ซม.2
2702 → 2560
ปอนด/ตร.นิ้ว
หัวฉีด แรงดันในการฉีด 18.6 ถึง 20.1 เมกะปาสคาล –
(ขั้นตอนที่ 1) 190 ถึง 205 กิโลกรัมแรง/ซม.2
2702 ถึง 2916 ปอนด/ตร. นิ้ว

(ขั้นตอนที่ 2) 23.6 ถึง 24.6 เมกะปาสคาล –


241 ถึง 250 กิโลกรัมแรง/ซม.2
3430 ถึง 3560 ปอนด/ตร. นิ้ว
บาวาลวของหัวฉีด แรงดันที่บาวาลว เมื่อแรงดันมีคา 16.67 –
เมกะปาสคาล
(170 กิโลกรัมแรง/ซม.2,
2418 ปอนด/ตร.นิ้ว)
บาวาลวจะตองไมรั่วซึม
9Y1210383ENS0003TH0

1-S12
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

3. คาแรงขัน
คาแรงขันสกรู โบลต และนอตที่กําหนดไวในตารางขางลางเปนคาแรงขันสําหรับสกรู โบลต และนอตชนิดพิเศษ (ถาใชสกรู โบลต
และนอตทั่วไป : ดูที่ “5. คาแรงขัน” ในหัวขอ ขอมูลทั่วไป)
รายการ นิวตัน·เมตร กิโลกรัมแรง·เมตร ปอนดแรง·ฟุต
นอตยึดขั้ว B ของมอเตอรสตารท 7.8 ถึง 9.8 0.8 ถึง 1.0 5.8 ถึง 7.2
ทอสงน้ํามันหลักกับนอตยึดทอน้ํามันไหลกลับถัง 47.1 ถึง 51.0 4.8 ถึง 5.2 34.7 ถึง 37.6
นอตยึดทอสงน้ํามัน 23 ถึง 29 2.3 ถึง 2.8 17 ถึง 19
สกรูยึดขอตอทอสงน้ํามัน 3P 49.0 ถึง 58.8 5.0 ถึง 6.0 36.2 ถึง 43.4
สกรูและนอตยึดเครื่องยนตและเรือนคลัตช (M12, 7T) 77.5 ถึง 90.2 7.9 ถึง 9.2 57.1 ถึง 66.5
สตัดโบลตยึดเครื่องยนตกับเรือนคลัตช 39.2 ถึง 49.0 4.0 ถึง 5.0 28.9 ถึง 36.2
สกรูยึดโครงเพลาลอหนา (M10) 60.8 ถึง 70.5 6.2 ถึง 7.2 44.9 ถึง 52.1
สกรูยึดโครงเพลาลอหนา (M12) 102.9 ถึง 117.6 10.5 ถึง 12.5 76.0 ถึง 86.8
สตัดโบลตยึดโครงเพลาลอหนา (M12) 51.5 ถึง 59 5.5 ถึง 3.6 38 ถึง 44

1-S13
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

ขนาด ×
รายการ นิวตัน·เมตร กิโลกรัมแรง·เมตร ปอนดแรง·ฟุต
ระยะพิตช
สวิตชแรงดันน้ํามันเครื่อง R1/8 14.7 ถึง 19.6 1.5 ถึง 2.0 10.8 ถึง 14.5
สกรูยึดฝาครอบวาลว M6 × 1.0 6.9 ถึง 11.3 0.7 ถึง 1.15 5.1 ถึง 8.32
*สกรูยึดฝาสูบ M11 × 1.25 93.2 ถึง 98.1 9.5 ถึง 10.0 68.7 ถึง 72.3
*สกรูประกับอก 1 M9 × 1.25 46.1 ถึง 51.0 4.7 ถึง 5.2 34.0 ถึง 37.6
*สกรูประกับอก 2 M10 × 1.25 68.6 ถึง 73.5 7.0 ถึง 7.5 50.6 ถึง 54.2
*สกรูลอชวยแรง M12 × 1.25 98.1 ถึง 107.9 10.0 ถึง 11.0 72.3 ถึง 79.6
*สกรูยึดกานสูบ M8 × 1.0 44.1 ถึง 49.0 4.5 ถึง 5.0 32.5 ถึง 36.2
*สกรูยึดประกับกระเดื่องกดลิ้น M8 × 1.25 23.5 ถึง 27.5 2.4 ถึง 2.8 17.4 ถึง 20.3
*สกรูยึดเฟองสะพาน M8 × 1.25 23.5 ถึง 27.5 2.4 ถึง 2.8 17.4 ถึง 20.3
นอตยึดมูเลขับสายพานพัดลม M30 × 1.5 137.3 ถึง 156.9 14.0 ถึง 16.0 101.3 ถึง 115.7
*สกรูยึดฝาครอบลูกปน M8 × 1.25 23.5 ถึง 27.5 2.4 ถึง 2.8 17.4 ถึง 20.3
หัวเผา M10 × 1.25 19.6 ถึง 24.5 2.0 ถึง 2.5 14.5 ถึง 18.1
สกรูยึดที่หนีบตัวยึดหัวฉีด M10 × 1.25 25.5 ถึง 29.4 2.6 ถึง 3.0 18.8 ถึง 21.7
นอตยึดทอน้ํามันแรงดันสูง M12 × 1.5 14.7 ถึง 24.5 1.5 ถึง 2.5 10.8 ถึง 18.1
สกรูยึดชุดทอน้ํามันไหลกลับถัง M6 × 1.0 9.8 ถึง 11.3 1.00 ถึง 1.15 7.23 ถึง 8.32
สกรูล็อกเพลาลูกเบี้ยว M8 × 1.25 23.5 ถึง 27.5 2.4 ถึง 2.8 17.4 ถึง 20.3
ตัวควบคุมรอบเดินเบาที่ความเร็วสูง M14 × 1.0 44.1 ถึง 49.0 4.5 ถึง 5.0 32.5 ถึง 36.2
โบลตล็อกเพลาสมดุล (เฉพาะรุนที่มีปรับสมดุล) M8 × 1.25 23.5 ถึง 27.5 2.4 ถึง 2.8 17.4 ถึง 20.3
หมายเหตุ
• สําหรับสกรู โบลต และนอตที่มีเครื่องหมาย * ใหทาน้ํามันเครื่องลงบนเกลียวและบากอนทําการขัน
• ตัวอักษร “M” ในคอลัมน ขนาด x ระยะพิตซ หมายถึง ขนาดของนอต สกรู หรือโบลตที่ยอมาจากเมตริก ขนาด คือ เสนผานศูนยกลางภายนอก
โดยประมาณของเกลียว มีหนวยเปน มม. (มิลลิเมตร) สวนระยะพิตซ คือ ระยะหางโดยประมาณระหวางเกลียวถึงเกลียว มีหนวยเปน มม.
(มิลลิเมตร)
9Y1210383ENS0002TH0

1-S14
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

4. การตรวจเช็คและการปรับตั้ง
[1] เรือนเครื่องยนต
กําลังอัดภายในกระบอกสูบ
1. สตารทเครื่อง แลวอุนเครื่องยนตทิ้งไวสักพัก
2. ดับเครือ่ งและปลดขั้ว 2P ออกจากโซลีนอยดดับเครื่องยนตเพื่อไมใหระบบฉีด
น้ํามันเชื้อเพลิง
3. ถอดกรองอากาศ หมอพักไอเสีย และหัวเผาทั้งหมด
4. ติดตัง้ ชุดเกจวัดกําลังอัด (07909-39081) พรอมขอตอ K (07909-31291)
เขาไปที่รูหัวเผา
5. สตารทเครื่องยนตดวยมอเตอรสตารท แลววัดกําลังอัดของเครื่องยนต
6. ทําซ้ําขั้นตอนที่ 4 ถึงขั้นตอนที่ 5 จนครบทุกสูบ
หมายเหตุ
• ตรวจเช็คกําลังอัดภายในกระบอกสูบ โดยใหระยะหางวาลวอยูในคาที่กําหนด
• ใชแบตเตอรี่ที่มีกระแสไฟฟาเต็มขณะทดสอบเทานั้น
• กําลังอัดของแตละกระบอกสูบควรแตกตางกันไมเกิน 10%
2.94 ถึง 3.24 เมกะปาสคาล
คามาตรฐานที่กําหนด 30 ถึง 33 กิโลกรัมแรง/ซม.2
427 ถึง 469 ปอนด/ตร. นิ้ว
กําลังอัดภายในกระบอกสูบ
2.35 เมกะปาสคาล
คาที่ยอมได 24 กิโลกรัมแรง/ซม.2
341 ปอนด/ตร.นิ้ว
9Y1210383ENS0009TH0

1-S15
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ระยะหางวาลว
ขอสําคัญ
• การตรวจเช็คและปรับตั้งระยะหางวาลว ตองทําขณะเครื่องยนตเย็นแลวเทานั้น
1. ถอดฝาครอบวาลว หัวเผา และฝาครอบชองดูมารคบนเรือนคลัตชออก
2. หมุนลอชวยแรงใหมารค “1TC” ตรงกับจุดกึ่งกลางของชองดูมารคเพื่อใหสูบที่ 1
อยูในตําแหนงศูนยตายบนในจังหวะอัดหรือโอเวอรแลป
3. ตรวจเช็คระยะหางวาลวที่มีเครื่องหมาย “,” ตอไปนี้โดยใชฟลเลอรเกจ
4. หากระยะหาง ไมอยูภายในคามาตรฐานที่กําหนดไว ใหปรับดวยสกรูปรับตัง้
0.18 ถึง 0.22 มม.
ระยะหางวาลว คามาตรฐานที่กําหนด
0.0071 ถึง 0.0086 นิ้ว
หมายเหตุ
• มารค “TC” ที่ลอชวยแรงใชสําหรับสูบที่ 1 เทานั้น จะไมมีมารค “TC” สําหรับ
สูบตําแหนงอื่น
• สูบที่ 1 จะอยูที่ตําแหนงศูนยตายบนเมื่อมารค “TC” อยูในแนวเดียวกันกับจุด
กึ่งกลางของชองดูมารคทีเ่ รือนคลัตช หมุนลอชวยแรงตามเข็มนาฬิกาไปที่
0.26 เรเดียน (15 °) แลวหมุนทวนเข็มนาฬิกาเพือ่ ตรวจสอบดูวาลูกสูบอยูที่
ตําแหนงศูนยตายบนในจังหวะอัดหรืออยูทตี่ ําแหนงโอเวอรแลป โปรดอางอิง
ตารางดานลาง แลวปรับระยะหางวาลวใหม (ลูกสูบจะอยูทตี่ ําแหนงศูนยตายบนใน
จังหวะอัดเมื่อวาลวไอดีและวาลวไอเสียไมขยับ แตลูกสูบจะอยูที่ตําแหนงโอเวอร
แลปเมื่อวาวลทัง้ สองชุดขยับ)
• จากนั้น หมุนลอชวยแรงไปที่ 6.28 เรเดียน (360 °) แลวจัดเรียงใหมารค “TC”
ตรงกับจุดกึ่งกลางของชองดูมารค ปรับระยะหางวาลวอืน่ ๆ ตามที่ตองการ
• เมื่อหมุนลอชวยแรงทวนเข็มนาฬิกาสองหรือสามรอบ ใหตรวจเช็คระยะหาง
วาลวอีกครั้งและขันนอตล็อกของสกรูปรับตั้งใหแนน
จํานวนกระบอกสูบ
สภาวะการทํางาน
วาลวไอดี วาลวไอเสีย
ลูกสูบที่ 1 , ,

เมื่อสูบที่ 1 อยูที่ตําแหนง ลูกสูบที่ 2 ,


ศูนยตายบนในจังหวะอัด ลูกสูบที่ 3 ,

ลูกสูบที่ 4
ลูกสูบที่ 1
เมื่อสูบที่ 1 อยูที่ตําแหนง ลูกสูบที่ 2 ,
โอเวอรแลป ลูกสูบที่ 3 ,

ลูกสูบที่ 4 , ,

(1) มารค TC A : ระยะหางวาลว


(2) ชองดูมารค
9Y1210365ENS0005TH0

1-S16
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

[2] ระบบหลอลื่น
แรงดันน้ํามันเครื่อง
1. ถอดสวิตชแรงดันน้ํามันเครื่องและติดตั้งเครื่องวัดแรงดันน้ํามันเครื่อง
(รหัสหมายเลข: 07916-32032)
2. สตารทเครื่องยนต หลังจากอุนเครื่องแลว วัดแรงดันน้ํามันเครื่องขณะรอบ
เครื่องยนตอยูที่รอบเดินเบาและที่ความเร็วสูงสุด
3. หากแรงดันน้ํามันเครื่องต่ํากวาระดับที่กําหนดไว ใหทําการตรวจเช็ควาเปน
ดังตอไปนี้หรือไม
• ระดับน้ํามันเครื่องต่ํากวาที่กําหนด
• ปมน้ํามันเครื่องทํางานผิดปกติ
• ตะแกรงกรองน้ํามันเครื่องอุดตัน
• ไสกรองน้ํามันเครื่องอุดตัน
• ทางเดินน้ํามันอุดตัน
• ชองวางน้ํามันหางเกินไป
• มีสิ่งแปลกปลอมอยูในวาลวควบคุมแรงดัน
มากกวา
คามาตรฐาน 98 กิโลปาสคาล
ที่กําหนด 1.0 กิโลกรัมแรง/ซม.2
ที่รอบเดิน 14 ปอนด/ตร.นิ้ว
เบา
49 กิโลปาสคาล
คาที่ยอมได 0.5 กิโลกรัมแรง/ซม.2
แรงดันน้ํามันเครือ่ ง 7 ปอนด/ตร.นิ้ว
294 ถึง 441 กิโลปาสคาล
คามาตรฐาน
3.0 ถึง 4.5 กิโลกรัมแรง/ซม.2
ที่กําหนด
ที่ความเร็ว 42.7 ถึง 64.0 ปอนด/ตร. นิ้ว
สูงสุด 245 กิโลปาสคาล
คาที่ยอมได 2.5 กิโลกรัมแรง/ซม.2
35.6 ปอนด/ตร.นิ้ว
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• หลังจากตรวจเช็คแรงดันน้ํามันเครื่อง ใหขันสวิตชแรงดันน้ํามันเครื่องตามคา
แรงขันที่กําหนด
14.7 ถึง 19.6 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สวิตชแรงดันน้ํามันเครื่อง 1.5 ถึง 2.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
10.8 ถึง 14.5 ปอนดแรง·ฟุต
9Y1210383ENS0004TH0

1-S17
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

[3] ระบบหลอเย็น
ความตึงสายพานพัดลม
1. วัดระยะหยอนของสายพาน (A) โดยกดสายพานลงตรงกึ่งกลางระหวางมูเลขับ
สายพานกับมูเลไดชารจดวยแรงที่กําหนด (98 นิวตัน, 10 กิโลกรัมแรง,
22 ปอนดแรง)
2. หากคาที่วัดไดไมอยูภายในคามาตรฐานที่กําหนดไว ใหคลายสกรูยึดไดชารจออก
แลวเปลี่ยนตําแหนงของไดชารจเพื่อปรับตั้ง
7.0 ถึง 9.0 มม.
ระยะหยอนของสายพาน (A) คามาตรฐานที่กําหนด
0.28 ถึง 0.35 นิ้ว
9Y1210365ENS0007TH0
การชํารุดและสึกหรอของสายพานพัดลม
1. ตรวจดูวาสายพานพัดลมชํารุดหรือไม
2. หากพบวาสายพานพัดลมชํารุด ใหเปลี่ยนใหมทันที
3. ตรวจดูวาสายพานพัดลมสึกหรอและจมลงในรองพูเลยหรือไม
4. หากพบวาสายพานพัดลมสึกหรอและจมลงไปมาก ใหเปลี่ยนใหม
9Y1210365ENS0008TH0

อุณหภูมิทลี่ ิ้นควบคุมความรอน (วาลวน้ํา) เริ่มเปด


1. ควบคุมใหลิ้นควบคุมความรอน (วาลวน้ํา) ลอยอยูในน้ําโดยรอยปลายเชือกของ
วาลวควบคุมความรอนระหวางวาลวและบา
2. อานคาอุณหภูมิเมื่อวาลวเปดโดยคอยๆ เพิ่มอุณหภูมิน้ําทีละนอย จากนั้น
ปลอยเชือก
3. ใหความรอนตอไปเรื่อยๆ และอานคาอุณหภูมิเมื่อวาลวเปดออกประมาณ 6 มม.
(0.236 นิ้ว)
4. หากคาที่วัดไดไมอยูภายในคามาตรฐานที่กําหนดไว ใหเปลี่ยนลิ้นควบคุม
ความรอน (วาลวน้ํา) ใหม
อุณหภูมิที่ลิ้นควบคุมความ 80.5 ถึง 83.5 °C
คามาตรฐานที่กําหนด
รอน (วาลวน้ํา) เริ่มเปด 176.9 ถึง 182.3 °F
อุณหภูมิที่ลิ้นควบคุมความ 95 °C
คามาตรฐานที่กําหนด
รอน (วาลวน้ํา) เปดสุด 203 °F
9Y1210383ENS0005TH0

1-S18
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
อากาศรั่วออกจากฝาหมอน้ํา

ขอควรระวัง
• เมื่อจะเปดฝาหมอน้ํา ใหเปดหลังจากดับเครื่องแลวและรอใหเย็นตัวลงอยางนอย
สิบนาที มิฉะนั้นน้ํารอนจะพุงออกมา ทําใหผูที่อยูบริเวณนั้นบาดเจ็บได
1. ติดตัง้ ชุดอุปกรณทดสอบหมอน้ํา (รหัสหมายเลข: 07909-31551) บนฝาหมอน้ํา
2. ใชแรงดันที่ 88 กิโลปาสคาล (0.9 กิโลกรัมแรง/ซม.2, 13 ปอนด/ตร.นิ้ว)
แลวจับเวลาที่แรงดันลดลงจนเหลือ 59 กิโลปาสคาล (0.6 กิโลกรัมแรง/ซม.2,
9 ปอนด/ตร.นิ้ว)
3. หากคาที่วัดไดนอยกวาคามาตรฐานที่กําหนดไว ใหเปลี่ยนฝาหมอน้ําใหม
นานกวา 10 วินาที
เมื่อแรงดันลดลงจาก
อัตราการตกลงของแรงดัน
คามาตรฐานที่กําหนด 88 ถึง 59 กิโลปาสคาล (จาก 0.9
ฝาหมอน้ํา
เหลือ 0.6 กิโลกรัมแรง/ซม.2,
จาก 13 เหลือ 9 ปอนด/ตร.นิ้ว)
9Y1210365ENS0010TH0

1-S19
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

[4] ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง
(1) ปมน้ํามันเชื้อเพลิง
จังหวะการฉีดน้ํามัน
1. ถอดโซลีนอยดดับเครื่องยนตออก
2. ถอดทอน้ํามันแรงดันสูงและหัวฉีดออก
3. ตั้งคันควบคุมความเร็วใหอยูในตําแหนงขับน้ํามันสูงสุด
(ขอมูลอางอิง)
• หมุนลอชวยแรงดวยไขควง
4. หมุนลอชวยแรงทวนเข็มนาฬิกา (หันหนาไปทางลอชวยแรง) จนกวาน้ํามันจะไหล
เขาเต็มรูของตัวยึดวาลวเปด/ปดทอจายน้ํามันของกระบอกสูบที่ 1
5. หมุนลอชวยแรงทวนเข็มนาฬิกาตอไป แลวหยุดเมือน้ํามันเชื้อเพลิงเริ่มลนออกมา
เพื่อใหไดจังหวะการฉีดน้ํามัน
6. (ลอชวยแรงจะมีมารค 1TC และขีด 4 ขีด ที่แสดงตําแหนงทุกๆ 0.087 เรเดียน (5 °)
ของมุมขอเหวี่ยงจาก 0.175 เรเดียน (10 °) ถึง 0.436 เรเดียน (25 °) กอนถึงตําแหนง
มารค 1TC) คํานวณมุมที่จุดกึง่ กลางของชองดูมารคชี้ออกมา หากคาการคํานวณ
ที่ไดแตกตางจากจังหวะการฉีดน้ํามันที่กําหนด ใหเพิ่มแผนชิมหรือเอาออกเพื่อ
ปรับคา
(จังหวะการฉีดน้ํามัน)
0.105 ถึง 0.130 เรเดียน (6.00 ° ถึง 7.50 °) กอนตําแแหนงศูนยตายบน
หมายเหตุ
• ทาสารกันรั่วบนแผนชิมชนิดปะเก็นเหล็กออนทั้งสองดาน หามใชปะเก็นเหลวใน
การประกอบ
• แผนชิมที่สามารถใชไดคือแผนทีม่ ีความหนา 0.175 มม. (7), 0.20 มม. (3), 0.25 มม.
(4), 0.30 มม. (5) และ 0.35 มม. (6) นําแผนชิมที่มีความหนาดังกลาวมาประกบ
รวมกันเพื่อปรับตั้ง
• แผนชิมหนา 0.175 มม. จะเคลือบที่ดานลางเทานั้น ดังนั้น หามใชแผนชิมหนา
0.175 มม. เปนแผนชิมดานบนเมื่อใชรวมกัน (ดานปมน้ํามันเชื้อเพลิง)
เพราะจะทําใหน้ํามันรั่ว
• การเพิ่มหรือลดความหนาของแผนชิม (0.05 มม., 0.0020 นิ้ว) จะทําใหจังหวะ
การฉีดน้ํามันชาลงหรือเร็วขึ้นประมาณ 0.0087 เรเดียน (0.5 °)
• ในการเปลี่ยนและถอดแยกชิ้นสวน ควรตรวจเช็คใหแนใจวาไดใชแผนชิมชนิด
ปะเก็นแผนใหมที่มีความหนาเทาเดิม
(1) ตัวยึดวาลวเปด/ปดทอจายน้ํามัน (5) ไมมีรู: 0.30 มม. (แผนชิม)
(2) มารคตั้งจังหวะ (6) 3 รู: 0.35 มม. (แผนชิม)
(3) 2 รู (ระยะพิตชแคบ) : 0.20 มม. (แผนชิม) (7) 2 รู (ระยะพิตชแคบ) : 0.175 มม. (แผนชิม)
(4) 1 รู: 0.25 มม. (แผนชิม)
9Y1210383ENS0006TH0

1-S20
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
แรงดันน้ํามันของชุดลูกปม
1. ถอดโซลีนอยดดับเครื่องยนตออก
2. ถอดทอน้ํามันแรงดันสูงและหัวเผาออก
3. ประกอบอุปกรณทดสอบแรงดันปมน้ํามันเชื้อเพลิงเขากับปมน้ํามันเชื้อเพลิง
4. ติดตัง้ หัวฉีด (2) เขากับอุปกรณทดสอบแรงดันปมน้ํามันเชื้อเพลิง (1) โดยตั้งคา
แรงดันการฉีดน้ํามันใหเหมาะสม (ตามรูป)
5. ตั้งคันควบคุมความเร็วใหอยูในตําแหนงความเร็วสูงสุด
6. เดินเครื่องมอเตอรสตารทเพื่อเพิ่มแรงดัน
7. หากคาแรงดันที่ไดต่ํากวาคาที่กําหนดไว ใหเปลี่ยนปมใหมหรือสงใหศูนยบริการ
ที่ผานการรับรองโดยคูโบตาซอมแซมปม
18.63 เมกะปาสคาล
แรงดันน้ํามันของชุดลูกปม คาที่ยอมได 190 กิโลกรัมแรง/ซม.2
2702 ปอนด/ตร.นิ้ว
หมายเหตุ
• หามลองถอดชุดปมน้ํามันเชื้อเพลิงดวยตัวเอง หากตองการซอมแซม
คุณตองติดตอศูนยบริการที่ไดรับการรับรองจากทางคูโบตาเทานั้น
(1) อุปกรณทดสอบแรงดันปมน้ํามันเชื้อเพลิง (3) ฝาครอบปองกันน้ํามันเชื้อเพลิงพุง
(2) หัวฉีด
9Y1210383ENS0007TH0

1-S21
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
แรงดันน้ํามันของวาลวเปด/ปดทอจายน้ํามัน
1. ถอดโซลีนอยดดับเครื่องยนตออก
2. ถอดทอน้ํามันแรงดันสูงและหัวเผาออก
3. ประกอบอุปกรณทดสอบแรงดันเขากับปมน้ํามันเชื้อเพลิง
4. ติดตั้งหัวฉีด (2) เขากับอุปกรณทดสอบแรงดันปมน้ํามันเชื้อเพลิง (1) โดยตัง้ คา
แรงดันการฉีดน้ํามันใหเหมาะสม
5. เดินเครื่องมอเตอรสตารทเพื่อเพิ่มแรงดัน
6. หยุดมอเตอรสตารทเมื่อน้ํามันพุงออกมาจากหัวฉีด หลังจากนั้นหมุนลอชวยแรง
ดวยมือ และเพิ่มแรงดันใหมคี าประมาณ 18.63 เมกะปาสคาล
(190 กิโลกรัมแรง/ซม.2, 2702 ปอนด/ตร.นิ้ว)
7. จากนั้น หมุนลอชวยแรงกลับประมาณครึ่งรอบ (เพื่อใหตัวผลักเปนอิสระ)
รักษาตําแหนงของลอชวยแรงเอาไว แลวจับเวลาในชวงที่แรงดันลดลงจาก
18.63 เมกะปาสคาล (190 กิโลกรัมแรง/ซม.2, 2702 ปอนด/ตร.นิ้ว)
8. จับเวลาที่ตอ งใชในการลดแรงดันจาก 18.63 ถึง 17.65 เมกะปาสคาล (จาก 190 ถึง
180 กิโลกรัมแรง/ซม.2, จาก 2702 ถึง 2560 ปอนด/ตร.นิ้ว)
9. หากคาที่วัดไดต่ํากวาคาที่กําหนดไว ใหเปลียนปมใหมหรือสงใหศูนยบริการที่
ผานการรับรองโดยคูโบตาซอมแซมปม
10 วินาที
18.63 → 17.65 เมกะปาสคาล
คามาตรฐานที่กําหนด
190 → 180 กิโลกรัมแรง/ซม.2
แรงดันน้ํามันของวาลวเปด/ปด 2702 → 2560 ปอนด/ตร.นิ้ว
ทอจายน้ํามัน 5 วินาที
18.63 → 17.65 เมกะปาสคาล
คาที่ยอมได
190 → 180 กิโลกรัมแรง/ซม.2
2702 → 2560 ปอนด/ตร.นิ้ว
หมายเหตุ
• หามลองถอดชุดปมน้ํามันเชื้อเพลิงดวยตัวเอง หากตองการซอมแซม
คุณตองติดตอศูนยบริการที่ไดรับการรับรองจากทางคูโบตาเทานั้น
(1) อุปกรณทดสอบแรงดันปมฉีดน้ํามัน (3) ฝาครอบปองกันน้ํามันเชื้อเพลิงพุง
เชื้อเพลิง
(2) หัวฉีด
9Y1210383ENS0008TH0

1-S22
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

(2) หัวฉีด
ขอควรระวัง
• ตรวจเช็คสภาพและแรงดันการฉีดน้ํามัน โดยจะตองไมมีผูใดอยูบริเวณทีล่ ะอองน้ํามันพุง ออกมา
• หากละอองน้ํามันจากหัวฉีดสัมผัสรางกายโดยตรง เซลลอาจจะตาย และทําใหระบบเลือดเปนพิษได
9Y1210383ENS0010TH0
สภาพการฉีดของหัวฉีด
1. ติดตัง้ หัวฉีดเขากับเครื่องเช็คหัวฉีด จากนั้นทดสอบสภาพการฉีดของหัวฉีด
2. หากสภาพการฉีดผิดปกติ ใหเปลี่ยนชุดหัวฉีดใหม
(a) สภาพดี (b) สภาพไมดี
9Y1210383ENS0011TH0

แรงดันการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง
1. ติดตัง้ หัวฉีดเขากับเครื่องเช็คหัวฉีด
2. โยกดามจับเครื่องเช็คหัวฉีดชาๆ เพื่อวัดแรงดันน้ํามันของหัวฉีด เมื่อน้ํามัน
เชื้อเพลิงเริ่มฉีดออกจากหัวฉีด
3. หากคาที่วัดไดไมอยูภายในคามาตรฐานที่กําหนดไว ใหเปลี่ยนชุดหัวฉีดใหม
18.6 ถึง 20.1 เมกะปาสคาล
แรงดันการฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง
คามาตรฐานที่กําหนด 190 ถึง 205 กิโลกรัมแรง/ซม.2
(ขั้นตอนที่ 1)
2702 ถึง 2916 ปอนด/ตร. นิ้ว
9Y1210383ENS0012TH0
แรงดันที่บาวาลว
1. ติดตัง้ หัวฉีดเขากับชุดทดสอบหัวฉีด
2. เพิม่ แรงดัน และรักษาใหคงไวที่ 16.67 เมกะปาสคาล (170 กิโลกรัมแรง/ซม.2,
2418 ปอนด/ตร.นิ้ว) เปนเวลา 10 วินาที
3. หากพบการรั่วซึมของน้ํามันเชื้อเพลิง ใหเปลี่ยนชุดหัวฉีดใหม
ไมมีการรั่วซึมน้ํามันที่
16.67 เมกะปาสคาล
แรงดันที่บาวาลว คามาตรฐานที่กําหนด
170 กิโลกรัมแรง/ซม.2
2418 ปอนด/ตร.นิ้ว
9Y1210383ENS0013TH0

1-S23
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

[5] เทอรโบชารจเจอร
ดานเทอรไบน
1. ตรวจเช็ควาไมมีการรั่วของควันไอเสียที่ดานชองระบายไอเสีย (2) และดานชอง
ทางเขา (3) ของหองเทอรไบ (1)
2. หากมีการรั่วของควันไอเสีย ขันโบลตและนอตใหมใหแนนหรือเปลี่ยนปะเก็น
ตัวใหม
(1) หองเทอรไบ (3) ชองทางเขา
(2) ชองระบายไอเสีย
9Y1210383ENS0014TH0
ดานเครื่องอัดอากาศ
1. ตรวจเช็ควาไมมีการรั่วของอากาศที่ทอไอดี (1) ของฝาครอบเครื่องอัดอากาศ (2)
2. ตรวจเช็คการเชื่อมตอหลวมหรือมีรอยราวที่ทางดูดของทอไอดี
3. หากตรวจพบอากาศรั่ว เปลี่ยนตัวยึด (3) และ/หรือ ทอไอดี
(1) ทอไอดี (3) ตัวยึด
(2) ฝาครอบเครื่องอัดอากาศ
9Y1210383ENS0015TH0

ระยะของรัศมี
1. หากลอสัมผัสกับตัวเรือน เปลี่ยนชุดเทอรโบชารจเจอรใหม
9Y1210365ENS0085TH0

1-S24
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

5. กอนถอด
[1] การถอดแยกเครื่องยนตออกจากเสื้อเรือนคลัตช
การถายน้ํามันเครื่อง
1. สตารทเครื่องยนตและอุนเครื่องประมาณ 5 นาที
2. วางถาดน้ํามันเครื่องใตเครื่องยนต
3. ถอดปลั๊กถายน้ํามัน (1) เพื่อระบายน้ํามัน
4. หมุนปลั๊กถายน้ํามัน (1) กลับเขาที่
(เมื่อเติมน้ํามันเกียร)
• เติมน้ํามันเครื่องใหมใหไดระดับระหวางขีดบนของกานวัดระดับน้ํามันเครื่อง (2)
ขอสําคัญ
• หามผสมน้ํามันเครื่องตางชนิดเขาดวยกัน
• ใชน้ํามันเครื่องของสมาคมยานยนต (SAE) ทีเ่ หมาะสมกับอุณหภูมิภายนอก
ดูที่หัวขอ “4. สารหลอลื่น น้ํามันเชื้อเพลิง และน้ําระบายความรอน” ในหัวขอ
ขอมูลทั่วไป
7.2 ลิตร
ความจุน้ํามันเครื่อง 7.6 ควอรตสหรัฐ
6.3 ควอรตอังกฤษ

(1) ปลั๊กถายน้ํามัน A : ใชไดเมื่อระดับน้ํามันอยูใ นชวงนี้


(2) กานวัดระดับน้ํามันเกียร
(3) จุกปดชองเติมน้ํามันเครือ่ ง
9Y1210383ENS0016TH0

1-S25
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
การถายน้ํามันเกียร
1. วางถาดรองน้ํามันใตหองเกียร
2. ถอดปลั๊กถายน้ํามัน (1)
3. ถายน้ํามันเกียร
4. ใสปลั๊กถายน้ํามัน (1) กลับเขาที่
(เมื่อเติมน้ํามันเกียร)
• เมื่อถอดปลั๊กเติมน้ํามัน (2) ออก ใหเติมน้ํามันใหมจากทอเติมน้ํามันจนน้ํามันอยูที่
ขีดของเกจวัด (3)
• หลังจากเดินเครื่องยนตเปนเวลา 2-3 นาที ใหหยุดเครื่องเพื่อตรวจเช็คระดับน้ํามัน
อีกครั้ง และเติมใหไดระดับที่กําหนดหากระดับน้ํามันดังกลาวไมถูกตอง
40 ลิตร
ความจุน้ํามันเกียร 42.3 ควอรตสหรัฐ
35.2 ควอรตอังกฤษ
ขอสําคัญ
• ใชเฉพาะน้ํามันคูโบตา SUPER UDT การใชน้ํามันเกียรชนิดอื่นจะทําใหระบบ
สงกําลังหรือระบบไฮดรอลิกเกิดความเสียหาย
ดูทหี่ ัวขอ “4. สารหลอลื่น น้ํามันเชื้อเพลิง และน้ําระบายความรอน” ในหัวขอ
ขอมูลทัว่ ไป
• หามใชน้ํามันเกียรตางชนิดผสมเขาดวยกัน
(1) ปลั๊กถายน้ํามัน A : ใชไดเมื่อระดับน้ํามันอยูในชวงนี้
(2) ปลั๊กเติมน้ํามัน
(3) เกจวัด
9Y1210383ENS0017TH0
ฝากระโปรงหนา
1. ถอดสายแบตเตอรี่ขั้วลบ (1)
2. ปลดขั้วตอไฟหนา 4P (2)
3. ถอดตัวลดแรงสะเทือน (3) ออก
4. ถอดฝากระโปรงหนา
(1) สายแบตเตอรี่ขั้วลบ (3) ตัวลดแรงสะเทือน
(2) ขั้วตอ 4P
9Y1210383ENS0018TH0

1-S26
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ฝาครอบดานขาง
1. ถอดฝาครอบดานขาง (1)
(1) ฝาครอบดานขาง
9Y1210383ENS0043TH0

การถายน้ําหลอเย็น

ขอควรระวัง
• หามเปดฝาหมอน้ํา (2) ออกจนกวาอุณหภูมิน้ําระบายความรอนจะอยูในระดับ
ต่ํากวาจุดเดือด หมุนฝาหมอน้ําออกชาๆ จนแรงดันภายในหมอน้ําไดถูกระบาย
ออกมาจนหมด แลวจึงเปดฝาหมอน้ําออกได
1. ดับเครื่องและรอใหเครื่องยนตเย็นตัวลง
2. คลายปลั๊กถายน้ํามัน (1) เพื่อถายน้ําหลอเย็นทิ้ง
3. ถอดฝาหมอน้ํา (2) เพื่อถายน้ําหลอเย็นออกจนหมด
4. ใสปลั๊กถายน้ํามัน (1) กลับเขาที่ใหแนนหลังจากถายน้ําหลอเย็นทิ้งหมดแลว
(เมื่อเติมน้ํามันเกียร)
• เติมน้ําหลอเย็นระหวางขีด “FULL” กับขีด “LOW” ของถังน้ําสํารอง (3)
8.0 ลิตร
ความจุน้ําหลอเย็น 8.5 ควอรตสหรัฐ
7.0 ควอรตอังกฤษ

(1) ปลั๊กถายน้ํามัน (3) ถังน้ําสํารอง


(2) ฝาหมอน้ํา
9Y1210383ENS0019TH0
สายไฟ, ทอ และสายน้ํามันเชื้อเพลิง
1. ถอดสายคันเรง (1) ออก
2. ปลดขั้วตอ (2) โซลีนอยดดับเครื่องยนตกับขั้วตอ (3) เซนเซอรวัดความเร็ว
เครื่องยนต
3. ถอดตัวยึด (4) ออก
4. ถอดทอสงน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอร (5)
(1) สายคันเรง (4) ตัวยึด
(2) ขั้วตอ (โซลีนอยดดับเครื่องยนต) (5) ทอสงน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอร
(3) ขั้วตอ (เซนเซอรวดั ความเร็วเครื่องยนต)
9Y1210383ENS0020TH0

1-S27
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ทอตอหมอพักไอเสีย
1. ถอดทอตอหมอพักไอเสีย 1 (2) ออก
2. ถอดทอตอหมอพักไอเสีย 2 (1) ออก
(1) ทอตอหมอพักไอเสีย 2 (2) ทอตอหมอพักไอเสีย 1
9Y1210383ENS0044TH0

สายไฟ
1. ถอดขั้วตอสายไฟ (1) ออกจากอุปกรณตรวจวัดอุณหภูมิน้ําหลอเย็น
2. ปลดขั้วตอ 2P (3) และสายไฟ (2) ออกจากไดชารจ
3. ปลดขั้ว B (6) และขั้วตอ 1P (7) สําหรับมอเตอรสตารท
4. ถอดกานเพลากดคลัตช (5)
5. ปลดขั้วตอ 1P ออกจากสวิตชแรงดันน้ํามันเครื่อง
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
7.8 ถึง 9.8 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตยึดขั้ว B ของมอเตอรสตารท 0.8 ถึง 1.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
5.8 ถึง 7.2 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ขั้วตอ (อุปกรณตรวจวัดอุณหภูมิน้ําหลอ (4) ขั้วตอ 1P (สวิตชแรงดันน้ํามันเครื่อง)


เย็น) (5) กานเพลากดคลัตช
(2) สายไฟ (ไดชารจ) (6) ขั้ว B (มอเตอรสตารท)
(3) ขั้วตอ 2P (ไดชารจ) (7) ขั้วตอ 1P (มอเตอรสตารท)
9Y1210383ENS0021TH0

เพลากลาง
1. เลื่อนฝาครอบเพลากลาง (4) และ (5) หลังจากถอดสกรูออก
2. ถอดสลักสปริง (1), (7) จากนั้นเลื่อนขอตอเพลา (2), (6) ไปดานหนาและดานหลัง
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีบนรองฟนของเพลากลาง (3)
(1) สลักสปริง (5) ฝาครอบเพลากลาง
(2) ขอตอเพลา (6) ขอตอเพลา
(3) เพลากลาง (7) สลักสปริง
(4) ฝาครอบเพลากลาง
9Y1210383ENS0022TH0

1-S28
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ฝาครอบเครื่องดานหลัง
1. ถอดฝาครอบลาง (3) ออก
2. ดึงสติ๊กเกอร (4) ออก แลวถอดสกรู (5)
3. ถอดฝาครอบเครื่องดานหลัง (2)
4. ปลดขั้วตอสายไฟ (1) ออกจากอุปกรณตรวจวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิง
(1) ขั้วตอ (อุปกรณตรวจวัดระดับน้ํามัน (4) สติ๊กเกอร
เชื้อเพลิง) (5) สกรู
(2) ฝาครอบเครือ่ งดานหลัง
(3) ฝาครอบดานลาง
9Y1210383ENS0023TH0

ทอสําหรับระบบพวงมาลัยพาวเวอร
1. ถอดทอสงน้ํามัน (1) และ (2) ออกจากชุดควบคุมการเลี้ยว
2. ถอดทอสงน้ํามันหลัก (4)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ประกอบทอสงน้ํามัน (1) โดยใหรหัสสีเทป (5) อยูทางดานขวา
47.1 ถึง 51.0 นิวตัน·เมตร
ทอสงน้ํามันหลักกับนอตยึดทอ
4.8 ถึง 5.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
น้ํามันไหลกลับถัง
34.7 ถึง 37.6 ปอนดแรง·ฟุต
คาแรงขัน
23 ถึง 29 นิวตัน·เมตร
นอตยึดทอสงน้ํามัน 2.3 ถึง 2.8 กิโลกรัมแรง·เมตร
17 ถึง 19 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ทอสงน้ํามัน (ดานขวา) (4) ทอสงน้ํามันหลัก


(2) ทอสงน้ํามัน (ดานซาย) (5) รหัสสีเทป
(3) ทอน้าํ มันไหลกลับถัง
9Y1210383ENS0024TH0

1-S29
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ทอดูดกับทอสงน้ํามัน 3P
1. ถอดทอดูด (2) ออก
2. ถอดทอสงน้ํามัน 3P (1) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
49.0 ถึง 58.8 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยึดขอตอทอสงน้ํามัน 3P 5.0 ถึง 6.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
36.2 ถึง 43.4 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ทอสงน้ํามัน 3P (2) ทอดูด


9Y1210383ENS0025TH0
การถอดเครื่องยนตและเสื้อคลัตช
1. วางแทนสําหรับถอดประกอบชิ้นสวนใตเครื่องยนตและเสื้อเรือนคลัตช
แลวประกอบรีซิสเตอรตวั เพลาลอหนา (ดูที่ “8. เครื่องมือพิเศษ” ในหัวขอ
“G. ขอมูลทั่วไป”)
2. ถอดโครงยึดถังน้ํามันเชื้อเพลิง (1) และแผงหนาปด (2)
3. ถอดนอตและสกรูยึดเครื่องยนตกบั เสื้อคลัตชออก
4. ถอดแยกเครื่องยนตกับเสื้อคลัตช
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีบนรองฟนเพลาคลัตช
• ทาน้ํายาทาปะเก็น (ทรีบอนด 1208D หรือเทียบเทา) ลงบนผิวหนาของเสื้อลอ
ชวยแรงกับเสื้อคลัตช
77.5 ถึง 90.2 นิวตัน·เมตร
สกรูและนอตยึดเครือ่ งยนตและ
7.9 ถึง 9.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
เสื้อคลัตช M12, 7T
57.1 ถึง 66.5 ปอนดแรง·ฟุต
คาแรงขัน
39.2 ถึง 49.0 นิวตัน·เมตร
สตัดโบลตยดึ เครื่องยนตกับ
4.0 ถึง 5.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
เสื้อคลัตช
28.9 ถึง 36.2 ปอนดแรง·ฟุต

(1) โครงยึดถังน้ํามันเชื้อเพลิง (2) แผงหนาปด


9Y1210383ENS0026TH0
หมอพักไอเสียและสายยางหมอน้ํา
1. ถอดหมอพักไอเสีย (3) และถังน้ําสํารอง
2. ถอดสายยางหมอน้ํา (2)
3. ถอดทอไสกรองอากาศ (1)
4. ถอดสายยางหมอน้ํา (4)
(1) ทอไสกรองอากาศ (3) หมอพักไอเสีย
(2) สายยางหมอน้ํา (4) สายยางหมอน้ํา
9Y1210383ENS0027TH0

1-S30
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ถังน้ํามันเชื้อเพลิง
1. ถอดทอน้ํามันเชื้อเพลิง (4) ออกจากเครื่องตกตะกอน แลวถายน้ํามันออก
2. ถอดทอน้ํามันเชื้อเพลิงไหลกลับ (3)
3. ถอดสายรัดถังน้ํามันเชื้อเพลิง (2)
4. ถอดถังน้ํามันเชื้อเพลิง (1) และแทนยึดถังน้ํามันเชื้อเพลิง (5)
(1) ถังน้ํามันเชื้อเพลิง (4) ทอน้ํามันเชื้อเพลิง
(2) สายรัดถังน้ํามันเชื้อเพลิง (5) แทนยึดถังน้ํามันเชื้อเพลิง
(3) ทอน้ํามันเชื้อเพลิงไหลกลับ
9Y1210383ENS0028TH0
การถอดแยกเครื่องยนตออกจากโครงคานลอหนา
1. ถอดตะขอเกีย่ วเครื่องยนตตวั เดิมออก
2. ประกอบตะขอเกีย่ วเครื่องยนต (ดูที่ “8. เครื่องมือพิเศษ” ในหัวขอ
“G. ขอมูลทั่วไป”)
3. แขวนเครื่องยนตโดยใชโซเกี่ยวกับตะขอเกีย่ วเครื่องยนต
4. ถอดนอตและสกรูยึดโครงคานลอหนา
5. ถอดสตัดโบลต (1)
6. ถอดแยกเครื่องยนตออกจากโครงคานลอหนา (1)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ตองแนใจวาไดประกอบชุดสกรูและแหวนรองถูกตองตามรูป
• อยาลืมประกอบแหวนรองรูปจาน (แหวนรองสปริงแบบถวย) (7) โดยหันทิศทาง
ตามรูป
60.8 ถึง 70.5 นิวตัน·เมตร
สกรูยดึ โครงเพลาลอหนา (M10) 6.2 ถึง 7.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
44.9 ถึง 52.1 ปอนดแรง·ฟุต
102.9 ถึง 117.6 ปอนดแรง·ฟุต
นอตและสกรูยึดโครงเพลา
คาแรงขัน 10.5 ถึง 12.5 กิโลกรัมแรง·เมตร
ลอหนา (M12)
76.0 ถึง 86.8 ปอนดแรง·ฟุต
51.5 ถึง 59 นิวตัน·เมตร
สตัดโบลตยึดโครงเพลาลอหนา
5.5 ถึง 3.6 กิโลกรัมแรง·เมตร
(M12)
38 ถึง 44 ปอนดแรง·ฟุต

(1) สตัดโบลต (M12) [A] ดานซาย


(2) นอต (M12) พรอมแหวนรองรูปจาน [B] ดานขวา
(แหวนรองสปริงแบบถวย)
(3) สกรู (M12) พรอมแหวนรองรูปจาน
(แหวนรองสปริงแบบถวย)
(4) สกรู (M12) พรอมแหวนสปริง
(5) สกรู (M10/9T) พรอมแหวนสปริง
(6) โครงคานลอหนา
(7) แหวนรองสปริงรูปจาน
(แหวนรองสปริงแบบถวย)
9Y1210383ENS0029TH0

1-S31
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

6. การถอดและการประกอบ
[1] สวนประกอบดานนอก
ชิ้นสวนเครื่องยนตดานนอก
1. ถอดปมไฮดรอลิก (1) ออก
2. ถอดไดชารจ (2)
3. ถอดมอเตอรสตารท (3)
4. ถอดเทอรโบชารจเจอร
5. ถอดพัดลม (5) และสายพานพัดลม (4) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• อยาลืมปรับความตึงสายพานพัดลม
(1) ปมไฮดรอลิก (4) สายพานพัดลม
(2) ไดชารจ (5) พัดลม
(3) มอเตอรสตารท
9Y1210383ENS0030TH0

ชุดคลัตช
1. ดูที่ “[1] คลัตชสําหรับการขับเคลื่อน” ในหัวขอ “2 คลัตช”
9Y1210365ENS0031TH0

1-S32
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

[2] ฝาสูบและวาลว
ฝาครอบวาลว
1. ถอดสายไฟ (4)
2. ถอดทอเติมอากาศ (1) ออก
3. ถอดสกรูยึดฝาครอบวาลว (3)
4. ถอดฝาครอบวาลว (2)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ตรวจเช็ควาปะเก็นปดฝาครอบวาลว (5) นั้นไมเสียหาย
6.9 ถึง 11.3 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยดึ ฝาครอบวาลว 0.7 ถึง 1.15 กิโลกรัมแรง·เมตร
5.1 ถึง 8.32 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ทอเติมอากาศ (5) ปะเก็นปดฝาครอบวาลว


(2) ฝาครอบวาลว (6) วาลวทอหายใจ
(3) สกรูยึดฝาครอบวาลว (7) แผนขับเคลื่อน
(4) สายไฟ
9Y1210383ENS0045TH0

ทอน้ํามันแรงดันสูง
1. คลายสกรูที่เข็มขัดรัดทอ (2)
2. ถอดทอน้ํามันแรงดันสูง (1) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• เปาฝุนละอองออกจากทอ
14.7 ถึง 24.5 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตยึดทอน้ํามันแรงดันสูง 1.5 ถึง 2.5 กิโลกรัมแรง·เมตร
10.8 ถึง 18.1 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ทอน้ํามันแรงดันสูง (2) เข็มขัดรัดทอ


9Y1210383ENS0046TH0

1-S33
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ตัวยึดชุดหัวฉีดและหัวเผา
1. ถอดชุดทอน้ํามันไหลกลับถัง
2. ถอดชุดตัวยึดหัวฉีด (2)
3. ถอดหัวเผา (1)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• เปลี่ยนปะเก็นทองแดงใหม
25.5 ถึง 29.4 นิวตัน·เมตร
สกรูยึดที่หนีบตัวยึดหัวฉีด 2.6 ถึง 3.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
18.8 ถึง 21.7 ปอนดแรง·ฟุต
9.8 ถึง 11.3 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยึดชุดทอน้ํามันไหลกลับถัง 1.00 ถึง 1.15 กิโลกรัมแรง·เมตร
7.23 ถึง 8.32 ปอนดแรง·ฟุต
19.6 ถึง 24.5 นิวตัน·เมตร
หัวเผา 2.0 ถึง 2.5 กิโลกรัมแรง·เมตร
14.5 ถึง 18.1 ปอนดแรง·ฟุต

(1) หัวเผา (2) ชุดตัวยึดหัวฉีด


9Y1210383ENS0047TH0
กระเดื่องกดลิ้นและกานกระทุง
1. ถอดสกรูยึดประกับกระเดื่องกดลิ้น
2. ถอดชุดกระเดื่องกดลิ้น (1)
3. ถอดกานกระทุง (2)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ขณะวางกานกระทุง (2) ลงบนลูกกระทุงลิ้น (3) ตรวจเช็ควาไดใสปลายกานตรง
ตามรองดีหรือไม
ขอสําคัญ
• หลังประกอบกลับกระเดื่องกดลิ้นเรียบรอยแลว ตรวจเช็คระยะหางลิ้นใหเรียบรอย
23.5 ถึง 27.5 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยึดประกับกระเดื่องกดลิ้น 2.4 ถึง 2.8 กิโลกรัมแรง·เมตร
17.4 ถึง 20.3 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ชุดกระเดื่องกดลิ้น (3) ลูกกระทุงลิ้น


(2) กานกระทุง
9Y1210383ENS0048TH0

1-S34
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ฝาสูบ
1. คลายเกลียวตัวยืดทอ (2) แลวถอดทอทางน้ําไหลกลับ (1)
2. ถอดสกรูยึดฝาสูบตามลําดับจาก (n หรือ r) ถึง (a)
3. ยกฝาสูบ (3) ขึ้นเพื่อถอดออก
4. ถอดปะเก็นฝาสูบ (4)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• เปลี่ยนปะเก็นฝาสูบ (4) ใหม
• ขันสกรูยึดฝาสูบใหแนนหลังจากทาน้ํามันเครื่องเพียงพอแลว
• ขันสกรูยึดฝาสูบใหแนนตามลําดับแนวทแยงมุมนับจากตรงกลางตามลําดับจาก
(a) ถึง (n หรือ r)
• ขันสกรูดวยแรงเทาๆ กัน มิฉะนั้น ฝาสูบจะโกงงอเมื่อใชงานไปนานๆ
93.2 ถึง 98.0 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยดึ ฝาสูบ 9.50 ถึง 10.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
68.8 ถึง 72.3 ปอนดแรง·ฟุต
ขอสําคัญ
• ในการเปลี่ยนปะเก็นฝาสูบ (4) ควรตรวจสอบตําแหนงมารค (5) ปะเก็นฝาสูบ
ในเครื่องยนตเดิมกอน แลวเปลี่ยนตามมารคเดียวกันกับปะเก็นฝาสูบเดิม
มารคปะเก็นและรหัสตัวเลข V2403-M-DI-TE2
15 1G790-03600
20 1G790-03310
25 1G790-03610
30 1G790-03620
35 1G790-03630

(1) ทอน้ํามันไหลกลับถัง (n หรือ r) ถึง (a) : การคลายเกลียว


(2) เข็มขัดรัดทอ (a) ถึง (n หรือ r) : การขันแนน
(3) ฝาสูบ (A) ดานลอชวยแรง
(4) ปะเก็นฝาสูบ (B) ดานเสื้อเกียร
(5) มารค
(ตอ)

1-S35
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
(มีตอ)
ขอสําคัญ
• เมื่อจะเปลี่ยนลูกสูบ, สลักลูกสูบ, บุชกานสูบดานเล็ก หรือชาฟตกานสูบ ใหวัดสวน
ทีย่ ื่นออกมาหรือสวนที่หดเขาไปของหัวลูกสูบจากระดับผิวกระบอกสูบกลอง
เพลา (คาเฉลี่ยของลูกสูบทั้งหมด) หลังจากประกอบลูกสูบ แลวเลือกปะเก็นฝาสูบ
ตามตารางตอไปนี้
การเลือกปะเก็นฝาสูบ
1. วัดความแตกตางของผิวระหวางหัวลูกสูบ กับผิวกระบอกสูบกลองเพลาดวย
ไดอัลเกจเปนจํานวน 4 จุดตอหนึ่งลูกสูบ (ใชคาเฉลี่ยของลูกสูบทั้งหมด)
2. เลือกใชปะเก็นฝาสูบที่เหมาะสมตามตารางดานลาง
สวนที่ยนื่ ของลูกสูบ
ขนาดปะเก็น (เบอร)
V2403-M-DI
0.475 ถึง 0.525 มม.
15
0.0187 ถึง 0.0207 นิ้ว
0.525 ถึง 0.575 มม.
20
0.0207 ถึง 0.0226 นิ้ว
0.575 ถึง 0.625 มม.
25
0.0226 ถึง 0.0246 นิ้ว
0.625 ถึง 0.675 มม.
30
0.0246 ถึง 0.0266 นิ้ว
0.675 ถึง 0.725 มม.
35
0.0266 ถึง 0.0285 นิ้ว

(6) จุดในการวัดผิว
9Y1210383ENS0031TH0
ลูกกระทุงลิ้น
1. ถอดลูกกระทุงลิ้น (1) ออกจากเสื้อสูบ
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ตรวจดูหนาสัมผัสระหวางลูกกระทุงลิ้นกับลูกเบี้ยววาหมุนรอบไดตามปกติหรือไม
หากชํารุด เปลี่ยนลูกกระทุงลิ้นใหม
• ทาน้ํามันเครื่องบางๆ รอบลูกกระทุงลิ้นกอนทําการประกอบ
ขอสําคัญ
• หามใสลูกกระทุงลิ้นกับปลอกกระทุงลิ้นสลับตําแหนงเดิม
(1) ลูกกระทุงลิ้น
9Y1210383ENS0049TH0

1-S36
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
วาลว
1. ถอดหมวกวาลว (3)
2. ถอดปลอกสปริงวาลว (4) โดยกดถวยรองสปริงวาลว (5) ดวยตัวปรับตําแหนง
สปริงวาลว (1)
3. ถอดถวยรองสปริงวาลว (5), สปริงวาลว (6) และซีลกานวาลว (2)
4. ถอดวาลว (7)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ลางทําความสะอาดกานวาลวและภายในปลอกวาลว และชโลมดวยน้ํามันเครื่อง
ใหเพียงพอ
• หลังจากใสปลอกสปริงวาลว (4) แลว ใหเคาะที่กา นวาลวเบาๆ ดวยคอนพลาสติก
เพื่อใหมนั่ ใจวากานวาลวเขาที่แลว
ขอสําคัญ
• หามเปลีย่ นวาลวและปลอกวาลวสลับตําแหนงเดิม
(1) ตัวปรับตําแหนงสปริงวาลว (5) ถวยรองสปริงวาลว
(2) ซีลกานวาลว (6) สปริงวาลว
(3) หมวกวาลว (7) วาลว
(4) ปลอกสปริงวาลว
9Y1210383ENS0050TH0
ชุดวาลวน้ํา
1. ถอดสกรูยึดฝาวาลวน้ํา แลวถอดฝาวาลวน้ํา (1)
2. ถอดชุดวาลวน้ํา (3)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาปะเก็นเหลว (ทรีบอนด 1215 หรือเทียบเทา) เฉพาะบนปะเก็น (2) ดานปลอก
วาลวควบคุมความรอน (วาลวน้ํา)
• ทาปะเก็นเหลว (ทรีบอนด 1215 หรือเทียบเทา) บนหนาแปลนวาลวควบคุม
ความรอน 1 (4) และหนาแปลน 2 (5)
(1) ฝาวาลวน้ํา (4) ขอบกันน้ํา 1
(2) ปะเก็นฝาวาลวน้ํา (5) ขอบกันน้ํา 2
(3) ชุดวาลวน้ํา
9Y1210383ENS0051TH0

1-S37
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

[3] ชุดเฟองตั้งจังหวะการทํางาน, เพลาลูกเบี้ยว และลูกเบี้ยวปมน้ํามันเชื้อเพลิง


ปมน้ํามันเชื้อเพลิง
1. ถอดโซลีนอยดดับเครื่องยนต (4) และตัวควบคุมรอบเดินเบาที่ความเร็วสูง (1)
2. ถอดคันดับเครื่องยนต (3) และแกนนําโซลีนอยดดับเครื่องยนต (6)
3. ถอดชุดปมน้าํ มันเชื้อเพลิง (2) ออก
ขอสําคัญ
• กอนที่จะถอดชุดปมน้ํามันเชื้อเพลิง (2) ตองแนใจวาไดถอดโซลีนอยดดับ
เครื่องยนต (4), ตัวควบคุมรอบเดินเบาที่ความเร็วสูง (1), คันดับเครื่องยนต (3)
และแกนนําโซลีนอยดดับเครื่องยนต (6)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• กอนจะประกอบโซลีนอยดดับเครื่องยนต (4), ตัวควบคุมรอบเดินเบาที่ความเร็ว
สูง (1) และแกนนําโซลีนอยดดับเครื่องยนต (6) ใหประกอบปมน้ํามันเชื้อเพลิงเขา
ตําแหนงเปนลําดับแรก
• เปลี่ยนปะเก็นตัวควบคุมรอบเดินเบาที่ความเร็วสูง (5) ใหม
• กอนจะประกอบคันดับเครื่องยนต (3) ที่หองเกียร ใหประกอบแกนนําโซลีนอยด
ดับเครื่องยนต (6) เขาตําแหนงเปนลําดับแรก จากนั้น ประกอบคันดับเครื่องยนต
แลวใชงานเพื่อตรวจสอบวาชิ้นสวนดังกลาวทํางานไดตามปกติหรือไม
• กอนจะประกอบตัวควบคุมรอบเดินเบากลับเขาที่ ใหประกอบแกนนําโซลีนอยด
ดับเครื่องยนต (6) และคันดับเครื่องยนต (3) เขาตําแหนงตามลําดับ
• เมื่อจะประกอบโซลีนอยดดับเครื่องยนต (4) อยาลืมประกอบแหวนยางเขาที่
• อยาลืมใสกา นกระทุงของโซลีนอยดดับเครื่องยนตลงในรูที่กึ่งกลางของแกนนํา
โซลีนอยด (6)
45 ถึง 49 นิวตัน·เมตร
ตัวควบคุมรอบเดินเบาที่
คาแรงขัน 4.5 ถึง 5.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
ความเร็วสูง
33 ถึง 36 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ตัวควบคุมรอบเดินเบาที่ความเร็วสูง (4) โซลีนอยดดับเครื่องยนต


(2) ชุดปมน้ํามันเชื้อเพลิง (5) ปะเก็นตัวควบคุมรอบเดินเบาที่ความเร็วสูง
(3) คันดับเครื่องยนต (6) แกนนําโซลีนอยดดับเครือ่ งยนต
9Y1210365ENS0091TH0

1-S38
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
สปริงกาวานาและแผนควบคุมความเร็ว
หมายเหตุ
• เครื่องมือที่กําหนด (1):
สายไฟเสนผานศูนยกลาง 1.2 มม. โดยทีด่ านปลายติดตะขอ ความยาวทั้งหมด
200 มม. (7.87 นิ้ว)
ดานปลายของสายไฟจะงอเหมือนตะขอเพื่อใชแขวนสปริงกาวานา
1. ถอดฝาครอบปมน้ํามันเชื้อเพลิง
2. ถอดนอตและโบลตยึดแผนควบคุมความเร็ว
3. แกะสปริงกาวานาตัวใหญ (2) ออกจากคันกามปู (3) โดยใชเครื่องมือพิเศษ (1)
4. แกะสปริงกาวานาตัวเล็ก (4) ออกจากคันกามปู (3) โดยใชเครื่องมือพิเศษ
5. ประกอบคันควบคุมความเร็ว (5) ตามรูป
6. ถอดแผนควบคุมความเร็ว (6) โดยใชความระมัดระวังเพื่อไมใหสปริงกาวานา
ตัวใหญและตัวเล็กหลุดออกจากแผน แลวตกเขาไปในหองเกียร (2), (4)

(1) เครือ่ งมือพิเศษ A: ยาว 200 มม. (7.87 นิ้ว)


(2) สปริงกาวานาตัวใหญ B: เสนผานศูนยกลาง 1.2 มม. (0.047 นิ้ว)
(3) คันกามปู
(4) สปริงกาวานาตัวเล็ก
(5) คันควบคุมความเร็ว
(6) แผนควบคุมความเร็ว
(ตอ)

1-S39
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
(มีตอ)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• เกี่ยวสปริงกาวานาตัวเล็ก (4) ที่แผนควบคุมความเร็ว (6) กอน แลวจึงเกีย่ วสปริง
กาวานาตัวใหญ (2)
• ใสเครื่องมือพิเศษ (1) จากดานปมแรงดันสูงเพื่อรั้งสปริงกาวานาตัวใหญ (2)
งางสปริงออกเล็กนอย แลววางแผนควบคุมความเร็ว (6) ตามตําแหนงที่กําหนด
• แขวนสปริงกาวานาตัวเล็กที่คันกามปู (3) โดยใชเครื่องมือพิเศษ (1)
หมายเหตุ
• ระวังอยางางสปริงกาวานาตัวเล็กออกมากจนเกินไปเพราะสปริงอาจเสียรูปอยาง
ถาวร
• แขวนสปริงกาวานาตัวใหญ (2) ที่คันกามปู (3) โดยใชเครื่องมือพิเศษ (1)
• ตองแนใจวาสปริงกาวานาทั้งสองตัว (2), (4) ยึดแนนอยูกบั คันกามปู (3)
• ประกอบและขันโบลตสองตัวและนอตสองตัวที่แผนควบคุมความเร็ว (6)
• หลังจากประกอบสปริงกาวานา ตรวจสอบวาคันควบคุมความเร็ว (5)
อยูทตี่ ําแหนงเดินเบาความเร็วต่ําหรือไม
• หลังจากโยกคันควบคุมความเร็วไปที่ตําแหนงความเร็วสูงสุด ใหตรวจสอบวาคัน
ควบคุมความเร็ว (5) กลับสูตําแหนงเดินเบาความเร็วสูงมากกวาตําแหนงเดินเบา
ความเร็วต่ํา
• จากนั้น ใหประกอบฝาครอบปมแรงดันสูงกลับเขาตําแหนง

(1) เครื่องมือพิเศษ (4) สปริงกาวานาตัวเล็ก


(2) สปริงกาวานาตัวใหญ (5) คันควบคุมความเร็ว
(3) คันกามปู (6) แผนควบคุมความเร็ว
9Y1210365ENS0037TH0

1-S40
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
มูเลขับสายพานพัดลม
1. ล็อกลอชวยแรงดวยตัวหยุดการหมุนเพื่อไมใหลอหมุน
2. ถอดนอตยึดมูเลขับสายพาน (1) โดยใชประแจกระบอกลึก 46 มม. (3)
3. ถอดมูเ ลขับสายพาน (2) โดยใชเหล็กดูดเฟอง (4)
4. ถอดลิ่มขัดมูเล
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีบนรองฟนขอตอ
138 ถึง 156 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตยึดมูเลขับสายพานพัดลม 14.0 ถึง 16.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
102 ถึง 115 ปอนดแรง·ฟุต

(1) นอต (3) ประแจกระบอกลึก 46 มม.


(2) มูเลขบั สายพานพัดลม (4) เหล็กดูดฟนเฟอง
9Y1210365ENS0092TH0

เสื้อเกียร
1. ถอดเสื้อเกียรดานมิเตอรวัดชั่วโมง
2. ถอดเสื้อเกียร (2)
3. ถอดแหวนยาง (1) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาปะเก็นเหลว (ทรีบอนด 1215 หรือเทียบเทา) บนปะเก็นหองเกียรดานมิเตอรวัด
ชั่วโมงทั้งสองดาน
• ตรวจเช็ความีแหวนยางสี่ตัว (1) ดานในของเสื้อเกียร (2) หรือไม
• ชโลมน้ํามันเครื่องบางๆ ลงบนซีลกันน้ํามัน (3) จากนั้น ประกอบชิ้นสวนโดย
ปาดสวนที่ซึมออกมา
• ทากาวแบบแหงชากอนจะประกอบปะเก็นหองเกียร
(1) แหวนยาง (3) ซีลกันน้ํามัน
(2) เสือ้ เกียร
9Y1210365ENS0038TH0

1-S41
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
วาลวระบายแรงดัน
1. ถอดสกรูยึดฝาครอบ (1) และฝาครอบ (3)
2. ถอดหมวกวาลว (4), ลูกปน (5) และสปริง (6)
หมายเหตุ
• ปรับวาลวระบายแรงดันไมได
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ชโลมน้ํามันบนแหวนยาง (2)
34.1 ถึง 34.5 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยึดฝาครอบ 3.48 ถึง 3.51 กิโลกรัมแรง·เมตร
25.2 ถึง 25.4 ปอนดแรง·ฟุต

(1) สกรูยึดฝาครอบ (4) หมวกวาลว


(2) แหวนยาง (5) ลูกปน
(3) ฝาครอบ (6) สปริง
9Y1210365ENS0109TH0
สายพานขอเหวี่ยงเครื่องจักร
1. ถอดลิ่มขัดมูเล
2. ถอดแหวนรองเพลาขอเหวี่ยง (3) ออก
3. ถอดแหวนยาง (2) ออก
4. ถอดสายพานขอเหวี่ยงเครื่องจักร (1)
(1) สายพานขอเหวี่ยงเครือ่ งจักร (3) แหวนรองเพลาขอเหวี่ยง
(2) แหวนยาง
9Y1210365ENS0039TH0
เฟองสะพาน
1. ถอดแหวนล็อกดานนอก
2. ถอดแหวนรองเฟองสะพาน
3. ถอดเฟองสะพาน
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ตรวจดูวาเฟองแตละตัวอยูตรงกันกับมารคหรือไม
1 มารค: เฟองสะพานและเฟองขอเหวี่ยง, เฟองลูกเบี้ยวกับเฟองเพลาสมดุล
2 มารค: เฟองลูกเบี้ยวกับเฟองสะพาน
3 มารค: เฟองสะพานกับเฟองปมน้ํามันเชื้อเพลิง
4 มารค: เฟองสะพานกับเฟองเพลาสมดุล
(1) เฟองปมน้ํามันเชื้อเพลิง A: 1 มารค
(2) เฟองสะพาน B: 2 มารค
(3) เฟองลูกเบี้ยว C: 3 มารค
(4) เฟองเพลาสมดุล D: 4 มารค
(5) เฟองขอเหวีย่ ง
(6) เฟองขับปมน้ํามันเครื่อง
(7) เฟองเพลาสมดุล
9Y1210365ENS0040TH0

1-S42
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
เพลาลูกเบี้ยวและเพลาสมดุล
1. ถอดโบลตล็อกเพลาลูกเบี้ยว แลวดึงเพลาลูกเบี้ยว (1) ออก
2. ถอดโบลตยึดเพลาสมดุล 1 (2) และดึงเพลาสมดุล 1 (2) ออกมา
3. ถอดโบลตยึดเพลาสมดุล 2 (3) และดึงเพลาสมดุล 2 (3) ออกมา
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ขณะที่ทําการประกอบเพลาสมดุล 1 และ 2 ตองหมุนใหลูกสูบในกระบอกสูบที่ 4
อยูที่ตําแหนงศูนยตายบนในจังหวะอัดเสมอ จากนั้นทําการจัดมารคบนเฟอง
แตละตัวใหตรงกัน เพื่อประกอบชุดเฟองตั้งจังหวะการทํางาน แลวจึงทําการจัด
เฟองสะพานใหเขาที่เปนลําดับสุดทาย
24 ถึง 27 นิวตัน·เมตร
โบลตล็อกเพลาลูกเบี้ยว 2.4 ถึง 2.8 กิโลกรัมแรง·เมตร
18 ถึง 20 ปอนดแรง·ฟุต
คาแรงขัน
24 ถึง 27 นิวตัน·เมตร
โบลตล็อกเพลาสมดุล 2.4 ถึง 2.8 กิโลกรัมแรง·เมตร
18 ถึง 20 ปอนดแรง·ฟุต

(1) เพลาลูกเบี้ยว (3) เพลาสมดุล 2


(2) เพลาสมดุล 1
9Y1210365ENS0093TH0
ลูกเบี้ยวปมน้ํามันเชื้อเพลิงและชุดคันกามปู
1. ถอดปมปอนน้ํามันเชื้อเพลิง
2. ถอดแผนล็อกเพลาลูกเบี้ยวปมน้ํามันเชื้อเพลิง (1)
3. ถอดสกรูยึดตัวยึดคันกามปูสามตัว (2)
4. ดึงเพลาลูกเบี้ยวปมน้ํามันเชื้อเพลิง (5), (6) และชุดคันกามปู (3), (4), (7)
ออกพรอมกัน
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• หลังการประกอบ ตรวจเช็คดูวาคันกามปู 1 (3) และคันกามปู 2 (4) ยึดแนนอยูกับ
เพลากามปู และคันกามปูทั้งสองตําแหนงสามารถหมุนไปมาภายในตัวยึด (7)
ไดอยางราบรื่น
(1) แผนล็อกเพลาลูกเบี้ยวปมน้ํามันเชื้อเพลิง (5) เฟองปมน้ํามันเชื้อเพลิง
(2) สกรูยึดตัวยึดคันกามปู (6) ลูกเบี้ยวปมน้ํามันเชื้อเพลิง
(3) คันกามปู 1 (7) ตัวยึดคันกามปู
(4) คันกามปู 2
9Y1210365ENS0094TH0

ปมน้ํามันเครื่อง
1. ถอดนอต
2. ถอดเฟองขับปมน้ํามันเครื่อง (2) กับเหล็กดูดฟนเฟอง (1)
3. ถอดสกรูยึดปมน้ํามันเครื่องสี่ตัวออก ถอดปมน้ํามันเครื่อง (3)
(1) เหล็กดูดฟนเฟอง (3) ปมน้ํามันเครื่อง
(2) เฟองขับปมน้ํามันเครื่อง
9Y1210365ENS0095TH0

1-S43
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
เฟองขอเหวี่ยง
1. ดึงเฟองขอเหวี่ยง (2) โดยใชมูเล (1)
2. ถอดลิ่มขัดมูเล
(1) มูเลสําหรับเพลา (2) เฟองขอเหวี่ยง
9Y1210365ENS0096TH0

[4] ลูกสูบและกานสูบ
อางน้ํามันเครื่องและตะแกรงกรองน้ํามันเครื่อง
1. ถอดสกรูยึดอางน้ํามันเครื่อง
2. ถอดอางน้ํามันเครื่อง (3) โดยใชคอนไมเคาะที่ขอบอางเบาๆ
3. ถอดปะเก็นอางน้ํามันเครื่อง (2)
4. ถอดตะแกรงกรองน้ํามันเครื่อง (1) และแหวนยาง (4) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• เมื่อทําความสะอาดตะแกรงกรองน้ํามันเครื่อง (1) แลว ตรวจดูวาตะแกรงของ
ไสกรองสะอาดดีแลว แลวจึงประกอบชิ้นสวน
• ตรวจเช็คแหวนยาง (4) ดวยตาเปลา ชโลมน้ํามันเครื่อง แลวประกอบ
• ประกอบแหวนยาง (4) กับตะแกรงกรองน้ํามันเครื่อง (1)
• ทาปะเก็นเหลว (ทรีบอนด 1215 หรือเทียบเทา) เฉพาะบนปะเก็น (2) ดานอาง
น้ํามันเครื่อง
• ขันสกรูยึดอางน้ํามันเครื่องตามแนวทแยงมุมโดยเริ่มจากตรงกลาง เพื่อใหแรงขัน
สม่ําเสมอ
(1) ตะแกรงกรองน้ํามันเครือ่ ง (3) อางน้ํามันเครื่อง
(2) ปะเก็นอางน้ํามัน (4) แหวนยาง
9Y1210365ENS0097TH0

1-S44
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ลูกสูบ
1. ทําความสะอาดเขมาคารบอน (1) ที่อยูในกระบอกสูบออกใหหมด
2. ถอดประกับกานสูบ (3) ออก
3. หมุนลอชวยแรงจนลูกสูบอยูที่ตําแหนงศูนยตายบน
4. ดึงลูกสูบขึ้นดานบนโดยการเคาะเบาๆ จากดานลางของหองเพลาขอเหวี่ยงดวย
ดามไมคอน
5. ดึงลูกสูบลูกอื่นออกมาโดยใชวิธีการเดียวกันกับที่กลาวมาขางตน
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ชโลมน้ํามันเครื่องที่ลูกสูบใหทั่วกอนใสลูกสูบเขาไปในกระบอกสูบ
• หันมารคที่กานสูบไปทางปมน้ํามันเชื้อเพลิง แลวจึงใสลูกสูบ
ขอสําคัญ
• หามใสลูกสูบกับกระบอกสูบสลับตําแหนงเดิม ใหทําเครื่องหมายไวกอนการถอด
เชน มารค “1” เปนของสูบ 1
• วางแหวนลูกสูบโดยที่ชองวางอยูที่ 2.09 เรเดียน (120 °) จากทิศทางของสลักลูกสูบ
ตามที่แสดงในภาพ
• ใชตัวชวยใสแหวนสูบ (7) เพื่อใสลูกสูบเขากระบอกสูบอยางระมัดระวัง
• ระหวางใสลูกสูบ ระวังอยาใหโมลิบดีนัมไดซัลไฟดที่เคลือบบริเวณกระโปรง
เสียหาย สารเคลือบนี้มีหนาที่ลดระยะหางระหวางผิวกระบอกสูบใหนอยทีส่ ุด
ในชวงเวลาหลังจากใชตัวชวยใสแหวนสูบเพื่อใสแหวนลูกสูบไมนาน ลูกสูบจะ
รอนและทําใหสารเคลือบนี้หลุดออกมาไดงาย ใหรอจนกวาลูกสูบจะเย็นตัวลง
• เมื่อจะเปลี่ยนลูกสูบ ใหดูรหัสตัวเลข (6) ทีท่ ําเครื่องหมายไวที่ดานบนของลูกสูบ
ใชอะไหลลูกสูบที่มีรหัสตัวเลขเดียวกัน

44.1 ถึง 49.0 นิวตัน·เมตร


คาแรงขัน สกรูยดึ กานสูบ 4.5 ถึง 5.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
32.5 ถึง 36.2 ปอนดแรง·ฟุต

(1) คารบอน (A) ปากแหวนตัวที่ 1


(2) สกรูยึดกานสูบ (B) ปากแหวนตัวที่ 2
(3) ประกับกานสูบ (C) ปากแหวนกวาดน้ํามัน
(4) กานสูบ (D) รูสลักลูกสูบ
(5) โมลิบดีนัมไดซัลไฟดที่กระโปรงลูกสูบ
(6) รหัสตัวเลข (a) 2.09 เรเดียน (120 °)
(7) แหวนสูบ
9Y1210383ENS0032TH0

1-S45
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
แหวนลูกสูบและกานสูบ
1. ถอดแหวนลูกสูบ (1), (2), (3) โดยใชคีมถางแหวนลูกสูบ
2. ถอดสลักลูกสูบ (8) และถอดแยกกานสูบ (6) ออกจากลูกสูบ (5)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ประกอบแหวนลูกสูบโดยใหมารคของผูผลิต (12) อยูดานบนหัวลูกสูบ (5)
• ขณะใสแหวนกวาดน้ํามัน (3) ลงบนลูกสูบ (5) ใหประกอบขอตอควบคุมการ
ขยายตัว (10) ในแหวนกวาดน้ํามัน โดยรัดใหรอยตอขอตอควบคุมการขยายตัวอยู
ดานตรงขามกับปากแหวนกวาดน้ํามัน (11)
• ชโลมน้ํามันเครื่องที่สลักลูกสูบ (8)
• กอนจะประกอบกานสูบ (6) เขากับลูกสูบ (5) ใหแชลูกสูบ (5) ในน้ํามันเครื่องที่มี
อุณหภูมิ 80 °C (176°F) เปนเวลาประมาณ 10-15 นาที แลวจึงใสสลักลูกสูบ (8)
เขากับลูกสูบ (5)
• ประกอบลูกสูบ (5) เขากับกานสูบ (6) โดยใหมารค FW (9) หันไปดานลอชวยแรง
และมารคกานสูบ (7) หันไปดานปมจายน้ํามัน
หมายเหตุ
• มารคตัวเลขบนกานสูบ (6) และลูกสูบ (5) ใหเหมือนกัน เพื่อปองกันไมใหสลับ
กานสูบสลับกับลูกสูบอืน่
(1) แหวนลูกสูบตัวที่ 1 (7) มารค
(2) แหวนลูกสูบตัวที่ 2 (8) สลักลูกสูบ
(3) แหวนกวาดน้ํามัน (9) มารค FW
(4) แหวนล็อกสลักสูกสูบ (10) ขอตอควบคุมการขยายตัว
(5) ลูกสูบ (11) ปากแหวนกวาดน้ํามัน
(6) กานสูบ (12) มารคของผูผลิต
9Y1210383ENS0033TH0

1-S46
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

[5] เพลาขอเหวีย่ ง
ลอชวยแรง
1. ใชแผนล็อกลอชวยแรง (1) เพื่อยึดลอชวยแรงไมใหหมุน
2. ลําดับแรก ถอดสกรูยึดลอชวยแรง (2) ออกสองตัว
3. ใสสกรูนําศูนยตําแหนงลอชวยแรง (3) ลงในรู
4. ถอดสกรูยึดลอชวยแรง (2) ออกทั้งหมด
5. คอยหมุนลอชวยแรง (1) ออกไปตามสกรูนําศูนยตําแหนงลอชวยแรง (3)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ใสสกรูนําศูนยตําแหนงลอชวยแรง
• ตรวจสอบดูวาไมมเี ศษเหล็กหลงเหลืออยูบนพื้นผิวยึดลอชวยแรง
• ชโลมน้ํามันเครื่องบริเวณเกลียวและพื้นผิวตัดของโบลตยึดลอชวยแรง แลวจึง
ขันโบลต
98.1 ถึง 107 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยดึ ลอชวยแรง 10.0 ถึง 11.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
72.4 ถึง 79.5 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ลอชวยแรง (3) สกรูนําศูนยตําแหนงลอชวยแรง


(2) สกรูยึดลอชวยแรง
9Y1210365ENS0100TH0
ประกับแบริ่ง
1. ถอดสกรูยึดประกับแบริ่ง ลําดับแรก ถอดสกรูตวั ใน (5) แลวถอดสกรูตัวนอก (3)
2. ขันสกรูท่ถี อดออกทั้งสองตัวลงในรูสกรูของประกับแบริ่ง (6) เพื่อถอดออก
ขอสําคัญ
• ความยาวของสกรูตัวใน (5) และสกรูตัวนอก (3) ตองไมเหมือนกัน หามใชสกรู
ตัวในและสกรูตัวนอกสลับกัน
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ประกอบปะเก็นเสื้อลูกปน (1) และปะเก็นประกับแบริ่ง (2) ตามทิศทางที่ถูกตอง
• ประกอบประกับแบริ่ง (6) โดยหันดานที่มีมารค “UP” ขึ้น
• ชโลมน้ํามันเครื่องบนปากซีลกันน้ํามันและระวังอยาใหซีลหมุนขณะทําการ
ประกอบ
• ขันสกรูยึดประกับแบริ่งใหแนนตามลําดับแนวทแยงมุม
24 ถึง 27 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยดึ ประกับแบริง่ 2.4 ถึง 2.8 กิโลกรัมแรง·เมตร
18 ถึง 20 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ปะเก็นเสื้อลูกปน (5) สกรูยึดประกับแบริ่ง


(2) ปะเก็นประกับแบริง่ (6) ประกับแบริง่
(3) สกรูยึดประกับแบริง่
(4) ซีลกันน้ํามัน (a) หันขึ้นบน
9Y1210365ENS0101TH0

1-S47
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
เพลาขอเหวีย่ ง
หมายเหตุ
• กอนจะถอดแยกชิ้นสวน ใหตรวจสอบระยะรุนดานขางของเพลาขอเหวี่ยง ทั้งนี้
ใหตรวจเช็คในขณะประกอบกลับ
1. ถอดสกรูยึดประกับลูกปน 2 (1)
2. หมุนเพลาขอเหวี่ยงเพื่อปรับใหชาฟตกานสูบของกระบอกสูบที่ 4 อยูในแนวนอน
(ทางซายหรือทางขวา) จากนั้น ดึงเพลาขอเหวี่ยงทั้งหมดออก โดยใหชาฟตกานสูบ
อยูในแนวนอน (ทางซายหรือทางขวา)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
ขอสําคัญ
• ประกอบชุดเพลาขอเหวี่ยงยอย โดยปรับใหรูสกรูของประกับลูกปน 2 (2) ตรงกับ
รูสกรูของเสื้อสูบ
• เมื่อขันสกรูยึดประกับลูกปน 2 (1) ใหชโลมน้ํามันบนสกรูดวยมือเปลากอนทีจ่ ะขัน
ตามคาแรงขันที่กําหนด หากขันดวยมือไมสะดวก ใหปรับรูสกรูระหวางเสื้อสูบกับ
ประกับลูกปนใหตรงกัน
69 ถึง 73 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยึดประกับลูกปน 2 7.0 ถึง 7.5 กิโลกรัมแรง·เมตร
51 ถึง 54 ปอนดแรง·ฟุต

(1) สกรูยึดประกับลูกปน 2 (a) ตําแหนงตัดสําหรับถอดและประกอบ


(2) ประกับลูกปน 2 เพลาขอเหวี่ยง
(3) ชาฟตอก 1
9Y1210365ENS0102TH0

1-S48
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ชุดประกับลูกปน
1. ถอดสกรูยึดประกับลูกปน 1 (8) ทั้งสองตัวออก แลวถอดชุดประกับลูกปน
ระวังแบริ่งกันรุนและชาฟตอก
2. ถอดประกับลูกปน 1, 2 ตามที่กลาวไวขางตน
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทําความสะอาดทางเดินน้ํามันในประกับลูกปน
• ชโลมน้ํามันเครื่องที่สะอาดบนลูกปน
• ประกอบชุดประกับลูกปนลงในตําแหนงเดิม เนื่องจากเสนผานศูนยกลางของ
ประกับลูกปนแตกตางกัน จึงตองประกอบชิ้นสวนโดยเรียงลําดับตามมารค
(A, B, C) จากเสื้อเกียร
• ปรับใหมารคหมายเลข (1) และมารคจัดตําแหนง (2) บนประกับลูกปนตรงกัน
• เมือ่ ทําการประกอบประกับลูกปน 1 และ 2 ใหหันดานที่มีมารค “FLYWHEEL”
ไปทางดานลอชวยแรง
• ประกอบแบริ่งกันรุนโดยใหรองน้ํามัน (7) หันออกไปดานนอก
• เมือ่ ขันสกรูยึดประกับลูกปน 1 (8) ตามคาแรงขันที่กาํ หนดแลว ตรวจเช็คใหแนใจ
วาประกับอกเลื่อนไดอยางคลองตัว
46 ถึง 50 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยดึ ประกับลูกปน 1 4.7 ถึง 5.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
34 ถึง 37 ปอนดแรง·ฟุต

(1) มารคหมายเลข (5) C


(2) มารคจัดตําแหนง (6) ไมมมี ารค
(3) A (7) รองน้ํามัน
(4) B (8) สกรูยึดประกับลูกปน 1
9Y1210383ENS0035TH0

1-S49
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

7. การตรวจซอม
[1] ฝาสูบและวาลว
ชองวางบนหัวลูกสูบ
1. ถอดฝาสูบ
2. เลื่อนลูกสูบขึ้น แลวติดพลาสติกเกจ (2) ที่หัวลูกสูบทั้งสามตําแหนง
3. เลื่อนลูกสูบลง แลวประกอบฝาสูบ (ใชปะเก็นฝาสูบใหม แลวขันแนนตามคา
แรงขันที่กําหนดไว)
4. หมุนลอชวยแรงจนกวาลูกสูบจะเลยตําแหนงศูนยตายบน
5. ถอดฝาสูบ แลววัดความหนาโดยใชสเกล (3)
6. หากคาที่วัดไดไมอยูในคามาตรฐานที่กําหนดไว ใหตรวจเช็คระยะชองวางน้ํามัน
ระหวางขอกานตอกับชาฟตลูกสูบและระหวางสลักลูกสูบกับบุชกานสูบ
หมายเหตุ
• เมื่อตรวจเช็คชองวางบนหัวลูกสูบแลว อยาลืมประกอบฝาสูบกับปะเก็นฝาสูบใหม
0.60 ถึง 0.70 มม.
ชองวางบนหัวลูกสูบ คามาตรฐานที่กําหนด
0.0236 ถึง 0.0276 นิ้ว

93.2 ถึง 98.0 นิวตัน·เมตร


คาแรงขัน สกรูยึดฝาสูบ 9.50 ถึง 10.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
68.8 ถึง 72.3 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ลูกสูบ (3) สเกล


(2) พลาสติกเกจ
9Y1210383ENS0036TH0
ความโกงงอผิวหนาฝาสูบ
1. ทําความสะอาดผิวหนาฝาสูบอยางทั่วถึง
2. วางบรรทัดเหล็กใหดานสันลงบนผิวหนาฝาสูบเปนแนวสี่เหลี่ยมดาน (A), (B), (C)
และ (D) ทั้งสี่ดาน และแนวทแยงมุม (E) และ (F) 2 แนวดังรูป
3. วัดชองวางดวยฟลเลอรเกจ
4. ถาคาชองวางที่วัดไดเกินคาที่ยอมได ใหนำฝาสูบไปปาดผิวใหม
ขอสําคัญ
• หามวางบรรทัดเหล็กบนพื้นผิวหองเผาไหม
• หลังจากปาดผิวหนาฝาสูบแลว จะตองตรวจวัดคาความลึกหนาวาลวอีกครั้ง
0.05 มม. / 500 มม.
ความโกงงอผิวหนาฝาสูบ คามาตรฐานที่กําหนด
0.002 นิ้ว / 19.7 นิ้ว
9Y1210365ENS0105TH0

1-S50
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
รอยราวในฝาสูบ
1. จัดเตรียมสเปรยเช็ครอยราวสีแดง (รหัสเครื่องมือ 07909-31371)
2. ทําความสะอาดผิวหนาฝาสูบดวยน้ํายาลางทําความสะอาด (2)
3. ใชสเปรยเช็ครอยราวสีแดง (1) ฉีดใหทั่วบริเวณผิวหนาฝาสูบ ทิ้งไวใหแหง
ประมาณหาถึงสิบนาที
4. ลางสเปรยเช็ครอยราวสีแดงออกใหหมดดวยน้ํายาลางทําความสะอาด (2)
5. ฉีดน้ํายาเช็ครอยราวสีขาว (3) ลงบนผิวหนาฝาสูบ
6. ถาพบวามีคราบสีแดงปรากฏบนผิวหนาฝาสูบแสดงวามีรอยราว
(1) น้ํายาเช็ครอยราวสีแดง (3) น้ํายาเช็ครอยราวสีขาว
(2) น้ํายาลางทําความสะอาด
9Y1210365ENS0041TH0
ความลึกหนาวาลว
1. ทําความสะอาดผิวหนาฝาสูบ ผิวหนาวาลว และบาวาลว
2. สวมวาลวในปลอกวาลว
3. วัดระยะความลึกหนาวาลวดวยเกจวัดความลึก
4. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนวาลวใหม
5. หากเปลี่ยนวาลวใหมแลวยังวัดระยะไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนฝาสูบใหม
0.65 ถึง 0.85 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
0.026 ถึง 0.033 นิ้ว
ความลึกหนาวาลว
1.2 มม.
คาที่ยอมได
0.0472 นิ้ว

(1) ผิวหนาฝาสูบ (A) ต่ํากวาผิวหนาสูบ


(B) สูงกวาผิวหนาสูบ
9Y1210383ENS0038TH0

ชองวางระหวางกานวาลวและปลอกนําวาลว
1. ขูดคารบอนบริเวณปลอกนําวาลวออกใหหมด
2. วัดความโตภายนอกของกานวาลวดวยไมโครมิเตอรวัดนอก
3. วัดความโตภายในปลอกนําวาลวดวยเหล็กวัดรู แลวคํานวณระยะหาง
4. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนวาลวใหม หากคาที่วัดใหมยังเกินจาก
คาที่ยอมได ใหเปลี่ยนปลอกนําวาลวใหม
0.040 ถึง 0.070 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ชองวางระหวางกานวาลวและ 0.0016 ถึง 0.0027 นิ้ว
ปลอกนําวาลว 0.1 มม.
คาที่ยอมได
0.004 นิ้ว

ความโตภายนอกของกาน 7.960 ถึง 7.975 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
วาลว 0.3134 ถึง 0.3139 นิ้ว
ความโตภายในของปลอกนํา 8.015 ถึง 8.030 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
วาลว 0.3156 ถึง 0.3161 นิ้ว
9Y1210365ENS0043TH0

1-S51
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
การเปลี่ยนปลอกนําวาลว
(เมื่อทําการถอด)
1. ตอกอัดปลอกนําวาลวที่ใชแลวออกมาโดยใชเครื่องมือเปลี่ยนปลอกวาลว
(เมื่อทําการประกอบ)
1. ทําความสะอาดปลอกนําวาลวและรูปลอกนําวาลวอันใหม แลวชโลมดวยน้ํามัน
เครื่องใหทั่ว
2. กดปลอกนําวาลวอันใหมเขาไปโดยใชเครื่องมือเปลี่ยนปลอกวาลว
3. การควานรูเสนผานศูนยกลางดานในปลอกนําวาลวตองทําอยางประณีต และใหได
คาตามมาตรฐานที่กําหนด
เสนผานศูนยกลางภายใน
8.015 ถึง 8.030 มม.
ปลอกนําวาลว คามาตรฐานที่กําหนด
0.3156 ถึง 0.3161 นิ้ว
(ไอดีและไอเสีย)
ขอสําคัญ
• ระหวางการเปลี่ยน หามใชคอนตอกทีป่ ลอกนําวาลวโดยตรง
(A) เมือ่ ทําการถอด (B) เมื่อทําการประกอบ
9Y1210365ENS0044TH0
บาวาลว
1. ทาน้ํายาตรวจเช็คหนาสัมผัสสีน้ําเงินบนผิวหนาวาลวบางๆ แลววางวาลวบนบา
เพื่อตรวจเช็คการสัมผัส
2. หากวาลวเกาะบนบาวาลวไมสนิทหรือการสัมผัสของวาลวนอยกวา 70% ใหปรับ
บาวาลวใหมดังนี้
3. หากหนาสัมผัสวาลวไมตรงกับคาวาลวอางอิง ใหเปลี่ยนวาลวใหมหรือปรับหนา
สัมผัสบาวาลว
2.12 มม.
ความกวางบาวาลว คามาตรฐานที่กําหนด
0.0835 นิ้ว

(1) ถูกตอง (3) ไมถูกตอง


(2) ไมถูกตอง
9Y1210383ENS0039TH0

1-S52
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
การปาดวาลวและบาวาลว
หมายเหตุ
• ตรวจเช็คกานวาลว และความโตในของปลอกนําวาลว กอนปาดบาวาลวและวาลว
หากพบวาชํารุดใหแกไขทันที
• หลังจากทําการปาดบาวาลวเสร็จ ใหเช็คความลึกหนาวาลวอีกครั้ง
1) การเจียรวาลว
1. เจียรวาลวใหถูกตองดวยเครื่องเจียรวาลว
0.785 เรเดียน
ชุดใน
คามาตรฐาน 45 °
มุมหนาตัดของวาลว
ที่กําหนด 0.785 เรเดียน
ชุดนอก
45 °
2) การปาดบาวาลว
1. ปาดบาวาลวดวยชุดปาดหนามุมบาวาลวใหไดมุม 0.785 เรเดียน (45 °)
2. ปาดบาวาลวอีกครั้งโดยใชชุดปาดหนามุมบาวาลวปาดบาวาลวไอเสีย
0.262 เรเดียน (15 °) เพื่อใหความกวางใกลเคียงกับความกวางบาวาลวที่กําหนด
(2.12 มม., 0.0835 นิ้ว)
3. หลังจากปาดวาลวและบาวาลวแลว ใหตรวจเช็คความเรียบของบาวาลว โดยใช
น้ํามันเครื่องทาบางๆ ที่หนาสัมผัสวาลวและบาวาลว แลวทําจังหวะเหลื่อมของการ
เปดปดวาลวใหหนาสัมผัสเรียบเสมอกัน
4. ตรวจสภาพหนาสัมผัสบาวาลวดวยน้ํายาตรวจเช็คหนาสัมผัส (สีน้ําเงินเขม)
ผลที่ไดควรจะดีขึ้นจากการตรวจสภาพครั้งแรก
0.785 เรเดียน
ชุดใน
คามาตรฐาน 45 °
มุมหนาตัดของวาลว
ที่กําหนด 0.785 เรเดียน
ชุดนอก
45 °

(a) ขนาดเทากัน (A) ตรวจสภาพหนาสัมผัส


(b) ความกวางบาวาลว (B) ปรับความกวางบาวาลว
(c) 0.262 เรเดียน (15 °) หรือ (C) ตรวจสภาพหนาสัมผัส
0.523 เรเดียน (30 °)
(d) 0.785 เรเดียน (45 °) หรือ
1.047 เรเดียน (60 °)
(e) 0.523 เรเดียน (30 °) หรือ
0.262 เรเดียน (15 °)
9Y1210383ENS0040TH0

1-S53
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
จังหวะเหลื่อมของการเปดปดวาลว
1. ทากากเพชรบางๆ ที่หนาสัมผัสของวาลวอยางสม่ําเสมอ
2. สวมวาลวในปลอกนําวาลว ใชปกเปดปดของวาลวหรือไขควงทําจังหวะเหลื่อม
ของการเปดปดวาลว
3. หลังจากทําจังหวะเหลื่อมของการเปดปดวาลวเรียบรอยแลว ใหลางทํา
ความสะอาดและทําจังหวะเหลื่อมของการเปดปดวาลวดวยน้ํามันเครื่องอีกครั้ง
4. ใชน้ํายาตรวจเช็คหนาสัมผัสวาลว (สีน้ําเงินเขม) เพื่อเช็คดูหนาสัมผัส
หากนอยกวา 70% ใหทําจังหวะเหลื่อมของการเปดปดวาลวใหม
ขอสําคัญ
• ทุกครั้งที่มีจังหวะเหลื่อมของการเปดปดวาลว ตองตรวจเช็คความสึกของ
หนาวาลว และทําการปรับตั้งระยะหางวาลวหลังจากการประกอบดวย
9Y1210365ENS0047TH0
ความยาวอิสระและระดับเยื้องศูนยของสปริงวาลว
1. วัดระยะความยาวอิสระ (B) ของสปริงวาลวดวยเวอรเนีย หากคาที่วัดไดนอยกวา
คาที่ยอมได ใหเปลี่ยนใหม
2. วางสปริงวาลวบนโตะระดับเหล็ก แลวนําเหล็กฉากมาวางที่ดานขางของ
สปริงวาลว
3. ตรวจเช็ควาดานขางของสปริงวาลวทั้งหมดสัมผัสกับเหล็กฉากหรือไม
หมุนตัวสปริงวาลวไปรอบๆ และวัดระดับเอียงจากเหล็กฉากมากที่สุด (A)
ตรวจเช็ครอยขีดขวนบนผิวสปริงวาลวโดยรอบ
หากพบวาชํารุด ใหเปลี่ยนใหม
41.7 ถึง 42.2 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
1.65 ถึง 1.66 นิ้ว
ความยาวอิสระ (B)
41.2 มม.
คาที่ยอมได
1.62 นิ้ว

1.0 มม.
ระดับเยือ้ งศูนย (A) คาที่ยอมได
0.039 นิ้ว

(A) ระดับเยือ้ งศูนย (B) ความยาวอิสระ


9Y1210365ENS0048TH0
ภาระทีก่ ําหนดของสปริงวาลว
1. วางสปริงวาลวลงบนแทนวัด แลวกดดวยระยะที่เทากับการใชงานจริงใน
เครื่องยนต
2. อานคาความแข็งที่ไดบนเกจวัด
3. หากคาที่วัดไดนอยกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนใหม
118 นิวตัน / 35 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด 12.0 กิโลกรัมแรง / 35 มม.
ภาระที่กําหนด / 26.5 ปอนดแรง / 1.4 นิ้ว
ความยาวที่กําหนด 100.0 นิวตัน / 35 มม.
คาที่ยอมได 10.2 กิโลกรัมแรง / 35 มม.
22.5 ปอนดแรง / 1.4 นิ้ว
9Y1210365ENS0049TH0

1-S54
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ชองวางน้ํามันระหวางกระเดื่องกดลิ้นกับเพลากระเดื่องกดลิ้น
1. วัดความโตภายนอกของเพลากระเดื่องกดลิ้นดวยไมโครมิเตอรภายนอก
2. วัดความโตภายนอกของกระเดื่องกดลิ้นดวยไมโครมิเตอรภายใน แลวคํานวณหา
ระยะชองวางน้ํามัน
3. หากระยะชองวางน้ํามันเกินคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนกระเดื่องกดลิ้นใหม และวัด
ระยะชองวางน้ํามันอีกครั้ง หากคาที่วัดไดยังเกินคาที่ยอมไดอีก ใหเปลี่ยนเพลา
กระเดื่องกดลิ้น
0.016 ถึง 0.045 มม.
ชองวางน้ํามันระหวาง คามาตรฐานที่กําหนด
0.00063 ถึง 0.0017 นิ้ว
กระเดื่องกดลิ้นกับเพลา
กระเดื่องกดลิ้น 0.10 มม.
คาที่ยอมได
0.0039 นิ้ว

ความโตภายนอกของเพลา 13.973 ถึง 13.984 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
กระเดื่องกดลิ้น 0.55012 ถึง 0.55055 นิ้ว
14.000 ถึง 14.018 มม.
ความโตภายในกระเดื่องกดลิ้น คามาตรฐานที่กําหนด
0.55119 ถึง 0.55188 นิ้ว
9Y1210365ENS0050TH0
การปรับกานกระทุง
1. วางกานกระทุงบนแทนเหล็กตัววี
2. วัดระยะโกงงอของกานกระทุง
3. หากคาที่วัดไดเกินคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนกานกระทุงใหม
0.25 มม.
การปรับกานกระทุง คาที่ยอมได
0.0098 นิ้ว
9Y1210365ENS0051TH0

ชองวางน้ํามันระหวางลูกกระทุงลิ้นและรูปลอกลูกกระทุงลิ้น
1. วัดความโตภายนอกของลูกกระทุงลิ้นดวยไมโครมิเตอรภายนอก
2. วัดความโตภายในของรูปลอกกระทุงลิ้นดวยเกจวัดกระบอกสูบ แลวคํานวณ
ชองวางน้ํามัน
3. หากคาที่วัดไดเกินคาที่ยอมได หรือลูกกระทุงลิ้นชํารุด ใหเปลี่ยนลูกกระทุงลิ้น
ใหม
0.020 ถึง 0.062 มม.
ชองวางน้ํามันระหวาง คามาตรฐานที่กําหนด
0.00079 ถึง 0.0024 นิ้ว
ลูกกระทุงลิ้นและรูปลอก
ลูกกระทุงลิ้น 0.07 มม.
คาที่ยอมได
0.003 นิ้ว

ความโตภายนอกของ 23.959 ถึง 23.980 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
ลูกกระทุงลิ้น 0.94327 ถึง 0.94409 นิ้ว
ความโตภายในของรูปลอก 24.000 ถึง 24.021 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ลูกกระทุงลิ้น 0.94489 ถึง 0.94570 นิ้ว
9Y1210365ENS0052TH0

1-S55
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

[2] ชุดเฟองตั้งจังหวะการทํางาน, เพลาลูกเบี้ยว และลูกเบี้ยวปมน้ํามันเชื้อเพลิง


ระยะฟนเฟองชุดเฟองตั้งจังหวะการทํางาน
1. ติดตั้งไดอัลเกจ (ชนิดปรับแขนได) ที่ขอบฟนเฟอง
2. จับเฟองตัวที่ขบกันอยูใหอยูกับที่ แลวขยับเฟองที่ชุดไดอัลเกจสัมผัสอยูไปมา
เพื่อวัดระยะชองวาง
3. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเช็คระยะชองวางน้ํามันของเพลาและ
เฟองเกียร
4. หากคาระยะชองวางน้ํามันอยูในคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนเฟองใหม
0.04150 ถึง 0.1122 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ระยะฟนเฟองระหวางเฟอง 0.00164 ถึง 0.004417 นิ้ว
สะพานกับเฟองขอเหวี่ยง 0.15 มม.
คาที่ยอมได
0.0059 นิ้ว

0.04150 ถึง 0.1154 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
ระยะฟนเฟองระหวางเฟอง 0.001634 ถึง 0.004543 นิ้ว
ลูกเบี้ยวกับเฟองสะพาน 0.15 มม.
คาที่ยอมได
0.0059 นิ้ว

0.04150 ถึง 0.1154 มม.


ระยะฟนเฟองระหวางเฟอง คามาตรฐานที่กําหนด
0.00163 ถึง 0.00454 นิ้ว
สะพานกับเฟองปมน้ํามัน
เชื้อเพลิง 0.15 มม.
คาที่ยอมได
0.0059 นิ้ว

0.0415 ถึง 0.109 มม.


ระยะฟนเฟองระหวางเฟอง คามาตรฐานที่กําหนด
0.00164 ถึง 0.00429 นิ้ว
ขอเหวี่ยงกับเฟองปม
น้ํามันเครื่อง 0.15 มม.
คาที่ยอมได
0.0059 นิ้ว

0.0350 ถึง 0.116 มม.


ระยะฟนเฟองระหวางเฟอง คามาตรฐานที่กําหนด
0.00138 ถึง 0.00456 นิ้ว
สะพานกับเกียรสมดุล
(ดานไอดี) 0.15 มม.
คาที่ยอมได
0.0059 นิ้ว

0.0350 ถึง 0.116 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
ระยะฟนเฟองลูกเบี้ยวกับเกียร 0.00138 ถึง 0.00456 นิ้ว
สมดุล (เฟองชุดนอก) 0.15 มม.
คาที่ยอมได
0.0059 นิ้ว
9Y1210365ENS0053TH0
ระยะรุนดานขางเฟองสะพาน
1. ติดตั้งไดอัลเกจที่ขอบฟนเฟองสะพาน
2. วัดระยะรุนดานขางโดยขยับเฟองสะพานไปดานหนาและดานหลัง
3. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนแหวนรองเฟองสะพานใหม
0.12 ถึง 0.48 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
0.0048 ถึง 0.018 นิ้ว
ระยะรุนดานขางเฟองสะพาน
0.9 มม.
คาที่ยอมได
0.035 นิ้ว
9Y1210365ENS0054TH0

1-S56
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ระยะรุนดานขางเพลาลูกเบี้ยว
1. ติดตัง้ ไดอัลเกจที่ขอบเพลาลูกเบี้ยว
2. วัดระยะรุนดานขางโดยขยับเฟองลูกเบี้ยวไปดานหนาและดานหลัง
3. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนแผนล็อกเพลาลูกเบี้ยวใหม
0.07 ถึง 0.22 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
0.0028 ถึง 0.0088 นิ้ว
ระยะรุนดานขางเพลาลูกเบี้ยว
0.30 มม.
คาที่ยอมได
0.012 นิ้ว
9Y1210365ENS0055TH0
ระยะรุนดานขางเพลาสมดุล
1. ติดตัง้ ไดอัลเกจที่ขอบเพลาสมดุล
2. วัดระยะรุนดานขางโดยขยับเพลาสมดุลไปดานหนาและดานหลัง
3. หากคาที่วัดไดเกินคาที่ยอมรับได ใหเปลี่ยนเพลาสมดุลใหม
0.07 ถึง 0.22 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
0.0028 ถึง 0.0086 นิ้ว
ระยะรุนดานขางเพลาสมดุล
0.30 มม.
คาที่ยอมได
0.012 นิ้ว
9Y1210365ENS0056TH0

1-S57
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ชองวางน้ํามันของเพลาสมดุล
1. วัดความโตภายนอกของเพลาสมดุลดวยไมโครมิเตอรภายนอก
2. วัดความโตภายในกระบอกเสื้อสูบสําหรับเพลาสมดุลโดยใชไมโครมิเตอรภายใน
หรือเกจวัดกระบอกสูบ
3. หากระยะหางที่วัดไดเกินคาที่ยอมรับได ใหเปลี่ยนเพลาสมดุลใหม
0.030 ถึง 0.111 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ชองวางน้ํามันของเพลา 0.00119 ถึง 0.00437 นิ้ว
สมดุล 1 0.20 มม.
คาที่ยอมได
0.0079 นิ้ว

ความโตภายนอกของเพลา 43.934 ถึง 43.950 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
สมดุล 1 1.7297 ถึง 1.7303 นิ้ว
ความโตภายในของลูกปน 43.980 ถึง 44.045 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
เพลาสมดุล 1 1.7315 ถึง 1.7340 นิ้ว

0.030 ถึง 0.111 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
ชองวางน้ํามันของเพลา 0.00119 ถึง 0.00437 นิ้ว
สมดุล 2 0.2 มม.
คาที่ยอมได
0.0079 นิ้ว

ความโตภายนอกของเพลา 41.934 ถึง 41.950 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
สมดุล 2 1.6510 ถึง 1.6515 นิ้ว
ความโตภายในของลูกปน 41.980 ถึง 42.045 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
เพลาสมดุล 2 1.6528 ถึง 1.6553 นิ้ว

0.020 ถึง 0.094 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
ชองวางน้ํามันของเพลา 0.00079 ถึง 0.0037 นิ้ว
สมดุล 3 0.2 มม.
คาที่ยอมได
0.0079 นิ้ว

ความโตภายนอกของเพลา 21.947 ถึง 21.960 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
สมดุล 3 0.86406 ถึง 0.86456 นิ้ว
ความโตภายในของลูกปน 21.980 ถึง 22.041 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
เพลาสมดุล 3 0.86536 ถึง 0.86775 นิ้ว

(1) ขอเพลาสมดุลตัวที่ 1 (3) ขอเพลาสมดุลตัวที่ 3


(2) ขอเพลาสมดุลตัวที่ 2
9Y1210365ENS0057TH0

1-S58
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ชองวางน้ํามันระหวางเพลาเฟองสะพานกับบุชเฟืองสะพาน
1. วัดความโตภายนอกของเพลาเฟองสะพานดวยไมโครมิเตอรภายนอก
2. วัดความโตภายในบุชเฟองสะพานดวยไมโครมิเตอรภายใน แลวคํานวณหาคา
ชองวางน้ํามัน
3. หากคาที่วัดไดเกินกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนบุชใหม
0.025 ถึง 0.066 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ชองวางระหวางเพลาเฟอง 0.00099 ถึง 0.0025 นิ้ว
สะพานกับบุชเฟองสะพาน 0.1 มม.
คาที่ยอมได
0.0039 นิ้ว

ความโตภายนอกเพลาเฟอง 37.959 ถึง 37.975 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
สะพาน 1.4945 ถึง 1.4950 นิ้ว
ความโตภายในบุชเฟอง 38.000 ถึง 38.025 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
สะพาน 1.4961 ถึง 1.4970 นิ้ว
9Y1210365ENS0058TH0
การเปลี่ยนบุชเฟองสะพาน
(A) (ขณะถอดออก)
1. อัดบุชเฟองสะพานออก โดยใชเหล็กสง
(B) (ขณะประกอบ)
1. ทําความสะอาดบุชและรูบุช แลวชโลมดวยน้ํามันเครื่องใหทั่ว
2. ดันบุชอันใหม (ชิ้นสวนบริการ) ตามคามาตรฐานทีกําหนดโดยใชเครื่องมือเปลี่ยน
บุชเฟองสะพาน (ดังรูป)
(A) เมื่อทําการถอด (B) เมื่อทําการประกอบ
9Y1210365ENS0059TH0

ความโกงงอของเพลาลูกเบี้ยว
1. วางเพลาลูกเบี้ยวกับแทนเหล็กตัววีบนโตะระดับเหล็กโดยที่ปลายเพลาทั้งสองขาง
อยูบนรองตัววี
2. ติดตัง้ ชุดไดอัลเกจโดยใหเข็มของเกจอยูบนขออกของเพลาลูกเบี้ยว
3. วัดคาเยื้องศูนย
4. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนเพลาลูกเบี้ยวใหม
0.01 มม.
ความโกงงอของเพลาลูกเบี้ยว คาที่ยอมได
0.0004 นิ้ว
9Y1210365ENS0060TH0

1-S59
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ความสูงลูกเบี้ยว
1. วัดความสูงของลูกเบี้ยวโดยใชไมโครมิเตอรภายนอก
2. หากคาที่วัดไดนอยกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนเพลาลูกเบี้ยวใหม
33.90 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
1.335 นิ้ว
ความสูงของลูกเบี้ยวดานไอดี
33.85 มม.
คาที่ยอมได
1.333 นิ้ว

33.90 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ความสูงของลูกเบี้ยวดาน 1.335 นิ้ว
ไอเสีย 33.85 มม.
คาที่ยอมได
1.333 นิ้ว
9Y1210365ENS0061TH0
ชองวางน้ํามันขอเพลาลูกเบี้ยว
1. วัดความโตภายนอกของขอเพลาลูกเบี้ยวดวยไมโครมิเตอรภายนอก
2. วัดความโตภายในของรูที่เสื้อสูบของเพลาลูกเบี้ยวดวยเกจวัดกระบอกสูบ
แลวคํานวณชองวางน้ํามัน
3. หากชองวางน้ํามันเครื่องเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนเพลาลูกเบี้ยวใหม
0.050 ถึง 0.091 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
0.0020 ถึง 0.0035 นิ้ว
ชองวางน้ํามันขอเพลาลูกเบี้ยว
0.15 มม.
คาที่ยอมได
0.0059 นิ้ว

ความโตภายนอกของขอเพลา 39.934 ถึง 39.950 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
ลูกเบี้ยว 1.5722 ถึง 1.5728 นิ้ว
ความโตภายในกระบอก 40.000 ถึง 40.025 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
เสือ้ สูบ 1.5748 ถึง 1.5757 นิ้ว
9Y1210365ENS0062TH0

[3] ลูกสูบและกานสูบ
ความโตภายในรูสลักลูกสูบ
1. วัดความโตภายในรูสลักลูกสูบทั้งดานแนวนอนและแนวตัง้ โดยใชเกจวัด
กระบอกสูบ
2. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนลูกสูบใหม
25.000 ถึง 25.013 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
0.98426 ถึง 0.98476 นิ้ว
ความโตภายในรูสลักลูกสูบ
25.050 มม.
คาที่ยอมได
0.98622 นิ้ว
9Y1210365ENS0063TH0

1-S60
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ชองวางน้ํามันระหวางสลักลูกสูบและบุชกานสูบดานเล็ก
1. วัดความโตภายนอกของสลักลูกสูบที่สัมผัสกับบุชโดยใชไมโครมิเตอรภายนอก
2. วัดความโตภายในบุชกานสูบดานเล็กดวยไมโครมิเตอรภายใน แลวคํานวณหาคา
ชองวางน้ํามัน
3. หากคาที่วัดไดเกินกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนบุชใหม หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่
ยอมได ใหเปลี่ยนสลักลูกสูบใหม
0.014 ถึง 0.038 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ชองวางน้ํามันระหวางสลัก 0.00056 ถึง 0.0014 นิ้ว
ลูกสูบและบุชกานสูบดานเล็ก 0.15 มม.
คาที่ยอมได
0.0059 นิ้ว

ความโตภายนอกของสลัก 25.002 ถึง 25.011 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
ลูกสูบ 0.98433 ถึง 0.98468 นิ้ว
ความโตภายในบุชกานสูบ 25.025 ถึง 25.040 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ดานเล็ก 0.98524 ถึง 0.98582 นิ้ว
9Y1210365ENS0064TH0
การเปลี่ยนบุชกานสูบดานเล็ก
(A) (ขณะถอดออก)
1. อัดบุชกานสงดานเล็กออกมาดวยเครื่องมือเปลี่ยนบุชกานสูบดานเล็ก
(B) (ขณะประกอบ)
1. ทําความสะอาดบุชกานสูบดานเล็กและรูบุช แลวชโลมดวยน้ํามันเครื่องใหทั่ว
2. อัดบุชตัวใหมเขาไปโดยระวังใหรูกานสูบตรงกับรูของบุช
(A) เมื่อทําการถอด (B) เมื่อทําการประกอบ
9Y1210365ENS0065TH0

ความโกงงอของกานสูบ
หมายเหตุ
• ตรวจวัดความโตภายในและความสึกหรอของบุชกานสูบดานเล็กกอน
เนื่องจากการวัดคาความโกงงอจําเปนตองใชคาเหลานี้
1. ประกอบสลักลูกสูบเขากับกานสูบ
2. ประกอบกานสูบเขากับเครื่องมือวัดความโกงงอของกานสูบ
3. วางเกจวัดบนสลักลูกสูบและเลื่อนเกจวัดใหเขาสนิทบนหนาสัมผัสของแทนวัด
4. ถาเห็นวาเกจวัดไมสนิทกับหนาสัมผัสของแทนวัด ใหวัดชองวางระหวางปลาย
หมุดของเกจวัดกับหนาสัมผัสของแทนวัด
5. หากคาที่วัดไดมากกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนกานสูบ
0.05 มม.
ความโกงงอของกานสูบ คาที่ยอมได
0.0020 นิ้ว
9Y1210365ENS0068TH0

1-S61
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ปากแหวนลูกสูบ
1. ใสแหวนลูกสูบเขากับปลอกสูบดานลาง (สวนที่สึกนอยที่สุด)
2. วัดระยะหางปากแหวนดวยเกจชองวาง
3. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนแหวนลูกสูบใหม
0.20 ถึง 0.35 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
0.0079 ถึง 0.0138 นิ้ว
แหวนลูกสูบตัวที่ 1
1.25 มม.
คาที่ยอมได
0.0492 นิ้ว

0.40 ถึง 0.45 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
0.0157 ถึง 0.0217 นิ้ว
แหวนลูกสูบตัวที่ 2
1.25 มม.
คาที่ยอมได
0.0492 นิ้ว

0.25 ถึง 0.45 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
0.0099 ถึง 0.017 นิ้ว
แหวนกวาดน้ํามัน
1.25 มม.
คาที่ยอมได
0.0492 นิ้ว
9Y1210383ENS0041TH0
ชองวางระหวางแหวนลูกสูบและรองแหวน
1. ทําความสะอาดเขมาคารบอนออกจากรองแหวน
2. วัดระยะหางของแหวนลูกสูบกับรองแหวนโดยใชฟลเลอรเกจหรือเกจวัดความลึก
3. หากระยะหางเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนแหวนลูกสูบเพราะจะทําใหกําลัง
อัดรั่วและน้ํามันไมเพียงพอ
4. หากเปลี่ยนแหวนลูกสูบใหมแลวยังวัดคาไดเกินกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนลูกสูบ
ใหม
0.093 ถึง 0.128 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
0.00367 ถึง 0.00503 นิ้ว
แหวนลูกสูบตัวที่ 2
0.200 มม.
คาที่ยอมได
0.00787 นิ้ว

0.020 ถึง 0.060 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
0.00079 ถึง 0.0023 นิ้ว
แหวนกวาดน้ํามัน
0.15 มม.
คาที่ยอมได
0.00591 นิ้ว
9Y1210383ENS0042TH0

1-S62
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต

[4] เพลาขอเหวีย่ ง
ระยะรุนเพลาขอเหวี่ยง
1. ขยับเพลาขอเหวี่ยงไปดานลอชวยแรง
2. ติดตัง้ ไดอัลเกจที่เพลาขอเหวี่ยง
3. วัดระยะรุนโดยดึงเพลาขอเหวี่ยงไปทางดานเฟองขอเหวี่ยง
4. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนแบริ่งกันรุน 1 และ 2
0.15 ถึง 0.31 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
0.0059 ถึง 0.012 นิ้ว
ระยะรุนของเพลาขอเหวี่ยง
0.5 มม.
คาที่ยอมได
0.020 นิ้ว
(ขอมูลอางอิง)
• แบริ่งกันรุนใหญกวามาตรฐาน
ขนาดโตกวา
ลูกปน รหัสตัวเลข มารค
มาตรฐาน
0.2 มม. ลูกปนกันรุน 1 02 1A091-23951 020 OS
0.008 นิ้ว ลูกปนกันรุน 2 02 1A091-23971 020 OS
0.4 มม. ลูกปนกันรุน 1 04 1A091-23961 040 OS
0.016 นิ้ว ลูกปนกันรุน 2 04 1A091-23981 040 OS
• การเลือกใชเพลาขอเหวี่ยงขนาดโตกวามาตรฐาน
ขนาดโตกวา
0.20 มม. 0.0079 นิ้ว 0.40 มม. 0.016 นิ้ว
มาตรฐาน
54.50 ถึง 54.70 มม. 54.60 ถึง 54.80 มม.
ขนาด “A”
2.146 ถึง 2.153 นิ้ว 2.150 ถึง 2.157 นิ้ว
26.20 ถึง 26.25 มม. 26.40 ถึง 26.45 มม.
ขนาด “B”
1.032 ถึง 1.033 นิ้ว 1.040 ถึง 1.041 นิ้ว
รัศมี 2.80 ถึง 3.20 มม. รัศมี 2.80 ถึง 3.20 มม.
ขนาด “C”
รัศมี 0.111 ถึง 0.125 นิ้ว รัศมี 0.111 ถึง 0.125 นิ้ว
เพลาขอเหวีย่ งตองเจียรสูงกวาเกรด Rmax = 0.8S
9Y1210365ENS0069TH0
การโกงงอของเพลาขอเหวี่ยง
1. วางปลายทั้งสองของเพลาขอเหวี่ยงดวยแทนเหล็กตัววี และติดตั้งชุดไดอัลเกจ
โดยใหเข็มของเกจอยูบนขออกบริเวณกลางเพลาขอเหวี่ยง
2. หมุนเพลาขอเหวี่ยงเพื่อวัดความโกงงอ (ครึ่งหนึ่งของคาที่วัดได)
3. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนเพลาขอเหวี่ยงใหม
0.02 มม.
ความโกงงอของเพลาขอเหวี่ยง คาที่ยอมได
0.00079 นิ้ว
9Y1210365ENS0070TH0

1-S63
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ชองวางน้ํามันระหวางขอกานและชาฟตกานสูบ
1. ทําความสะอาดขอกานและชาฟตกานสูบ
2. ติดแผนพลาสติกเกจที่จุดกึ่งกลางของขอกานตามทิศทางที่แสดงในภาพ
3. ประกอบประกับกานสูบ และขันสกรูยึดตามคาแรงขันที่กําหนด และถอดประกับ
กานสูบออกอีกครั้ง
4. วัดความหนาของพลาสติกเกจโดยใชสเกลบนซองพลาสติกเกจเทียบแลวอานระยะ
ชองวางน้ํามัน
5. หากคาที่วัดไดเกินกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนชาฟตกา นสูบ
6. หากตองเปลี่ยนชาฟตกานสูบขนาดเล็กกวามาตรฐานเพราะขอกานสึกหรอ
ใหใชขนาดและคาที่แนะนําโดยอางอิงจากตารางและรูป
หมายเหตุ
• หามวางพลาสติกเกจทับบนรูน้ํามันของขอกาน
• อยาถอดเพลาขอเหวี่ยงโดยที่สกรูยึดกานสูบยังคงยึดแนน
0.025 ถึง 0.087 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ชองวางน้ํามันระหวางขอกาน 0.00099 ถึง 0.0034 นิ้ว
และชาฟตกานสูบ 0.20 มม.
คาที่ยอมได
0.0079 นิ้ว

46.959 ถึง 46.975 มม.


ความโตภายนอกขอกาน คามาตรฐานที่กําหนด
1.8488 ถึง 1.8494 นิ้ว
47.000 ถึง 47.046 มม.
ความโตภายในชาฟตกานสูบ คามาตรฐานที่กําหนด
1.8504 ถึง 1.8522 นิ้ว
(ขอมูลอางอิง)
• ชาฟตกานสูบขนาดเล็กกวามาตรฐาน
ขนาดเล็กกวา
ลูกปน รหัสตัวเลข มารค
มาตรฐาน
0.2 มม.
ชาฟตกานสูบ 02 17331-22970 020 US
0.008 นิ้ว
0.4 มม.
ชาฟตกานสูบ 04 17331-22980 040 US
0.016 นิ้ว
• การเลือกใชเพลาขอเหวี่ยงขนาดโตกวามาตรฐาน
ขนาดเล็กกวา
0.2 มม. 0.008 นิ้ว 0.4 มม. 0.016 นิ้ว
มาตรฐาน
รัศมี 3.30 ถึง 3.70 มม. รัศมี 3.30 ถึง 3.70 มม.
ขนาด “A”
รัศมี 0.130 ถึง 0.145 นิ้ว รัศมี 0.130 ถึง 0.145 นิ้ว
รัศมี 1.00 ถึง 1.50 มม. รัศมี 1.00 ถึง 1.50 มม.
ขนาด “B”
รัศมี 0.0394 ถึง 0.0590 นิ้ว รัศมี 0.0394 ถึง 0.0590 นิ้ว
46.759 ถึง 46.775 มม. 46.559 ถึง 46.575 มม.
ขนาด “C”
1.8409 ถึง 1.8415 นิ้ว 1.8331 ถึง 1.8336 นิ้ว
เพลาขอเหวี่ยงตองเจียรสูงกวาเกรด Rmax = 0.8S
9Y1210365ENS0071TH0

1-S64
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ชองวางน้ํามันระหวางขอเพลาขอเหวี่ยงและชาฟตอก 1
1. วัดความโตภายนอกของขอเพลาขอเหวี่ยงดวยไมโครมิเตอรภายนอก
2. วัดความโตภายในชาฟตอก 1 ดวยไมโครมิเตอรภายใน แลวคํานวณหาคา
ชองวางน้ํามัน
3. หากคาชองวางเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนชาฟตอก 1 ใหม
4. หากตองเปลี่ยนชาฟตขนาดใหญกวามาตรฐานเพราะขอเพลาขอเหวี่ยงสึกหรอ
ใหใชขนาดและคาที่ใหญกวาปกติโดยอางอิงจากตารางและรูป
0.0400 ถึง 0.118 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ชองวางน้ํามันระหวางขอเพลา 0.00158 ถึง 0.00464 นิ้ว
ขอเหวี่ยงและชาฟตอก 1 0.2 มม.
คาที่ยอมได
0.0079 นิ้ว

ความโตภายนอกของขอเพลา 59.921 ถึง 59.940 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
ขอเหวี่ยง 2.3591 ถึง 2.3598 นิ้ว
59.980 ถึง 60.039 มม.
ความโตภายในชาฟตอก 1 คามาตรฐานที่กําหนด
2.3615 ถึง 2.3637 นิ้ว
(ขอมูลอางอิง)
• ชาฟตอก 1 ขนาดเล็กกวามาตรฐาน
ขนาดเล็กกวา
ลูกปน รหัสตัวเลข มารค
มาตรฐาน
0.2 มม.
ชาฟตอก 1 02 1A091-23911 020 US
0.008 นิ้ว
0.4 มม.
ชาฟตอก 1 04 1A091-23921 040 US
0.016 นิ้ว
• การเลือกใชเพลาขอเหวี่ยงขนาดเล็กกวามาตรฐาน
ขนาดเล็กกวา
0.2 มม. 0.008 นิ้ว 0.4 มม. 0.016 นิ้ว
มาตรฐาน
รัศมี 2.80 ถึง 3.20 มม. รัศมี 2.80 ถึง 3.20 มม.
ขนาด “A”
รัศมี 0.111 ถึง 0.125 นิ้ว รัศมี 0.111 ถึง 0.125 นิ้ว
รัศมี 1.00 ถึง 1.50 มม. รัศมี 1.00 ถึง 1.50 มม.
ขนาด “B”
รัศมี 0.0394 ถึง 0.0590 นิ้ว รัศมี 0.0394 ถึง 0.0590 นิ้ว
59.721 ถึง 59.740 มม. 59.521 ถึง 59.540 มม.
ขนาด “C”
2.3513 ถึง 2.3519 นิ้ว 2.3433 ถึง 2.3441 นิ้ว
เพลาขอเหวีย่ งตองเจียรสูงกวาเกรด Rmax = 0.8S
9Y1210365ENS0072TH0

1-S65
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
การเปลี่ยนชาฟตอก 1
(เมื่อทําการถอด)
1. ตอกอัดชาฟตอก 1 ที่ใชแลวออกมาโดยใชเครื่องมือถอดประกอบชาฟตอก 1
(เมื่อทําการประกอบ)
1. ทําความสะอาดชาฟตอก 1 และรูขออก แลวชโลมดวยนำมันเครื่องใหทั่ว
2. ดันชาฟตอก 1 (2) อันใหมเขาไปโดยใชเครื่องมือถอดประกอบชาฟตอก 1
โดยใหตะเข็บ (1) หันไปทางดานทอไอเสีย
4.20 ถึง 4.50 มม.
ขนาด (A) คามาตรฐานที่กําหนด
0.166 ถึง 0.177 นิ้ว

(1) ตะเข็บ (3) เสือ้ สูบ


(2) ชาฟตอก 1
9Y1210365ENS0073TH0

1-S66
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ชองวางน้ํามันระหวางขอเพลาขอเหวี่ยงและชาฟตอก 2
1. ติดพลาสติกเกจที่ศูนยกลางของขอเพลา
2. ประกอบเสื้อลูกปน แลวขันสกรูยึดเสื้อลูกปน 1 ตามคาแรงขันที่กําหนด จากนั้น
ถอดเสื้อลูกปนออกอีกครั้ง
3. วัดความหนาของพลาสติกเกจโดยใชสเกลเทียบแลวอานระยะชองวางน้ํามัน
4. หากคาชองวางเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนชาฟตอก 2 ใหม
5. หากตองเปลี่ยนชาฟตขนาดใหญกวามาตรฐานเพราะขอเพลาขอเหวี่ยงสึกหรอ
ใหใชขนาดและคาที่ใหญกวาปกติโดยอางอิงจากตารางและรูป
หมายเหตุ
• อยาถอดเพลาขอเหวี่ยงโดยที่สกรูยึดเสื้อลูกปืนยังคงยึดแนน
0.040 ถึง 0.104 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ชองวางน้ํามันระหวางขอเพลา 0.00158 ถึง 0.00409 นิ้ว
ขอเหวี่ยงและชาฟตอก 2 0.20 มม.
คาที่ยอมได
0.0079 นิ้ว

ความโตภายนอกเพลา 59.921 ถึง 59.940 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
ขอเหวี่ยง 2.3591 ถึง 2.3598 นิ้ว
59.980 ถึง 60.025 มม.
ความโตภายในชาฟตอก 2 คามาตรฐานที่กําหนด
2.3615 ถึง 2.3631 นิ้ว
(ขอมูลอางอิง)
• ชาฟตอก 2 ขนาดเล็กกวามาตรฐาน
ขนาดเล็กกวา
ลูกปน รหัสตัวเลข มารค
มาตรฐาน
0.2 มม.
ชาฟตอก 2 1A091-23931 020 US
0.008 นิ้ว
0.4 มม.
ชาฟตอก 2 1A091-23941 040 US
0.016 นิ้ว
• การเลือกใชเพลาขอเหวี่ยงขนาดเล็กกวามาตรฐาน
ขนาดเล็กกวา
0.20 มม. 0.008 นิ้ว 0.40 มม. 0.016 นิ้ว
มาตรฐาน
รัศมี 2.80 ถึง 3.20 มม. รัศมี 2.80 ถึง 3.20 มม.
ขนาด “A”
รัศมี 0.111 ถึง 0.125 นิ้ว รัศมี 0.111 ถึง 0.125 นิ้ว
รัศมี 1.00 ถึง 1.50 มม. รัศมี 1.00 ถึง 1.50 มม.
ขนาด “B”
รัศมี 0.0394 ถึง 0.0590 นิ้ว รัศมี 0.0394 ถึง 0.0590 นิ้ว
59.721 ถึง 59.740 มม. 59.521 ถึง 59.540 มม.
ขนาด “C”, “D”
2.3513 ถึง 2.3519 นิ้ว 2.3434 ถึง 2.3441 นิ้ว
9Y1210365ENS0074TH0
ความสึกของปลอกเพลาขอเหวี่ยง
1. ตรวจเช็ครอยสึกที่ปลอกเพลาขอเหวี่ยง (1)
2. หากความสึกเกินจากคาที่ยอมไดหรือหากน้ํามันเครื่องรั่ว ใหเปลี่ยนปลอกเพลา
ขอเหวี่ยงใหม
0.10 มม.
ความสึกที่ปลอก คาที่ยอมได
0.0039 นิ้ว

(1) ปลอกเพลาขอเหวี่ยง
9Y1210365ENS0075TH0
1-S67
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
การเปลี่ยนปลอกเพลาขอเหวีย่ ง
1. ถอดปลอกเพลาขอเหวี่ยงที่ใชแลวออกโดยใชชุดตัวดึงแบบพิเศษ (รหัสหมายเลข:
07916-32091)
2. ติดตั้งตัวนําปลอกเพลาขอเหวี่ยง (2) บนเพลาขอเหวี่ยง
3. ใชตวั ล็อก (1) ล็อกเพลาขอเหวี่ยงดังรูป
4. ใหความรอนปลอกเพลาขอเหวี่ยงอันใหมประมาณ 150 ถึง 200 °C (302 ถึง 392°F)
แลวจึงสวมเขากับเพลาขอเหวี่ยงดังรูป
5. อัดปลอกเพลาขอเหวี่ยงเขากับเพลาขอเหวี่ยงโดยใชตัวตอกปลอกเพลาขอเหวี่ยง
(4)
หมายเหตุ
• สวมปลอกเพลาขอเหวี่ยงโดยหันปากที่ลบมุมมากออกดานนอก
(1) ตัวล็อก (4) ตัวตอกปลอกเพลาขอเหวี่ยง
(2) ตัวนําปลอก (5) เพลาขอเหวี่ยง
(3) ปลอกเพลาขอเหวีย่ ง
9Y1210365ENS0076TH0

[5] กระบอกสูบ
รอยสึกหรอในกระบอกสูบ
1. วัดความโตภายในของกระบอกสูบ โดยแบงจุดวัดเปนหกจุด (ดังรูป) ดวยเกจวัด
กระบอกสูบ เพื่อหาความโตภายในมากที่สุดและนอยที่สุด
2. คํานวณหาคาสึกหรอมากที่สุด โดยนําคาความโตภายในมากที่สุดลบออกดวยคา
ความโตภายในนอยที่สุด
3. หากคาที่ไดเกินกวาคาที่ยอมได ใหควานหรือขัดกระบอกสูบใหโตขึ้น (ดูที่หัวขอ
“การควานกระบอกสูบ”)
4. ตรวจดูผนังกระบอกสูบวามีรอยขีดขวนหรือไม หากมี ใหทําการควาน
กระบอกสูบ (ดูที่หัวขอ “การควานกระบอกสูบ”)
87.000 ถึง 87.022 มม.
ความโตภายในกระบอกสูบ คามาตรฐานที่กําหนด
3.4252 ถึง 3.4260 นิ้ว
+0.15 มม.
รอยสึกหรอสูงสุด คาที่ยอมได
+0.0059 นิ้ว

(A) ดานบน (a) ทิศตั้งฉากกับสลักลูกสูบ


(B) กลาง (b) แนวขวางกับสลักลูกสูบ
(C) จุดต่ําสุด (ขอบลาง)
9Y1210365ENS0077TH0

1-S68
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
การควานกระบอกสูบ (ขนาดโตกวามาตรฐาน +0.25 มม., 0.0098 นิ้ว)
1. ทําการควานหรือขัดกระบอกสูบเมื่อสึกหรอเกินกวาคาที่ยอมได
ความโตภายในกระบอกสูบที่ 87.250 ถึง 87.272 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
โตกวามาตรฐาน 3.4351 ถึง 3.4359 นิ้ว
+0.15 มม.
รอยสึกหรอสูงสุด คาที่ยอมได
+0.0059 นิ้ว
ขัดใหไดสูงสุด 2.20 ถึง 3.00 μR
การเจียรผิวกระบอกสูบ
(สูงสุด 0.0867 ถึง 0.0118 นิ้ว μR )
2. เปลี่ยนลูกสูบและแหวนลูกสูบที่มีขนาดโตกวามาตรฐาน (+0.25 มม., +0.0098 นิ้ว)
ชื่อชิ้นสวน รหัสตัวเลข มารค
ลูกสูบ 1A091-21901 0.25 OS
ชุดแหวนลูกสูบ 1A091-21091 0.25 OS
หมายเหตุ
• หากกระบอกสูบทีม่ ีขนาดโตกวามาตรฐานสึกหรอเกินคาที่ยอมได ใหเปลี่ยน
เสื้อสูบใหม
(1) ความโตภายในกระบอกสูบ (กอนควาน) (2) ความโตภายในกระบอกสูบที่โตกวา
มาตรฐาน
9Y1210365ENS0078TH0

[6] ปมน้ํามันเครื่อง
ระยะหางระหวางยอดโรเตอร
1. วัดระยะหางระหวางยอดโรเตอรตัวในกับโรเตอรตัวนอกดวยเกจชองวาง
2. วัดระยะหางระหวางโรเตอรตัวนอกและตัวปมดวยเกจชองวาง
3. หากระยะหางเกินกวาคามาตรฐานที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดโรเตอรปมน้ํามันเครื่อง
ใหม
0.03 ถึง 0.14 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ระยะหางระหวางโรเตอรตัวใน 0.0012 ถึง 0.0055 นิ้ว
กับโรเตอรตัวนอก 0.2 มม.
คาที่ยอมได
0.0079 นิ้ว

0.11 ถึง 0.19 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
ระยะหางระหวางโรเตอร 0.0044 ถึง 0.0074 นิ้ว
ตัวนอกและตัวปม 0.25 มม.
คาที่ยอมได
0.0098 นิ้ว
9Y1210365ENS0079TH0

1-S69
M6040DT-SU, WSM เครื่องยนต
ชองวางระหวางโรเตอรและฝาครอบ
1. ติดพลาสติกเกจ (รหัสหมายเลข: 07909-30241) ลงบนหนาสัมผัสโรเตอรโดยใช
จาระบีเปนตัวยึด
2. ประกอบฝาครอบและขันสกรูใหแนน
3. ถอดฝาครอบออกอยางระมัดระวัง แลววัดระยะหางโดยวัดความหนาของเกจวัด
แรงดวยแผนเกจ
4. หากระยะหางเกินกวาคามาตรฐานที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดโรเตอรปมน้ํามันเครื่อง
ใหม
0.105 ถึง 0.150 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ชองวางดานทายระหวาง 0.00414 ถึง 0.00590 นิ้ว
โรเตอรตัวในและฝาครอบ 0.2 มม.
คาที่ยอมได
0.0079 นิ้ว
9Y1210365ENS0080TH0

1-S70
2 คลัตช
ระบบกลไก

สารบัญ
1. คลัตชของระบบขับเคลื่อน ................................................................................................................... 2-M1
[1] คุณสมบัติ ................................................................................................................................. 2-M1
[2] กลไกเชื่อมตอคลัตช ในระบบขับเคลื่อน............................................................................................. 2-M1
2. คลัตช PTO ...................................................................................................................................... 2-M2
[1] โครงสราง ................................................................................................................................. 2-M2
[2] การไหลของน้ํามัน ...................................................................................................................... 2-M4
[3] วาลวคลัตช PTO ......................................................................................................................... 2-M4
M6040DT-SU, WSM คลัตช

1. คลัตชของระบบขับเคลื่อน
[1] คุณสมบัติ
แทรกเตอรคันนี้ใชคลัตชแบบแหงแผนเดี่ยว
คลัตชนั้นอยูระหวางเครื่องยนตกบั ชุดเกียรและทํางานโดยการ
เหยียบลงบนแปนคลัตช
เมื่อเหยียบแปนคลัตช คลัตชจะปลดตัวออก และเมื่อปลอยแปน
คลัตช คลัตชจะจับตัวและกําลังจากเครื่องยนตจะถูกสงไปยังชุดเกียร
(1) แผนคลัตช (4) สปริงไดอะแฟรม
(2) แผนกดคลัตช (5) ชุดแผนกดคลัตช
(3) ฝาครอบคลัตช (6) ดุมคลัตช
9Y1210365CLM0001TH0

[2] กลไกเชื่อมตอคลัตช ในระบบขับเคลื่อน


แทรกเตอรนี้ใชแปนคลัตชแบบแขวนเพื่อใหมีบริเวณแผนวางเทา
กวางมากขึ้น
(1) ลอชวยแรง (8) เพลาเฟอง
(2) แผนกดคลัตช (9) กามปูกดคลัตช
(3) ฝาครอบคลัตช (10) แผนคลัตช
(4) สปริงไดอะแฟรม (11) คันคลัตช
(5) ชุดแผนกดคลัตช (12) กานเพลากดคลัตช
(6) ลูกปนกดคลัตช (13) แปนคลัตช
(7) ดุมคลัตช
9Y1210365CLM0002TH0

2-M1
M6040DT-SU, WSM คลัตช

2. คลัตช PTO
[1] โครงสราง
คันเกียร PTO (1) นั้นเชื่อมตอกับวาลวคลัตช PTO (3) โดยเคเบิล
เกียร PTO (2) ดังแสดงในรูป
เมื่อคันเกียร PTO (1) เคลื่อนที่ไปที่ตําแหนง B วาลวคลัตช PTO (3)
จะตั้งอยูในตําแหนง “ทํางาน” จากนั้น น้ํามันจะไหลเขาไปยังชุดคลัตช
โดยผานวาลวคลัตช (3) เมื่อเลื่อนคันเกียรไปที่ตําแหนง A คลัตช PTO
จะตั้งอยูในตําแหนง “ไมทํางาน”
(1) คันเกียร PTO A : ไมทํางาน
(2) เคเบิลเกียร PTO B : ทํางาน
(3) วาลวคลัตช PTO
9Y1210383CLM0001TH0

2-M2
M6040DT-SU, WSM คลัตช

ดังรูปดานบน เพลากลาง PTO 1 จะถูกสวมอยูกบั ดุม และจะหมุนไป


พรอมกันตลอดเวลาที่เครื่องยนตทํางาน
ชุดคลัตช PTO ประกอบดวยแผนคลัตช (6) สามแผน แผนขับเคลื่อน
(7) สามแผน แหวนรองรูปจาน (แหวนรองสปริงแบบถวย) (9) หนึ่งชิ้น
และแผนกดคลัตช (5) หนึ่งแผน ลูกสูบคลัตช (8) จะถูกดันโดยน้ํามัน
ไฮดรอลิกจากวาลวคลัตช PTO ไปกดแผนคลัตช (6) และแผนขับเคลื่อน
(7) เขาหาแผนกดคลัตช (5) จนแนน
ผลที่ได คือการหมุนของเพลากลาง PTO 1 จะถูกสงไปยังเพลากลาง
PTO 2 (3) โดยผานชุดคลัตช PTO (2)
แหวนรองสปริงรูปจาน (แหวนรองสปริงแบบถวย) (9) จะชวยลด
แรงสั่นสะเทือนจากการทํางาน ทําใหคลัตช PTO ทํางานไดอยางราบรื่น
(1) เพลากลาง PTO 1 (6) แผนคลัตช
(2) ชุดคลัตช PTO (7) แผนขับเคลื่อน
(3) เพลากลาง PTO 2 (8) ลูกสูบคลัตช
(4) เพลา PTO (9) แหวนรองสปริงรูปจาน
(5) แผนกดคลัตช (แหวนรองสปริงแบบถวย)
9Y1210383CLM0002TH0

2-M3
M6040DT-SU, WSM คลัตช

[2] การไหลของน้ํามัน
เมื่อคันเกียร PTO (3) อยูในตําแหนงไมทํางาน การไหลของน้ํามัน
จะหยุดลงโดยวาลวคลัตช PTO (1) เมื่อคันเกียร PTO (3) อยูในตําแหนง
ทํางาน น้ํามันจะไหลผานวาลวคลัตช PTO (1) ไปยังชุดคลัตช PTO (2)
เพื่อเริ่มทํางาน
วาลวระบายแรงดัน (4) ทําหนาที่รักษาแรงดันน้ํามันเครื่องและจาย
น้ํามันเพื่อใชหลอลื่นระบบเปลี่ยนทิศทาง, เฟองสงกําลังแบบซิงโครเมช,
ชุดไฮดรอลิก PTO และ เบรก PTO
(1) วาลวคลัตช PTO (a) ชองสงความดัน
(2) ชุดคลัตช PTO (b) ชองตรวจเช็คความดัน
(3) คันเกียร PTO (c) ชองน้าํ มันหลอลื่น
(4) วาลวระบายแรงดัน
9Y1210365CLM0005TH0

[3] วาลวคลัตช PTO


วาลวคลัตช PTO ประกอบดวยสวนตางๆ ดังนี้
(A) วาลวระบายแรงดันหลัก
วาลวระบายแรงดันหลักสามารถควบคุมแรงดันภายในของคลัตช
PTO อยูที่ประมาณ 2.36 เมกะปาสคาล (24.0 กิโลกรัมแรง /ซม.2,
34.2 ปอนด/ตร.นิ้ว)
(B) วาลวโรตารี่
วาลวนี้จะปรับทิศทางการไหลของน้ํามันไฮดรอลิกไปยังคลัตช
PTO โดยวาลวจะถูกหมุนจากคันโยก PTO ผานทางสายคลัตช PTO
น้ํามันจากชุดควบคุมการเลี้ยวจะไหลผานชองน้ํามัน (1) ไปยังคลัตช
PTO
(1) ชองน้ํามัน
9Y1210365CLM0006TH0

2-M4
การตรวจซอม

สารบัญ
1. ปญหาและวิธีการแกไข ........................................................................................................................2-S1
2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ .........................................................................................................2-S3
3. คาแรงขัน .........................................................................................................................................2-S5
4. การตรวจเช็คและการปรับตัง้ .................................................................................................................2-S6
[1] คลัตชสําหรับการขับเคลื่อน .............................................................................................................2-S6
[2] คลัตช PTO.................................................................................................................................2-S7
5. การถอดและการประกอบ .....................................................................................................................2-S9
[1] คลัตชสําหรับการขับเคลื่อน .............................................................................................................2-S9
(1) การถอดเครื่องยนตออกจากเสื้อคลัตช ..........................................................................................2-S9
(2) การถอดคลัตช .....................................................................................................................2-S10
(3) ตัวยึดคลัตชและคันคลัตช .......................................................................................................2-S11
[2] คลัตช PTO...............................................................................................................................2-S11
(1) การถอดวาลวคลัตช PTO........................................................................................................2-S11
[3] ชุดคลัตช PTO ...........................................................................................................................2-S13
(1) การถอดหองเกียร .................................................................................................................2-S13
(2) การถอดคลัตช PTO ..............................................................................................................2-S17
(3) การถอดแยกชุดคลัตช PTO .....................................................................................................2-S18
6. การตรวจซอม .................................................................................................................................2-S20
[1] คลัตชของระบบขับเคลื่อน ............................................................................................................2-S20
[2] คลัตช PTO...............................................................................................................................2-S22
M6040DT-SU, WSM คลัตช

1. ปญหาและวิธีการแกไข
คลัตชของระบบขับเคลื่อน
อาการ สาเหตุ วิธีแกไข ดูทหี่ นา
คลัตชติด ระยะฟรีแปนคลัตชมากเกินไป ปรับตั้งใหม 2-S6
ฝุนจับแผนคลัตชโดยมาจากหนาสัมผัสแผนคลัตช ขจัดคราบสนิม 2-S10
กามปูกดคลัตชเสียหายหรือหัก เปลี่ยนใหม 2-S11
แผนคลัตชหรือแผนกดคลัตชโกงงอ เปลี่ยนใหม 2-S10
แผนกดคลัตชสึกหรอ เปลี่ยนใหม 2-S10
(ทั้งชุดแผนกดคลัตช)
คลัตชลื่น ระยะฟรีแปนคลัตชนอยเกินไป ปรับตั้งใหม 2-S6
แผนคลัตชสึกหรอมากเกินไป เปลี่ยนใหม 2-S10
ทาจาระบีหรือน้ํามันบนหนาสัมผัสแผนคลัตช เปลี่ยนใหม 2-S10
แผนคลัตชหรือแผนกดคลัตชโกงงอ เปลี่ยนใหม 2-S10
สปริงไดอะแฟรมออนลาหรือหัก เปลี่ยนใหม 2-S10
แผนกดคลัตชสึกหรอ เปลี่ยนใหม 2-S10
(ทั้งชุดแผนกดคลัตช)
เกิดเสียงกระทบกัน ทาจาระบีหรือน้ํามันบนหนาสัมผัสแผนคลัตช เปลี่ยนใหม 2-S10
แผนคลัตชหรือแผนกดคลัตชโกงงอ เปลี่ยนใหม 2-S10
รองลิ่มแผนคลัตชสึกหรอหรือเปนสนิม เปลี่ยนใหมหรือขจัดคราบ –
สนิม
เพลาเฟองงอ เปลี่ยนใหม –
ผิวสัมผัสแผนกดคลัตชหรือลอชวยแรงแตกหรือมีรอยขีดขวน เปลี่ยนใหม –
รองลิ่มแผนคลัตชและรองลิ่มเพลาเฟองสึกหรอ เปลี่ยนใหม –
การตานแรงสปริงไดอะแฟรมไมสม่ําเสมอหรือสปริง เปลี่ยนใหม 2-S10
ไดอะแฟรมหัก
เกิดเสียงสั่นระหวางเดินเครื่อง รองลิ่มแผนคลัตชสึกหรอ เปลี่ยนใหม –
ลูกปนกดคลัตชสึกหรอหรือยื่นออกมา เปลี่ยนใหม 2-S11
คลัตชมีเสียงแหลมขณะ ลูกปนกดคลัตชยื่นออกมาหรือแหง เปลี่ยนหรือหลอลื่น 2-S11
ทํางาน แผนคลัตชสึกหรอมากเกินไป เปลี่ยนใหม 2-S10,
2-S21
มีการสั่นสะเทือน เพลาเฟองงอ เปลี่ยนใหม –
หมุดแผนคลัตชสึกหรอหรือแตก เปลี่ยนใหม 2-S10
ชิ้นสวนคลัตชชํารุด เปลี่ยนใหม –

2-S1
M6040DT-SU, WSM คลัตช
คลัตช PTO
อาการ สาเหตุ วิธแี กไข ดูที่หนา
คลัตช PTO ลื่น ความดันน้ํามันขณะทํางานต่ําเกินไป ปรับตั้งใหม 2-S7
วาลวคลัตช PTO ทํางานผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 2-S12
แผนคลัตชหรือแผนขับเคลื่อนสึกหรอมากเกินไป เปลี่ยนใหม 2-S17,
2-S18,
2-S22
ลูกสูบหรือแผนดันกลับเสียรูป เปลี่ยนใหม 2-S18
เพลา PTO ไมหมุน คลัตช PTO ทํางานผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 2-S17
ขอตอเพลากลาง PTO หลุด ประกอบใหม –
แรงดันน้ํามันขณะทํางานของ ใชน้ํามันเกียรผิดชนิดหรือระดับน้ํามันต่ํากวาที่กําหนด เติมใหไดระดับหรือ G-10
คลัตช PTO ต่ําเกินไป เปลี่ยนถาย
วาลวระบายแรงดันทํางานผิดปกติ ปรับตั้งหรือเปลี่ยนใหม 2-S7
วาลวคลัตช PTO เสียงดัง แผนเบรกสึกหรอมากเกินไป เปลี่ยนใหม –
สปริงดันกลับออนลาหรือหัก เปลี่ยนใหม 2-S18
แผนเหล็กหรือแผนดันกลับเสียรูป เปลี่ยนใหม 2-S18
9Y1210383CLS0001TH0

2-S2
M6040DT-SU, WSM คลัตช

2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ
คลัตชของระบบขับเคลื่อน
รายการ คามาตรฐานที่กําหนด คาที่ยอมได
แปนคลัตช ระยะฟรี 35 ถึง 45 มม. –
1.4 ถึง 1.7 นิ้ว
เพลาคันเหยียบคลัตชถึงบุชคันเหยียบคลัตช ระยะหาง 0.0250 ถึง 0.185 มม. 1.00 มม.
0.000985 ถึง 0.00728 นิ้ว 0.0394 นิ้ว

• เพลาคันเหยียบคลัตช ความโตภายนอก 27.900 ถึง 27.975 มม. –


1.0985 ถึง 1.1013 นิ้ว

• บุชคันเหยียบคลัตช ความโตภายใน 28.000 ถึง 28.085 มม. –


1.1024 ถึง 1.1057 นิ้ว
รองลิ่มแผนคลัตชถึงเพลาเฟอง ระยะฟนเฟอง – 2.0 มม.
(ระยะคลอนตัวที่ขอบ 0.079 นิ้ว
จาน)
แผนคลัตช ผิวหนาดิสกถึงดานบน – 0.3 มม.
หมุด (ความลึก) 0.01 นิ้ว
สปริงไดอะแฟรม ระยะผลตางในตัว – 0.5 มม.
0.02 นิ้ว
แผนกดคลัตช ความโกงงอ – 0.2 มม.
0.008 นิ้ว

2-S3
M6040DT-SU, WSM คลัตช
คลัตช PTO
รายการ คามาตรฐานทีก่ ําหนด คาที่ยอมได
วาลวคลัตช PTO แรงดันที่วาลวระบาย 2.36 ถึง 2.54 เมกะปาสคาล –
สภาวะการทํางาน แรงดัน 24.0 ถึง 26.0 กิโลกรัมแรง/ซม.2
• เครื่องยนตทํางานที่รอบสูงสุด 342 ถึง 369 ปอนด/ตร. นิ้ว
• อุณหภูมิน้ํามัน
45 ถึง 55 °C (113 ถึง 131 °F)
แผนคลัตช PTO ความหนา 1.70 ถึง 1.90 มม. 1.55 มม.
0.0670 ถึง 0.0748 นิ้ว 0.0610 นิ้ว
แผนเหล็ก PTO ความหนา 1.15 ถึง 1.25 มม. 1.1 มม.
0.0453 ถึง 0.0492 นิ้ว 0.043 นิ้ว
ลูกสูบ PTO ความโกงงอ – 0.15 มม.
0.0059 นิ้ว
แผนเหล็ก PTO ความโกงงอ – 0.30 มม.
0.01 นิ้ว
สปริงดันกลับ PTO ความยาวอิสระ 40.5 มม. 37.5 มม.
1.59 นิ้ว 1.48 นิ้ว
สปริงเบรก PTO ความยาวอิสระ 20.3 มม. 18 มม.
0.799 นิ้ว 0.71 นิ้ว
แหวนซีล ความหนา 2.45 ถึง 2.50 มม. 2.0 มม.
0.0965 ถึง 0.0984 นิ้ว 0.079 นิ้ว
9Y1210383CLS0009TH0

2-S4
M6040DT-SU, WSM คลัตช

3. คาแรงขัน
คาแรงขันสกรู โบลต และนอตที่กําหนดไวในตารางขางลางเปนคาแรงขันสําหรับสกรู โบลต และนอตชนิดพิเศษ (ถาใชสกรู โบลต
และนอตทั่วไป : ดูที่ “5. คาแรงขัน” ในหัวขอ ขอมูลทั่วไป)
รายการ นิวตัน·เมตร กิโลกรัมแรง·เมตร ปอนดแรง·ฟุต
สกรูยึดคลัตช 24 ถึง 27 2.4 ถึง 2.8 18 ถึง 20
สกรูปรับกามปูกดคลัตช 167 ถึง 191 17.0 ถึง 19.5 123 ถึง 141
สกรูยึดวาลวควบคุมคลัตช PTO 24 ถึง 27 2.4 ถึง 2.8 18 ถึง 20
นอตยึดลอหลัง 260 ถึง 304 26.5 ถึง 31.0 192 ถึง 224
โบลตและนอตยึดโครงกันคว่ํา (M6, 9T) 260 ถึง 304 26.5 ถึง 31.0 192 ถึง 224
นอต, สกรูยึดหองเกียรและหองคลัตช (นอตเกรด 11, M12) 103 ถึง 117 10.5 ถึง 12.0 76.0 ถึง 86.7
นอต, สกรูยึดหองเกียรและหองคลัตช (นอต, สกรูเกรด 7, M12) 78 ถึง 90 7.9 ถึง 9.2 58 ถึง 66
นอต, สกรูยึดหองเกียรและหองคลัตช (สกรูเกรด 9, M10) 61 ถึง 70 6.2 ถึง 7.2 45 ถึง 52
สกรูยึดฝาครอบชุดเกียรดานบน 24 ถึง 27 2.4 ถึง 2.8 18 ถึง 20
สกรูยึดตัวยึดประกับเสื้อคลัตช PTO 24 ถึง 27 2.4 ถึง 2.8 18 ถึง 20
สกรูยึดแผนเบรก 9.81 ถึง 11.2 1.00 ถึง 1.15 7.24 ถึง 8.31
9Y1210365CLS0003TH0

2-S5
M6040DT-SU, WSM คลัตช

4. การตรวจเช็คและการปรับตั้ง
[1] คลัตชสําหรับการขับเคลื่อน
ระยะฟรีแปนคลัตช
1. ดับเครื่องยนต และดึงกุญแจออก
2. คอยๆ เหยียบแปนคลัตชและวัดระยะฟรี “L” ที่แปนคลัตช
3. หากจําเปนตองปรับตั้ง ใหคลายนอตล็อก (1) และหมุนขอตอปรับตั้ง (2)
เพื่อปรับความยาวของกานเพลากดคลัตช (3)
4. ขันนอตล็อกใหมใหแนน (1)
ระยะฟรีคลัตช “L” ที่แปน 35 ถึง 45 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
คลัตช 1.4 ถึง 1.7 นิ้ว

(1) นอตล็อก (3) กานเพลากดคลัตช


(2) ขอตอปรับตั้ง
9Y1210365CLS0005TH0

2-S6
M6040DT-SU, WSM คลัตช

[2] คลัตช PTO


แรงดันที่วาลวระบายแรงดัน
1. สตารทเครื่องยนตเพื่ออุนน้ํามันเกียรใหรอน แลวดับเครื่องยนต
2. ถอดปลัก๊ (4) (PT1/8) บนหลอดวาลว PTO (5) ออก
3. ติดตัง้ ขอตอ (PT 1/8) (ใชเครื่องวัดแรงดันน้ํามันเครื่องสําหรับเครื่องยนตดีเซล
รหัสหมายเลข 07916-32032, ขอตอ 7), ขอตอเกลียว (3), สายแรงดัน (2)
และเกจวัดแรงดัน (1)
4. สตารทเครื่องยนตและเรงรอบเครื่องไวที่รอบสูงสุด
5. เลื่อนคันคลัตช PTO ไปที่ตําแหนง “ON” แลววัดคาแรงดัน
6. ถาแรงดันต่ํากวาปกติเฉพาะในขณะที่คลัตช PTO อยูในตําแหนงทํางาน
ใหตรวจเช็คระบบไฮดรอลิกของคลัตช PTO
7. หากคาที่วัดไดไมตรงตามคามาตรฐานที่กําหนดไว ใหคลายนอตล็อก (7)
และหมุนสกรู (6) เพื่อปรับตั้งใหม
ขอสําคัญ
• หามนําขอตออเนกประสงคของอุปกรณตอพวงมาเชื่อมตอกับเพลา PTO
ของแทรกเตอร ขณะทําการทดสอบ
แรงดันน้ํามันคลัตช PTO 2.36 ถึง 2.54 เมกะปาสคาล
(เมือ่ คันคลัตช PTO คามาตรฐานที่กําหนด 24.0 ถึง 26.0 กิโลกรัมแรง/ซม.2
อยูใ นตําแหนง “ทํางาน”) 342 ถึง 369 ปอนด/ตร. นิ้ว
แรงดันน้ํามันคลัตช PTO
(เมือ่ คันคลัตช PTO คามาตรฐานที่กําหนด ไมมีแรงดัน
อยูใ นตําแหนง “ไมทํางาน”)
สภาวะการทํางาน
• เครื่องยนตทํางานที่รอบสูงสุด
• อุณหภูมิน้ํามัน 45 ถึง 55°C (113 ถึง 131°F)
(ขอมูลอางอิง)
• หมุนสกรู (6) ตามเข็มนาฬิกา → แรงดันเพิ่ม
• หมุนสกรู (6) ทวนเข็มนาฬิกา → แรงดันลดลง
(1) เกจวัดแรงดัน (5) หลอดวาลว
(2) สายแรงดัน (6) สกรู
(3) ขอตอเกลียว (7) นอตล็อก
(4) ปลั๊ก (PT 1/8)
9Y1210365CLS0006TH0

2-S7
M6040DT-SU, WSM คลัตช
การโยกคันคลัตช PTO
1. ดับเครื่องยนต และดึงกุญแจออก
2. ตรวจเช็คคันคลัตช PTO (1) ที่ตําแหนง “ON” และตําแหนง “OFF” ของรองนํา
หคันคลัตช PTO
3. หากจําเปนตองปรับตั้ง ใหคลายนอตล็อก (3) แลวปรับความยาวสายควบคุมคลัตช
(2)
4. ขันนอตล็อกใหมใหแนน (3)
ขอสําคัญ
• หามนําขอตออเนกประสงคของอุปกรณตอพวงมาเชื่อมตอกับเพลา PTO
ของแทรกเตอร ขณะทําการทดสอบ
(1) คันคลัตช PTO A : OFF
(2) สายควบคุมคลัตช B : ON
(3) นอตล็อก
9Y1210365CLS0007TH0

2-S8
M6040DT-SU, WSM คลัตช

5. การถอดและการประกอบ
[1] คลัตชสําหรับการขับเคลื่อน
(1) การถอดเครื่องยนตออกจากเสื้อคลัตช
เพลาและแปนคลัตช
1. ถอดฝากระโปรงหนาและฝาครอบเครื่องดานหลังออก
2. ถอดปนล็อกที่ดานทายกานเพลากดคลัตช (2)
3. ถอดแหวนล็อกดานนอก (3)
4. ถอดแปนคลัตช (4)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีที่บุชแปนคลัตชและเพลาคันเหยียบคลัตช
ขอสําคัญ
• ตรวจสอบใหแนใจวาไดปรับระยะฟรีแปนคลัตชหลังจากประกอบกลับแปนคลัตช
เสร็จแลว
(1) สปริงดันกลับ (3) แหวนล็อกดานนอก
(2) กานเพลากดคลัตช (4) แปนคลัตช
9Y1210383CLS0008TH0

การถอดเครื่องยนตออกจากเรือนคลัตช
1. ดูที่ “[1] การถอดแยกเครื่องยนตออกจากเสื้อเรือนคลัตช” ที่หัวขอ “1. เครื่องยนต”
9Y1210383CLS0002TH0

2-S9
M6040DT-SU, WSM คลัตช
(2) การถอดคลัตช
การถอดคลัตช
1. ถอดคลัตชออกจากลอชวยแรง
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• หันดุมแผนคลัตชดานที่สั้นกวาเขาหาลอชวยแรง
• ทาสารหลอลื่นโมลิบดีนัมไดซัลไฟด (ทรีบอนด 1901 หรือเทียบเทา) ลงบนรองลิ่ม
ของแผนคลัตช
• ประกอบแผนกดคลัตช โดยสังเกตตําแหนงของสลักตรง
• เมื่อติดตัง้ ฝาครอบคลัตช (1) จะมีระยะหาง (a) ระหวางฝาครอบคลัตช (1)
กับพื้นผิวยึดลอชวยแรง
• ขันสกรูสี่ตวั “A”, “B”, “C” และ “D” จนฝาครอบคลัตชสัมผัสกับพื้นผิวยึดลอ
ชวยแรง ขันสกรูสามรอบเทาๆ กันโดยเรียงตามลําดับ “A-B-C-D” จนไมเหลือ
ระยะหาง (b)
• ขันสกรูตัวอื่นๆ ทั้งหมดใหสม่ําเสมอโดยเรียงตามแนวทแยงมุม
• ขันสกรูทั้งหมดใหแนนตามคาแรงขันที่กําหนดไว
• ตองแนใจวาความสูงของสปริงเกี่ยวไดอะแฟรม (2) เทากัน หากไมเทากัน
ทําซ้ําขั้นตอนที่ 2, 3 และ 4
ขอสําคัญ
• จัดเรียงกึ่งกลางของดิสกและลอชวยแรงโดยใสเครื่องนําศูนยคลัตช
หมายเหตุ
• ระวังไมใหจาระบีและน้ํามันเปอนบนผิวสัมผัสแผนคลัตช
24 ถึง 27 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยึดคลัตช 2.4 ถึง 2.8 กิโลกรัมแรง·เมตร
18 ถึง 20 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ฝาครอบคลัตช (a) ระยะหาง


(2) สปริงไดอะแฟรม (b) ไมมีระยะหาง
9Y1210365CLS0010TH0

2-S10
M6040DT-SU, WSM คลัตช
(3) ตัวยึดคลัตชและคันคลัตช
ตัวยึดคลัตชและคันคลัตช
1. ถอดตัวยึดคลัตช (5) และลูกปนกดคลัตช (2) ออกทั้งชุด
2. ถอดสกรูปรับตั้งกามปูกดคลัตช (1) ออก
3. ดึงคันคลัตช (4) ออกเพื่อถอดกามปูกดคลัตช (3)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ตรวจใหแนใจวาทิศทางของกามปูกดคลัตช (3) ถูกตอง
• ทาจาระบีเพิ่มลงบนตัวยึดคลัตช (5)
• ทาจาระบีลงบนบุชและคันคลัตช
• หลังจากขันสกรูปรับตัง้ กามปูกดคลัตชใหไดแรงขันที่กําหนด ใหใสสายไฟผานรู
บนหัวสกรูปรับตัง้ และพันเขากับกามปูกดคลัตช
167 ถึง 191 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูปรับตั้งกามปูกดคลัตช 17.0 ถึง 19.5 กิโลกรัมแรง·เมตร
123 ถึง 141 ปอนดแรง·ฟุต

(1) สกรูปรับตั้ง (4) คันคลัตช


(2) ลูกปนกดคลัตช (5) ตัวยึดคลัตช
(3) กามปูกดคลัตช
9Y1210365CLS0011TH0

[2] คลัตช PTO


(1) การถอดวาลวคลัตช PTO
ลอหลัง
1. วางแทนสําหรับถอดประกอบชิ้นสวนใตหองเกียร แลวประกอบรีซิสเตอรตัวเพลา
ลอหนา (ดูที่ “8. เครื่องมือพิเศษ” ในหัวขอ “G. ขอมูลทั่วไป)
2. ถอดลอหลังดานขวา (1)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
260 ถึง 304 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตยึดลอหลัง 26.5 ถึง 31.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
192 ถึง 224 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ลอหลังดานขวา
9Y1210383CLS0003TH0

2-S11
M6040DT-SU, WSM คลัตช
การถอดวาลวคลัตช PTO
1. ถอดทอสงน้ํามันสําหรับคลัตช PTO (2)
2. ถอดกานล็อกกันฟรี (5) ออก
3. ปลดเคเบิลคลัตช PTO (1) ที่ดานวาลว PTO
4. ถอดวาลวคลัตช PTO (3) ออกมา
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีที่แหวนยาง
• ระวังอยาใหแหวนยางเสียหาย
• เปลี่ยนทอน้ํามัน (6) ใหม
• ชโลมน้ํามันเกียรที่ทอน้ํามัน (6)
24 ถึง 27 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยึดวาลวควบคุมคลัตช PTO 2.4 ถึง 2.8 กิโลกรัมแรง·เมตร
18 ถึง 20 ปอนดแรง·ฟุต

(1) เคเบิลคลัตช PTO (4) ทอสงน้ํามัน 3P


(2) ทอสงน้ํามันสําหรับคลัตช PTO (5) กานล็อกกันฟรี
(3) วาลวคลัตช PTO (6) ทอน้ํามัน
9Y1210383CLS0004TH0

2-S12
M6040DT-SU, WSM คลัตช

[3] ชุดคลัตช PTO


(1) การถอดหองเกียร
การถายน้ํามันเกียร
1. วางถาดรองน้ํามันใตหองเกียร
2. ถอดปลั๊กถายน้ํามัน (1)
3. ถายน้ํามันเกียร
4. ใสปลั๊กถายน้ํามัน (1) กลับเขาที่
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• เมือ่ ถอดปลั๊กเติมน้ํามันออก ใหเติมน้ํามันใหมจากทอเติมน้ํามันจนปริมาณน้ํามัน
อยูที่ระดับเกจวัด
• หลังจากเดินเครื่องยนตเปนเวลา 2-3 นาที ใหหยุดเครื่องเพื่อตรวจเช็คระดับน้ํามัน
อีกครั้ง เติมน้ํามันใหไดระดับที่กําหนดหากระดับน้ํามันดังกลาวไมถูกตอง
40.0 ลิตร
น้ํามันเกียร ความจุ 42.3 ควอรตสหรัฐ
35.2 ควอรตอังกฤษ
ขอสําคัญ
• ใชเฉพาะน้ํามันคูโบตา SUPER UDT การใชน้ํามันเกียรชนิดอื่นจะทําใหระบบสง
กําลังหรือระบบไฮดรอลิกเกิดความเสียหาย
• ดูที่หัวขอ “4. สารหลอลื่น น้ํามันเชื้อเพลิง และน้ําระบายความรอน” ในหัวขอ
ขอมูลทั่วไป
• หามใชน้ํามันตางชนิดผสมเขาดวยกัน
(1) ปลั๊กถายน้ํามัน
9Y1210365CLS0015TH0
โครงกันคว่ําสวนบนและลอหลัง
1. วางแทนสําหรับถอดประกอบชิ้นสวนรองรับใตเสื้อเรือนคลัตชและหองเกียร
2. ประกอบรีซิสเตอรตัวเพลาลอหนา (ดูที่ “8. เครื่องมือพิเศษ” ในหัวขอ
“G. ขอมูลทั่วไป”)
3. ถอดกานยก (3), แขนยกตัวลาง (4) และโซยึดแขนขาง (2)
4. ถอดลอหลัง (1)
260 ถึง 304 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตยึดลอหลัง 26.5 ถึง 31.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
192 ถึง 224 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ลอหลัง (3) กานยก


(2) โซยึดแขนขาง (4) แขนยกตัวลาง
9Y1210383RAS0003TH0

2-S13
M6040DT-SU, WSM คลัตช
สายไฟควบคุมเสริม
1. ปลดสายไฟควบคุมเสริม (1)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ประกอบสายไฟควบคุมเสริม (1) ดูที่ “[4] สายไฟควบคุมเสริม” ในหัวขอ
“8. ระบบไฮดรอลิก”
(1) สายไฟควบคุมเสริม
9Y1210383CLS0007TH0

เบาะนั่ง, บังโคลน และโครงกันคว่ํา


1. ถอดเบาะนั่ง (3) ออก
2. ถอดที่จับคันโยกควบคุมตําแหนง (2)
3. ถอดที่จับคันเปลี่ยนความเร็วเสริม (5), ดามจับคันโยกเปลี่ยนตําแหนง DT (4)
และคันควบคุมความเร็วของชุดพวงอุปกรณ 3 จุด (6)
4. ถอดชุดคันโยกวาลวควบคุมเสริม (1)
5. ถอดสกรูยึดโครงกลาง (7)
6. ปลดขั้วตอสายไฟสําหรับไฟทายแบบรวม
7. ถอดบังโคลนดานซาย (8) ออก
8. ถอดฝาครอบคันเกียร PTO ออกจากบังโคลนดานขวา (10) แลวปลดขั้วตอสายไฟ
สวิตช PTO
9. ถอดบังโคลนดานขวา (11) ออก
10. ถอดโครงกันคว่ํา (9) และประกับ (10) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
260 ถึง 304 นิวตัน·เมตร
โบลตและนอตยึดโครงกันคว่ํา
คาแรงขัน 26.5 ถึง 31.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
(M16, 9T)
192 ถึง 224 ปอนดแรง·ฟุต

(1) คันควบคุมเสริม (7) สกรูยึดโครงกลาง


(2) ที่จับคันโยกควบคุมตําแหนง (8) บังโคลนดานซาย
(3) เบาะนั่ง (9) โครงกันคว่ํา
(4) ดามจับคันโยกเปลี่ยนตําแหนง DT (10) ประกับ
(5) ที่จับคันเปลี่ยนความเร็วเสริม (11) บังโคลนดานขวา
(6) คันควบคุมความเร็วของชุดพวงอุปกรณ
3 จุด
9Y1210365CLS0033TH0

ตัวค้ําเบาะ, โครงกลาง และทีเ่ หยียบ


1. ถอดทอเติมอากาศ (4) ออก
2. ถอดตัวค้ําเบาะ (2)
3. ถอดโครงกลาง (3)
4. ถอดฝาครอบ (1) และที่ชวยเหยียบ (5) ออกทั้งสองขาง
(1) ฝาครอบ (4) ทอเติมอากาศ
(2) ตัวค้ําเบาะ (5) ที่เหยียบ
(3) โครงกลาง
9Y1210383CLS0005TH0

2-S14
M6040DT-SU, WSM คลัตช
ทอน้ํามันไฮดรอลิก
1. ถอดทอดูด (2) ออก
2. ถอดทอสงน้ํามัน (1) ของปมไฮดรอลิกสําหรับอุปกรณยก 3 จุด
3. ถอดกานเพลากดเบรก (3) ออก
(1) ทอสงน้ํามัน (3) กานเพลากดเบรก
(2) ทอดูด
9Y1210365CLS0016TH0

คันเกียรเสริมและกานเพลากดเบรก
1. ถอดกานชิฟต (1)
2. ถอดกานเพลากดเบรก (2)
3. ถอดกาน DT (3) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ตองแนใจวาไดปรับกานชิฟตแลว
ประมาณ
ความยาวกานชิฟต L1 และ L2 คามาตรฐานที่กําหนด 209 มม.
8.23 นิ้ว

(1) กานชิฟต (3) กาน DT


(2) กานเพลากดเบรก
9Y1210383CLS0006TH0

2-S15
M6040DT-SU, WSM คลัตช
การถอดหองเกียร

1. ถอดฝาครอบชุดเกียรดานบน (1)
2. ถอดนอตและสกรูยึดหองเกียร แลวถอดแยกหองเกียรออกจากเสื้อคลัตช
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาน้ํายาทาปะเก็น (ทรีบอนด 1206C หรือเทียบเทา) ลงบนผิวหนาขอตอของ
หองเกียรและเสื้อคลัตช, ฝาครอบชุดเกียรดานบนและหองเกียร
นอตเกรด 103 ถึง 117 นิวตัน·เมตร
11, M12 10.5 ถึง 12.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
(3) 76.0 ถึง 86.7 ปอนดแรง·ฟุต
สกรูและนอตยึด นอต, 78 ถึง 90 นิวตัน·เมตร
หองเกียรกับเรือน สกรูเกรด 7.9 ถึง 9.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
คลัตช 7, M12 58 ถึง 66 ปอนดแรง·ฟุต
คาแรงขัน
61 ถึง 70 นิวตัน·เมตร
สกรูเกรด
6.2 ถึง 7.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
9, M10 (2)
45 ถึง 52 ปอนดแรง·ฟุต
24 ถึง 27 นิวตัน·เมตร
สกรูยึดฝาครอบชุดเกียรดานบน 2.4 ถึง 2.8 กิโลกรัมแรง·เมตร
18 ถึง 20 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ฝาครอบชุดเกียรดานบน (3) นอตยึดหองเกียร


(2) สกรูยึดหองเกียร
9Y1210365CLS0018TH0

2-S16
M6040DT-SU, WSM คลัตช
(2) การถอดคลัตช PTO
วาลวคลัตช PTO, คลัตช PTO และตัวยึด
1. ถอดวาลวคลัตช PTO (1) ออกมา
2. ถอดชุดคลัตช PTO (4) และตัวยึด (2) ออกมา
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาน้ํามันเกียรเขาที่แหวนยาง
• ถอดทอน้ํามัน (5) ทั้งสองทอออกจากตัวยึดคลัตช PTO
• ใสทอไฮดรอลิกทั้งคูเขาไปในรูวาลวคลัตช PTO โดยใสลงไปจนสุด
• ระหวางที่จดั ตําแหนงปลายทอไฮดรอลิกใหตรงกับรูตวั ยึดวาลวคลัตช PTO
ใหประกอบวาลวคลัตช PTO (1) เขากับหองเกียร
24 ถึง 27 นิวตัน·เมตร
สกรูยดึ วาลวคลัตช PTO 2.4 ถึง 2.8 กิโลกรัมแรง·เมตร
18 ถึง 20 ปอนดแรง·ฟุต
คาแรงขัน
24 ถึง 27 นิวตัน·เมตร
สกรูยดึ ตัวยึดประกับเสื้อคลัตช
2.4 ถึง 2.8 กิโลกรัมแรง·เมตร
PTO
18 ถึง 20 ปอนดแรง·ฟุต
ขอสําคัญ
• เมื่อประกอบกลับชุดคลัตช PTO ใหหันสวนที่ยื่นออกของแผนเบรก (3) ดังรูป
• หลังจากประกอบชุดคลัตช PTO อยาลืมตรวจเช็คการทำงานของลูกสูบโดยใชการ
เปาลม
(1) วาลวคลัตช PTO (4) ชุดคลัตช PTO
(2) ตัวยึด (5) ทอน้ํามัน
(3) แผนเบรก
9Y1210365CLS0014TH0

2-S17
M6040DT-SU, WSM คลัตช
(3) การถอดแยกชุดคลัตช PTO
ดุมคลัตชและแผนคลัตช
1. ถอดแหวนล็อกดานใน (6) ออก จากนั้นใหถอดแผนคลัตช (3), แหวนรองรูปจาน
(แหวนรองสปริงแบบถวย) (5), แผนรอง (4), แผนเหล็ก (7), (8) และดุมคลัตช (2)
ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ประกอบแผนคลัตช (3) และแผนเหล็ก (7), (8) เรียงสลับกัน (ตามรูปดานลาง)
• อยาประกอบแผนเหล็กทั้งสองแบบสลับกัน แผนเหล็กที่มีจุกยาง (7)
และแผนเหล็กที่ไมมีจุกยาง (8)
• อยาสับสนระหวางแผนรอง (4) และแผนเหล็ก แผนรอง (4) จะหนากวาแผนเหล็ก
• ประกอบจุกยางของแผนเหล็กทั้งสองที่ดานแผนรองใหอยูในตําแหนงเดียวกัน
(ตามรูปดานลาง)
• ชโลมน้ํามันเกียรลงบนแผนคลัตช (3)
• ตรวจเช็คความลื่นของลูกสูบ (11) โดยการอัดแรงดันอากาศ 0.29 ถึง 0.39
เมกะปาสคาล (3 ถึง 4 กิโลกรัมแรง/ซม.2, 42 ถึง 57 ปอนด/ตร. นิ้ว) เขาไปใน
ชุดคลัตช (ตามรูป)
• ประกอบแผนเหล็กที่มีจุกยาง (7) และแผนเหล็กที่ไมมีจุกยาง (8) สลับกัน
ซึ่งแผนเหล็กจะเปนสวนที่เพิ่มเขาไปโดยที่สวนของจุกยางจะไมตรงกับสวนของรู
• อยาลืมติดตัง้ แหวนรองรูปจาน (แหวนรองสปริงแบบถวย) (5) ตามรูป

(1) เสื้อคลัตช (7) แผนเหล็ก (มีจุกยาง)


(2) ดุมคลัตช (8) แผนเหล็ก (ไมมจี ุกยาง)
(รุนเปลี่ยนทิศทางดวยระบบไฮดรอลิก) (9) จุกยาง
(3) แผนคลัตช (10) ลูกปน
(4) แผนรอง (11) ลูกสูบ
(5) แหวนรองรูปจาน (12) สปริง
(แหวนรองสปริงแบบถวย)
(6) แหวนล็อกดานใน
9Y1210365CLS0035TH0

2-S18
M6040DT-SU, WSM คลัตช
เสื้อคลัตช
1. ถอดแหวนล็อกดานใน (1) ออก
2. ถอดแหวนล็อกดานนอก (2)
3. ถอดเสื้อคลัตช (7) และแผนเบรก (5)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทําการประกบจานเบรก (5) เขากับแผนเบรก (6) โดยตรง
• ทาจาระบีบางๆ ที่แหวนซีล (8)
(1) แหวนล็อกดานใน (5) จานเบรก
(2) แหวนล็อกดานนอก (6) แผนเบรก
(3) ตัวยึดคลัตช (7) เสื้อคลัตช
(4) แหวนรอง (8) แหวนซีล
9Y1210365CLS0019TH0
แผนเบรก
1. ถอดสกรูยึดแผนเบรก (3) แลวถอดแผนเบรก (4) และสปริง (2) ออกมา
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาน้ํายากันคลาย (ทรีบอนด 1372 หรือเทียบเทา) ที่สกรูยึดแผนเบรก (3)
9.81 ถึง 11.2 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยดึ แผนเบรก 1.00 ถึง 1.15 กิโลกรัมแรง·เมตร
7.24 ถึง 8.31 ปอนดแรง·ฟุต

(1) เสือ้ คลัตช (3) สกรูยึดแผนเบรก


(2) สปริง (4) แผนเบรก
9Y1210365CLS0020TH0
ลูกสูบ
1. อัดแหวนรอง (6) โดยใชเครื่องอัดสปริงของคลัตชระบบไฮดรอลิก
(ดูที่ “8. เครื่องมือพิเศษ” ในหัวขอ “G. ขอมูลทั่วไป”)
2. ถอดแหวนล็อกดานนอก (7) ออก
3. ถอดลูกสูบ (4)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ชโลมน้ํามันเกียรที่แหวนกันซีล (3) และ (7)
(1) เสือ้ คลัตช (6) แหวนรอง
(2) แทนกด (7) แหวนล็อกดานนอก
(3) แหวนซีล (8) แหวนซีล
(4) ลูกสูบ
(5) สปริง A : 41 มม. (1.6 นิ้ว)
9Y1210365CLS0036TH0

2-S19
M6040DT-SU, WSM คลัตช

6. การตรวจซอม
[1] คลัตชของระบบขับเคลื่อน
ชองวางระหวางเพลาคันเหยียบคลัตชกับบุชคันเหยียบคลัตช
1. วัดความโตภายนอกของเพลาคันเหยียบคลัตชดวยไมโครมิเตอรภายนอก
2. วัดความโตภายในของบุชคันเหยียบคลัตชดวยเกจวัดกระบอกสูบ
3. คํานวณระยะหาง
4. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนบุช
0.0250 ถึง 0.185 มม.
ชองวางระหวางเพลาคัน คามาตรฐานที่กําหนด
0.000985 ถึง 0.00728 นิ้ว
เหยียบคลัตชกับบุชคันเหยียบ
คลัตช 1.00 มม.
คาที่ยอมได
0.0394 นิ้ว

ความโตภายนอกของเพลาคัน 27.900 ถึง 27.975 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
เหยียบคลัตช 1.0985 ถึง 1.1013 มม.
ความโตภายในบุชคันเหยียบ 28.000 ถึง 28.085 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
คลัตช 1.1024 ถึง 1.1057 นิ้ว
9Y1210365CLS0021TH0
ระยะฟนเฟองระหวางรองฟนของดุมแผนคลัตชและเพลา
1. ประกอบแผนคลัตชเขากับเพลาเฟอง
2. ยึดเพลาไมใหหมุนตาม
3. หมุนจานเบาๆ และวัดระยะเคลื่อนตัวที่ขอบจานลดแรงสั่นสะเทือน
4. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนแผนคลัตชใหม
ระยะเคลื่อนตัวที่ขอบ 2.0 มม.
คาที่ยอมได
แผนคลัตช 0.079 นิ้ว
9Y1210365CLS0022TH0
ลูกปนกดคลัตช
1. ตรวจเช็คการสึกหรอที่ผิดปกติบนผิวสัมผัส
2. หมุนปลอกดานนอกลูกปน พรอมออกแรงกด
3. หากการหมุนของลูกปนนั้นขรุขระหรือมีเสียงรบกวน ใหเปลี่ยนลูกปนกดคลัตช
ใหม
หมายเหตุ
• หามกดปลอกดานนอกลูกปน ระหวางเปลี่ยนลูกปนกดคลัตช
• หามลางลูกปนกดคลัตชดวยสารละลายทําความสะอาด
9Y1210365CLS0023TH0

2-S20
M6040DT-SU, WSM คลัตช
ความสึกของแผนคลัตช
1. ใชเกจวัดความลึกวัดความลึกจากพื้นผิวแผนคลัตชไปที่ดานบนของหมุดยึด
อยางนอย 10 จุด
2. หากคาความลึกที่วัดไดนอยกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนแผนคลัตชใหม
3. หากมีน้ํามันติดอยูที่แผนคลัตช หรือมีคราบคารบอนติดอยูบนพื้นผิวแผนคลัตช
ใหเปลี่ยนแผนคลัตชใหม
ในกรณีดังกลาว ตรวจสอบการรั่วของน้ํามันที่ซีลกันน้ํามันเพลาเฟองสงกําลัง
ซีลกันน้ํามันดานทายเครื่องยนต และจุดอื่นๆ
ผิวหนาแผนคลัตชถึงดานบน 0.3 มม.
คาที่ยอมได
หมุดยึด (ความลึก) 0.01 นิ้ว
9Y1210365CLS0024TH0
การตรวจเช็คชุดแผนกดคลัตชและลอชวยแรง
1. ทําความสะอาดชิ้นสวนที่ถอดแยกออกมายกเวนแผนคลัตช ดวยสารละลาย
สําหรับทําความสะอาดเพื่อกําจัดคราบสกปรกและจาระบีกอนทําการตรวจเช็ค
และปรับตัง้
2. ตรวจเช็คผิวสวนที่ฝดของแผนกดคลัตชและลอชวยแรงวามีรอยขีดขวนหรือ
ขรุขระหรือไม
• สามารถขัดสวนที่ขรุขระเล็กนอยออกไดโดยใชกระดาษทรายละเอียด
• หากชิ้นสวนเหลานี้มีรอยขีดขวนหรือรองลึกบนพื้นผิว ควรเปลี่ยนใหม
3. ตรวจเช็คพื้นผิวของสปริงไดอะแฟรมดูการสึกหรอ
หากพบวาชํารุดเกินไป ใหเปลี่ยนชุดฝาครอบคลัตชใหม
4. ตรวจดูวาแหวนกันรุน (หวงลวด) มีรอยสึกเสียหายหรือไม
เนื่องจากชิ้นสวนเหลานี้จะมองไมเห็นจากดานนอก ใหเขยาชุดแผนกดคลัตช
ขึ้นลงเพื่อฟงเสียงกระทบหรือตอกที่หมุดยึดเบาๆ เพื่อหาเสียงแตก เสียงตางๆ
เหลานี้แสดงวาทานจําเปนตองเปลี่ยนชิ้นสวนใหมทั้งชุด
ระยะผลตางในตัวสปริง 0.5 มม.
คาที่ยอมได
ไดอะแฟรม 0.02 นิ้ว
9Y1210365CLS0025TH0
ความเรียบของแผนกดคลัตช
1. วางบรรทัดเหล็กบนแผนกดคลัตช แลวใชฟลเลอรเกจวัดระยะหางหลายๆ จุด
2. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนใหม
3. เมือ่ แหวนกันรุนดานนอกสึก สวนดานในเทานั้นที่สัมผัสกับบรรทัดเหล็ก
ใหเปลี่ยนใหมแมวาระยะหางจะอยูภายในคาที่ยอมไดก็ตาม
ชองวางระหวางแผนกดคลัตช 0.2 มม.
คาที่ยอมได
กับบรรทัดเหล็ก 0.008 นิ้ว

A : ดานใน B : ดานนอก
9Y1210365CLS0026TH0

2-S21
M6040DT-SU, WSM คลัตช

[2] คลัตช PTO


ความสึกของแผนเหล็ก PTO
1. วัดความหนาของแผนเหล็ก PTO ดวยเวอรเนียแคลิปเปอร
2. หากคาที่วัดไดนอยกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนแผนคลัตชใหม
1.15 ถึง 1.25 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
0.0453 ถึง 0.0492 นิ้ว
ความหนาของแผนเหล็ก PTO
1.1 มม.
คาที่ยอมได
0.043 นิ้ว
9Y1210365CLS0027TH0

ความสึกของแผนคลัตช PTO
1. วัดความหนาของแผนคลัตช PTO ดวยเวอรเนียแคลิปเปอร
2. หากคาที่วัดไดนอยกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนแผนคลัตชใหม
1.70 ถึง 1.90 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
0.0670 ถึง 0.0748 นิ้ว
ความหนาของแผนคลัตช PTO
1.55 มม.
คาที่ยอมได
0.0610 นิ้ว
9Y1210365CLS0031TH0

ความเรียบของลูกสูบ PTO และแผนเหล็ก PTO


1. วางชิ้นงานไวบนพื้นผิวเรียบ
2. ตรวจเช็ควาสามารถสอดฟลเลอรเกจ (ขนาดที่ยอมรับได) เขาไปเพื่อวัดระยะหาง
ของทั้งสี่จุด
3. ถาสามารถสอดฟลเลอรเกจเขาไปได ใหเปลี่ยนชิ้นงานนั้นใหม
0.15 มม.
ความเรียบของลูกสูบ PTO คาที่ยอมได
0.0059 นิ้ว

0.30 มม.
ความเรียบของแผนเหล็ก PTO คาที่ยอมได
0.01 นิ้ว
9Y1210365CLS0028TH0
ความยาวอิสระของสปริงดันกลับลูกสูบ
1. วัดระยะความยาวอิสระดวยเวอรเนียแคลิปเปอร
2. หากคาที่วัดไดนอยกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนใหม
40.5 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ความยาวอิสระของสปริง 1.59 นิ้ว
ดันกลับ PTO 37.5 มม.
คาที่ยอมได
1.48 นิ้ว

20.3 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ความยาวอิสระของสปริงเบรก 0.799 นิ้ว
PTO 18 มม.
คาที่ยอมได
0.71 นิ้ว
9Y1210365CLS0029TH0

2-S22
M6040DT-SU, WSM คลัตช
ความหนาของแหวนซีล
1. วัดความหนาของแหวนซีล (1) ดวยไมโครมิเตอรวัดนอก
2. หากคาที่วัดไดนอยกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนใหม
2.45 ถึง 2.50 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
0.0965 ถึง 0.0984 นิ้ว
ความหนาของแหวนซีล
2.0 มม.
คาที่ยอมได
0.0079 นิ้ว

(1) แหวนซีล
9Y1210365CLS0030TH0

2-S23
3 ชุดเกียร
ระบบกลไก

สารบัญ
1. โครงสราง ....................................................................................................................................... 3-M1
2. ระบบขับเคลื่อน ................................................................................................................................ 3-M2
[1] สวนเกียรหลัก ............................................................................................................................ 3-M2
[2] สวนเกียรเปลี่ยนทิศทาง (เกียรต่ํา - เกียรถอยหลัง).................................................................................. 3-M3
[3] สวนเปลี่ยนเกียรความเร็วสูง ........................................................................................................... 3-M4
[4] การเชื่อมตอของระบบกลไกการเปลี่ยนเกียร ........................................................................................ 3-M5
[5] สวนเกียรขับเคลื่อนสี่ลอ ................................................................................................................ 3-M6
3. ระบบ PTO ...................................................................................................................................... 3-M7
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร

1. โครงสราง

(1) สวนคลัตช (2) สวนเกียรหลัก (3) สวนเกียรเสริม (H, R-L) (4) คลัตช PTO (5) สวนเกียร PTO (6) สวนขับเคลื่อนลอหนา

3-M1
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร

2. ระบบขับเคลื่อน
[1] สวนเกียรหลัก
(1) เพลาเฟอง 21 ฟน
(2) เฟอง 34 ฟน
(3) เพลาที่ 1
(4) เฟอง 25 ฟน
(5) เฟอง 20 ฟน
(6) ปลอกเลื่อน
(7) ดุม
(8) เฟอง 19 ฟน
(9) ปลอกเลื่อน
(10) ดุม
(11) เฟอง 23 ฟน
(12) เฟอง 28 ฟน
(13) เฟอง 36 ฟน
(14) เพลาที่ 2

ชุดเกียรหลักนี้ใชเฟองสงกําลังแบบซิงโครเมชและคอนสแตนเมช
แรงที่สงผานคลัตชจากเครื่องยนตไปที่เพลาเฟอง (1) จะเปลี่ยนไปสี่แบบโดยการใชคันเกียรหลักโยกปลอกเลื่อน แลวสงไปที่เพลาที่ 2 (14)
ระบบจะสงกําลังตามลําดับดังนี้
1) เกียร 1
เพลาเฟอง 21 ฟน (1) → เฟอง 34 ฟน (2) → เพลาที่ 1 (3) → ดุมเกียร (7) → ปลอกเลื่อน (6) → เฟอง 19 ฟน (8) → เฟอง 36 ฟน (13) →
เพลาที่ 2 (14)
2) เกียร 2
เพลาเฟอง 21 ฟน (1) → เฟอง 34 ฟน (2) → เพลาที่ 1 (3) → ดุมเกียร (7) → ปลอกเลื่อน (6) → เฟอง 20 ฟน (5) → เฟอง 28 ฟน (12) →
เพลาที่ 2 (14)
3) เกียร 3
เพลาเฟอง 21 ฟน (1) → เฟอง 34 ฟน (2) → เพลาที่ 1 (3) → เฟอง 25 ฟน (4) → เฟอง 23 ฟน (11) → ปลอกเลื่อน (9) → ดุมเกียร (10) →
เพลาที่ 2 (14)
4) เกียร 4
เพลาเฟอง 21 ฟน (1) → ปลอกเลื่อน (9) → ดุมเกียร (10) → เพลาที่ 2 (14)
9Y1210365TRM0004TH0

3-M2
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร

[2] สวนเกียรเปลี่ยนทิศทาง (เกียรต่ํา - เกียรถอยหลัง)


สวนเกียรเปลี่ยนทิศทาง
สวนเกียรเปลี่ยนทิศทางนี้ มีหนาที่เปลี่ยนทิศทางระหวางเดินหนา
และถอยหลัง โดยการโยกที่คันเปลี่ยนความเร็วเสริม ซึ่งจะใชคันเกียร
แบบซิงโครเมช
นอกจากนี้ ยังใชเปนตัวทดรอบเมื่อเปลี่ยนเกียรจากเดินหนาเปน
ถอยหลัง
เมื่อโยกคันเปลี่ยนความเร็วเสริมไปที่ L หรือ R ปลอกเลื่อน (4)
จะเลื่อนไปดานหลังหรือดานหนาดวยกลไกเชื่อมตอเพื่อขบกับเฟอง
32 ฟน (7) หรือเฟอง 41 ฟน (3)
จากนั้น ระบบจะสงกําลังไปที่เพลาที่ 3 (6)
ระบบจะสงกําลังตามลําดับดังนี้
L : เกียรต่ํา (เดินหนา)
เฟอง 13 ฟน (2) → เฟอง 41 ฟน (3) → ปลอกเลื่อน (4) → ดุมเกียร
(5) → เพลาที่ 3 (6)
R : ถอยหลัง
เฟอง 13 ฟน (2) → เฟอง 35 ฟน (1) → เฟอง 32 ฟน (7) →
ปลอกเลื่อน (4) → ดุมเกียร (5) → เพลาที่ 3 (6)
(1) เฟอง 35 ฟน (6) เพลาที่ 3
(2) เพลาเฟอง 13 ฟน (เพลาที่ 2) (7) เฟอง 32 ฟน
(3) เฟอง 41 ฟน
(4) ปลอกเลื่อน L : เกียรต่ํา (เดินหนา)
(5) ดุมเกียร R : ถอยหลัง
9Y1210365TRM0005TH0
ซิงโครเมช (แบบ Double Corn)
ซิงโครเมชแบบ Double Corn มีคุณสมบัติดานความทนทานที่
เพิ่มขึ้นและใชแรงในการทํางานนอยลง ทั้งนี้เนื่องจากระบบนี้จะขบกับ
เฟองดวยการหมุนยอนกลับเมื่อมีการเปลี่ยนความเร็วเครื่องยนตจาก
ตําแหนงเดินหนาไปตําแหนงถอยหลัง หรือจากตําแหนงถอยหลังไป
ตําแหนงเดินหนา
แหวนซิงโครไนเซอร (3) และ (5) ทั้งสองตัวจะติดตั้งไวดานหนึ่ง
โดยจะมีแหวนกลาง (4) คั่นกลางระหวางแหวนซิงโครไนเซอรทั้งสอง
โครงสรางนี้เพิ่มความทนทานเปนสองเทาเมื่อเทียบกับระบบซิงโครเมช
แบบคียทั่วไป
(1) เพลาที่ 3 (6) สปริงซิงโครไนเซอร
(2) เฟอง 32 ฟน (7) ดุม
(3) แหวนซิงโครไนเซอรนอก (8) ลิ่มซิงโครไนเซอร
(4) แหวนกลาง (9) ปลอกเลื่อน
(5) แหวนซิงโครไนเซอรใน (10) เฟอง 41 ฟน
9Y1210365TRM0006TH0

3-M3
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร

[3] สวนเปลี่ยนเกียรความเร็วสูง
(1) เพลาเฟอง 21 ฟน
(2) เพลาที่ 1
(3) เฟอง 28 ฟน
(4) เพลาที่ 2
(5) เพลาที่ 3
(6) ดุมเกียร
(7) ปลอกเลื่อน
(8) เฟอง 24 ฟน

สวนเกียรหลักความเร็วสูงจะทําใหผูใชงานเปลี่ยนเกียรเปนความเร็วสูงโดยใชคันเปลี่ยนความเร็วเสริม
เมื่อโยกคันเปลี่ยนความเร็วเสริมไปที่ตําแหนง Hi ปลอกเลื่อน (6) จะเลื่อนไปขางหนาโดยการเชื่อมตอดวยเชิงกลเพื่อขบกับเฟอง 24 ฟน (8)
ระบบจะสงกําลังตามลําดับดังนี้
H : ความเร็วสูง
เพลาที่ 2 (4) → เฟอง 28 ฟน (3) → เฟอง 24 ฟน (8) → ปลอกเลื่อน (7) → ดุมเกียร (6) → เพลาที่ 3 (5)
9Y1210365TRM0007TH0

3-M4
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร

[4] การเชื่อมตอของระบบกลไกการเปลี่ยนเกียร
คันเกียร
คันเกียรหลัก (1) จะอยูบนเสื้อเรือนคลัตช
คันเปลี่ยนความเร็วเสริม (2) จะอยูทางดานซายของเบาะนั่ง
(1) คันเกียรหลัก (2) คันเปลี่ยนความเร็วเสริม
9Y1210365TRM0008TH0

เกียรหลัก
การเชื่อมตอจะเริ่มจากคันเกียร (5) ไปที่กา มปู (1) และ (2)
ตามรูปดานซาย ความเร็วตั้งแตเกียร 1 ถึงเกียร 4 สามารถเปลี่ยนไดโดย
ใชคันเกียร (5)
เมื่อโยกคันเกียร (5) ไปดานซาย คันเกียรจะขบกับกามปู 1-2 (1)
ทําใหผูใชงานสามารถเปลี่ยนความเร็วเปนเกียร 1 หรือเกียร 2 ได
เมื่อโยกคันเกียร (5) ไปดานขวา คันเกียรจะขบกับกามปู 3-4 (2)
ทําใหผูใชงานสามารถเปลี่ยนความเร็วเปนเกียร 3 หรือเกียร 4 ได
(1) กามปู 1-2 (4) กามปู 2
(2) กามปู 3-4 (5) คันโยก
(3) กามปู 1
9Y1210365TRM0009TH0

คันเปลี่ยนความเร็วเสริม
การเชื่อมตอจะเริ่มจากคันเกียร (1) ไปที่กา มปู (2) และ (3)
ตามรูปดานซาย
เมื่อโยกคันเกียร (1) ไปดานซาย แขนเลื่อน (4) จะคบกับกามปู L-R
(2) ทําใหผูใชงานสามารถเปลี่ยนความเร็วเปนเกียรต่ําหรือเกียรถอยหลัง
ได
เมื่อโยกคันเกียร (1) ไปดานขวา แขนเลื่อน (5) จะคบกับกามปู H (3)
ทําใหผูใชงานสามารถเปลี่ยนความเร็วเปนเกียรสูงได
(1) คันโยก (4) แขนเลื่อน
(2) กามปู L-R (5) แขนเลื่อน
(3) กามปู H
9Y1210365TRM0010TH0

3-M5
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร

[5] สวนเกียรขับเคลื่อนสี่ลอ
ผูใชงานสามารถเลือกระบบขับเคลื่อน 2 ลอหรือระบบขับเคลื่อน 4
ลอไดโดยเปลี่ยนตําแหนงของปลอกเลื่อน (2) ที่เพลากลาง 1 (1)
โดยใชคันเกียรขับเคลื่อนลอหนา
เมื่อปรับคันเกียรขับเคลื่อนลอหนาไปที่ “Disengaged” (ไมทํางาน)
ปลอกเลื่อนจะอยูในตําแหนงวาง และจะไมมีการสงกําลังไปที่เพลากลาง
1 (1)
Q ใชระบบขับเคลื่อน 4 ลอ
เพลาที่ 3 (6) → เฟอง 23 ฟน (5) → เฟอง 25 ฟน (4) → เฟอง 21 ฟน
(3) → ปลอกเลื่อน (2) → เพลากลาง 1 (1)
(1) เพลากลาง 1 (4) เฟอง 25 ฟน
(2) ปลอกเลื่อน (5) เฟอง 23 ฟน
(3) เฟอง 21 ฟน (6) เพลาที่ 3
9Y1210365TRM0011TH0

3-M6
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร

3. ระบบ PTO
แทรกเตอรทุกรุนจะมีระบบ Live PTO (PTO อิสระ) ซึ่งจะมีระบบควบคุมคลัตชทั้งหมดแยกเปนอิสระจากชุดเกียรและคลัตชของระบบขับเคลื่อน
ดังนั้น ระบบ PTO สามารถทํางานในขณะที่จอดแทรกเตอรไว ทั้งนี้ ระบบ PTO สามารถเลือกใหทํางานหรือไมทํางานในขณะที่ผูใชงานกําลัง
ขับแทรกเตอรได
ระบบ PTO ใชความเร็ว 540 นาที-1 (รอบตอนาที) จากความเร็วเพลา PTO หลัง

(1) เพลากลาง PTO (3) เพลากลาง PTO 2 (5) เฟอง 51 ฟน (6) เพลา PTO
(2) คลัตช PTO (4) เพลาเฟอง 12 ฟน
เมื่อโยกคันคลัตช PTO จากตําแหนง “OFF” ไปตําแหนง “ON” เพื่อเขาคลัตช PTO (2) เพลากลาง PTO (1) จะเชื่อมตอกับเพลาเฟอง (3)
ผานเพลากลาง PTO 2 (3)
ทําใหรอบความเร็วของเพลากลาง PTO (1) ถูกสงไปที่เพลาเฟอง (3) ซึ่งจะเกิดการสงกําลังดังนี้
เพลากลาง PTO (1) → คลัตช PTO (2) → เพลากลาง PTO 2 (3) → เพลาเฟอง 12 ฟน (4) → เฟอง 51 ฟน (5) → เพลา PTO (6)
9Y1210383TRM0002TH0

3-M7
การตรวจซอม

สารบัญ
1. ปญหาและวิธีการแกไข ........................................................................................................................3-S1
2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ .........................................................................................................3-S2
3. คาแรงขัน .........................................................................................................................................3-S3
4. การตรวจเช็คและการปรับตัง้ .................................................................................................................3-S4
[1] คันเกียรเสริม ..............................................................................................................................3-S4
5. การถอดและการประกอบ .....................................................................................................................3-S5
[1] การเตรียมการกอนถอดแยกชิ้นสวนเครื่องยนต เสื้อเรือนคลัตช และหองเกียร .................................................3-S5
(1) การถอดเครื่องยนตและเสื้อเรือนคลัตช .........................................................................................3-S5
(2) การถอดแยกชิ้นสวนเสื้อเรือนคลัตชและหองเกียร ............................................................................3-S5
[2] การถอดแยกหองคลัตช ..................................................................................................................3-S6
[3] การถอดแยกเฟอง DT ..................................................................................................................3-S13
[4] หองเกียร .................................................................................................................................3-S15
(1) การแยกชุดเพลาลอหลัง .........................................................................................................3-S15
(2) หองเกียร PTO.....................................................................................................................3-S16
(3) กามปูล็อกกันฟรี ..................................................................................................................3-S17
(4) การถอดชุดเฟองทาย .............................................................................................................3-S18
(5) เพลาเดือยหมู ......................................................................................................................3-S18
(6) เฟองทาย ...........................................................................................................................3-S19
6. การดูแลตรวจสอบ ............................................................................................................................3-S21
[1] ลูกปน กามปู และซิงโครไนเซอร ....................................................................................................3-S21
[2] เฟองทาย .................................................................................................................................3-S22
(1) คาแรงบิดของเพลาเฟองดอกจอก 9 ฟน .......................................................................................3-S22
(2) ระยะฟนเฟองและหนาสัมผัสฟน ..............................................................................................3-S23
(3) เฟองทาย ...........................................................................................................................3-S25
[3] กามปูล็อกกันฟรี ........................................................................................................................3-S26
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร

1. ปญหาและวิธีการแกไข
อาการ สาเหตุ วิธีแกไข ดูทหี่ นา
เกียรเสียงดังผิดปกติ ระดับน้ํามันเกียรต่ํากวาที่กําหนด เติมใหไดระดับที่กําหนด G-10
ระยะฟนเฟองระหวางเพลาขางกับเฟองบายศรีไมถูกตอง เปลี่ยนใหม 3-S25
ระยะฟนเฟองระหวางเฟองดอกจอกกับเฟองขางไมถูกตอง ปรับตั้งใหม 3-S25
ไมใสแหวนรองหรือแผนชิม ซอมแซม 3-S22
ตลับลูกปนสึกหรอ เปลี่ยนใหม –
เกียรหลุดหรือไมขบกัน ปลอกเลื่อนหรือกามปูสึกหรอหรือชํารุด เปลี่ยนใหม 2-S9
สปริงล็อกกามปูลาหรือเสียหาย เปลี่ยนใหม 2-S9
เม็ดลูกปนล็อกกามปูหลุด ประกอบใหม 2-S9
ชุดซิงโครไนเซอรชํารุด ซอมหรือเปลี่ยนใหม 2-S12
เขาเกียรยาก ปลอกเลื่อนหรือกามปูสึกหรอหรือชํารุด เปลี่ยนใหม 2-S9
กามปูงอ เปลี่ยนใหม 2-S9
ชุดซิงโครไนเซอรชํารุด ซอมหรือเปลี่ยนใหม 2-S12
เกิดกระแทกขณะเขาเกียร ชุดซิงโครไนเซอรชํารุด ซอมหรือเปลี่ยนใหม 2-S12
คลัตชไมปลอย ปรับตั้งใหม 2-S6
ล็อกกันฟรีไมทํางาน กามปูล็อกกันฟรีชํารุด เปลี่ยนใหม 3-S17
สลักสปริงยึดล็อกกันฟรีชํารุด เปลี่ยนใหม 3-S17
ปรับตั้งการเลื่อนตัวของกามปูล็อกกันฟรีไมถูกตอง ปรับตั้งใหม 3-S26
คันเหยียบล็อกกันฟรีไม สปริงลูกเบี้ยวล็อกกันฟรีลาหรือชํารุด เปลี่ยนใหม 3-S17
เลื่อนกลับ สลักรอยกลไกการทํางานชํารุด ซอมหรือเปลี่ยนใหม 3-S17
9Y1210383TRS0001TH0

3-S1
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร

2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ
รายการ คามาตรฐานทีก่ ําหนด คาที่ยอมได
กามปูกับรองปลอกเลื่อน
• เกียร 3 - เกียร 4 ระยะหาง 0.05 ถึง 0.3 มม. 0.80 มม.
0.062 ถึง 0.01 นิ้ว 0.031 นิ้ว

• เกียรอื่น ระยะหาง 0.15 ถึง 0.40 มม. 0.80 มม.


0.0059 ถึง 0.015 นิ้ว 0.031 นิ้ว
กานชิฟต ความยาว ประมาณ –
209 มม.
8.23 นิ้ว
เพลาเดือยหมู แรงบิดจากการหมุน 3.0 ถึง 3.4 นิวตัน·เมตร –
0.30 ถึง 0.35 กิโลกรัมแรง·เมตร
2.2 ถึง 2.5 ปอนดแรง·ฟุต
เฟองบายศรีถึงเพลาเดือยหมู ระยะฟนเฟอง 0.20 ถึง 0.30 มม. 0.4 มม.
0.0079 ถึง 0.011 นิ้ว 0.02 นิ้ว
รูเสื้อเฟองทาย (รูฝาครอบเสื้อเฟองทาย) กับดุมเฟองขาง ระยะหาง 0.0500 ถึง 0.151 มม. 0.35 มม.
0.00197 ถึง 0.00594 นิ้ว 0.014 นิ้ว

• รูเสื้อเฟองทาย ความโตภายใน 40.500 ถึง 40.550 มม. –


1.5945 ถึง 1.5964 นิ้ว

• รูฝาครอบเสื้อเฟองทาย ความโตภายใน 40.500 ถึง 40.550 มม. –


1.5945 ถึง 1.5964 นิ้ว

• ดุมเฟองขาง ความโตภายนอก 40.388 ถึง 40.450 มม. –


1.5901 ถึง 1.5925 นิ้ว
เพลาเฟองดอกจอกถึงเฟองดอกจอก ระยะหาง 0.060 ถึง 0.102 มม. 0.25 มม.
0.00237 ถึง 0.00401 นิ้ว 0.0098 นิ้ว

• เพลาเฟองดอกจอก ความโตภายนอก 19.959 ถึง 19.980 มม. –


0.78579 ถึง 0.78661 นิ้ว

• เฟองดอกจอก ความโตภายใน 20.040 ถึง 20.061 มม. –


0.78898 ถึง 0.78980 นิ้ว
เฟองดอกจอกถึงเฟองขาง ระยะฟนเฟอง 0.15 ถึง 0.30 มม. 0.4 มม.
0.0059 ถึง 0.011 นิ้ว 0.02 นิ้ว
ปลอกเลื่อนล็อกกันฟรี การเคลื่อนเขาไปแทนที่ 6.0 ถึง 8.0 มม. –
0.24 ถึง 0.31 นิ้ว
9Y1210365TRS0002TH0

3-S2
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร

3. คาแรงขัน
คาแรงขันสกรู โบลต และนอตที่กําหนดไวในตารางขางลางเปนคาแรงขันสําหรับสกรู โบลต และนอตชนิดพิเศษ
(ถาใชสกรู โบลต และนอตทั่วไป : ดูที่ “5. คาแรงขัน” ในหัวขอ ขอมูลทั่วไป)
รายการ นิวตัน·เมตร กิโลกรัมแรง·เมตร ปอนดแรง·ฟุต
แทนพวงมาลัย 78 ถึง 90 7.9 ถึง 9.2 58 ถึง 66
สกรูยึดฝาครอบคันเกียรหลัก 24 ถึง 27 2.4 ถึง 2.8 18 ถึง 20
สกรูปรับตั้งกามปูกดคลัตช 167 ถึง 186 17.0 ถึง 19.0 123 ถึง 137
นอตและสกรูยึดตัวยึดประกับ 24 ถึง 27 2.4 ถึง 2.8 18 ถึง 20
สกรูยึดตัวยึดลูกปน 29.4 ถึง 34.3 3.0 ถึง 3.5 21.7 ถึง 25.3
สกรูยึดหองเกียร DT 48 ถึง 55 4.9 ถึง 5.7 36 ถึง 41
สกรูยึดเพลาลอหลัง (M12, 9T) 103 ถึง 117 10.5 ถึง 12.0 76.0 ถึง 86.7
นอตยึดเพลาลอหลัง (M12, 6T) 78 ถึง 90 7.9 ถึง 9.2 58 ถึง 66
นอตและสกรูยึดชุดกระบอกสูบไฮดรอลิก 78 ถึง 90 7.9 ถึง 9.2 58 ถึง 66
สกรูยึดหองเกียร PTO และสกรูยึดรีมเมอร 78 ถึง 90 7.9 ถึง 9.2 58 ถึง 66
นอตล็อกเพลา PTO 226 ถึง 264 23.0 ถึง 27.0 167 ถึง 195
นอตล็อกเพลาเดือยหมู 118 ถึง 127 12.0 ถึง 13.0 86.8 ถึง 94.0
สกรูยึดแปนรองลูกปนเฟองทาย 48 ถึง 55 4.9 ถึง 5.7 36 ถึง 41
สกรูยึดฝาครอบเสื้อเฟองทาย 48 ถึง 55 4.9 ถึง 5.7 36 ถึง 41
สกรู UBS ยึดเฟองบายศรี 71 ถึง 90 7.2 ถึง 9.2 52 ถึง 66
9Y1210365TRS0003TH0

3-S3
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร

4. การตรวจเช็คและการปรับตั้ง
[1] คันเกียรเสริม
การตรวจเช็คการทํางานของเกียรเสริม
1. ตรวจเช็คการทํางานของเกียรหลัก
• ตําแหนงเกียรวางไปถึงตําแหนงเกียร H
• ตําแหนงเกียรวางไปถึงตําแหนงเกียร L
• ตําแหนงเกียรวางไปถึงตําแหนงเกียร R
2. หากการเปลี่ยนเกียรติดขัด ตรวจเช็คความยาวของกานชิฟต L1 กับกานชิฟต L2
3. โยกคันเกียรเสริม (1) ไปที่ตําแหนงวาง แลวตรวจเช็คระยะหาง A ที่ตัวล็อก (2)
วาเปนระยะหางเดียวกัน
หากระยะหาง A ตางออกไป ใหปรับความยาวของกานชิฟต
4. เลือกคันเกียรเสริมไปที่ดาน R-L แลวตรวจเช็คระยะหาง B วาเปนระยะหาง
เดียวกัน
หากระยะหาง B ตางออกไป ใหปรับกานชิฟตสําหรับความยาว R-L แลวปรับ
ความยาวของกานชิฟตดาน H เพื่อใหระยะหาง B เทากัน
ประมาณ
ความยาวกานชิฟต L1 และ L2 คามาตรฐานที่กําหนด 209 มม.
8.23 นิ้ว

(1) คันเกียรเสริม (2) ตัวล็อก


9Y1210365TRS0032TH0

3-S4
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร

5. การถอดและการประกอบ
[1] การเตรียมการกอนถอดแยกชิ้นสวนเครื่องยนต เสื้อเรือนคลัตช และหองเกียร
(1) การถอดเครื่องยนตและเสื้อเรือนคลัตช
การถอดแยกเครื่องยนตออกจากหองคลัตชและโครงแผงหนาปด
1. ดูที่ “[1] การถอดแยกเครื่องยนตออกจากเสื้อเรือนคลัตช” ที่หัวขอ “1. เครื่องยนต”
9Y1210383TRS0002TH0

(2) การถอดแยกชิ้นสวนเสื้อเรือนคลัตชและหองเกียร
การถอดหองเกียร
1. ดูที่ “[3]-(1) การถอดหองเกียร” ในหัวขอ “2. คลัตช”
2. ถอดชุดแทนพวงมาลัย (1)
78 ถึง 90 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยดึ ชุดแทนพวงมาลัย 7.9 ถึง 9.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
58 ถึง 66 ปอนดแรง·ฟุต

(1) แทนพวงมาลัย
9Y1210365TRS0035TH0

3-S5
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร

[2] การถอดแยกหองคลัตช
ฝาครอบคันเกียรหลัก
1. ถอดฝาครอบคันเกียรหลัก (1) ออก
2. ถอดสปริง (2) และลูกปน (3) โดยใชแมเหล็กดูด
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• เมื่อจะประกอบกลับฝาครอบคันเกียรหลัก (1) ใหเลื่อนปลอกเลื่อนกามปูไปที่
ตําแหนงวาง
• ตองแนใจวาไดประกอบลูกปน (3) และสปริง (2) แลว
• ทาน้ํายาทาปะเก็น (ทรีบอนด 1206C หรือเทียบเทา) ลงบนผิวหนาของฝาครอบ
คันเกียรหลัก (1) และเสื้อคลัตช
24 ถึง 27 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยึดฝาครอบคันเกียรหลัก 2.4 ถึง 2.8 กิโลกรัมแรง·เมตร
18 ถึง 20 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ฝาครอบคันเกียรหลัก (3) ลูกปน (รองล็อกตําแหนงกันยอน)


(2) สปริง
9Y1210365TRS0004TH0

ลูกปนกดคลัตชและประกับอก
1. ถอดลูกปนกดคลัตช (1) และดุมคลัตช (2) ออกพรอมกัน
2. ถอดสกรูปรับตั้งกามปูกดคลัตช (3) ออก
3. ถอดเพลาควบคุม (4) และกามปูกดคลัตช (5)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• หลังจากขันสกรูปรับตั้งกามปูกดคลัตช (3) ใหไดแรงขันที่กําหนด ใหใสสายไฟ
ผานรูบนหัวสกรูปรับตั้งและกามปูกดคลัตช
• ทาจาระบีบนดานเลื่อนของดุมคลัตช
• ทาจาระบีบนบุชเพลาควบคุม
167 ถึง 186 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูปรับตั้งกามปูกดคลัตช 17.0 ถึง 19.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
123 ถึง 137 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ลูกปนกดคลัตช (4) เพลาควบคุม


(2) ดุมคลัตช (5) กามปูกดคลัตช
(3) สกรูปรับตั้งกามปูกดคลัตช
9Y1210365TRS0005TH0

3-S6
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร
ตัวยึดประกับ
1. ถอดเพลากลาง PTO (3) ไปดานหลัง
2. ถอดตัวยึดประกับ (1) ออกพรอมเพลาเฟอง 21 ฟน (2) โดยขันสกรูขนาด
M8 × ระยะพิตช 1.25 ลงบนรูเกลียว “A”
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีหรือน้ํามันเกียรเขาที่แหวนยาง
• เมือ่ จะประกอบเพลากลาง PTO (3) ใหใชตัวนําเพลากลาง (4) เพื่อปองกันไมให
ซีลกันน้ํามันชํารุด (ดูที่ “[8] เครื่องมือพิเศษ” ในหัวขอ “G. ขอมูลทั่วไป”)
24 ถึง 27 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตและสกรูยึดตัวยึดประกับ 2.4 ถึง 2.8 กิโลกรัมแรง·เมตร
18 ถึง 20 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ตัวยึดประกับ (4) ตัวนําเพลากลาง PTO


(2) เพลาเฟอง 21 ฟน
(3) เพลากลาง PTO A : รูเกลียว
9Y1210365TRS0006TH0

การถอดตัวยึดประกับและเพลาเฟอง 21 ฟน
1. ถอดแหวนล็อกดานใน (3) ออก
2. ตอกเพลาเฟอง 21 ฟน (2) และลูกปนออก
3. สวมแหวนล็อกดานใน (4) แลวถอดแหวนล็อกดานใน (4) ตามรูป
4. ถอดลูกปนเข็ม (5) และแหวนรอง (6)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ตรวจสอบทิศทางการหันซีลกันน้ํามันใหถูกตอง
• ทาจาระบีลงบนบุชและซีลกันน้ํามัน
• ตรวจสอบตําแหนงของลูกปนเข็มและแหวนรอง
• ทาน้ํามันเกียรที่ลูกปน
• สวมตัวนําเพลากลาง PTO เขากับเพลากลาง PTO เพื่อปองกันไมใหซีลกันน้ํามัน
(7) ชํารุดเสียหาย
(1) ตัวยึดประกับ (6) แหวนรอง
(2) เพลาเฟอง 21 ฟน (7) ซีลกันน้ํามัน
(3) แหวนล็อกดานใน (8) บุช
(4) แหวนล็อกดานใน (9) ซีลกันน้ํามัน
(5) ลูกปนเข็ม
9Y1210365TRS0007TH0

3-S7
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร
คันเกียรและกานชิฟต (เปลี่ยนความเร็วเสริม H, R-L)
1. ถอดสลักสปริง (1) และ (2) ออก
2. ถอดสกรูล็อก (3) และ (4) ออก แลวถอดลูกปน (7) และสปริง (16)
3. ถอดแผนหยุด (5) และ (6)
4. ถอดคันเกียร (H) (8) และ (L-R) (7)
5. ถอดสลักสปริง (10) และ (11) ออก
6. โยกกานชิฟต (H) (11) และ (L-R) (12) ไปที่ตําแหนงวาง
7. ถอดกานชิฟต (H) (11) และ (L-R) (12) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ประกอบสลักสปริง (1) และ (2) ตามรูป ซึ่งจะทําใหความยาว L ทั้งสองเทากัน
• ตองแนใจวาไดประกอบลูกปน (15) สําหรับอินเตอรล็อก, ลูกปน (17)
สําหรับรองล็อกตําแหนงกันยอนและสปริง (16)
• ทาจาระบีที่แหวนยาง
• ทาน้ํายาล็อกเกลียว (ทรีบอนด 1206C หรือเทียบเทา) ที่สกรูล็อก (3) และ (4)

(1) สลักสปริง (11) กานชิฟต (H)


(2) สลักสปริง (12) กานชิฟต (L-R)
(3) สกรูล็อก (13) สลักสปริง
(4) สกรูล็อก (14) สลักสปริง
(5) แผนหยุด (15) ลูกปน (อินเตอรล็อก)
(6) แผนหยุด (16) สปริง (รองล็อกตําแหนงกันยอน)
(7) คันเกียร (L-R) (17) ลูกปน (รองล็อกตําแหนงกันยอน)
(8) คันเกียร (H)
(9) กามปู (H) L : ความยาว
(10) สลักสปริง
9Y1210365TRS0036TH0

3-S8
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร
กานชิฟตและกามปู (เกียรหลัก 1-2-3-4)
1. ถอดสลักสปริง (2) และ (4) ออก
2. ถอดกานชิฟต (เกียร 1 - เกียร 2) (1) และ (เกียร 3 - เกียร 4) (7) ออก
3. ถอดกามปู (เกียร 1 - เกียร 2) (3) และ (เกียร 3 - เกียร 4) (8) ออก
4. ถอดสกรู (10) และลูกปน (9)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ตองแนใจวาไดประกอบลูกปน (9) สําหรับอินเตอรล็อก
• ตองแนใจวาไดประกอบลูกปน (5) และสปริง (6) สําหรับรองล็อกตําแหนงกันยอน
(1) กานชิฟต (เกียร 1 - เกียร 2) (6) สปริง (รองล็อกตําแหนงกันยอน)
(2) สลักสปริง (7) กานชิฟต (เกียร 3 - เกียร 4)
(3) กามปู (เกียร 1 - เกียร 2) (8) กามปู (เกียร 3 - เกียร 4)
(4) สลักสปริง (9) ลูกปน (อินเตอรล็อก)
(5) ลูกปน (รองล็อกตําแหนงกันยอน) (10) สกรู
9Y1210365TRS0037TH0

ตัวยึดลูกปน
1. ถอดตัวยึดลูกปน (1) ออก
2. ตอกชุดเพลาที่ 2 ออก แลวถอดแหวนล็อกดานนอก (2) ออกจากลูกปน (3)
(1) ตัวยึดลูกปน (3) ลูกปน
(2) แหวนล็อกดานนอก
9Y1210365TRS0038TH0

3-S9
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร
เพลาที่ 1, เพลาที่ 2 และเพลาที่ 3
1. ตอกเพลาที่ 1 (1), เพลาที่ 2 (2) และเพลาที่ 3 (3) ไปขางหนา
2. ถอดชุดเพลาที่ 3 (3) ออกพรอมกับกามปู (4) และ (5)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ตั้งเสื้อเรือนคลัตช (6) ตามรูป
• ประกอบกามปู (4) และ (5) และชุดเพลาที่ 3 (3) เขาดวยกัน
• ประกอบแหวนล็อกดานนอก (8) และตัวยึดลูกปน (7)
(1) ชุดเพลาที่ 1 (5) กามปู (L-R)
(2) ชุดเพลาที่ 2 (6) เสือ้ เรือนคลัตช
(3) ชุดเพลาที่ 3 (7) ตัวยึดลูกปน
(4) กามปู (H) (8) แหวนล็อกดานนอก
9Y1210365TRS0039TH0

เพลาที่ 1
1. ถอดลูกปน (1) ออก
2. ถอดเฟองออก
(1) ลูกปน (8) เฟอง 19 ฟน
(2) เฟอง 34 ฟน (9) แหวนกันรุน
(3) เฟอง 25 ฟน (10) ลูกปน
(4) เฟอง 20 ฟน (11) เฟอง 35 ฟน
(5) ขอบดานใน (12) เพลาที่ 1
(6) ปลอกเลื่อน (13) ลูกปน
(7) ดุม
9Y1210365TRS0040TH0

3-S10
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร
เพลาที่ 2
1. ถอดแหวนล็อกดานนอก (13)
2. ถอดเฟองออก
(1) ลูกปน (8) ขอบดานใน
(2) แหวนซิงโครไนเซอร (Corn) (9) เฟอง 28 ฟน
(3) แหวนซิงโครไนเซอร (10) เฟอง 36 ฟน
(4) สปริงซิงโครไนเซอร (11) เพลาที่ 2 (เพลาเฟอง 13 ฟน)
(5) ลิ่มซิงโครไนเซอร (12) ลูกปน
(6) ปลอกเลื่อน (13) แหวนล็อกดานนอก
(7) เฟอง 23 ฟน
9Y1210365TRS0041TH0

3-S11
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร
เพลาที่ 3
1. ถอดลูกปน (20) และเฟองออก
2. ถอดลูกปน (1) และแหวนล็อกดานนอก (2) ออก
3. ถอดเฟองออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ชโลมน้ํามันเกียรลงบนสวนซิงโครไนเซอร
• ประกอบสวนที่ยื่นออก “B” ของแหวนกลาง (12) ลงในรู “A” เฟอง (10) และ (18)
ใหแนน (ตามรูปดานซาย)
• ประกอบสวนที่ยื่นออก “D” ของแหวนซิงโครไนเซอรนอก (13) เขากับรอง “C”
ของแหวนซิงโครไนเซอรใน (11) (ตามรูปดานซาย)
• ประกอบลิ่มซิงโครไนเซอร (16) ที่รองลิ่มแหวนซิงโครไนเซอรนอก (13) ใหแนน
(1) ลูกปน [A] ซิงโครเมชแบบ Double Corn
(2) แหวนล็อกดานนอก A: รูเฟอง
(3) เฟอง 23 ฟน (รุนระบบขับเคลื่อนสีล่ อ) B: สวนที่ยื่นของแหวนกลาง
(4) เฟอง 24 ฟน C: รองแหวนซิงโครไนเซอรใน
(5) ขอบดานใน D: สวนที่ยื่นของแหวนซิงโครไนเซอรนอก
(6) ปลอกเลื่อน (H)
(7) ดุม
(8) เพลาที่ 3
(9) ลูกปน
(10) เฟอง 32 ฟน
(11) แหวนซิงโครไนเซอรใน
(12) แหวนซิงโครไนเซอรกลาง
(13) แหวนซิงโครไนเซอรนอก
(14) สปริงซิงโครไนเซอร
(15) ขอตอเพลา
(16) ลิ่มซิงโครไนเซอร
(17) ปลอกเลื่อน (L-R)
(18) เฟอง 41 ฟน
(19) แหวนกันรุน
(20) ลูกปน
9Y1210365TRS0042TH0

3-S12
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร

[3] การถอดแยกเฟอง DT
การถอดหองเกียร DT
1. ถอดหองเกียร DT (1)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาน้ํายาทาปะเก็น (ทรีบอนด 1206C หรือเทียบเทา) ลงบนผิวหนาของหองคลัตช
กับหองเกียร DT
48 ถึง 55 นิวตัน เมตร
คาแรงขัน สกรูยดึ หองเกียร DT 4.9 ถึง 5.7 กิโลกรัมแรง·เมตร
36 ถึง 41 ปอนดแรง·ฟุต

(1) หองเกียร DT
9Y1210365TRS0043TH0

3-S13
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร
หองเกียร DT
1. ถอดแหวนล็อกดานใน (1) ออก
2. ตอกเพลาพา (4) กับลูกปน (2) ไปขางหนา
หมายเหตุ
• อยาใหกระแทกลูกปนเข็ม (6) ขณะที่ตอกเพลาพา (9)
3. ถอดเฟอง 25 ฟน (3)
4. ถอดแผนล็อก (7) แลวดึงคันเกียร DT (8) เพื่อถอดชิ้นสวนของปลอกเลื่อน (17)
ออกจากปลอกเลื่อน (14)
5. ถอดซีลกันน้ํามัน (9) และแหวนล็อกดานใน (11)
6. ตอกเพลากลาง (13) ออกพรอมกับลูกปน (12) และปลอกเลื่อน (14)
7. ถอดเฟอง 21 ฟน (15)
8. ถอดปลอกเลื่อน (14), ลูกปน (19) และสปริง (18)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• รองแหวนกันรุน (16) หันไปทางเฟอง 21 ฟน (15)
• หันสวน A ของปลอกเลื่อน (14) ไปทางดานหนา
• ทาน้ํายาทาปะเก็น (ทรีบอนด 1901 หรือเทียบเทา) บนสวนรองฟนของเฟอง 21 ฟน
(15), เพลากลาง (13) และแหวนกันรุน (16)
• เปลี่ยนซีลกันน้ํามัน (9) ใหม
• หันดานสัญลักษณ B ของลูกปนเข็ม (6) ไปทางดานหนา
(1) แหวนล็อกดานใน (12) ลูกปน
(2) ลูกปน (13) เพลากลาง
(3) เฟอง 25 ฟน (14) ปลอกเลื่อน
(4) เพลาพา (15) เฟอง 21 ฟน
(5) แหวนกันรุน (16) แหวนกันรุน
(6) ลูกปนเข็ม (17) ชิ้นสวนปลอกเลื่อน
(7) แผนล็อก (18) สปริง
(8) คันเกียร DT (19) ลูกปน
(9) ซีลกันน้ํามัน
(10) ปลอกลิ้น A : สวน
(11) แหวนล็อกดานใน B : สัญลักษณ
9Y1210365TRS0044TH0

3-S14
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร

[4] หองเกียร
(1) การแยกชุดเพลาลอหลัง
เพลาลอหลัง
1. ยึดชุดเสื้อเพลาลอหลัง (1) ดวยสายรัดไนลอนและกวาน
2. ถอดสกรูและนอตยึดเสื้อเพลาลอหลังออก
3. ถอดแยกเสื้อเพลาลอหลังออกจากหองเกียร
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาน้ํายาทาปะเก็น (ทรีบอนด 1206C หรือเทียบเทา) ลงบนหนาสัมผัสขอตอของ
เสื้อเพลาลอหลังและหองเกียรหลังจากถายน้ําและน้ํามันออกจนหมด รวมทั้งคราบ
น้ํายาทาปะเก็นที่เกาะติดออก
103 ถึง 117 นิวตัน·เมตร
สกรูยดึ เพลาลอหลัง (M12, 9T) 10.5 ถึง 12.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
76.0 ถึง 86.7 ปอนดแรง·ฟุต
คาแรงขัน
78 ถึง 90 นิวตัน·เมตร
นอตยึดเพลาลอหลัง (M12, 6T) 7.9 ถึง 9.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
58 ถึง 66 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ชุดเสื้อเพลาลอหลัง
9Y1210383TRS0004TH0
ชุดกระบอกไฮดรอลิก
1. ถอดทอสงน้ํามัน
2. ถอดสกรูและนอตยึดชุดกระบอกไฮดรอลิก
3. ยึดชุดกระบอกไฮดรอลิกดวยสายรัดไนลอนและกวาน จากนั้น ใหถอดออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาน้ํายาทาปะเก็น (ทรีบอนด 1206C หรือเทียบเทา) ลงบนผิวหนาขอตอของชุด
กระบอกไฮดรอลิกและหองเกียรหลังจากถายน้ําออกจนหมดและคราบน้ํายาทา
ปะเก็นที่เกาะติดออก
78 ถึง 90 นิวตัน·เมตร
นอตและสกรูยึดชุดกระบอกสูบ
คาแรงขัน 7.9 ถึง 9.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
ไฮดรอลิก
58 ถึง 66 ปอนดแรง·ฟุต
หมายเหตุ
• ประกอบชุดกระบอกไฮดรอลิกเขากับแทรกเตอรใหม อยาลืมปรับตั้งตําแหนง
กานดึงกลับควบคุมตําแหนง
(1) ชุดกระบอกไฮดรอลิก
9Y1210365TRS0008TH0
แผนลูกเบี้ยวเบรก
1. ถอดสปริงดันกลับ (1) ออก
2. ถอดแผนลูกเบี้ยวเบรก (2) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีที่บาของลูกปนเบรก (อยาทาจาระบีมากเกินไป)
(1) สปริงดันกลับ (2) แผนลูกเบี้ยวเบรก
9Y1210365TRS0009TH0

3-S15
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร
ชุดหองเกียร PTO
1. ถอดหองเกียร PTO และเพลาขับ PTO ออกทั้งชุด
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาน้ํายาทาปะเก็น (ทรีบอนด 1206C หรือเทียบเทา) ลงบนผิวหนาขอตอของ
หองเกียร PTO และหองเกียร
78 ถึง 90 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยึดหองเกียร PTO 7.9 ถึง 9.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
58 ถึง 66 ปอนดแรง·ฟุต
9Y1210365TRS0010TH0

(2) หองเกียร PTO


การถอดแยกชิ้นสวนชุดหองเกียร PTO
1. ถอดหมุดของนอตล็อกเพื่อถอดนอตล็อก (1) ออกมา
2. ตอกเพลา PTO (8) ออก
3. ถอดแหวนล็อกดานใน (4) ออก
4. ถอดเพลาเฟอง 12 ฟน (5)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ประกอบซีลกันน้ํามัน (7) โดยหันดานใหถูกตอง
• ทาจาระบีลงบนซีลกันน้ํามัน (7)
• เปลี่ยนนอตล็อกใหม หลังจากขันแนนตามคาแรงขันที่กําหนดแลว ใหตอกนอต
(1) ใหแนน
226 ถึง 264 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตล็อกเพลา PTO 23.0 ถึง 27.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
167 ถึง 195 ปอนดแรง·ฟุต

(1) นอตล็อก (6) เสือ้ เกียร


(2) ลูกปน (7) ซีลกันน้ํามัน
(3) เฟอง 51 ฟน (8) เพลา PTO
(4) แหวนล็อกดานใน (9) ลูกปน
(5) เพลาเฟอง 12 ฟน (10) แหวนล็อกดานใน
9Y1210383TRS0005TH0

3-S16
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร
(3) กามปูล็อกกันฟรี
กามปูล็อกกันฟรี
1. ถอดปนล็อก (1) ออก
2. ถอดปลั๊ก (2) และแผนชิมปรับตั้ง (3) ออก
3. ถอดนอตยึดตัวยึดสปริงออก
4. ตอกเพลาล็อกกันฟรี (5) ออกพรอมกับตัวยึดสปริง (4)
หมายเหตุ
• ถอดกามปูล็อกกันฟรี (6) ออกหลังจากถอดชุดเกียรเฟองทายออกแลว
• หากจะเปลี่ยนเฉพาะซีลกันน้ํามัน (8) ใหตอกสลักสปริงล็อกกามปูล็อกกันฟรี (7)
ออกกอน แลวถอดตัวยึดสปริง (4) จากนั้น เปลี่ยนซีลกันน้ํามัน (8)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีลงบนซีลกันน้ํามัน

(1) ปนล็อก (5) เพลาล็อกกันฟรี


(2) ปลั๊ก (6) กามปูล็อกกันฟรี
(3) แผนชิมปรับตั้ง (7) สลักสปริง
(4) ตัวยึดสปริง (8) ซีลกันน้ํามัน
9Y1210365TRS0012TH0

3-S17
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร
(4) การถอดชุดเฟองทาย
ชุดเฟองทาย
1. ถอดแปนยึดเฟองทาย (1), (4) ออกและบันทึกหมายเลขแผนชิม (3)
2. ตอกชุดเฟองทาย (7) ออกจากหองเกียรพรอมกับปลอกเลื่อนล็อกกันฟรี (6)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ตองแนใจวาไดปรับระยะฟนเฟองและหนาสัมผัสฟนเฟองระหวางเฟองบายศรีและ
เพลาเดือยหมู (ดูที่ “6. การตรวจสภาพ” ในบทนี้)
• หันสวนที่ยื่น A ของแปนยึดเฟองทาย (1) และ (4) ลงลาง
• ประกอบแปนยึดเฟองทาย (4) โดยใหรูน้ํามัน (5) อยูในแนวตั้ง
48 ถึง 55 นิวตัน เมตร
คาแรงขัน สกรูยึดแปนรองลูกปนเฟองทาย 4.9 ถึง 5.7 กิโลกรัมแรง·เมตร
36 ถึง 41 ปอนดแรง·ฟุต

(1) แปนยึดเฟองทายดานขวา (6) ปลอกเลื่อนล็อกกันฟรี


(2) แหวนล็อกดานใน (7) ชุดเฟองทาย
(3) แผนชิม
(4) แปนยึดเฟองทายดานซาย A : สวนที่ยื่นออกมา
(5) รูน้ํามัน
9Y1210365TRS0013TH0

(5) เพลาเดือยหมู
วาลวคลัตช PTO
1. ถอดสายเคเบิลของวาลวคลัตช PTO ออก
2. ถอดวาลวคลัตช PTO (1)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาน้ํามันเกียรเขาที่แหวนยาง
• ประกอบทอเขากับรูวาลวคลัตช PTO ใหแนน
(1) วาลวคลัตช PTO
9Y1210365TRS0014TH0
วาลวคลัตช PTO และตัวยึด
1. ถอดสกรูยึดตัวยึดคลัตช PTO
2. ถอดคลัตช PTO (2) และตัวยึดคลัตช PTO (1) ออกมา
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาน้ํามันเกียรเขาที่แหวนยาง
• ระวังอยาใหทอน้ํามัน (3) ชํารุดเสียหาย
ขอสําคัญ
• เมื่อประกอบกลับชุดคลัตช PTO ใหหันสวนที่ยื่นออกของแผนเบรก (4) ดังรูป
• หลังจากประกอบชุดคลัตช PTO อยาลืมตรวจเช็คการทำงานของลูกสูบโดยใชการ
เปาลม
(1) ตัวยึดคลัตช PTO (3) ทอน้ํามัน
(2) คลัตช PTO (4) แผนเบรก
9Y1210365TRS0015TH0

3-S18
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร
เพลาเดือยหมู 9 ฟน
1. ถอดนอตล็อก (2) ออก
2. ยึดประแจล็อกนอตล็อก (1) ไว
3. สวมประแจเพลาเฟองเดือยหมู
4. หมุนประแจเพลาเฟองเดือยหมูตามเข็มนาฬิกา แลวถอดออก
5. ตอกสงเพลาออกดานหลัง
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• เปลี่ยนนอตล็อกใหม และตองแนใจวาไดปรับแรงบิดจากการหมุนของเพลาเดือย
หมูเทานั้น (ดูที่ “6. การตรวจสภาพ” ในบทนี้)
• ตอกนอตล็อกหลังจากปรับแรงบิดของเพลาเดือยหมู 9 ฟนตามคาที่กําหนดแลว
118 ถึง 127 นิวตัน·เมตร
(ขอมูลอางอิง)
คาแรงขัน 12.0 ถึง 13.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
นอตล็อกเพลาเดือยหมู
86.8 ถึง 94.0 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ประแจล็อก (2) นอตล็อก


9Y1210365TRS0016TH0

(6) เฟองทาย
ปลอกเลื่อนล็อกกันฟรีและลูกปน
1. ถอดลูกปนเฟองทาย (1) ออกดวยเหล็กดูด
(1) ลูกปน
9Y1210365TRS0017TH0

ฝาครอบเสื้อเฟองทายและเฟองขาง
1. ถอดฝาครอบเสื้อเฟองทาย (3)
2. ถอดเฟองขาง (2) และแหวนรองเฟองขาง (3) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาน้ํายาทาปะเก็น (โมลิบดีนัมไดซัลไฟด) (ทรีบอนด 1901 หรือเทียบเทา)
ตรงหนาสัมผัสโดยรอบดานในของดุมเฟองขาง
48 ถึง 55 นิวตัน เมตร
คาแรงขัน สกรูยดึ ฝาครอบเสื้อเฟองทาย 4.9 ถึง 5.7 กิโลกรัมแรง·เมตร
36 ถึง 41 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ฝาครอบเสือ้ เฟองทาย (3) แหวนรองเฟองขาง


(2) เฟองขาง
9Y1210365TRS0018TH0

3-S19
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร
เฟองบายศรี
1. ถอดเฟองบายศรีออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ตรวจดูวาเฟองบายศรีมีรอยสึกเสียหายหรือไม ถาไมสามารถใชงานไดอีก
ใหเปลี่ยนใหม จากนั้น ใหเปลี่ยนเพลาเดือยหมูดวย
• ทาน้ํายาล็อกเกลียว (ทรีบอนด 1324B หรือเทียบเทา) ที่สกรู UBS ยึดเฟองบายศรี
71 ถึง 90 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรู UBS ยึดเฟองบายศรี 7.2 ถึง 9.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
52 ถึง 66 ปอนดแรง·ฟุต
9Y1210365TRS0019TH0
เพลาเฟองดอกจอกและเฟองดอกจอก
1. ดึงเพลาเฟองดอกจอก 2 (5) ออก แลวถอดเฟองดอกจอก (3) และแหวนรองเฟอง
ดอกจอก (4) ออก
2. ดึงเพลาเฟองดอกจอก (1) ออก แลวถอดเฟองดอกจอก (2) และแหวนรองเฟอง
ดอกจอกออก
หมายเหตุ
• จัดวางชิ้นสวนทัง้ หมดใหเรียงตามลําดับตามตําแหนงที่ถอดออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ตรวจเช็คเฟองดอกจอก (2) และ (3) และเพลาเฟองดอกจอก (1) และ (5) วามี
รอยสึกมากหรือไม ถาชิ้นสวนเสียหายหรือสึกหรอมากเกินไป ใหเปลี่ยนชิ้นสวน
ที่ทํางานรวมกัน หรือชิ้นสวนที่ตอ งเลื่อนไปมาดวยกันใหม
• ทาน้ํายาทาปะเก็น (โมลิบดีนัมไดซัลไฟด) (ทรีบอนด 1901 หรือเทียบเทา)
ตรงหนาสัมผัสโดยรอบดานในของเฟองดอกจอก
• ใสชิ้นสวนทั้งหมดกลับเขาที่เดิม
• ใสแหวนรองเฟองดอกจอก (4) ใหตรงกับตําแหนงรองของมัน
(1) เพลาเฟองดอกจอก (6) เฟองขาง
(2) เฟองดอกจอก (7) แหวนรองเฟองขาง
(3) เฟองดอกจอก (8) เสือ้ เฟองทาย
(4) แหวนรองเฟองดอกจอก
(5) เพลาเฟองดอกจอก 2 A : ประกบรอง
9Y1210365TRS0020TH0

เฟองขาง
1. ถอดเฟองขาง (2) และแหวนรองเฟองขาง (1) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ตรวจเช็คผิวหนาของแหวนกันรุนและลูกปนของเฟองขางทั้งสองดาน (2)
วามีการสึกหรอหรือความเสียหายเกิดขึ้นหรือไม หากมีใหเปลี่ยนใหมเพราะ
ทําใหรูในเสื้อเฟองดอกจอกเสียหายได อยาลืมเปลี่ยนชิ้นสวนตางๆ
(1) แหวนรองเฟองขาง (2) เฟองขาง
9Y1210365TRS0021TH0

3-S20
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร

6. การดูแลตรวจสอบ
[1] ลูกปน กามปู และซิงโครไนเซอร
ลูกปน
1. จับขอบดานในของลูกปนใหแนน แลวขยับขอบดานนอกไปมาทุกทิศทางเพื่อ
ตรวจเช็คสภาพความสึกหรอและความหยาบของผิวสัมผัส
2. ชโลมน้ํามันเกียรลงบนลูกปน จากนั้น จับขอบดานในของลูกปนใหแนน
แลวหมุนขอบดานนอกไปมาเพื่อตรวจเช็คความคลองตัวในการหมุน
3. หากพบวาชํารุด ใหเปลี่ยนใหม
9Y1210365TRS0046TH0

ระยะหางระหวางกามปูและรองของปลอกเลื่อน
1. วัดความกวางของกามปู
2. วัดความกวางของรองปลอกเลื่อน และคํานวณระยะหาง
3. หากระยะหางที่ไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนใหม
0.05 ถึง 0.3 มม.
เกียร 3 - เกียร 4
ระยะหางระหวางกามปู คามาตรฐาน 0.002 ถึง 0.01 นิ้ว
และรองปลอกเลื่อน ที่กําหนด 0.15 ถึง 0.40 มม.
เกียรอื่น
สําหรับสวนเกียรหลัก 0.0059 ถึง 0.015 นิ้ว
และเกียรชวย 0.80 มม.
คาที่ยอมได
0.031 นิ้ว
9Y1210365TRS0047TH0
การตรวจเช็คการเชื่อมตอระหวางเพลาขอตอและปลอกเลื่อน
1. ตรวจหาจุดบกพรอง หรือรอยสึกหรอที่บริเวณรองฟันของเพลาขอตอและ
ปลอกเลื่อน และที่บริเวณรูลิ่มของเพลาขอตอ
2. ประกอบปลอกเลื่อนเขากับเพลาขอตอ และตรวจเช็คใหการไถลเปนไป
อยางราบรื่น
3. ตรวจเช็คหาจุดบกพรอง หรือรอยสึกหรอที่บริเวณรองฟนเฟอง
4. หากพบวาชํารุด ใหเปลี่ยนใหม
9Y1210365TRS0048TH0

จุกบกพรองบนสปริงและลิ่มซิงโครไนเซอร
1. ตรวจหารอยสึกหรอบริเวณสวนที่ยื่นออกมาตรงกลางลิ่มซิงโครไนเซอร
2. ตรวจเช็คหาการลาหรือรอยสึกหรอของสปริงบริเวณที่มีการสัมผัสกับลิ่ม
3. หากพบวาชํารุด ใหเปลี่ยนใหม
9Y1210365TRS0049TH0

3-S21
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร

[2] เฟองทาย
ขอสําคัญ
• ขณะทําการประกอบเพลาเฟองเดือยหมูกับชุดเฟองทาย ตองทําการปรับตั้งดังตอไปนี้ทุกครั้ง
– คาแรงบิดจากการหมุนเฉพาะเพลาเดือยหมู
– ระยะฟนเฟองและหนาสัมผัสของเฟองระหวางเพลาเดือยหมูกับเฟองบายศรี
9Y1210365TRS0022TH0

(1) คาแรงบิดของเพลาเฟองดอกจอก 9 ฟน


คาแรงบิดจากการหมุนเฉพาะเพลาเดือยหมู
1. ประกอบเพลาเฟองเดือยหมูแลวขันนอตล็อก (1) ใหแนนดวยประแจล็อกและ
ประแจปอนด
2. เมื่ออัดเพลาเดือยหมูทางดานหนาและดานหลัง ขันนอตล็อก (1) ใหแนนตามคา
แรงขันที่กําหนด
3. วัดคาแรงบิดจากการหมุนของเพลาเดือยหมู
4. หากคาแรงบิดไมเปนไปตามคามาตรฐานที่กําหนด ใหปรับคาแรงขันของนอต
ล็อก (1) ใหมตามความเหมาะสม
3.0 ถึง 3.4 นิวตัน·เมตร
แรงบิดจากการหมุน คามาตรฐานที่กําหนด 0.30 ถึง 0.35 กิโลกรัมแรง·เมตร
2.2 ถึง 2.5 ปอนดแรง·ฟุต

117.7 นิวตัน·เมตร
(ขอมูลอางอิง)
คาแรงขัน 12.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
นอตล็อก
86.8 ปอนดแรง·ฟุต
(ขอมูลอางอิง)
• ความหนาของแหวนรองปรับตั้ง (2)
1.00 มม. (0.039 นิ้ว)
1.50 มม. (0.059 นิ้ว)
1.70 มม. (0.067 นิ้ว)
1.75 มม. (0.069 นิ้ว)
1.80 มม. (0.071 นิ้ว)
1.90 มม. (0.075 นิ้ว)
2.00 มม. (0.079 นิ้ว)
2.10 มม. (0.083 นิ้ว)
2.20 มม. (0.087 นิ้ว)
2.25 มม. (0.089 นิ้ว)
2.30 มม. (0.091 นิ้ว)
หมายเหตุ
• ใหปรับตั้งตามขั้นตอนในหนาตอไปกอน แลวจึงล็อกนอตล็อก
• ประกอบแหวนรองปรับตั้ง คาความหนามาตรฐานรวมคือ 2.7 มม. (0.106 นิ้ว)
(1) นอตล็อก (2) แหวนรอง
9Y1210365TRS0023TH0

3-S22
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร
(2) ระยะฟนเฟองและหนาสัมผัสฟน
ระยะฟนเฟองและหนาสัมผัสฟนเฟองระหวางเฟองบายศรีกบั เพลาเดือยหมู
1. ติดตัง้ ไดอัลเกจ (ประเภทคันโยก) โดยวางแขนบนพื้นผิวฟนเฟอง
2. วัดระยะฟนเฟองโดยการยึดเพลาเดือยหมู (1) ไวใหแนน แลวขยับเฟองบายศรี (2)
ดวยมือ
3. หากระยะฟนเฟองใหญเกินไป ใหลดจํานวนแผนชิมดานเฟองบายศรีลง แลวใส
แผนชิมเพิ่มในดานตรงกันขาม หากระยะฟนเฟองเล็กเกินไป ใหลดจํานวน
แผนชิมดานเสื้อเฟองทายลง แลวใสแผนชิมทีเอาออกในดานตรงกันขาม
4. ทําการปรับตั้งคาระยะฟนเฟองตามขั้นตอนขางตนจนไดคาที่ยอมรับ
5. ใชสีเสนทาบางๆ ใหทั่วฟนเฟอง 3 ตําแหนงระยะหางเทาๆ กันบนเฟองบายศรี
6. หมุนเพลาเดือยหมูพรอมกดแผนไมกับขอบของเฟองบายศรี
7. ตรวจเช็คหนาสัมผัสฟนเฟอง ถาไมถูกตองใหปรับตามคําแนะนําในหนาถัดไป
0.20 ถึง 0.30 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ระยะฟนเฟองระหวางเฟอง 0.0079 ถึง 0.011 นิ้ว
บายศรีและเพลาเดือยหมู 0.4 มม.
คาที่ยอมได
0.02 นิ้ว
(ขอมูลอางอิง)
• ความหนาของแหวนรอง (3)
1.00 มม. (0.039 นิ้ว)
1.50 มม. (0.059 นิ้ว)
1.70 มม. (0.067 นิ้ว)
1.75 มม. (0.069 นิ้ว)
1.80 มม. (0.071 นิ้ว)
1.90 มม. (0.075 นิ้ว)
2.00 มม. (0.079 นิ้ว)
2.10 มม. (0.083 นิ้ว)
2.20 มม. (0.087 นิ้ว)
2.25 มม. (0.089 นิ้ว)
2.30 มม. (0.091 นิ้ว)
• ความหนาของแผนชิม (4)
0.4 มม. (0.02 นิ้ว)
0.8 มม. (0.03 นิ้ว)
1.0 มม. (0.039 นิ้ว)
1.2 มม. (0.047 นิ้ว)
(1) เพลาเดือยหมู (4) แผนชิม
(2) เฟองบายศรี (5) เสื้อเฟองทาย
(3) แหวนรองปรับตั้ง 1
(ตอ)

3-S23
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร
(มีตอ)
• หนาสัมผัสที่ถูกตอง
หนาสัมผัสบนซี่ฟนเฟองตองมีบริเวณของสีเสนมากกวา 35 %
จุดกึ่งกลางหนาผิวสัมผัสฟนเฟองตองอยูที่ 1/3 ของความกวางทั้งหมดจากปลาย
ดานเล็ก
• หนาสัมผัสแบบกินตื้น หรือแบบกินยอดฟนดานใน
ใหเปลี่ยนแหวนรองปรับตั้ง 1 (3) ใหหนาขึ้นเพื่อเคลื่อนเพลาเฟองเดือยหมูไปทาง
ดานหลัง
แลววางแผนชิมดานซายที่ดานขวาเพื่อเลื่อนเฟองบายศรีไปทางขวา
ทําตามขั้นตอนขางบนจนกวาหนาสัมผัสฟนเฟอง และระยะฟนเฟองจะถูกตอง
• แบบกินลึกหรือ แบบกินทองฟน
ใหเปลี่ยนแหวนรองปรับตั้ง 1 (3) ใหบางลงเพื่อเคลื่อนเพลาเดือยหมูไปทาง
ดานหนา
แลววางแผนชิมดานขวาที่ดานซายเพื่อเลื่อนเฟองบายศรีไปทางซาย
ทําตามขั้นตอนขางบนจนกวาหนาสัมผัสฟนเฟอง และระยะฟนเฟองจะถูกตอง
(1) เพลาเดือยหมู (A) หนาสัมผัสที่ถูกตอง
(2) เฟองบายศรี (B) หนาสัมผัสแบบกินตื้น
(3) แหวนรองปรับตั้ง 1 (C) หนาสัมผัสโคน
(4) แผนชิม (D) หนาสัมผัสแบบกินลึก
(5) เสื้อเฟองทาย (E) หนาสัมผัสแบบกินทองฟน
9Y1210365TRS0024TH0

3-S24
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร
(3) เฟองทาย
ชองวางระหวางรูเสื้อเฟองทาย (รูฝาครอบเสือ้ เฟองทาย) กับดุมเฟองขาง
1. วัดความโตภายในเสื้อเฟองทายกับฝาครอบเสื้อเฟองทาย
2. วัดความโตภายนอกของดุมเฟองขาง จากนั้นคํานวณระยะหาง
3. หากระยะหางที่ไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนใหม
0.0500 ถึง 0.151 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ระยะหางระหวางรูเสื้อ 0.00197 ถึง 0.00594 นิ้ว
เฟองทายและดุมเฟองขาง 0.35 มม.
คาที่ยอมได
0.014 นิ้ว

40.500 ถึง 40.550 มม.


ความโตภายในรูเสือ้ เฟองทาย คามาตรฐานที่กําหนด
1.5945 ถึง 1.5964 นิ้ว
40.388 ถึง 40.450 มม.
ความโตภายนอกดุมเฟองขาง คามาตรฐานที่กําหนด
1.5901 ถึง 1.5925 นิ้ว

0.050 ถึง 0.151 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
ระยะหางระหวางรูฝาครอบ 0.00197 ถึง 0.00594 นิ้ว
เสื้อเฟองทายและดุมเฟองขาง 0.35 มม.
คาที่ยอมได
0.014 นิ้ว

ความโตภายในรูฝาครอบเสือ้ 40.500 ถึง 40.550 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
เฟองทาย 1.5945 ถึง 1.5964 นิ้ว
40.388 ถึง 40.450 มม.
ความโตภายนอกดุมเฟองขาง คามาตรฐานที่กําหนด
1.5901 ถึง 1.5925 นิ้ว
9Y1210365TRS0028TH0
ระยะหางระหวางเพลาเฟองดอกจอกกับเฟองดอกจอก
1. วัดความโตภายนอกเพลาเฟองดอกจอก
2. วัดความโตภายในเฟองดอกจอก จากนั้นคํานวณระยะหาง
3. หากระยะหางที่ไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนใหม
0.0600 ถึง 0.102 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ระยะหางระหวางเพลาเฟอง 0.00237 ถึง 0.0041 นิ้ว
ดอกจอกกับเฟองดอกจอก 0.25 มม.
คาที่ยอมได
0.0098 นิ้ว

ความโตภายนอกเพลาเฟอง 19.959 ถึง 19.980 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
ดอกจอก 0.78579 ถึง 0.78661 นิ้ว
20.040 ถึง 20.061 มม.
ความโตภายในเฟองดอกจอก คามาตรฐานที่กําหนด
0.78898 ถึง 0.78980 นิ้ว
9Y1210365TRS0029TH0

3-S25
M6040DT-SU, WSM ชุดเกียร
ระยะฟนเฟองดอกจอกกับเฟองขาง
1. ติดตั้งชุดไดอัลเกจ (ชนิดปรับแขนได) บนฟนของเฟองดอกจอก
2. จับเฟองขางและขยับเฟองดอกจอกเพื่อวัดระยะฟันเฟอง
3. หากคาที่วัดไดไมอยูในคามาตรฐานที่กําหนด ใหปรับดวยแหวนรองเฟองขาง
0.15 ถึง 0.30 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ระยะฟนเฟองระหวางเฟอง 0.0059 ถึง 0.011 นิ้ว
ดอกจอกกับเฟองขาง 0.4 มม.
คาที่ยอมได
0.02 นิ้ว
(ขอมูลอางอิง)
• ความหนาของแหวนรองเฟองขาง
1.5 มม. (0.059 นิ้ว)
1.6 มม. (0.063 นิ้ว)
1.7 มม. (0.067 นิ้ว)
1.8 มม. (0.071 นิ้ว)
2.0 มม. (0.079 นิ้ว)
9Y1210365TRS0030TH0

[3] กามปูล็อกกันฟรี
ระยะเคลื่อนตัวของปลอกเลื่อนล็อกกันฟรี
1. วัดระยะเคลื่อนตัว “A” ของกามปู (3) โดยดันล็อกกันฟรีออกไปในระยะที่ไมบิด
กามปูเพื่อใหไดระยะเคลื่อนตัวของปลอกเลื่อนล็อกกันฟรี (4)
2. หากคาที่วัดไดไมอยูภายในคามาตรฐานที่กําหนดไว ใหปรับดวยแผนชิมปรับตั้ง
ล็อกกันฟรี (2)
ระยะเคลื่อนตัว “A” ของ 6.0 ถึง 8.0 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ปลอกเลื่อนล็อกกันฟรี 0.24 ถึง 0.31 นิ้ว

(1) ปลั๊ก (3) กามปู


(2) แผนชิมปรับตั้ง (4) ปลอกเลื่อนล็อกกันฟรี
9Y1210365TRS0031TH0

3-S26
4 เพลาลอหลัง
ระบบกลไก

สารบัญ
1. ลักษณะ .......................................................................................................................................... 4-M1
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหลัง

1. ลักษณะ

(1) เพลาลอหลัง (6) เสื้อเฟองทาย (10) เฟองทาย (14) เฟองจักรวาล 25 ฟน


(2) เสื้อเพลาลอหลัง (7) เฟองขาง (11) เฟองเพลาเดือยหมู 42 ฟน (15) เฟองวงแหวน 65 ฟน
(3) ตัวยึดเฟองจักรวาล (8) เฟองดอกจอก (12) เพลาเบรก (เฟอง 13 ฟน) (16) แปนรองลูกปนเฟองทาย
(4) เพลาลูกเบี้ยวเบรก (9) เพลาเฟองดอกจอก (13) สลักเฟองจักรวาล (17) ปลอกเลื่อนล็อกกันฟรี
(5) ปลอกเลื่อนล็อกกันฟรี
เพลาลอหลังเปนกลไกลําดับสุดทายในการสงกําลังจากระบบสงกําลังไปยังลอหลัง เฟองทาย (10) จะเปลี่ยนทิศทางของกําลังในทิศตัง้ ฉาก
ทําใหความเร็วลดลง นอกจากนี้กําลังจะถูกลดลงอีกโดยเฟองจักรวาล เพื่อใชขับเคลื่อนเพลาลอหลัง
เพลาลอหลัง (1) เปนเพลาแบบกึง่ ลอยโดยมีตลับลูกปนอยูระหวางเพลาลอหลัง (1) กับเสื้อเพลาลอหลัง (2) ซึ่งทําหนาที่รองรับโหลดบนลอหลัง
และสงกําลังไปใหกับลอหลัง ซึ่งสามารถทนทานแรงทั้งหมดที่เกิดจากการหมุนของยางลอและการไถลดานขาง
9Y1210365RAM0001TH0

4-M1
การตรวจซอม

สารบัญ
1. ปญหาและวิธีการแกไข ........................................................................................................................4-S1
2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ .........................................................................................................4-S2
3. คาแรงขัน .........................................................................................................................................4-S3
4. การถอดและการประกอบ .....................................................................................................................4-S4
[1] การถอดแยกเสื้อเพลาลอหลังออกจากหองเกียร .....................................................................................4-S4
[2] การถอดแยกเฟองจักรวาล ...............................................................................................................4-S6
[3] การถอดแยกเพลาลอหลัง ................................................................................................................4-S7
5. การตรวจซอม ...................................................................................................................................4-S8
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหลัง

1. ปญหาและวิธีการแกไข
อาการ สาเหตุ วิธีแกไข ดูทหี่ นา
เกิดเสียงดังหรือเสียงผิดปกติ ระยะฟนเฟองระหวางเฟอง 13 ฟนกับเฟองจักรวาลของเพลา เปลี่ยนใหม –
ตลอดเวลา เบรกไมถูกตอง
ระยะฟนเฟองจักรวาลกับเฟองวงแหวนไมถูกตอง เปลี่ยนใหม 4-S8
ตลับลูกปนสึกหรอ เปลี่ยนใหม –
ระดับน้ํามันเกียรต่ํากวาที่กําหนดหรือใชน้ํามันเกียรผิดชนิด เติมใหไดระดับหรือ G-10
เปลี่ยนถาย
มีเสียงดังผิดปกติขณะเลี้ยว เฟอง 13 ฟน, เฟองจักรวาล และเฟองวงแหวนของเพลาเบรกสึก เปลี่ยนใหม 4-S6
หรือชํารุด
เพลาเฟองจักรวาลหรือตลับลูกปนที่ตอ งใชสึกหรือแตก เปลี่ยนใหม 4-S8
9Y1210383RAS0001TH0

4-S1
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหลัง

2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ
รายการ คามาตรฐานทีก่ ําหนด คาที่ยอมได
เฟองวงแหวนกับเฟองจักรวาล ระยะฟนเฟอง 0.08 ถึง 0.3 มม. 0.5 มม.
0.004 ถึง 0.01 นิ้ว 0.02 นิ้ว
แหวนกันรุนเฟองจักรวาล ความหนา 1.55 ถึง 1.65 มม. 1.2 มม.
0.0611 ถึง 0.0649 นิ้ว 0.047 นิ้ว
เฟองจักรวาลกับเพลาเฟองจักรวาล ระยะหาง 0.0090 ถึง 0.048 มม. 0.30 มม.
0.00036 ถึง 0.0018 นิ้ว 0.012 นิ้ว

• เพลาเฟองจักรวาล ความโตภายนอก 31.989 ถึง 32.000 มม. –


1.2594 ถึง 1.2598 นิ้ว

• เฟองจักรวาล ความโตภายใน 39.000 ถึง 39.025 มม. –


1.5355 ถึง 1.5364 นิ้ว

• ลูกปนเข็ม ความโตภายนอก 3.494 ถึง 3.500 มม. –


0.1376 ถึง 0.1377 นิ้ว
9Y1210365RAS0002TH0

4-S2
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหลัง

3. คาแรงขัน
คาแรงขันสกรู โบลต และนอตที่กําหนดไวในตารางขางลางเปนคาแรงขันสําหรับสกรู โบลต และนอตชนิดพิเศษ
(ถาใชสกรู โบลต และนอตทั่วไป : ดูที่ “5. คาแรงขัน” ในหัวขอ ขอมูลทั่วไป)
รายการ นิวตัน·เมตร กิโลกรัมแรง·เมตร ปอนดแรง·ฟุต
นอตยึดลอหลัง 260 ถึง 304 26.5 ถึง 31.0 192 ถึง 224
นอตและสกรูยึดโครงกันคว่ํา (M16, 9T) 260 ถึง 304 26.5 ถึง 31.0 192 ถึง 224
สกรูยึดเพลาลอหลัง (M12, 9T) 103 ถึง 117 10.5 ถึง 12.0 76.0 ถึง 86.7
นอตยึดเพลาลอหลัง (M12, 6T) 78 ถึง 90 7.9 ถึง 9.2 58 ถึง 66
สกรูยึดฝาครอบเพลาลอหลัง 78 ถึง 90 7.9 ถึง 9.2 58 ถึง 66
นอตยึดเพลาลอหลัง 540 ถึง 637 55.0 ถึง 65.0 398 ถึง 470
9Y1210365RAS0003TH0

4-S3
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหลัง

4. การถอดและการประกอบ
[1] การถอดแยกเสื้อเพลาลอหลังออกจากหองเกียร
การถายน้ํามันเกียร
1. วางถาดรองน้ํามันใตหองเกียร
2. ถอดปลั๊กถายน้ํามัน (1)
3. ถายน้ํามันเกียร
4. ใสปลั๊กถายน้ํามัน (1) กลับเขาที่
(เมื่อเติมน้ํามันเกียร)
• เมื่อถอดปลั๊กเติมน้ํามัน (2) ออก ใหเติมน้ํามันใหมจากทอเติมน้ํามันจนน้ํามัน
อยูที่ขีดของเกจวัด (3)
• หลังจากเดินเครื่องยนตเปนเวลา 2-3 นาที ใหหยุดเครื่องเพื่อตรวจเช็คระดับ
น้ํามันอีกครั้ง และเติมใหไดระดับที่กําหนดหากระดับน้ํามันดังกลาวไมถูกตอง
40 ลิตร
ความจุน้ํามันเกียร 42.3 ควอรตสหรัฐ
35.2 ควอรตอังกฤษ
ขอสําคัญ
• ใชเฉพาะน้ํามันคูโบตา SUPER UDT การใชน้ํามันเกียรชนิดอื่นจะทําใหระบบ
สงกําลังหรือระบบไฮดรอลิกเกิดความเสียหาย
ดูทหี่ ัวขอ “4. สารหลอลื่น น้ํามันเชื้อเพลิง และน้ําระบายความรอน” ในหัวขอ
ขอมูลทัว่ ไป
• หามใชน้ํามันเกียรตางชนิดผสมเขาดวยกัน
(1) ปลั๊กถายน้ํามัน A : ใชไดเมื่อระดับน้ํามันอยูในชวงนี้
(2) ปลั๊กเติมน้ํามัน
(3) เกจวัด
9Y1210383RAS0002TH0
ลอหลังและระบบพวง 3 จุด
1. วางแทนสําหรับถอดประกอบชิ้นสวนรองรับใตเสื้อเรือนคลัตชและหองเกียร
2. ประกอบรีซิสเตอรตัวเพลาลอหนา (ดูที่ “8. เครื่องมือพิเศษ” ในหัวขอ
“G. ขอมูลทั่วไป”)
3. ถอดกานยก (3), แขนยกตัวลาง (4) และโซยึดแขนขาง (2)
4. ถอดลอหลัง (1)
260 ถึง 304 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตยึดลอหลัง 26.5 ถึง 31.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
192 ถึง 224 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ลอหลัง (3) กานยก


(2) โซยึดแขนขาง (4) แขนยกตัวลาง
9Y1210383RAS0004TH0

4-S4
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหลัง
บังโคลนและโครงกันคว่ํา
1. ถอดสกรูยึดโครงกลาง (1)
2. ปลดขั้วตอสายไฟสําหรับไฟทายแบบรวม
3. ถอดบังโคลนดานซาย (2) ออก
4. ถอดฝาครอบคันเกียร PTO ออกจากบังโคลนดานขวา (5) แลวปลดขั้วตอสายไฟ
สวิตช PTO
5. ถอดบังโคลนดานขวา (5) ออก
6. ถอดโครงกันคว่ํา (3) และประกับ (4) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
260 ถึง 304 นิวตัน·เมตร
โบลตและนอตยึดโครงกันคว่ํา
คาแรงขัน 26.5 ถึง 31.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
(M16, 9T)
192 ถึง 224 ปอนดแรง·ฟุต

(1) สกรูยึดโครงกลาง (4) ประกับ


(2) บังโคลนดานซาย (5) บังโคลนดานขวา
(3) โครงกันคว่ํา
9Y1210365RAS0004TH0

เสื้อเพลาลอหลัง
1. ถอดกานเพลากดเบรก (1) ออก
2. ถอดกานล็อกกันฟรี (หากถอดแยกดานขวา)
3. ถอดสกรูและนอตยึดเสื้อเพลาลอหลังออก
4. รับน้ําหนักเพลาลอหลังดวยสายรัดไนลอนและกวาน
5. ถอดแยกเสื้อเพลาลอหลัง (2) ออกจากหองเกียร
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาน้ํายาทาปะเก็น (ทรีบอนด 1206C หรือเทียบเทา) ลงบนหนาสัมผัสขอตอของ
เสื้อเพลาลอหลังและหองเกียรหลังจากถายน้ําและน้ํามันออกจนหมดและคราบ
น้ํายาทาปะเก็นที่เกาะติดออก
103 ถึง 117 นิวตัน·เมตร
สกรูยดึ เพลาลอหลัง (M12, 9T) 10.5 ถึง 12.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
76.0 ถึง 86.7 ปอนดแรง·ฟุต
คาแรงขัน
78 ถึง 90 นิวตัน·เมตร
นอตยึดเพลาลอหลัง (M12, 6T) 7.9 ถึง 9.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
58 ถึง 66 ปอนดแรง·ฟุต

(1) กานเพลากดเบรก (2) เสื้อเพลาลอหลัง


9Y1210365RAS0005TH0

4-S5
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหลัง

[2] การถอดแยกเฟองจักรวาล
ตัวยึดเฟองจักรวาล
1. ถอดแผนเบรก (1) ออก
2. ถอดแหวนล็อกดานนอก (3)
3. ถอดตัวยึดเฟองจักรวาล (2) ออกอยางระมัดระวัง
(1) แผนเบรก (3) แหวนล็อกดานนอก
(2) ตัวยึดเฟองจักรวาล
9Y1210365RAS0006TH0

เฟองจักรวาล
1. ตอกสลักสปริง (1) เขาไปในเพลาเฟองจักรวาล (3)
2. ถอดเพลาเฟองจักรวาล (3) และถอดเฟองจักรวาล (2) ออก
3. ตอกสลักสปริงออกจากเพลาของเฟองจักรวาล
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาน้ํามันเกียรที่ผิวดานในของเฟองจักรวาล (2)
• ใสสลักสปริง (1) ใหเขาที่ดังรูป
(1) สลักสปริง (3) เพลาเฟองจักรวาล
(2) เฟองจักรวาล
9Y1210365RAS0007TH0

4-S6
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหลัง

[3] การถอดแยกเพลาลอหลัง
เพลาลอหลัง
1. ถอดสกรูยึดฝาครอบเพลาลอหลัง แลวถอดเพลาลอหลัง (1) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
78 ถึง 90 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยดึ ฝาครอบเพลาลอหลัง 7.9 ถึง 9.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
58 ถึง 66 ปอนดแรง·ฟุต

(1) เพลาลอหลัง
9Y1210365RAS0008TH0
นอตยึดเพลาลอหลัง
1. ยึดเพลาลอหลังบนโตะหรือประกอบไวกับลอหลัง
2. ถอดหมุดของนอตล็อกเพลาลอหลังออก
3. ถอดนอตล็อกเพลาลอหลังดวยประแจเลื่อนนอตยึดเพลาลอหลัง 85
(รหัสหมายเลข 07916-52541)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• เปลี่ยนนอตล็อกเพลาลอหลังใหม แลวตอกหมุดใหแนนหลังจากขันนอตแนนแลว
540 ถึง 637 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตยึดเพลาลอหลัง 55.0 ถึง 65.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
398 ถึง 470 ปอนดแรง·ฟุต
9Y1210365RAS0009TH0
ฝาครอบเพลาลอหลัง
1. ถอดฝาครอบเพลาลอหลัง (2) ดวยเหล็กดูดฝาครอบเพลาลอหลัง (1)
(รหัสหมายเลข 07916-51041)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีลงบนปากซีลกันน้ํามัน
(1) เหล็กดูดฝาครอบเพลาลอหลัง (2) ฝาครอบเพลาลอหลัง
9Y1210365RAS0010TH0

4-S7
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหลัง

5. การตรวจซอม
ระยะฟนเฟองวงแหวนและเฟองจักรวาล
1. ติดตั้งชุดไดอัลเกจ (ชนิดปรับแขนได) บนฟนของเฟืองจักรวาล
2. จับตัวยึดเฟองจักรวาล และขยับเฉพาะเฟองจักรวาลเพื่อทําการวัดระยะฟนเฟอง
3. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมรับได ใหตรวจเช็คเฟองจักรวาลและเพลาเฟอง
จักรวาล
0.08 ถึง 0.3 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ระยะฟนเฟองวงแหวนและ 0.004 ถึง 0.01 นิ้ว
เฟองจักรวาล 0.5 มม.
คาที่ยอมได
0.02 นิ้ว
9Y1210365RAS0011TH0
ความหนาของแหวนกันรุน
1. วัดความหนาของแหวนกันรุน
2. หากคาที่วัดไดนอยกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนใหม
1.55 ถึง 1.65 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
0.0611 ถึง 0.0649 นิ้ว
ความหนาของแหวนกันรุน
1.2 มม.
คาที่ยอมได
0.047 นิ้ว
9Y1210365RAS0012TH0

ระยะหางระหวางเฟองจักรวาลและเพลาเฟองจักรวาล
1. วัดความโตภายนอกของเพลาเฟองจักรวาล (บริเวณผิวที่มีการเสียดสี)
2. วัดความโตภายในของเฟองจักรวาล (บริเวณผิวที่มีการเสียดสี)
3. วัดความโตภายนอกของเข็มลูกปนสองชิ้นที่ประกอบทแยงกันอยูในตลับ
ลูกปนเข็ม
4. คํานวณระยะหาง
5. (ระยะหาง = ความโตภายในของเฟองจักรวาล - {(2 × ความโตภายนอกของเข็ม
ลูกปน) + ความโตภายนอกของเพลาเฟองจักรวาล})
6. หากระยะหางที่ไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนใหม
0.0090 ถึง 0.048 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ระยะหางระหวางเฟองจักรวาล 0.00036 ถึง 0.0018 นิ้ว
และเพลาเฟองจักรวาล 0.30 มม.
คาที่ยอมได
0.012 นิ้ว

ความโตภายนอกเพลาเฟอง 31.989 ถึง 32.000 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
จักรวาล 1.2591 ถึง 1.2598 นิ้ว
ความโตภายในของเฟอง 39.000 ถึง 39.025 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
จักรวาล 1.5355 ถึง 1.5364 นิ้ว
ความโตภายนอกของเข็ม 3.494 ถึง 3.500 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ลูกปน 0.1376 ถึง 0.1377 นิ้ว
9Y1210365RAS0013TH0

4-S8
5 เบรก
ระบบกลไก

สารบัญ
1. โครงสราง ....................................................................................................................................... 5-M1
M6040DT-SU, WSM เบรก

1. โครงสราง

(1) เพลาเบรก (4) แผนเบรก (6) สปริง (8) ลูกเบี้ยวเบรก


(2) แผนเบรก (5) แผนลูกเบี้ยว (7) ลูกปน (9) กานลูกเบี้ยวเบรก
(3) จานเบรก
แทรกเตอรรุนนี้ใชแปนเบรกแบบแขวน เพื่อใหไดพื้นที่ของที่เหยียบมากขึ้น
แผนเบรกแบบเปยกใชกลไกทํางานเปนอิสระตอกัน ใชสําหรับเบรกระบบขับเคลื่อนทางซายและขวา แผนเบรกเหลานี้ควบคุมโดยแปนเบรก
ที่สงแรงไปยังขอตอกลไกตางๆ
เบรกมือเปนแบบเชิงกลซึ่งออกแบบขึ้นเพื่อกระตุนการทํางานของเบรกของระบบขับเคลื่อน
9Y1210383BRM0001TH0

5-M1
การตรวจซอม

สารบัญ
1. ปญหาและวิธีการแกไข ........................................................................................................................5-S1
2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ .........................................................................................................5-S2
3. การตรวจเช็คและการปรับตัง้ .................................................................................................................5-S3
[1] แปนเบรก ..................................................................................................................................5-S3
4. การถอดและการประกอบ .....................................................................................................................5-S4
[1] แปนเบรกและกลไกเชื่อมตอ ............................................................................................................5-S4
[2] เสื้อเบรก....................................................................................................................................5-S4
(1) การถอดแยกเสื้อเพลาลอหลังออกจากหองเกียร ...............................................................................5-S4
5. การดูแลตรวจสอบ ..............................................................................................................................5-S7
[1] แปนเบรกและกลไกเชื่อมตอ ............................................................................................................5-S7
[2] จานเบรกและแผนเบรก ..................................................................................................................5-S7
M6040DT-SU, WSM เบรก

1. ปญหาและวิธีการแกไข
อาการ สาเหตุ วิธีแกไข ดูทหี่ นา
แรงเบรกไมสม่ําเสมอ การปรับตัง้ ระยะฟรีเบรกไมถูกตอง ปรับตั้งใหม 5-S3
แผนเบรกสึก เปลี่ยนใหม 5-S5, 5-S8
แผนลูกเบี้ยวผิดรูป เปลี่ยนใหม 5-S3, 5-S8
เบรกมีเสียงดัง ระยะฟรีเบรกนอยเกินไป ปรับตั้งใหม 5-S3
รูลูกปนของแผนลูกเบี้ยวสึกหรอไมสม่ําเสมอ เปลี่ยนใหม 5-S8
สปริงดันกลับของแปนเบรกลาหรือเสียหาย เปลี่ยนใหม 5-S4
ลูกเบี้ยวเบรกมีสนิม ซอมแซม 5-S5
แรงเบรกไมเพียงพอ ระยะฟรีเบรกมากเกินไป ปรับตั้งใหม 5-S3
แผนเบรกสึก เปลี่ยนใหม 5-S5, 5-S8
แผนลูกเบี้ยวผิดรูป เปลี่ยนใหม 5-S3, 5-S8
ลูกเบี้ยวเบรกหรือคันเบรกเสียหาย เปลี่ยนใหม 5-S6
น้ํามันเกียรไมถูกตอง เปลี่ยนถาย G-10
9Y1210383BRS0001TH0

5-S1
M6040DT-SU, WSM เบรก

2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ
รายการ คามาตรฐานทีก่ ําหนด คาที่ยอมได
แปนเบรก ระยะฟรี 40 ถึง 45 มม. –
1.6 ถึง 1.8 นิ้ว
เพลาคันเหยียบเบรกถึงบุชแปนเบรก ระยะหาง 0.0250 ถึง 0.185 มม. 1.00 มม.
0.000985 ถึง 0.00728 นิ้ว 0.0394 นิ้ว

• เพลาคันเหยียบเบรก ความโตภายนอก 27.900 ถึง 27.975 มม. –


1.0985 ถึง 1.1013 นิ้ว

• บุชแปนเบรก ความโตภายใน 28.000 ถึง 28.085 มม. –


1.1024 ถึง 1.10571 นิ้ว
เพลาแขนเชื่อมคันเบรกถึงบุชแขนเชื่อมคันเบรก ระยะหาง 0.020 ถึง 0.25 มม. 1.00 มม.
0.00079 ถึง 0.0098 นิ้ว 0.0394 นิ้ว

• เพลาแขนเชื่อมคันเบรก ความโตภายนอก 19.90 ถึง 19.98 มม. –


0.7835 ถึง 0.7866 นิ้ว

• บุชแขนเชื่อมคันเบรก ความโตภายใน 20.00 ถึง 20.15 มม. –


0.7874 ถึง 0.7933 นิ้ว
แผนลูกเบี้ยว ความโกงงอ – 0.3 มม.
0.01 นิ้ว
แผนลูกเบี้ยวและลูกปน ความสูง 22.45 ถึง 22.55 มม. 22.0 มม.
0.8839 ถึง 0.8877 นิ้ว 0.866 นิ้ว
จานเบรก ความหนา 4.15 ถึง 4.35 มม. 3.3 มม.
0.164 ถึง 0.171 นิ้ว 0.130 นิ้ว
แผนขับเคลื่อน ความหนา 2.25 ถึง 2.35 มม. 1.5 มม.
0.0886 ถึง 0.0925 นิ้ว 0.059 นิ้ว
แผนหยุดเบรก ความโกงงอ – 0.3 มม.
0.01 นิ้ว
9Y1210365BRS0002TH0

5-S2
M6040DT-SU, WSM เบรก

3. การตรวจเช็คและการปรับตั้ง
[1] แปนเบรก
ระยะฟรีเบรก

ขอควรระวัง
• ดับเครื่องและดึงกุญแจออก จากนั้นล็อกลอกอนทำการตรวจเช็คแปนเบรก
1. ปลดเบรกมือ
2. คอยๆ เหยียบแปนเบรก แลววัดระยะฟรี “A” ที่ปลายแปนเบรก
3. หากตองวัดคา ใหคลายนอตล็อก (1) และหมุนขอตอปรับตั้ง (2) เพื่อปรับความยาว
ของกานใหไดคาที่ยอมรับได
40 ถึง 45 มม.
ระยะฟรีเบรก “A” คามาตรฐานที่กําหนด
1.6 ถึง 1.8 นิ้ว
ขอสําคัญ
• ตั้งระยะฟรีของเบรกทั้งขางซายและขวาใหเทากันเสมอ
(1) นอตล็อก A : ระยะฟรี
(2) ขอตอปรับตั้ง
9Y1210365BRS0003TH0

5-S3
M6040DT-SU, WSM เบรก

4. การถอดและการประกอบ
[1] แปนเบรกและกลไกเชื่อมตอ
แปนเบรกและเพลาคันเหยียบเบรก
1. ถอดฝากระโปรงหนาและฝาครอบเครื่องดานหลังออก
2. ถอดปนล็อกที่ดานทายกานเพลากดเบรก 1 (8)
3. ถอดสปริงดันกลับ (4) และแหวนล็อกดานนอก (1)
4. ดึงเพลาคันเหยียบเบรก (6) ออกมา
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีที่บุชแปนเบรกและเพลาคันเหยียบคลัตช
• คันเบรก (14) ที่มีสัญลักษณ (A) ประกอบเขาที่ดานขวา
ขอสําคัญ
• ตรวจสอบใหแนใจวาไดปรับระยะฟรีแปนเบรกหลังจากประกอบกลับแปนเบรก
เสร็จแลว
(1) แหวนล็อกดานนอก (9) ขอตอปรับตั้ง
(2) บุช (10) กานเพลากดเบรก 2
(3) แปนเบรกดานขวา (11) คันเบรก
(4) สปริงดันกลับ (12) บุช
(5) แปนเบรกดานซาย (13) เพลาแขนเชื่อมคันเบรก
(6) เพลาคันเหยียบเบรก (14) คันเบรก (ดานขวา)
(7) ล็อกเบรกมือ
(8) กานเพลากดเบรก 1 A : สัญลักษณ
9Y1210365BRS0004TH0

[2] เสื้อเบรก
(1) การถอดแยกเสื้อเพลาลอหลังออกจากหองเกียร
เสื้อเพลาลอหลัง
1. ดูที่ “[1] การถอดแยกเสื้อเพลาลอหลังออกจากหองเกียร” ที่หัวขอ
“4. เพลาลอหลัง”
9Y1210365BRS0005TH0

5-S4
M6040DT-SU, WSM เบรก
แผนลูกเบี้ยวเบรก
1. ถอดสปริงดันกลับ (1) ออก
2. ถอดแผนลูกเบี้ยวเบรก (2) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีที่บาของลูกปนเบรก (อยาทาจาระบีมากเกินไป)
(1) สปริงดันกลับ (2) แผนลูกเบี้ยวเบรก
9Y1210365BRS0006TH0

เพลาเบรก จานเบรก และแผนเบรก


1. ดึงเพลาเบรก (6) ออกมาพรอมจานเบรก (2)
2. ถอดแหวนล็อกดานนอก (5)
3. ถอดแผนเบรก (1) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• วางจานเบรก (2) ใหรู “A” ของจานเบรกที่สองทับซอนกัน
หมายเหตุ
• รุนระบบขับเคลื่อนสองลอ จานเบรก 2 ชุด (2) และแผนเบรก 1 ชุด (4)
• รุนระบบขับเคลื่อนสี่ลอ: จานเบรก 3 ชุด (2) และแผนเบรก 2 ชุด (4)
(1) แผนเบรก (5) แหวนล็อกดานนอก
(2) จานเบรก (6) เพลาเบรก
(3) แผนลูกเบี้ยวเบรก
(4) แผนเบรก A : รู
9Y1210365BRS0007TH0

5-S5
M6040DT-SU, WSM เบรก
ลูกเบี้ยวเบรกและคันลูกเบี้ยวเบรก
1. ถอดแหวนล็อกดานนอก (1)
2. ถอดลูกเบี้ยวเบรก (2) และกานลูกเบี้ยวเบรก (3) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีที่แหวนยาง (4) และระวังอยาใหแหวนยางเสียหาย
ขอสําคัญ
• ประกอบลูกเบี้ยวเบรก (2) เขากับคันลูกเบี้ยวเบรก โดยเรียงเครื่องหมายใหตรงกัน
(1) แหวนล็อกดานนอก (3) กานลูกเบี้ยวเบรก
(2) ลูกเบี้ยวเบรก (4) แหวนยาง
9Y1210365BRS0008TH0

5-S6
M6040DT-SU, WSM เบรก

5. การดูแลตรวจสอบ
[1] แปนเบรกและกลไกเชื่อมตอ
ชองวางระหวางเพลาคันเหยียบเบรกกับบุชแปนเบรก
1. วัดความโตภายนอกของเพลาคันเหยียบเบรกดวยไมโครมิเตอรภายนอก
2. วัดความโตภายในของบุชแปนเบรกดวยเกจวัดกระบอกสูบ
3. คํานวณระยะหาง
4. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนบุช
0.0250 ถึง 0.185 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ชองวางระหวางเพลาคัน 0.000985 ถึง 0.00728 นิ้ว
เหยียบเบรกกับบุชแปนเบรก 1.00 มม.
คาที่ยอมได
0.0394 นิ้ว

ความโตภายนอกของเพลาคัน 27.900 ถึง 27.975 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
เหยียบเบรก 1.0985 ถึง 1.10138 นิ้ว
28.000 ถึง 28.085 มม.
ความโตภายในบุชแปนเบรก คามาตรฐานที่กําหนด
1.1024 ถึง 1.10571 นิ้ว
9Y1210365BRS0009TH0
ระยะหางระหวางเพลาแขนเชื่อมคันเบรกกับบุช
1. วัดความโตภายนอกของเพลาแขนเชื่อมคันเบรกดวยไมโครมิเตอรภายนอก
2. วัดความโตภายในของบุชแขนเชื่อมคันเบรกดวยเกจวัดกระบอกสูบ
3. คํานวณระยะหาง
4. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนบุช
0.020 ถึง 0.25 มม.
ระยะหางระหวางเพลาแขน คามาตรฐานที่กําหนด
0.00079 ถึง 0.0098 นิ้ว
เชื่อมคันเบรกกับบุชแขนเชื่อม
คันเบรก 1.00 มม.
คาที่ยอมได
0.0394 นิ้ว

ความโตภายนอกเพลาแขน 19.90 ถึง 19.98 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
เชื่อมคันเบรก 0.7835 ถึง 0.7866 นิ้ว
ความโตภายในบุชแขนเชื่อม 20.00 ถึง 20.15 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
คันเบรก 0.7874 ถึง 0.7933 นิ้ว
9Y1210365BRS0010TH0

[2] จานเบรกและแผนเบรก
การเคลื่อนที่ของกานลูกเบี้ยวเบรก
1. ขยับกานลูกเบี้ยวเบรกดวยมือเปลาเพื่อตรวจเช็คการเคลื่อนที่
2. หากกานลูกเบี้ยวเบรกเคลื่อนที่ยาก ใหเกลาลูกเบี้ยวเบรกดวยกระดาษทราย
9Y1210365BRS0011TH0

5-S7
M6040DT-SU, WSM เบรก
ความเรียบของแผนลูกเบี้ยว
1. วางแผนลูกเบี้ยวลงบนแผนโลหะเรียบ
2. วัดความเรียบของแผนลูกเบี้ยวดวยฟลเลอรเกจเปนแนวเสนทแยงมุมทั้งสี่มุม
3. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนใหม
0.3 มม.
ความเรียบของแผนลูกเบี้ยว คาที่ยอมได
0.01 นิ้ว
9Y1210365BRS0012TH0

ความสูงของแผนลูกเบี้ยวและลูกปน
1. วัดขนาดของแผนลูกเบี้ยวขณะมีลูกปนประกอบอยู
2. หากคาที่วัดไดนอยกวาขีดจํากัดที่กําหนดไว ใหเปลี่ยนแผนลูกเบี้ยวและลูกปน
ใหม
3. ตรวจเช็คความสึกหรอที่รูลูกปนของแผนลูกเบี้ยว หากเสียหายหรือสึกหรอให
เปลี่ยนใหม
22.45 ถึง 22.55 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ความสูงของแผนลูกเบี้ยวและ 0.8839 ถึง 0.8877 นิ้ว
ลูกปน 22.0 มม.
คาที่ยอมได
0.866 นิ้ว
9Y1210365BRS0013TH0
ความสึกหรอของจานเบรก
1. วัดความหนาของจานเบรกดวยเวอรเนียแคลิปเปอร
2. หากคาที่วัดไดนอยกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนใหม
4.15 ถึง 4.35 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
0.164 ถึง 0.171 นิ้ว
ความหนาของจานเบรก
3.3 มม.
คาที่ยอมได
0.13 นิ้ว
9Y1210365BRS0014TH0

ความสึกของแผนเบรก
1. วัดความหนาของแผนดวยเวอรเนียแคลิปเปอร
2. หากคาที่วัดไดนอยกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนใหม
2.25 ถึง 2.35 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
0.0886 ถึง 0.0925 นิ้ว
ความหนาของแผน
1.5 มม.
คาที่ยอมได
0.059 นิ้ว
9Y1210365BRS0015TH0

ความเรียบของแผนเบรก
1. วางแผนเบรกลงบนแผนโลหะเรียบ
2. วัดความเรียบของแผนเบรกดวยเกจชองวางเปนแนวเสนทแยงมุมทั้งสี่มุม
3. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนใหม
0.3 มม.
ความเรียบของแผนเบรก คาที่ยอมได
0.01 นิ้ว
9Y1210365BRS0016TH0

5-S8
6 เพลาลอหนา
ระบบกลไก

สารบัญ
1. โครงสราง ....................................................................................................................................... 6-M1
[1] ระบบขับเคลื่อน 4 ลอ ................................................................................................................... 6-M1
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา

1. โครงสราง
เพลาลอหนามีหนาที่รองรับน้ําหนักสวนหนาของแทรกเตอร และชวยในการบังคับเลี้ยว
มีคานลอหนาสองแบบ
เพลาแบบขับเคลื่อนสองลอจะปลอยใหลอหนาหมุนอิสระ และเพลาแบบขับเคลื่อนสี่ลอสามารถขับเคลื่อนลอหนาได
หมายเหตุ
• ใหดูทหี่ ัวขอ “6. คานลอหนา” ในคูมือกลไกการทํางานของแทรกเตอร (รหัสหมายเลข 9Y021-18200)
9Y1210365FAM0001TH0

[1] ระบบขับเคลื่อน 4 ลอ

(1) ตุกตาเพลาตั้ง (5) คานลอหนา (8) เฟองบายศรี 10 ฟน (11) เพลากลาง


(2) เฟองบายศรี 17 ฟน (6) เฟองบายศรี 9 ฟน (9) เพลาขาง (12) เพลาขาง 8 ฟน
(3) เฟองบายศรี 43 ฟน (7) เพลาเฟองบายศรี (10) ชุดเฟองทาย (13) เฟองบายศรี 21 ฟน
(4) ฝาครอบดุมลอหนา
9Y1210365FAM0002TH0

6-M1
การตรวจซอม

สารบัญ
1. ปญหาและวิธีการแกไข ........................................................................................................................6-S1
2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ .........................................................................................................6-S2
[1] รุนระบบขับเคลื่อนสี่ลอ .................................................................................................................6-S2
3. คาแรงขัน .........................................................................................................................................6-S4
4. การตรวจเช็คและการปรับตัง้ .................................................................................................................6-S5
5. การถอดและการประกอบ .....................................................................................................................6-S7
[1] การถอดแยกคานลอหนา ................................................................................................................6-S7
(1) รุนระบบขับเคลื่อนสี่ลอ ...........................................................................................................6-S7
[2] การถอดคานลอหนา......................................................................................................................6-S9
(1) รุนระบบขับเคลื่อนสี่ลอ ...........................................................................................................6-S9
6. การดูแลตรวจสอบ ............................................................................................................................6-S15
[1] รุนระบบขับเคลื่อนสี่ลอ ...............................................................................................................6-S15
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา

1. ปญหาและวิธีการแกไข
อาการ สาเหตุ วิธีแกไข ดูทหี่ นา
ลอหนาสะบัดไปซายขวา แรงดันลมยางไมเทากัน ปรับตั้งใหม G-68
ระยะสอบลอหนา (โท-อิน) ไมถูกตอง (ตั้งศูนยลอหนาไมตรง) ปรับตั้งใหม 6-S5
ระยะหางระหวางดุมเสื้อเพลาลอหนากับบุชประกับเพลา เปลี่ยนใหม 6-S22
ลอหนา (ดานหนา, ดานหลัง) มากเกินไป
แรงกดเคลื่อนตัวเพลาลอหนานอยเกินไป ปรับตั้งใหม 6-S6
ระยะการแกวงลอหนามากเกินไป เปลี่ยนใหม 6-S5
ลูกหมากคันชัก-คันสงหลวม ขันใหแนน 6-S9
มีอากาศเขาไปในระบบพวงมาลัยพาวเวอร ไลลม –
ลอหนาไมหมุน เพลากลางชํารุดเสียหาย เปลี่ยนใหม 6-S7
[รุนระบบขับเคลื่อนสี่ลอ ] เฟองขับชุดลอหนาในชุดเกียรชํารุดเสียหาย เปลี่ยนใหม –
เฟองทายลอหนาชํารุดเสียหาย เปลี่ยนใหม 6-S13
ขอตอเพลาเลื่อนหลุด ประกอบใหม 6-S7
มีเสียงดัง ชองวางฟนเฟองมากเกินไป ปรับตั้งหรือเปลี่ยนใหม –
[รุนระบบขับเคลื่อนสี่ลอ ] น้ํามันต่ํากวาที่กําหนด เติมใหไดระดับที่กําหนด G-10
ลูกปนชํารุดหรือแตก เปลี่ยนใหม –
เฟองชํารุดหรือแตก เปลี่ยนใหม –
แรงบิดเคลื่อนตัวของเพลาเฟองเดือยหมูไมถูกตอง ปรับตั้งใหม 6-S16
9Y1210383FAS0001TH0

6-S1
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา

2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ
[1] รุนระบบขับเคลื่อนสี่ลอ
รายการ คามาตรฐานทีก่ ําหนด คาที่ยอมได
ระยะสอบลอหนา (โท-อิน) 2.0 ถึง 8.0 มม. –
0.079 ถึง 0.31 นิ้ว
ลอหนา มุมการเลี้ยว 0.882 ถึง 0.916 เรเดียน –
50.5 ถึง 52.5 °

ระยะแกวงตามแนว 5.0 มม. –


เพลาลอ 0.20 นิ้ว

ระยะแกวงตามแนวรัศมี 5.0 มม. –


0.20 นิ้ว
คานลอหนา มุมการเหวี่ยง 0.12 ถึง 0.13 เรเดียน –
6.5 ถึง 8.0 °
เสื้อเฟองทาย, ฝาครอบเสื้อเฟองทายถึงเฟองขาง ระยะหาง 0.040 ถึง 0.123 มม. 0.20 มม.
0.00157 ถึง 0.00484 นิ้ว 0.0079 นิ้ว

• เสื้อเฟองทาย ความโตภายใน 32.000 ถึง 32.062 มม. –


1.2599 ถึง 1.2622 นิ้ว

• ฝาครอบเสื้อเฟองทาย ความโตภายใน 32.000 ถึง 32.062 มม. –


1.2599 ถึง 1.2622 นิ้ว

• เฟองขาง ความโตภายนอก 31.939 ถึง 31.960 มม. –


1.2575 ถึง 1.2582 นิ้ว
เพลาเฟองดอกจอกถึงเฟองดอกจอก ระยะหาง 0.064 ถึง 0.10มม. 0.25 มม.
0.0026 ถึง 0.0039 นิ้ว 0.0098 นิ้ว

• เพลาเฟองดอกจอก ความโตภายนอก 13.950 ถึง 13.968 มม. –


0.54922 ถึง 0.54992 นิ้ว

• เฟองดอกจอก ความโตภายใน 14.032 ถึง 14.050 มม. –


0.55244 ถึง 0.55314 นิ้ว
เฟองดอกจอกถึงเฟองขาง ระยะฟนเฟอง 0.20 ถึง 0.30 มม. 0.40 มม.
0.0079 ถึง 0.011 นิ้ว 0.016 นิ้ว
เพลาเดือยหมู แรงบิดจากการหมุน 0.98 ถึง 1.1 นิวตัน·เมตร –
0.10 ถึง 0.12 กิโลกรัมแรง·เมตร
0.73 ถึง 0.86 ปอนดแรง·ฟุต
เพลาขางถึงเฟองบายศรี ระยะฟนเฟอง 0.20 ถึง 0.30 มม. 0.40 มม.
0.0079 ถึง 0.011 นิ้ว 0.016 นิ้ว

6-S2
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา

รายการ คามาตรฐานที่กําหนด คาที่ยอมได


เฟองบายศรี 10 ฟน ถึงเฟองบายศรี 17 ฟน ระยะฟนเฟอง 0.20 ถึง 0.30 มม. 0.60 มม.
0.0079 ถึง 0.011 นิ้ว 0.024 นิ้ว
คานลอหนาและเสื้อเกียรคานลอหนา ระยะหาง 0.0 ถึง 0.1 มม. –
0 ถึง 0.03 นิ้ว
เฟองบายศรี 9 ฟนถึงเฟองบายศรี 43 ฟน ระยะฟนเฟอง 0.20 ถึง 0.30 มม. 0.60 มม.
0.0079 ถึง 0.011 นิ้ว 0.024 นิ้ว
ดุมเสื้อคานลอหนา (หนา) ถึงบุชประกับหลัง ระยะหาง 0.120 ถึง 0.275 มม. 0.35 มม.
0.00473 ถึง 0.0108 นิ้ว 0.014 นิ้ว

• ดุมเสื้อคานลอหนา (หนา) ความโตภายนอก 49.950 ถึง 49.975 มม. –


1.9666 ถึง 1.9675 นิ้ว

• บุช ความโตภายใน 50.095 ถึง 50.225 มม. –


1.9723 ถึง 1.9773 นิ้ว
ดุมเสื้อคานลอหนา (หลัง) ถึงบุชประกับหลัง ระยะหาง 0.0250 ถึง 0.195 มม. 0.35 มม.
0.000985 ถึง 0.00767 นิ้ว 0.014 นิ้ว

• ดุมเสื้อคานลอหนา (หลัง) ความโตภายนอก 80.000 ถึง 80.035 มม. –


3.1496 ถึง 3.1509 นิ้ว

• บุช ความโตภายใน 80.060 ถึง 80.195 มม. –


3.1520 ถึง 3.1572 นิ้ว
การสวมอัด ความลึกของบุช 12.0 ถึง 13.0 มม. –
0.473 ถึง 0.511 นิ้ว
ดุมเสื้อเฟองบายศรีถึงบุชแทนยึดคานลอหนา ระยะหาง 0.060 ถึง 0.22 มม. 0.50 มม.
0.0024 ถึง 0.0086 นิ้ว 0.020 นิ้ว

• ดุมเสื้อเฟองบายศรี ความโตภายนอก 54.970 ถึง 55.000 มม. –


2.1642 ถึง 2.1653 นิ้ว

• บุชแทนยึดคานลอหนา ความโตภายใน 55.060 ถึง 55.190 มม. –


2.1678 ถึง 2.1728 นิ้ว
9Y1210383FAS0002TH0

6-S3
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา

3. คาแรงขัน
คาแรงขันสกรู โบลต และนอตที่กําหนดไวในตารางขางลางเปนคาแรงขันสําหรับสกรู โบลต และนอตชนิดพิเศษ
(ถาใชสกรู โบลต และนอตทั่วไป : ดูที่ “5. คาแรงขัน” ในหัวขอ “G. ขอมูลทั่วไป”)
รายการ นิวตัน·เมตร กิโลกรัมแรง·เมตร ปอนดแรง·ฟุต
นอตล็อกคันชัก-คันสง 167 ถึง 196 17.0 ถึง 20.0 123 ถึง 144
นอตล็อกปรับตั้งแรงกดเคลื่อนตัวเพลาลอหนา 98.1 ถึง 147.1 10.0 ถึง 15.0 72.4 ถึง 108.5
นอตยึดทอสงน้ํามัน 23 ถึง 29 2.3 ถึง 2.8 17 ถึง 19
นอตยึดลอหนา (M14) 167 ถึง 196 17.0 ถึง 20.0 123 ถึง 144
สกรูยึดประกับ 103 ถึง 117 10.5 ถึง 12.0 76.0 ถึง 86.7
นอตยึดประกับ 78 ถึง 90 7.9 ถึง 9.2 58 ถึง 66
นอตยึดดุมลอปลายคันชัก-คันสง 78 ถึง 90 7.9 ถึง 9.2 58 ถึง 66
สกรูยึดหองเฟองดอกจอก (M16, 9T) 167 ถึง 196 17.0 ถึง 20.0 123 ถึง 144
สกรูยึดฝาครอบคานลอหนา 30 ถึง 34 3.0 ถึง 3.5 22 ถึง 25
สกรูยึดฝาครอบเสื้อเฟองทาย 61 ถึง 70 6.2 ถึง 7.2 45 ถึง 52
9Y1210383FAS0003TH0

6-S4
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา

4. การตรวจเช็คและการปรับตั้ง
การปรับตั้งระยะสอบลอหนา (โท-อิน)
1. จอดแทรกเตอรบนพื้นเรียบ
2. หมุนพวงมาลัยใหลอหนาตัง้ ตรง
3. วางอุปกรณตอ พวงลง ดึงเบรกจอดรถ และดับเครื่องยนต
4. วัดระยะระหวางปกยางที่ดานหนายาง, ความสูงดุมลอ
5. วัดระยะระหวางปกยางที่ดานหลังยาง, ความสูงดุมลอ
6. ระยะที่วัดไดดานหนาควรจะนอยกวาดานหลัง
7. ถาไมไดมาตรฐานตามที่กําหนด ใหทําการปรับตั้งความยาวของคันชัก-คันสง
ระยะสอบลอหนา (โท-อิน) 2.0 ถึง 8.0 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
(b-a) 0.079 ถึง 0.315 นิ้ว
Q การปรับตั้งระยะสอบลอหนา (โท-อิน)
1. ถอดฝาปดกระบอกสูบ
2. ถอดแหวนล็อกออก (1)
3. คลายนอตล็อกคันชัก-คันสง (2)
4. หมุนขอตอคันชัก-คันสง (3) เพื่อปรับระยะจนไดระยะสอบลอหนา (โท-อิน)
ตรงตามคาที่กําหนด
5. ขันนอตล็อกคันชัก-คันสง (2) ใหแนนอีกครั้ง
6. ใสแหวนล็อก (1) ของขอตอคันชัก-คันสง
167 ถึง 196 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตล็อกคันชัก-คันสง 17.0 ถึง 20.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
123 ถึง 144 ปอนดแรง·ฟุต

(1) แหวนล็อก (a) ระยะหางระหวางกึ่งกลางลอหนาดานหนา


(2) นอตล็อกคันชัก-คันสง (b) ระยะหางระหวางกึ่งกลางลอหนาดานหลัง
(3) ขอตอคันชัก-คันสง (c) “ดานหนา”
9Y1210383FAS0004TH0
ระยะการแกวงตามแนวเพลาของลอหนา
1. ใชแมแรงยกดานหนาของแทรกเตอรขึ้น
2. ติดตัง้ ไดอัลเกจที่ขอบนอกของกระทะลอ
3. หมุนลอชาๆ แลวอานคาระยะการแกวงตัวของขอบกระทะลอ
4. หากคาที่วัดไดเกินกวาคามาตรฐานที่กําหนด ใหตรวจเช็คลูกปนลอ
ขอบกระทะลอ และดุมลอหนา
ต่ํากวา
ระยะการแกวงตามแนวเพลา
คามาตรฐานที่กําหนด 5.0 มม.
ของลอหนา
0.20 นิ้ว
9Y1210365FAS0003TH0

6-S5
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา
การปรับตั้งแทนยึดคานลอหนา
1. ใชแมแรงยกตัวแทรกเตอร จากนั้นคลายนอตล็อก (2)
2. หมุนสกรูปรับตั้ง (1) จนยึดติดกัน แลวขันสกรู (1) ใหแนนเพิ่มอีก 1/6 รอบ
ขันนอตล็อก (2) ใหแนนอีกครั้ง
98.1 ถึง 147 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตล็อก 10.0 ถึง 15.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
72.4 ถึง 108 ปอนดแรง·ฟุต

(1) สกรูปรับตั้ง (2) นอตล็อก


9Y1210365FAS0004TH0
มุมการเลี้ยวของลอหนา
1. เติมลมยางตามคาแรงดันที่กําหนด
2. หมุนพวงมาลัยไปทางขวาใหสุดจนกระทั่งเสื้อเกียรคานลอหนา (1) ติดกับเสื้อ
เฟองบายศรี (2) ที่อยูดานขวามือของคานลอหนา
3. ถาเสื้อเกียรคานลอหนา (1) ไมติดกับเสื้อเฟองบายศรี (2) ใหลดความยาวของตัวยัน
(3)
4. ควบคุมใหเสื้อเกียรคานลอหนา (1) ติดกับเสื้อเฟองบายศรี (2) ใหไดระยะหาง “A”
ตามที่กําหนด ซึ่งแสดงไวในตารางดานลาง
5. หลังจากการปรับตั้งแลว ยึดตัวยันดวยนอตล็อก (4) ใหแนน
6. ในการปรับตั้งมุมการเลี้ยวดานซาย ใหทําตามวิธีเดียวกันกับการปรับตั้งมุมการ
เลี้ยวดานขวา
ระยะหาง “A” ระหวางเสือ้ 1.0 ถึง 3.0 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
เฟองบายศรีกับตัวยัน 0.040 ถึง 0.11 นิ้ว

(1) เสื้อเกียรคานลอหนา (5) เสือ้ เกียรคานลอหนา


(2) เสื้อเฟองบายศรี
(3) ตัวยัน A : ระยะหาง
(4) นอตล็อก
9Y1210383FAS0005TH0

6-S6
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา

5. การถอดและการประกอบ
[1] การถอดแยกคานลอหนา
(1) รุน ระบบขับเคลื่อนสี่ลอ
การถายน้ํามันเสื้อคานลอหนา
1. ในการถายน้ํามันที่ใชแลวออกไป ใหถอดปลั๊กถายดานซายและดานขวา (3)
และปลั๊กเติมน้ํามัน (1) ที่เสื้อคานลอหนาออก แลวถายน้ํามันใสอางน้ํามันเครื่อง
จนหมด
2. ประกอบปลั๊กถายน้ํามัน (3) หลังจากถายน้ํามันเสร็จแลว
3. ถอดปลั๊กถายดานซายและดานขวาออก (2)
4. เติมน้ํามันใหม
5. เมือ่ เติมน้ํามันแลว ใหประกอบกลับปลั๊กเติมน้ํามัน (1) และปลั๊กถาย (2)
8.0 ลิตร
น้ํามันเสือ้ คานลอหนา ความจุ 8.5 ควอรตสหรัฐ
7.0 ควอรตอังกฤษ
หมายเหตุ
• ใชน้ํามันคูโบตา SUPER UDT หรือน้ํามันเกียร SAE80, 90 ดูทหี่ ัวขอ
“4. สารหลอลื่น น้ํามันเชื้อเพลิง และน้ําระบายความรอน” ในหัวขอ ขอมูลทั่วไป
(1) ปลั๊กเติมน้ํามัน (3) ปลั๊กถายน้ํามัน
(2) ปลั๊กถาย
9Y1210365FAS0006TH0
เพลากลาง
1. เลื่อนฝาครอบเพลากลาง (4) และ (5) หลังจากถอดสกรูออก
2. ถอดสลักสปริง (1), (7) จากนั้นเลื่อนขอตอเพลา (2), (6) ไปดานหนาและดานหลัง
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีบนรองฟนของเพลากลาง (3)
(1) สลักสปริง (5) ฝาครอบเพลากลาง
(2) ขอตอเพลา (6) ขอตอเพลา
(3) เพลากลาง (7) สลักสปริง
(4) ฝาครอบเพลากลาง
9Y1210383ENS0022TH0

6-S7
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา
ทอน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอร
1. ถอดทอสงน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอร (1) และ (2) ออกจากกระบอกไฮดรอลิก
บังคับเลี้ยว
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ประกอบทอสงน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอรโดยใหรหัสสีเทป (3) อยูทางดานขวา
23 ถึง 29 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตยึดทอสงน้ํามัน 2.3 ถึง 2.8 กิโลกรัมแรง·เมตร
17 ถึง 19 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ทอสงน้ํามัน (ดานขวา) (3) รหัสสีเทป


(2) ทอสงน้ํามัน (ดานซาย)
9Y1210365FAS0007TH0
ลอหนาและคานลอหนา
1. ตรวจสอบใหแนใจวาไดยึดคานลอหนาและเครื่องยนต ไวบนแทนสําหรับถอด
ชิ้นสวนอยางแนนหนา
2. คลายนอตล็อกลอหนา
3. ยกคานลอหนาขึ้นและถอดลอหนาออก
4. ถอดสกรูและนอตยึดประกับ (หนา) ออก
5. ถอดสกรูและนอตยึดประกับ (หลัง) ออก
6. แยกคานลอหนาออกจากตุกตาคานลอหนา
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
167 ถึง 196 นิวตัน·เมตร
นอตยึดลอหนา 17.0 ถึง 20.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
123 ถึง 144 ปอนดแรง·ฟุต
103 ถึง 117 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยึดประกับ (M12, 9T) 10.5 ถึง 12.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
76.0 ถึง 86.7 ปอนดแรง·ฟุต
78 ถึง 90 นิวตัน·เมตร
นอตยึดประกับ 7.9 ถึง 9.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
58 ถึง 66 ปอนดแรง·ฟุต
ขอสําคัญ
• อยาลืมปรับตั้งแรงดึงเคลื่อนตัวคานลอหนา
9Y1210365FAS0008TH0

6-S8
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา

[2] การถอดคานลอหนา
(1) รุน ระบบขับเคลื่อนสี่ลอ
คันชัก-คันสง
1. ถอดหมุดสลักชนิดผาออก และคลายนอตยึดดุมลอลูกหมาก
2. ถอดคันชัก-คันสงออกดวยตัวถอดลูกหมาก (รหัสหมายเลข 07909-39051)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• หลังจากขันนอตยึดลูกหมากคันชัก-คันสงตามแรงขันที่กําหนดแลว
ใสหมุดสลักชนิดผาตามรูป
78 ถึง 90 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตยึดดุมลอลูกหมาก 7.9 ถึง 9.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
58 ถึง 66 ปอนดแรง·ฟุต
9Y1210365FAS0009TH0

เสื้อเฟองบายศรีและเสื้อเกียรคานลอหนา
1. ถอดสกรูยึดเสื้อเฟองบายศรี
2. ถอดเสื้อเฟองบายศรี (3) และเสื้อเกียรคานลอหนา (4) ทั้งชุดออกจากเสื้อคาน
ลอหนา (1)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีที่แหวนยาง (2) และระวังอยาใหแหวนยางเสียหาย
• หามประกอบชุดเสื้อเฟองบายศรีดานซายและดานขวาสลับกัน
167 ถึง 196 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยดึ เสื้อเฟองบายศรี 17.0 ถึง 20.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
123 ถึง 144 ปอนดแรง·ฟุต

(1) เสือ้ คานลอหนา (3) เสื้อเฟองบายศรี


(2) แหวนยาง (4) เสื้อเกียรคานลอหนา
9Y1210365FAS0010TH0

6-S9
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา
ฝาครอบคานลอหนาและเสื้อเกียรคานลอหนา
1. ถอดสกรูยึดฝาครอบคานลอหนา
2. ถอดฝาครอบคานลอหนา (1) และแผนชิม (3)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีที่แหวนยาง (2) ฝาครอบเสื้อเฟองขับลอ
• ขันสกรูและนอตยึดฝาครอบเสื้อเฟองขับลอในแนวทแยง
• ประกอบแผนชิม (3) กลับไปยังตําแหนงเดิม
• ใชแผนชิม (3) ที่มีความหนา 0.4 มม. (0.016 นิ้ว) ตามมาตรฐาน แผนชิมจาก
เครื่องยนตแตละชุดการผลิตจะมีความหนาแตกตางกัน
• ตรวจเช็คและปรับตัง้ ระยะฟนเฟองและหนาสัมผัสฟนเฟอง ดูที่
“6. การตรวจสภาพ” ในบทนี้
30 ถึง 34 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยึดฝาครอบคานลอหนา 3.0 ถึง 3.5 กิโลกรัมแรง·เมตร
22 ถึง 25 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ฝาครอบคานลอหนา (3) แผนชิม


(2) แหวนยาง
9Y1210365FAS0011TH0
เฟองบายศรีและเพลาเฟองบายศรี
1. ถอดปลั๊ก (5)
2. ถอดแหวนล็อกดานใน (4) และแผนชิม (3) ออก
3. ตอกเฟองบายศรี (2) และลูกปนออก
4. ถอดเพลาเฟองบายศรี (1) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ประกอบแผนชิม (3) กลับไปยังตําแหนงเดิม
• ใชแผนชิม (3) ที่มีความหนา 2.0 มม. (0.008 นิ้ว) ตามมาตรฐาน อาจมีความตางใน
ชุดการผลิต
• ตรวจเช็คและปรับตัง้ ระยะฟนเฟองและหนาสัมผัสฟนเฟอง ดูที่
“6. การตรวจสภาพ” ในบทนี้
(1) เพลาเฟองบายศรี (4) แหวนล็อกดานใน
(2) เฟองบายศรี (5) ปลั๊ก
(3) แผนชิม
9Y1210365FAS0012TH0
เสื้อเฟองบายศรี
1. ถอดแหวนล็อกดานนอก (1)
2. ตอกเสื้อเฟองบายศรี (2) แลวถอดแยกออกจากเสื้อเกียรคานลอหนา (3)
(1) แหวนล็อกดานนอก (3) เสือ้ เกียรคานลอหนา
(2) เสื้อเฟองบายศรี
9Y1210365FAS0013TH0

6-S10
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา
เฟองในเสื้อเฟองบายศรี
1. ถอดแหวนล็อกดานใน (4) ออก
2. ถอดเฟองบายศรี (5), (6) ออกพรอมกับตลับลูกปนและแผนชิม (7)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ประกอบแผนชิม (7) กลับไปยังตําแหนงเดิม
• ใชแผนชิม (7) ที่มีความหนา 1.0 มม. (0.039 นิ้ว) ตามมาตรฐาน อาจมีความตางใน
ชุดการผลิต
• ตรวจเช็คและปรับตั้งระยะฟนเฟอง ดูที่ “6. การตรวจสภาพ” ในบทนี้
• หันดาน R ของแหวนล็อกดานนอก (1) และแหวนล็อกดานใน (9) ไปทางลูกปน
(10)
• ประกอบซีลกันน้ํามัน (8) ของเสื้อเฟองบายศรีใหถูกทิศทาง
(1) แหวนล็อกดานนอก (6) เฟองบายศรี
(2) เสือ้ เฟองบายศรี (7) แผนชิม
(3) เสือ้ เกียรคานลอหนา (8) ซีลกันน้ํามัน
(4) แหวนล็อกดานใน (9) แหวนล็อกดานใน
(5) เฟองบายศรี (10) ลูกปน
9Y1210365FAS0014TH0

6-S11
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา
เพลา
1. ถอดลูกปนออกโดยใชชุดตัวดึงแบบพิเศษ (รหัสหมายเลข 07916-09032)
2. ถอดเฟองบายศรี (2)
3. ดึงแหวนรอง (1) ออก
4. ตอกเพลาลอหนา (3) ออกมา
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ประกอบซีลกันน้ํามัน (5) ของฝาครอบเสื้อเฟองขับลอ (4) โดยสังเกตทิศทางตาม
รูปดางลาง
• ปรับระยะรุนของเพลาลอดวยแผนชิม (6), (7) ใหได 0.1 มม. (0.004 นิ้ว)
หรือนอยกวาโดยที่ฝาครอบเสื้อเฟองขับลอและฝาครอบหนายังประกอบกันอยู
• ประกอบแผนชิม (6) (7) กลับไปยังตําแหนงเดิม
• ใชแผนชิม (6) ที่มีความหนา 0.5 มม. (0.020 นิ้ว) และแผนชิม (7) หนา 0.4 มม.
(0.016 นิ้ว) ตามมาตรฐาน อาจมีความตางในชุดการผลิต
• ตรวจเช็คและปรับตัง้ ระยะฟนเฟองและหนาสัมผัสฟนเฟอง ดูที่
“6. การตรวจสภาพ” ในบทนี้
(1) แหวนรอง (5) ซีลกันน้ํามัน
(2) เฟองบายศรี (6) แผนชิม
(3) เพลา (7) แผนชิม
(4) ฝาครอบเสื้อเฟองขับลอ
9Y1210365FAS0015TH0

6-S12
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา
เพลาเดือยหมูและชุดเกียรเฟองทาย
1. ถอดเพลาขาง (9), (10) ออกทั้งสองดาน
2. ถอดซีลน้ํามัน (6) และแหวนล็อกดานใน (5)
3. ถอดแหวนรอง (4) ออก
4. ถอดเพลาเดือยหมู (3) ดวยตัวถอดเพลาเฟองดอกจอก (14)
5. ถอดชุดเกียรเฟองทาย (2), ลูกปน (7) และแผนชิม (8) ออกจากทางดานซายของ
เสื้อคานลอหนา (1)
6. ถอดหมุดของนอตล็อก (11) ออกเพื่อถอดนอตล็อก (11)
7. ถอดลูกปนเทเปอร (12)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• เปลี่ยนนอตล็อก (11), ซีลกันน้ํามัน (6) ใหม
• ทาจาระบีลงบนซีลกันน้ํามัน (6)
• ประกอบแผนชิมและแหวนรองกลับไปยังตําแหนงเดิม
• ประกอบลูกปนเทเปอรใหถูกตองตามทิศทาง แลวชโลมน้ํามันเกียรที่ลูกปน
• เมือ่ อัดซีลกันน้ํามัน (6) ใหสังเกตขนาด “A” ที่ไดอธิบายไวในรูป
• อยาลืมปรับแรงบิดจากการหมุนของเพลาเดือยหมูดวยนอตล็อก (11) หลังจาก
ประกอบชุดเพลาเดือยหมู
ขอสําคัญ
• ตอกหมุดนอตล็อก (11) ใหแนนหลังจากปรับแรงบิดแลว
0.98 ถึง 1.1 นิวตัน·เมตร
คาแรงบิดจากการหมุนของ
คามาตรฐานที่กําหนด 0.10 ถึง 0.12 กิโลกรัมแรง·เมตร
เพลาเดือยหมู
0.73 ถึง 0.86 ปอนดแรง·ฟุต

(1) เสือ้ คานลอหนา (10) เพลาขางดานซาย


(2) ชุดเกียรเฟองทาย (11) นอตล็อก
(3) เพลาเดือยหมู (12) ลูกปนเทเปอร
(4) แหวนรองปรับตั้ง (13) แหวนรอง
(5) แหวนล็อกดานใน (14) ตัวถอดเพลาเฟองดอกจอก
(6) ซีลกันน้ํามัน
(7) ลูกปน A : ขนาด A : 0.5 ถึง 1.0 มม.
(8) แผนชิม (0.020 ถึง 0.039 นิ้ว)
(9) เพลาขางดานขวา
9Y1210365FAS0016TH0

6-S13
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา
เฟองทาย
1. ถอดสกรูยึดฝาครอบเสื้อเฟองทาย (9) แลวถอดฝาครอบเสื้อเฟองทาย (5), ลูกปน
(6) และเฟองบายศรี (7) ออกทั้งชุด
2. ถอดแหวนล็อกดานนอก (8) ออก จากนั้น ใชเหล็กดูดถอดลูกปน (6)
และเฟองบายศรี (7) ออกทั้งชุด
3. ถอดสลักตรง (13) ออก
4. ดึงเพลาเฟองดอกจอก (10) แลวถอดเฟองดอกจอก (4) และเฟองขาง (12) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาน้ํายาทาปะเก็น (โมลิบดีนัมไดซัลไฟด) (ทรีบอนด 1901 หรือเทียบเทา)
ตรงหนาสัมผัสโดยรอบดานในของเฟองขาง (12) และเฟองดอกจอก (4)
61 ถึง 70 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยึดฝาครอบเสือ้ เฟองทาย 6.2 ถึง 7.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
45 ถึง 52 ปอนดแรง·ฟุต

(1) แผนชิม (8) แหวนล็อกดานนอก


(2) เสื้อเฟองทาย (9) สกรูยึดฝาครอบเสือ้ เฟองทาย
(3) แหวนกันรุน (10) เพลาเฟองดอกจอก
(4) เฟองดอกจอก (11) แผนชิม
(5) ฝาครอบเสื้อเฟองทาย (12) เฟองขาง
(6) ลูกปน (13) สลักตรง
(7) เฟองบายศรี
9Y1210365FAS0017TH0

6-S14
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา

6. การดูแลตรวจสอบ
[1] รุนระบบขับเคลื่อนสี่ลอ
ชองวางระหวางเสื้อเฟองทาย (ฝาครอบเสื้อเฟืองทาย) กับเฟองขาง
1. วัดความโตภายนอกของเฟองขาง
2. วัดความโตภายในรูเสื้อเฟองทาย จากนั้นคํานวณระยะหาง
3. วัดความโตภายในรูฝาครอบเสื้อเฟองทาย จากนั้นคํานวณระยะหาง
4. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนชิ้นสวนที่ชํารุดใหม
0.040 ถึง 0.123 มม.
ชองวางระหวางเสื้อเฟองทาย คามาตรฐานที่กําหนด
0.00157 ถึง 0.00484 นิ้ว
(ฝาครอบเสื้อเฟองทาย)
กับเฟองขาง 0.20 มม.
คาที่ยอมได
0.0079 นิ้ว

32.000 ถึง 32.062 มม.


ความโตภายในรูเสือ้ เฟองทาย คามาตรฐานที่กําหนด
1.2599 ถึง 1.2622 นิ้ว
ความโตภายในรูฝาครอบเสือ้ 32.000 ถึง 32.062 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
เฟองทาย 1.2599 ถึง 1.2622 นิ้ว
31.939 ถึง 31.960 มม.
ความโตภายนอกเฟองขาง คามาตรฐานที่กําหนด
1.2575 ถึง 1.2582 นิ้ว
9Y1210365FAS0018TH0
ชองวางระหวางเพลาเฟองกับเฟองดอกจอก
1. วัดความโตภายนอกเพลาเฟอง
2. วัดความโตภายในเฟองดอกจอก จากนั้นคํานวณระยะหาง
3. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนชิ้นสวนที่ชํารุดใหม
0.064 ถึง 0.10มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ชองวางระหวางเพลาเฟองกับ 0.0026 ถึง 0.0039 นิ้ว
เฟองดอกจอก 0.25 มม.
คาที่ยอมได
0.0098 นิ้ว

ความโตภายนอกของเพลา 13.950 ถึง 13.968 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
เฟอง 0.54922 ถึง 0.54992 นิ้ว
14.032 ถึง 14.050 มม.
ความโตภายในเฟองดอกจอก คามาตรฐานที่กําหนด
0.55244 ถึง 0.55314 นิ้ว
9Y1210365FAS0019TH0

6-S15
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา
ระยะฟนเฟองดอกจอกกับเฟองขาง
1. ติดตั้งไดอัลเกจ (ประเภทคันโยก) บนเฟองดอกจอก
2. ยึดเฟองขางและขยับเฟองดอกจอกเพื่อวัดระยะฟันเฟอง
3. หากคาที่วัดไดเกินคามาตรฐานที่กําหนด ใหปรับดวยแผนชิมเฟองขาง
0.20 ถึง 0.30 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ระยะฟนเฟองระหวางเฟอง 0.0079 ถึง 0.011 นิ้ว
ดอกจอกกับเฟองขาง 0.40 มม.
คาที่ยอมได
0.016 นิ้ว
(ขอมูลอางอิง)
• ความหนาของแผนชิมปรับตั้ง
0.8 มม. (0.031 นิ้ว)
1.0 มม. (0.039 นิ้ว)
1.2 มม. (0.047 นิ้ว)
• หนาสัมผัสของฟนเฟอง : มากกวา 35 %
9Y1210365FAS0020TH0
คาแรงบิดจากการหมุนเฉพาะเพลาเดือยหมู (เพลาเฟองเทานั้น)
1. ประกอบเฉพาะชุดเพลาเดือยหมูเขากับเสื้อคานลอหนา
2. วัดคาแรงบิดจากการหมุนของเพลาเดือยหมู
3. หากคาแรงบิดไมเปนไปตามคามาตรฐานที่กําหนด ใหปรับดวยนอตล็อก
0.98 ถึง 1.1 นิวตัน·เมตร
คาแรงบิดจากการหมุนของ
คามาตรฐานที่กําหนด 0.10 ถึง 0.12 กิโลกรัมแรง·เมตร
เพลาเดือยหมู
0.73 ถึง 0.86 ปอนดแรง·ฟุต
หมายเหตุ
• หลังปรับแรงบิดจากการหมุน อยาลืมล็อกนอตล็อก
9Y1210365FAS0021TH0

6-S16
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา
ระยะฟนเฟองและหนาสัมผัสของเฟองระหวางเพลาเฟองเดือยหมูกับเฟองดอกจอก
1. ติดตัง้ ชุดไดอัลเกจ (ชนิดปรับแขนได) ที่หนาสัมผัสฟนเฟอง
2. วัดระยะฟนเฟองโดยการยึดเพลาเดือยหมู (3) ไวใหแนน แลวขยับเฟองบายศรี (1)
ดวยมือเปลา
3. หากระยะฟนเฟองมากเกินไป ใหปรับดวยแผนชิม (4)
4. ทําการปรับตั้งระยะฟนเฟองตามขั้นตอนขางตนจนไดคาที่เหมาะสม
0.20 ถึง 0.30 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ระยะฟนเฟองระหวางเฟอง 0.0079 ถึง 0.011 นิ้ว
บายศรีและเพลาเดือยหมู 0.40 มม.
คาที่ยอมได
0.016 นิ้ว
5. ใชตะกั่วแดงทาบางๆ ใหทั่วฟนเฟอง 3 ตําแหนงระยะหางเทาๆ กันบนเฟองบายศรี
(1)
6. หมุนเพลาขาง (3) พรอมกดแผนไมที่ขอบของเฟองบายศรี
7. ตรวจเช็คหนาสัมผัสฟนเฟอง ถาไมถูกตอง ใหปรับตามคําแนะนําในรูป
(ขอมูลอางอิง)
• ความหนาของแหวนรองปรับตัง้ (2) :
5.8 มม. (0.228 นิ้ว) 6.2 มม. (0.244 นิ้ว)
5.9 มม. (0.232 นิ้ว) 6.4 มม. (0.252 นิ้ว)
6.0 มม. (0.236 นิ้ว) 10.0 มม. (0.394 นิ้ว)
6.1 มม. (0.240 นิ้ว)
• ความหนาของแผนชิมปรับตัง้ (4) :
1.6 มม. (0.063 นิ้ว) 2.2 มม. (0.087 นิ้ว)
1.8 มม. (0.071 นิ้ว) 2.4 มม. (0.094 นิ้ว)
2.0 มม. (0.079 นิ้ว)
ขอสําคัญ
• หลังจากปรับหนาสัมผัสฟนเฟองแลว ตรวจเช็คระยะฟนเฟองระหวางเพลา
เดือยหมูกับเพลาบายศรีอีกครั้ง
(1) เฟองบายศรี (A) หนาสัมผัสที่ถกู ตอง :
(2) แหวนรอง หนาสัมผัสบนซี่ฟนเฟองตองมีบริเวณของ
(3) เพลาขาง สีแดงมากกวา 35 % จุดกึ่งกลางหนาผิว
(4) แผนชิม สัมผัสฟนเฟองตองอยูท ี่ 1/3 ของความกวาง
ทัง้ หมดจากปลายดานเล็ก
(B) หนาสัมผัสแบบกินลึก :
ลดแผนชิม
(C) หนาสัมผัสแบบกินตื้น :
เพิ่มแผนชิม
9Y1210365FAS0022TH0

6-S17
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา
ระยะฟนเฟองระหวางเฟองดอกจอก 10 ฟนกับเฟองดอกจอก 17 ฟน
1. ใชจาระบีติดพลาสติกเกจหรือตะกั่วบัดกรีบนเฟองบายศรี 17 ฟน (1) โดยเวน
ระยะเทาๆ กันสามจุด
2. ยึดเสื้อคานลอหนา เสื้อเฟองบายศรี และเสื้อเกียรคานลอหนาใหแนน
3. หมุนเพลา
4. ถอดเสื้อเฟองบายศรีออกจากเสื้อคานลอหนา และกําหนดระยะฟนเฟองโดยเฉลี่ย
5. หากระยะฟนเฟองไมอยูภายในคามาตรฐานที่กําหนดไว ใหปรับดวยแผนชิม (3)
0.20 ถึง 0.30 มม.
ระยะฟนเฟองระหวางเฟอง คามาตรฐานที่กําหนด
0.0079 ถึง 0.011 นิ้ว
ดอกจอก 10 ฟนกับเฟอง
ดอกจอก 17 ฟน 0.60 มม.
คาที่ยอมได
0.024 นิ้ว
(ขอมูลอางอิง)
• ใชแผนชิม (3) ที่มีความหนา 1.0 มม. (0.039 นิ้ว) ตามมาตรฐาน อาจมีความตางใน
ชุดการผลิต
• ความหนาของแผนชิมปรับตั้ง
0.4 มม. (0.016 นิ้ว)
0.6 มม. (0.024 นิ้ว)
0.8 มม. (0.031 นิ้ว)
1.0 มม. (0.039 นิ้ว) “มาตรฐาน”
1.2 มม. (0.047 นิ้ว)
• หนาสัมผัสของฟนเฟอง : มากกวา 30 %
(1) เฟองบายศรี 17 ฟน (3) แผนชิม
(2) เฟองบายศรี 10 ฟน
9Y1210365FAS0023TH0

6-S18
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา
ระยะหางระหวางคานลอหนากับเสื้อเกียรคานลอหนา
1. ประกอบคานลอหนา (1) กับเฟอง 43 ฟน (4) และชิ้นสวนที่เกีย่ วของโดยวาง
แผนชิมที่มีความหนา “มาตรฐาน” (5) และ (6) หรือแผนชิม “แผนเดิม” (5) และ (6)
2. ใชจาระบีตดิ พลาสติกเกจหรือตะกัว่ บัดกรีบนแผนชิม (5) โดยเวนระยะเทาๆ
กันสามจุด
3. ประกอบฝาครอบคานลอหนา (2) และเสื้อเกียรคานลอหนา (3)
4. ถอดฝาครอบคานลอหนา (2) ออกจากเสื้อเกียรคานลอหนา (3) แลวกําหนด
ระยะหางโดยเฉลี่ย
5. หากระยะหางไมอยูภายในคามาตรฐานที่กําหนดไว ใหปรับดวยแผนชิม (5)
ขอสําคัญ
• หามเปลีย่ นความหนาทั้งหมดของแผนชิมดังกลาวในระหวางขั้นตอนถัดไป
(ระยะฟนเฟองระหวางเฟองบายศรี 9 ฟนกับเฟองบายศรี 43 ฟน)
ระยะหางระหวางคานลอหนา 0.0 ถึง 0.1 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
กับเสื้อเกียรคานลอหนา 0 ถึง 0.03 นิ้ว
(ขอมูลอางอิง)
• ความหนาของแผนชิมปรับตัง้
แผนชิม (5) :
0.1 มม. (0.004 นิ้ว)
0.2 มม. (0.008 นิ้ว)
0.4 มม. (0.016 นิ้ว) “มาตรฐาน”
แผนชิม (6) :
0.1 มม. (0.004 นิ้ว)
0.2 มม. (0.008 นิ้ว)
0.5 มม. (0.020 นิ้ว) “มาตรฐาน”
• แผนชิมที่แสดงในตารางดานลางถือเปนแผนชิม “มาตรฐาน” อยางไรก็ตาม
ความหนาของแผนชิม “แผนเดิม” อาจแตกตางออกไปเนื่องจากเครื่องจักร
ที่ใชในการผลิต
แผนชิม (5) 0.4 มม. (0.016 นิ้ว)
ความหนามาตรฐาน
แผนชิม (6) 0.5 มม. (0.020 นิ้ว)

(1) คานลอหนา (6) แผนชิม


(2) ฝาครอบคานลอหนา
(3) เสือ้ เกียรคานลอหนา a : ระยะหางระหวางคานลอหนากับเสื้อเกียร
(4) เฟองบายศรี 43 ฟน คานลอหนา
(5) แผนชิม
9Y1210365FAS0024TH0

6-S19
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา
ระยะหางระหวางเฟองบายศรี 9 ฟนกับเฟองบายศรี 43 ฟน
1. ใชจาระบีติดพลาสติกเกจหรือตะกั่วบัดกรีบนเฟองบายศรี 43 ฟน (1) โดยเวน
ระยะเทาๆ กันสามจุด
2. ประกอบฝาครอบคานลอหนา (6) และเสื้อเกียรคานลอหนา (7)
3. หมุนคานลอหนา (8)
4. ถอดฝาครอบคานลอหนา (6) ออกจากเสื้อเกียรคานลอหนา (7) แลวกําหนด
ระยะฟนเฟองโดยเฉลี่ย
5. หากระยะฟนเฟองไมอยูภายในคามาตรฐานที่กําหนดไว ใหปรับดวยแผนชิม (3)
6. ตรวจเช็คสภาพหนาสัมผัสฟนเฟอง หนาสัมผัสฟนเฟองอาจปรับไดโดยการ
เปลี่ยนตําแหนงแผนชิม (4) และ (5) แตหามเปลี่ยนความหนาทั้งหมดของแผนชิม
(4) และ (5)
0.20 ถึง 0.30 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ระยะหางระหวางเฟองบายศรี 0.0079 ถึง 0.011 นิ้ว
9 ฟนกับเฟองบายศรี 43 ฟน 0.60 มม.
คาที่ยอมได
0.024 นิ้ว
(ขอมูลอางอิง)
• ความหนาของแผนชิมปรับตั้ง
แผนชิม (3) :
1.0 มม. (0.039 นิ้ว)
1.2 มม. (0.047 นิ้ว)
1.6 มม. (0.063 นิ้ว)
1.8 มม. (0.071 นิ้ว)
2.0 มม. (0.079 นิ้ว) “มาตรฐาน”
แผนชิม (4) :
0.1 มม. (0.004 นิ้ว)
0.2 มม. (0.008 นิ้ว)
0.4 มม. (0.016 นิ้ว) “มาตรฐาน”
แผนชิม (5) :
0.1 มม. (0.004 นิ้ว)
0.2 มม. (0.008 นิ้ว)
0.5 มม. (0.020 นิ้ว) “มาตรฐาน”
(ตอ)

6-S20
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา
(มีตอ)
ขอสําคัญ
• หนาสัมผัสของฟนเฟอง : มากกวา 35 %
• หากหนาสัมผัสฟนเฟองไมถูกตอง เปลี่ยนความหนาของแผนชิม (3) และตําแหนง
ของแผนชิม (4) และ (5) เพื่อปรับใหถูกตอง
• ตรวจสอบระยะฟนเฟองใหมอีกครั้งหลังจากปรับหนาสัมผัสฟนเฟองแลว
หมายเหตุ
• แผนชิมที่แสดงในตารางดานลางถือเปนแผนชิม “มาตรฐาน” อยางไรก็ตาม
ความหนาของแผนชิม “แผนเดิม” อาจแตกตางออกไปเนื่องจากเครื่องจักร
ที่ใชในการผลิต
แผนชิม (3) 2.0 มม. (0.079 นิ้ว)
แผนชิม (4) ความหนามาตรฐาน 0.4 มม. (0.016 นิ้ว)
แผนชิม (5) 0.5 มม. (0.020 นิ้ว)

(1) เฟองบายศรี 43 ฟน (5) แผนชิม


(2) เฟองบายศรี 9 ฟน (6) ฝาครอบคานลอหนา
(3) แผนชิม (7) เสื้อเกียรคานลอหนา
(4) แผนชิม (8) คานลอหนา
9Y1210365FAS0025TH0

6-S21
M6040DT-SU, WSM เพลาลอหนา
ระยะหางระหวางดุมเสือ้ คานลอหนากับบุชประกับ
1. วัดความโตภายนอกของดุมเสื้อคานลอหนาดวยไมโครมิเตอรวัดนอก
2. วัดความโตภายในบุชประกับ จากนั้นคํานวณระยะหาง
3. หากคาที่ไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนบุชประกับใหม
0.120 ถึง 0.275 มม.
ระยะหางระหวางดุมเสื้อคาน คามาตรฐานที่กําหนด
0.0473 ถึง 0.0108 นิ้ว
ลอหนา (ดานหนา) กับบุช
ประกับ (ดานหนา) 0.35 มม.
คาที่ยอมได
0.014 นิ้ว

ความโตภายนอกของดุมเสื้อ 49.950 ถึง 49.975 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
เพลาลอหนา (ดานหนา) 1.9666 ถึง 1.9675 นิ้ว
ความโตภายในของบุชประกับ 50.095 ถึง 50.225 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
(ดานหนา) 1.9723 ถึง 1.9773 นิ้ว

0.0250 ถึง 0.195 มม.


ระยะหางระหวางดุมเสื้อเพลา คามาตรฐานที่กําหนด
0.000985 ถึง 0.00767 นิ้ว
ลอหนา (ดานหลัง)
กับบุชประกับ (ดานหลัง) 0.35 มม.
คาที่ยอมได
0.014 นิ้ว

ความโตภายนอกของดุมเสื้อ 80.000 ถึง 80.035 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
เพลาลอหนา (ดานหลัง) 3.1496 ถึง 3.1509 นิ้ว
ความโตภายในของบุชประกับ 80.060 ถึง 80.195 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
(ดานหลัง) 3.1520 ถึง 3.1572 นิ้ว
Q การสวมอัดบุช
• เมื่อสวมอัดบุชอันใหม ใหสังเกตขนาดตามที่ไดอธิบายไวในรูป
ความลึกในการสวมอัดบุช 12.0 ถึง 13.0 มม.
คาสําหรับอางอิง
“A” 0.473 ถึง 0.511 นิ้ว
หมายเหตุ
• เมื่อเปลี่ยนบุชใหมแลว ใหปรับแรงดึงเคลื่อนตัวคานลอหนา
(1) บุช
9Y1210365FAS0026TH0
ระยะหางระหวางดุมเสือ้ เฟองบายศรีกับบุชแทนยึดคานลอหนา
1. วัดความโตภายนอกของดุมเสื้อเฟองบายศรีดวยไมโครมิเตอรวัดนอก
2. วัดความโตภายในบุชแทนยึด จากนั้นคํานวณระยะหาง
3. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนใหม
0.060 ถึง 0.22 มม.
ระยะหางระหวางดุมเสื้อเฟอง คามาตรฐานที่กําหนด
0.0024 ถึง 0.0086 นิ้ว
บายศรีกับบุชแทนยึดคาน
ลอหนา 0.50 มม.
คาที่ยอมได
0.020 นิ้ว

ความโตภายนอกดุมเสื้อเฟอง 54.970 ถึง 55.000 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
บายศรี 2.1642 ถึง 2.1653 นิ้ว
ความโตภายในบุชแทนยึดคาน 55.060 ถึง 55.190 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ลอหนา 2.1678 ถึง 2.1728 นิ้ว
9Y1210365FAS0027TH0

6-S22
7 ระบบบังคับเลี้ยว
ระบบกลไก

สารบัญ
1. กลไกระบบบังคับเลี้ยว ........................................................................................................................ 7-M1
M6040DT-SU, WSM ระบบบังคับเลี้ยว

1. กลไกระบบบังคับเลี้ยว

(1) ปมไฮดรอลิก (3) กระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยว (5) ทอน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอร (6) ไสกรองแมเหล็ก


(2) ชุดควบคุมการเลี้ยว (4) ทอน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอร
แทรกเตอรทุกรุนจะมีพวงมาลัยพาวเวอรแบบน้ํามันแรงดันสูง โดยทั่วไปพวงมาลัยพาวเวอรจะแบงออกเปน 4 ประเภทไดแก : แบบบูสเตอร,
แบบรวม, แบบกึง่ รวม และแบบน้ํามันแรงดันสูง
สําหรับพวงมาลัยพาวเวอรแบบน้ํามันแรงดันสูง ชุดควบคุมการเลี้ยวจะเชื่อมตอกับกระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยวโดยใชเพียงแคทอน้ํามัน
ไฮดรอลิกเทานั้น โดยการเลี้ยวจะเกิดจากการทํางานของแรงดันน้ํามันเครื่อง และเนื่องจากไมใชชิ้นสวนสงกลไกการสงกําลังใดๆ เชน เฟองระบบเลี้ยว,
แขนบังคับเลี้ยว, แขนลาก และอื่นๆ โครงสรางของระบบบังคับเลี้ยวจึงไมซับซอน
ระบบบังคับเลี้ยวนี้ประกอบดวยปมไฮดรอลิก (1), ชุดควบคุมการเลี้ยว (2), กระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยว (3), ไสกรองแมเหล็ก (6) และอื่นๆ
ระบบพวงมาลัยพาวเวอรแบบน้ํามันแรงดันสูงนี้แบงไดอีกเปนสองประเภทไดแก : แบบไมมีแรงคืนพวงมาลัยและแบบมีแรงคืนพวงมาลัย
ซึ่งทั้งสองแบบนี้จะตางกันที่ชุดควบคุมการเลี้ยว ขึ้นอยูกับวาเมื่ออยูในตําแหนงวาง รูทางเขาน้ํามันของกระบอกสูบจะถูกกั้นหรือไม และสําหรับ
แทรกเตอรรุนเหลานี้ จะใชแบบมีแรงคืนพวงมาลัย
ในระบบพวงมาลัยพาวเวอรแบบมีแรงคืนพวงมาลัยนี้ เมื่อผูขับปลอยมือจากพวงมาลัย พวงมาลัยจะหมุนกลับมาในตําแหนงใกลเคียงกับตําแหนง
ตั้งตรง เหมือนกับรถยนต
(ขอมูลอางอิง)
สวนพวงมาลัยพาวเวอรแบบไมมีแรงคืนพวงมาลัย เมื่อผูขับปลอยมือออกจากพวงมาลัย พวงมาลัยจะอยูในตําแหนงเดิม
การสั่นสะเทือนที่ลอจะไมถูกสงผานมายังพวงมาลัย
หมายเหตุ
• ใหดูทหี่ ัวขอ “7. ระบบพวงมาลัย” ในคูมือกลไกการทํางานของแทรกเตอร (รหัสหมายเลข 9Y021-18200)
9Y1210365STM0001TH0

7-M1
การตรวจซอม

สารบัญ
1. ปญหาและวิธีการแกไข ........................................................................................................................7-S1
2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ .........................................................................................................7-S2
3. คาแรงขัน .........................................................................................................................................7-S3
4. การตรวจเช็คและการปรับตัง้ .................................................................................................................7-S4
[1] ชุดควบคุมการเลี้ยว .......................................................................................................................7-S4
[2] ปมไฮดรอลิกพวงมาลัยพาวเวอร .......................................................................................................7-S5
5. การถอดและการประกอบ .....................................................................................................................7-S7
[1] การถอดปมไฮดรอลิก ....................................................................................................................7-S7
[2] ชุดควบคุมการเลี้ยว .......................................................................................................................7-S7
(1) การถอดชุดควบคุมการเลี้ยว ......................................................................................................7-S7
(2) การถอดแยกชุดควบคุมการเลี้ยว ...............................................................................................7-S10
[3] กระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยว ........................................................................................................7-S13
(1) กระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยว ..................................................................................................7-S13
6. การดูแลตรวจสอบ ............................................................................................................................7-S15
M6040DT-SU, WSM ระบบบังคับเลี้ยว

1. ปญหาและวิธีการแกไข
อาการ สาเหตุ วิธีแกไข ดูทหี่ นา
แทรกเตอรเลี้ยวไมได เพลาขับในพวงมาลัยพาวเวอรประกอบไมถูกตอง ประกอบใหม 7-S10
ทอน้ํามันเสียหาย เปลี่ยนใหม –
พวงมาลัยหนัก ใชน้ํามันเกียรผิดชนิด เปลี่ยนใหตรงตามชนิดที่ G-10
กําหนด
ปมไฮดรอลิกทํางานผิดปกติ เปลี่ยนใหม 7-S7
วาลวควบคุมแรงดันทํางานผิดปกติ เปลี่ยนใหม 7-S10
คอนโทรลวาลวทํางานผิดปกติ (หลอดวาลวกับปลอกวาลว) ซอมหรือเปลี่ยนใหม 7-S10
น้ํามันรั่วเนื่องจากซีลชํารุดเสียหาย เปลี่ยนใหม –
แรงบังคับเลี้ยวไมคงที่ คอนโทรลวาลวทํางานผิดปกติ เปลี่ยนใหม 7-S10
มีอากาศเขาไปในปมเนื่องจากปมรั่วหรือน้ํามันนอยเกินไป เติมใหไดระดับที่กําหนด G-10
มีอากาศเขาปมจากวงจรดูดน้ํามัน ซอมแซม –
พวงมาลัยหนักขณะเริ่มหมุน คอนโทรลวาลวทํางานผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 7-S10
พวงมาลัยหมุนเองเมื่อ คอนโทรลวาลวทํางานผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 7-S10
ปลอยมือ
ลอหนาสะบัดไปซายขวา คอนโทรลวาลวทํางานผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 7-S10
มีอากาศเขาปมเนื่องจากน้ํามันนอยเกินไป เติมใหไดระดับที่กําหนด G-10
มีอากาศเขาปมจากวงจรดูดน้ํามัน ซอมแซม –
ไลลมออกไมหมด ไลลม –
กระบอกไฮดรอลิกทํางานผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 7-S14
ลอหมุนกลับทิศทางกับ ประกอบทอน้ํามันบนกระบอกไฮดรอลิกกลับดาน ซอมแซม –
พวงมาลัย
ลอหนาไมหมุนตามพวงมาลัย ไลลมออกไมหมด ไลลม –
เมื่อบังคับเลี้ยวแบบธรรมดา มีอากาศเขาเนื่องจากน้ํามันนอยเกินไป เติมใหไดระดับที่กําหนด G-10
มีเสียงดังผิดปกติ มีอากาศเขาปมเนื่องจากน้ํามันนอยเกินไป เติมใหไดระดับที่กําหนด G-10
มีอากาศเขาปมจากวงจรดูดน้ํามัน ซอมแซม –
ทอน้ํามันเสียรูป เปลี่ยนใหม –
อุณหภูมิของน้ํามันเพิ่มขึ้น คอนโทรลวาลวทํางานผิดปกติ เปลี่ยนใหม 7-S10
อยางรวดเร็ว
ลอหนาสั่น กลไกการเชื่อมตอหรือลูกปนของลอสึกหรอ เปลี่ยนชิ้นสวนที่เสียหาย –
ใหม
9Y1210383STS0001TH0

7-S1
M6040DT-SU, WSM ระบบบังคับเลี้ยว

2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ
ปมไฮดรอลิก
รายการ คามาตรฐานทีก่ ําหนด คาที่ยอมได
ปมไฮดรอลิก การจายน้ํามัน มากกวา 17.4 ลิตร/นาที
สภาวะการทํางาน 21.3 ลิตร/นาที 4.60 แกลลอนสหรัฐ/นาที
• รอบของเครื่องยนต มากกวา 3.83
2700 นาที-1 (รอบตอนาที) 5.63 แกลลอนสหรัฐ/นาที แกลลอนอังกฤษ/นาที
• แรงดันที่กําหนด มากกวา
16.8 เมกะปาสคาล (170 กิโลกรัมแรง/ซม.2, 2418 4.69 แกลลอนอังกฤษ/นาที
ปอนด/ตร. นิ้ว)
• อุณหภูมิน้ํามัน
45 ถึง 55 °C (113 ถึง 131 °F)
ปลอกตัวเรือน ความลึกของรอยขีดขวน – 0.09 มม.
0.004 นิ้ว
บุชถึงเพลาเฟอง ระยะหาง – 0.15 มม.
0.0059 นิ้ว
เพลาเฟอง ความโตภายนอก – 17.968 มม.
0.70740 นิ้ว
บุช ความยาว – 18.965 มม.
0.74665 นิ้ว
ชุดควบคุมการเลี้ยว
รายการ คามาตรฐานทีก่ ําหนด คาที่ยอมได
วาลวระบายแรงดัน แรงดันที่ปรับตัง้ 18.6 เมกะปาสคาล –
สภาวะการทํางาน 190 กิโลกรัมแรง/ซม.2
• รอบของเครื่องยนต : 2700 ปอนด/ตร.นิ้ว
สูงสุด
• อุณหภูมิน้ํามัน
45 ถึง 55 °C (113 ถึง 131 °F)
กระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยว [ระบบขับเคลื่อนสี่ลอ]
รายการ คามาตรฐานทีก่ ําหนด คาที่ยอมได
กระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยว ความโตภายใน 55.0 มม. –
(ขอมูลอางอิง) 2.17 นิ้ว
บุชกานเพลา ความโตภายใน 35.075 ถึง 35.121 มม. –
1.3809 ถึง 1.3827 นิ้ว
กานเพลา ความโตภายนอก 35.0 มม. –
(ขอมูลอางอิง) 1.38 นิ้ว
9Y1210383STS0002TH0

7-S2
M6040DT-SU, WSM ระบบบังคับเลี้ยว

3. คาแรงขัน
คาแรงขันสกรู โบลต และนอตที่กําหนดไวในตารางขางลางเปนคาแรงขันสําหรับสกรู โบลต และนอตชนิดพิเศษ
(ถาใชสกรู โบลต และนอตทั่วไป : ดูที่ “5. คาแรงขัน” ในหัวขอ ขอมูลทั่วไป)
รายการ นิวตัน·เมตร กิโลกรัมแรง·เมตร ปอนดแรง·ฟุต
สกรูยึดทอน้ํามันไฮดรอลิก 18 ถึง 20 1.8 ถึง 2.1 13 ถึง 15
นอตและสกรูยึดชุดปมไฮดรอลิก 24 ถึง 27 2.4 ถึง 2.8 18 ถึง 20
นอตยึดพวงมาลัย 48 ถึง 55 4.9 ถึง 5.7 36 ถึง 41
นอตยึดทอสงน้ํามันและทอสงน้ํามันไหลกลับถัง 47 ถึง 51 4.8 ถึง 5.2 35 ถึง 37
นอตยึดทอสงน้ํามันไหลกลับ 23 ถึง 27 2.3 ถึง 2.8 17 ถึง 19
สกรูยึดชุดควบคุมการเลี้ยว 78 ถึง 90 7.9 ถึง 9.2 58 ถึง 66
สกรูยึดชุดจีโรเตอร 26 ถึง 28 2.6 ถึง 2.9 18.8 ถึง 21
นอตยึดดุมลอ 78 ถึง 90 7.9 ถึง 9.2 58 ถึง 66
นอตล็อกเข็มขัดรัดกระบอกสูบ 39.2 ถึง 45.1 4.0 ถึง 4.6 28.9 ถึง 33.3
ขอตอทอสงน้ํามัน 30 ถึง 34 3.0 ถึง 3.5 22 ถึง 25
ขอตอคันชัก-คันสงและกระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยว 167 ถึง 196 17.0 ถึง 20.0 123 ถึง 144
9Y1210383STS0003TH0

7-S3
M6040DT-SU, WSM ระบบบังคับเลี้ยว

4. การตรวจเช็คและการปรับตั้ง
[1] ชุดควบคุมการเลี้ยว
แรงดันที่วาลวระบายแรงดัน
1. ถอดทอสงน้ํามัน 1 (หรือ 2) ออกจากกระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยวและตั้งเกจวัด
แรงดัน (3) (รหัสหมายเลข 07916-50321) ระหวางทอ โดยใชขอตอเพิ่ม-ลดขนาด
ของพวงมาลัยพาวเวอร (1) (รหัสหมายเลข 07916-54021), ขอตอ (รหัสหมายเลข
07916-50401) และสายน้ํามัน (รหัสหมายเลข 07916-50331)
2. สตารทเครื่องยนตและเรงรอบเครื่องไวที่รอบสูงสุด
3. หมุนพวงมาลัยไปทางซายหรือทางขวาจนสุด แลวอานคาแรงดันเมื่อวาลวระบาย
แรงดันทํางาน
4. หมุนพวงมาลัยไปที่ตําแหนงดานหนา แลวอานเกจวัดความดันเมื่อวาลวควบคุม
ระบบพวงมาลัยอยูที่ตําแหนงวาง
5. หากความตางระหวางแรงดันวาลวควบคุมกับแรงดันที่ตําแหนงวางไมอยูในคา
มาตรฐานที่กําหนด ใหปรับแรงดันวาลวควบคุมโดยใชปลั๊กปรับตัง้ (5)
สภาวะการทํางาน
• รอบของเครื่องยนต :
สูงสุด
• อุณหภูมิน้ํามัน :
45 ถึง 55 °C (113 ถึง 131 °F)
ขอสําคัญ
(การไลลม)
• สตารทเครื่องยนต จากนั้นหมุนพวงมาลัยชาๆ ไปจนสุดทัง้ สองทิศทางสลับไปมา
ประมาณสองสามนาที และดับเครื่องยนต
18.6 เมกะปาสคาล
แรงดันที่วาลวควบคุมแรงดัน คามาตรฐานที่กําหนด 190 กิโลกรัมแรง/ซม.2
2700 ปอนด/ตร.นิ้ว

(1) ขอตอเพิ่ม-ลดขนาดของมาลัยพาวเวอร (4) ขอตอ


(2) สายแรงดัน (5) ปลัก๊ ปรับตั้งสําหรับวาลวระบายแรงดัน
(3) เกจวัดแรงดัน
9Y1210365STS0004TH0

7-S4
M6040DT-SU, WSM ระบบบังคับเลี้ยว

[2] ปมไฮดรอลิกพวงมาลัยพาวเวอร
การทดสอบการไหลของน้ํามันไฮดรอลิก
ขอสําคัญ
• ถาใชมิเตอรวัดอัตราการไหลแบบอื่นนอกเหนือจากที่คูโบตากําหนด
(รหัสหมายเลข 07916-52792) ตองปฏิบัติตามวิธีใชงานของมิเตอรวัดอัตรา
การไหลนั้นอยางเครงครัด
• กอนทําการทดสอบ หามปดวาลวโหลดของมิเตอรวัดอัตราการไหลจนสนิท
เนื่องจากมิไดมีการติดตั้งวาลวควบคุมแรงดัน
1. ถอดทอสงน้ํามันที่เชื่อมตอจากปมไฮดรอลิกไปที่ชุดควบคุมการเลี้ยว
2. ประกอบขอตอ 53 และ 54 ที่ชองทางออกปม [ขอตอ 53 และ 54 จะมีใหมาพรอม
กับชุดขอตอ (รหัสหมายเลข 07916-54301)]
3. ตอสายทดสอบระบบไฮดรอลิกที่ขอตอ 53 และชองทางเขาของมิเตอรวัดอัตรา
การไหล
4. ตอสายทดสอบระบบไฮดรอลิกอื่นๆ ที่ชองทางออกของมิเตอรวัดอัตราการไหล
แลววางปลายสายน้ํามันในชองน้ํามันเกียร
5. เปดวาลวโหลดของมิเตอรวัดอัตราการไหลใหสุด (หมุนทวนเข็มนาฬิกา)
6. สตารทเครื่องยนต และเรงรอบของเครื่องยนตไวที่ 2000 ถึง 2200 นาที-1
(รอบตอนาที)
7. คอยๆ ปดวาลวโหลดชาๆ เพื่อเพิ่มความดัน โดยใหอยูประมาณ 9.8 เมกะปาสคาล
(100 กิโลกรัมแรง/ซม.2, 1422 ปอนด/ตร. นิ้ว) คงสภาวะนี้ไวจนอุณหภูมิของ
น้ํามันเพิ่มขึ้นไปถึงประมาณ 50 °C (122 °F)
8. เปดวาลวโหลดใหสุด
9. ตั้งรอบของเครื่องยนต (ดูที่หัวขอ สภาวะการทํางาน)
10. อานและบันทึกคาอัตราการสงน้ํามันของปมเมื่อไมมีแรงดัน
11. คอยๆ ปดวาลวโหลดอยางชาๆ เพื่อเพิ่มแรงดันที่กําหนด (ดูที่หัวขอ
สภาวะการทํางาน) เมื่อน้ําหนักในการลากจูงเพิ่มขึ้น ความเร็วรอบเครื่องยนต
จะลดลง ดังนั้น ใหปรับตัง้ คาความเร็วรอบใหม
12. อานและบันทึกคาอัตราการสงน้ํามันของปมที่จุดแรงดันที่กําหนด
13. เปดวาลวโหลดใหสุดและดับเครื่องยนต
14. ถาอัตราการสงน้ํามันของปมไมถึงคาที่ยอมได ใหตรวจเช็คทอดูดน้ํามันของปม
ไสกรองน้ํามัน หรือปมไฮดรอลิก
(ตอ)

7-S5
M6040DT-SU, WSM ระบบบังคับเลี้ยว
(มีตอ)
สภาวะการทํางาน
• รอบของเครื่องยนต :
ประมาณ 2700-1 (รอบตอนาที)
• แรงดันที่กําหนด :
16.8 เมกะปาสคาล (170 กิโลกรัมแรง/ซม.2, 2418 ปอนด/ตร. นิ้ว)
• อุณหภูมิน้ํามัน :
45 ถึง 55 °C (113 ถึง 131 °F)
22.6 ลิตร/นาที
การสงน้ํามันของปมไฮดรอลิก
คามาตรฐานที่กําหนด 5.97 แกลลอนสหรัฐ/นาที
ขณะไมมีแรงดัน
4.97 แกลลอนอังกฤษ/นาที
21.3 ลิตร/นาที
คามาตรฐานที่กําหนด 5.63 แกลลอนสหรัฐ/นาที
การสงน้ํามันของปมไฮดรอลิก 4.69 แกลลอนอังกฤษ/นาที
ขณะมีแรงดันที่กําหนด 17.4 ลิตร/นาที
คาที่ยอมได 4.6 แกลลอนสหรัฐ/นาที
3.83 แกลลอนอังกฤษ/นาที
9Y1210383STS0004TH0

7-S6
M6040DT-SU, WSM ระบบบังคับเลี้ยว

5. การถอดและการประกอบ
[1] การถอดปมไฮดรอลิก
การถอดปมไฮดรอลิก
1. ถอดทอสงน้ํามัน (1), (2) ออกจากปมไฮดรอลิก (4)
2. ถอดทอดูด (3) ออกจากปมไฮดรอลิก (4)
3. ถอดสกรูและนอตยึดชุดปมน้ํามันเชื้อเพลิง
4. ถอดชุดปมไฮดรอลิกออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีที่แหวนยาง และระวังอยาใหแหวนยางเสียหาย
18 ถึง 20 นิวตัน·เมตร
สกรูยดึ ทอน้ํามันไฮดรอลิก 1.8 ถึง 2.1 กิโลกรัมแรง·เมตร
13 ถึง 15 ปอนดแรง·ฟุต
คาแรงขัน
24 ถึง 27 นิวตัน·เมตร
นอตและสกรูยึดชุดปมไฮดรอลิก 2.4 ถึง 2.8 กิโลกรัมแรง·เมตร
18 ถึง 20 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ทอสงน้ํามัน (ทอน้ํามันไฮดรอลิกสามจุด) (3) ทอดูด


(2) ทอสงน้ํามัน (ทอน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอร) (4) ปมไฮดรอลิก
9Y1210383STS0005TH0

[2] ชุดควบคุมการเลี้ยว
(1) การถอดชุดควบคุมการเลี้ยว
ฝากระโปรงหนา
1. ถอดสายแบตเตอรี่ขั้วลบ (1)
2. ปลดขั้วตอไฟหนา 4P (2)
3. ถอดตัวลดแรงสะเทือน (3) ออก
4. ถอดฝากระโปรงหนา
(1) สายแบตเตอรี่ขวั้ ลบ (3) ตัวลดแรงสะเทือน
(2) ขั้วตอ 4P
9Y1210365ENS0018TH0

7-S7
M6040DT-SU, WSM ระบบบังคับเลี้ยว
ฝาครอบเครื่องดานหลัง
1. ดึงสติ๊กเกอร (3) ออก แลวถอดสกรู (4)
2. ถอดฝาครอบเครื่องดานหลัง (2)
(1) ฝาครอบเครื่องดานหลัง (3) สติ๊กเกอร
(2) ฝาครอบดานลาง (4) สกรู
9Y1210365STS0022TH0

ทอสําหรับระบบพวงมาลัยพาวเวอร
1. ถอดทอสงน้ํามันหลัก (1), ทอน้ํามันไหลกลับถัง 1 (2), ทอสงน้ํามันไหลกลับ (3)
และทอสงน้ํามันไหลกลับ (4)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
47 ถึง 51 นิวตัน·เมตร
ทอสงน้ํามันหลักกับนอตยึดทอ
4.8 ถึง 5.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
น้ํามันไหลกลับถัง
35 ถึง 37 ปอนดแรง·ฟุต
คาแรงขัน
23 ถึง 29 นิวตัน·เมตร
นอตยึดทอสงน้ํามันไหลกลับ 2.3 ถึง 2.8 กิโลกรัมแรง·เมตร
17 ถึง 19 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ทอสงน้ํามันหลัก (3) ทอสงน้ํามันไหลกลับ (ดานขวา)


(2) ทอน้ํามันไหลกลับถัง 1 (4) ทอสงน้ํามันไหลกลับ (ดานซาย)
9Y1210365STS0008TH0

7-S8
M6040DT-SU, WSM ระบบบังคับเลี้ยว
ชุดควบคุมการเลี้ยว
1. ถอดพวงมาลัย (1)
2. ถอดฝาครอบแทนพวงมาลัย (2) ออก
3. ถอดสกรูยึดชุดควบคุมการเลี้ยว (3)
4. ถอดชุดควบคุมการเลี้ยว (4)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
48 ถึง 55 นิวตัน เมตร
นอตยึดพวงมาลัย 4.9 ถึง 5.7 กิโลกรัมแรง·เมตร
36 ถึง 41 ปอนดแรง·ฟุต
คาแรงขัน
78 ถึง 90 นิวตัน·เมตร
สกรูยดึ ชุดควบคุมการเลี้ยว 7.9 ถึง 9.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
58 ถึง 66 ปอนดแรง·ฟุต

(1) พวงมาลัย (3) สกรูยึดชุดควบคุมการเลี้ยว


(2) ฝาครอบแทนพวงมาลัย (4) ชุดควบคุมการเลี้ยว
9Y1210365STS0009TH0

7-S9
M6040DT-SU, WSM ระบบบังคับเลี้ยว

(2) การถอดแยกชุดควบคุมการเลี้ยว
ชุดวาลวระบายแรงดัน
1. ถอดปลั๊กปรับตั้ง (1) แลวดึงแหวนรอง (2) สปริง (3) และหมวกวาลว (4)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ระวังอยาใหแหวนยางเสียหาย
ขอสําคัญ
• หลังจากถอดและประกอบวาลวระบายแรงดัน อยาลืมปรับความดันในการทํางาน
ของวาลวระบายแรงดัน
(1) ปลั๊กปรับตั้ง (3) สปริง
(2) แหวนรอง (4) หมวกวาลว
9Y1210365STS0010TH0
การถอดชุดจีโรเตอร
1. จับยึดตัวเรือน (3) ดวยปากกาจับชิ้นงานใหแนน แลวถอดสกรูยึดจีโรเตอรทั้ง
เจ็ดตัว และถอดชุดจีโรเตอร (1) ออก
2. ถอดจานจายน้ํามัน (11) และเพลาขับ (2)
3. ถอดโรเตอร (9), แหวนยาง (5) ที่อยูระหวางจานจายน้ํามันกับสเตเตอร (6)
4. ถอดแหวนรอง (10) และปลอกรอง (7) ออก
5. ถอดแหวนยาง (8) ออกจากโรเตอร
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
1. ใสแหวนยางในรองของฝาครอบดานทาย (4) แลวใสโบลต 2 หรือ 3 ตัว
2. ใสแหวนยางในรองของสเตเตอร (6) แลวนําไปประกอบกับฝาครอบขางทาย
โดยใหแหวนยางอยูดานบน
3. ทาน้ํามันเกียรที่สะอาด (ตามชนิดที่กําหนด) บนโรเตอร (9) และใสแหวนยาง (8)
ในรองของโรเตอรแลววางปลอกรองดานบน ระวังอยาใหปลอกรองเคลื่อนที่
คอยๆ ประกอบเขากับสเตเตอร (6) โดยใหหันดานที่เปนรองฟนไวดานบน
4. หลังจากใสปลอกรองลงในโรเตอร (9) ใหสวมฟนของเพลาขับ (2) เขากับโรเตอร
(9) จากนั้นปรับแนวรองสลักเพลาขับ (12) ใหตรงกับทองฟนของโรเตอร (13)
5. ใสแหวนยางลงในรองตัวเรือน จากนั้นใสรองสลักเพลาขับ (2)
เขากับสลักล็อกภายในตัวเรือน
ขอสําคัญ
• ตองปรับแนวรองสลักเพลาขับ (12) ใหตรงกับทองฟนของโรเตอร (13) ทุกครั้ง
26 ถึง 28 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยึดชุดจีโรเตอร (5/16') 2.6 ถึง 2.9 กิโลกรัมแรง·เมตร
19 ถึง 21 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ชุดจีโรเตอร (8) แหวนยาง


(2) เพลาขับ (9) โรเตอร
(3) ตัวเรือน (10) แหวนรอง
(4) ฝาครอบดานทาย (11) จานจายน้ํามัน
(5) แหวนยาง (12) แนวรองสลัก
(6) สเตเตอร (13) ทองฟนของโรเตอร
(7) ปลอกรอง (14) ลูกปน
9Y1210365STS0011TH0

7-S10
M6040DT-SU, WSM ระบบบังคับเลี้ยว
ซีลหลัก ลูกปนเข็ม ปลอกวาลวและหลอดวาลว
1. ใชไขควงถอดแหวนยึด (1) ออก
2. จัดวาลวควบคุมใหตงั้ ตรง แลวจัดหลอดวาลวและปลอกวาลวโดยใหสลักขนาน
กับแนวดานเรียบของตัวเรือน (ดานที่ยึดกับวาลวควบคุมลําดับการไหล) จะตอง
มองเห็นสลักผานชองเปดของหลอดวาลว
3. ระวังอยาใหสลักไปติดในรองของตัวเรือน หากถูกเกี่ยวใหปรับใหมอีกครั้งดวย
ปลายนิ้ว
4. กดปลอกวาลวและหลอดวาลวเพื่อเปดชองในการถอดบุชซีลหลัก (3) พรอมกับ
ซีลกันฝุน (2) และแหวนซีล (5)
5. ถอดแหวนยาง (4) ออกจากตัวเรือน (12)
6. ถอดซีลกันฝุนออกจากบุชซีลหลัก (3)
7. ถอดแหวนยาง (4) ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• เปลี่ยนแหวนยางใหม
แลวทาน้ํามันเกียรบนซีลกันฝุน แหวนซีลและแหวนยาง
8. ถอดแหวนซีล (5) ออกจากปลอกวาลว (9)
9. ถอดปลอกลูกปนและลูกปนเข็มออกจากวาลว
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาน้ํามันเกียรลงบนปลอกลูกปนและลูกปนเข็ม
10. ถอดชุดปลอกวาลว (9) และหลอดวาลว (11) ออกจากจีโรเตอร โดยหันใหชอง
น้ํามันของตัวเรือนอยูดานลาง ระวังอยาใหสลักล็อกไปติดในรองของตัวเรือน (12)
หากติดใหจัดตําแหนงใหมดวยปลายนิ้ว แลวจึงคอยๆ ถอดปลอกวาลวและหลอด
วาลวอยางชาๆ
ขอสําคัญ
• เนื่องจากชองวางระหวางตัวเรือนกับปลอกวาลวแคบมาก หามใชแรงฝนดึงปลอก
วาลวออกมาเด็ดขาด
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ขณะประกอบชุดปลอกวาลว (9) และหลอดวาลว (11) กับตัวเรือน (12) ใหทา
น้ํามันเกียรเคลือบผิว แลวจึงประกอบกลับพรอมหมุนชาๆ โดยระวังไมใหแตละ
ชิ้นสวนเอียงออกจากตําแหนง และระวังไมใหสลักล็อกเขาไปติดในรองของ
ตัวเรือน หากติดใหจดั ตําแหนงใหมดวยปลายนิ้ว
(1) แหวนยึด (7) ลูกปนเข็ม
(2) ซีลกันฝุน (8) สลัก
(3) บุชซีลหลัก (9) ปลอกวาลว
(4) แหวนยาง (10) สปริงนําศูนย
(5) แหวนซีล (11) หลอดวาลว
(6) ปลอกลูกปน (12) ตัวเรือน
9Y1210365STS0012TH0

7-S11
M6040DT-SU, WSM ระบบบังคับเลี้ยว
ปลอกวาลวและหลอดวาลว
1. ดึงสลักล็อก (1)
2. ดึงหลอดวาลว (3) ออกจากปลอกวาลว (2)
3. ดันสปริงนําศูนยออก (4)
ขอสําคัญ
• เมื่อระยะหางระหวางปลอกวาลว (2) กับหลอดวาลว (3) แคบมาก ใหดึงหลอดวาลว
ออกโดยคอยๆ หมุนหลอดวาลวดวยความระมัดระวัง
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• สําหรับการประกอบชิ้นสวนที่งายขึ้น อันดับแรก สอดสปริงนําศูนยสองเสน
โดยหันดานทายของสปริงเขาหากัน แลวล็อกสปริงทั้งสองเสน
• ปรับรองของสปริงนําศูนยใหอยูในแนวเดียวกันกับรองของปลอกวาลว
(1) สลักล็อก (3) หลอดวาลว
(2) ปลอกวาลว (4) สปริงนําศูนย
9Y1210365STS0013TH0

7-S12
M6040DT-SU, WSM ระบบบังคับเลี้ยว

[3] กระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยว
(1) กระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยว
คันชัก-คันสง
1. ถอดฝาครอบกระบอกสูบ (1) ทั้งสองดานออก
2. ถอดทอสงน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอร (2) ออกจากกระบอกไฮดรอลิก
3. ถอดขอตอทอสงน้ํามัน (3) ทั้งสองดานออกจากกระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยว
4. ถอดหมุดสลักชนิดผา และถอดนอตยึดดุมลอ (5)
5. ถอดคันชัก-คันสงออกดวยตัวถอดลูกหมาก (รหัสหมายเลข 07909-39051)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาเทปเทฟลอนที่ขอตอและตั้งขอตอใหเขาที่ตามรูป
• ตอทอสงน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอรโดยใหเทปสีแดงอยูดานขวามือ
• เปลี่ยนหมุดสลักชนิดผาตัวใหม
• หลังจากขันนอตยึดดุมลอ (5) ตามแรงขันที่กําหนดแลว ใสหมุดสลักชนิดผา
ตามรูป
• หลังจากประกอบกระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยวของพวงมาลัยพาวเวอรและ
คันชัก-คันสงเรียบรอยแลว ตรวจเช็คระยะสอบลอหนา (โท-อิน) และปรับตั้งตาม
ความเหมาะสม
23 ถึง 27 นิวตัน·เมตร
ทอสงน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอร 2.3 ถึง 2.8 กิโลกรัมแรง·เมตร
17 ถึง 19 ปอนดแรง·ฟุต
78 ถึง 90 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตยึดดุมลอ 7.9 ถึง 9.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
58 ถึง 66 ปอนดแรง·ฟุต
30 ถึง 34 นิวตัน·เมตร
ขอตอทอสงน้ํามัน 3.0 ถึง 3.5 กิโลกรัมแรง·เมตร
22 ถึง 25 ปอนดแรง·ฟุต

2.0 ถึง 8.0 มม.


ระยะสอบลอหนา (โท-อิน) คามาตรฐานที่กําหนด
0.079 ถึง 0.31 นิ้ว

(1) ฝาครอบกระบอกสูบ F : ลอหนา


(2) ทอสงน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอร R : ลอหลัง
(3) ขอตอทอสงน้ํามัน a : 0.79 เรเดียน (45 °)
(4) สกรูปรับตั้ง
(5) นอตยึดดุมลอ
9Y1210365STS0014TH0

7-S13
M6040DT-SU, WSM ระบบบังคับเลี้ยว
กระบอกไฮดรอลิกบังคับเลีย้ ว
1. ถอดขอตอคันชัก-คันสง (1) (ดานซายและดานขวา)
2. ถอดหัวอัด (2) ออกจากกระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยว
3. ถอดแหวนล็อกดานใน (3) ออก
4. ถอดกระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยวไปทางดานซาย
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาน้ํายาล็อกเกลียว (ทรีบอนด 1372 หรือเทียบเทา) เขากับขอตอคันชัก-คันสง
• ระหวางประกอบแหวนล็อกดานใน (3) หันแหวนล็อกดานคมใหหันหนาออก
ดานนอกดังรูป
167 ถึง 196 นิวตัน·เมตร
คันชัก-คันสงและกระบอก
คาแรงขัน 17.0 ถึง 20.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
ไฮดรอลิกบังคับเลี้ยว
123 ถึง 144 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ขอตอคันชัก-คันสง (4) กระบอกสูบ


(2) หัวอัดจาระบี (5) กานกระบอกสูบ
(3) แหวนล็อกดานใน (6) เสือ้ คานลอหนา
9Y1210365STS0015TH0

การถอดแยกกระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยว
1. ถอดชุดนําศูนย (1) แลวถอดกานสูบ (2)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาน้ํามันเกียรเขาที่ซีลกันน้ํามันและแหวนยาง
• ทาน้ํายาล็อกเกลียว (ทรีบอนด 1215 หรือเทียบเทา) ลงบนผิวหนาขอตอของ
กานสูบและทอ
(1) ชุดนําศูนย (2) กานสูบ
9Y1210365STS0016TH0

7-S14
M6040DT-SU, WSM ระบบบังคับเลี้ยว

6. การดูแลตรวจสอบ
ความโตภายในกระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยว
1. วัดความโตภายในของกระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยวดวยเกจวัดกระบอกสูบ
[รุนระบบขับเคลื่อนสี่ลอ]
ความโตภายในกระบอก 55.0 มม.
ขอมูลอางอิง
ไฮดรอลิกบังคับเลี้ยว 2.17 นิ้ว
9Y1210383STS0006TH0

กานเพลาและบุช
1. วัดความโตภายในของบุชดวยเกจวัดกระบอกสูบ
2. วัดความโตภายนอกของกานเพลาดวยไมโครมิเตอรวัดนอก
[รุนระบบขับเคลื่อนสี่ลอ]
35.0 มม.
ความโตภายนอกกานสูบ ขอมูลอางอิง
1.38 นิ้ว
35.075 ถึง 35.121 มม.
ความโตภายในบุชกานเพลา คามาตรฐานที่กําหนด
1.3809 ถึง 1.3827 นิ้ว
9Y1210383STS0007TH0

7-S15
8 ระบบไฮดรอลิก
ระบบกลไก

สารบัญ
1. โครงสราง ....................................................................................................................................... 8-M1
2. วงจรระบบไฮดรอลิก.......................................................................................................................... 8-M2
3. วงจรระบบไฮดรอลิกสําหรับระบบไฮดรอลิกสามจุด.................................................................................... 8-M3
4. ชุดไฮดรอลิก .................................................................................................................................... 8-M4
5. การเชื่อมตอของระบบกลไก ................................................................................................................. 8-M5
[1] ภาพรวมทั่วไป............................................................................................................................ 8-M5
[2] กลไกควบคุมตําแหนง .................................................................................................................. 8-M6
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก

1. โครงสราง

(1) แขนยก (4) ชุดไฮดรอลิก (6) วาลวนิรภัย (9) ปมไฮดรอลิก


(2) วาลวควบคุมเสริม (S/D) (5) วาลวปรับตั้งความเร็วการวาง (7) วาลวคลัตช PTO (10) ไสกรองน้ํามัน
(3) วาลวระบายแรงดัน อุปกรณ (8) ชุดควบคุมพวงมาลัยพาวเวอร (11) ทอสงน้ํามันระบบพวง 3 จุด
ระบบไฮดรอลิกของแทรกเตอรรุน M6040SU ประกอบดวยระบบพวง 3 จุด, ระบบพวงมาลัยพาวเวอร และคลัตช PTO
ระบบนี้มีหนาที่ดังตอไปนี้
1. ยกและวางอุปกรณตอพวงที่เชื่อมตอกับชุดพวงอุปกรณ 3 จุด ดวยกระบอกสูบไฮดรอลิก แขนยกไฮดรอลิกจะเปนกลไกควบคุมตําแหนง
2. แรงไฮดรอลิกสําหรับวาลวควบคุมเสริม (เดี่ยว / คู) เพื่อควบคุมการทํางานของกระบอกไฮดรอลิกของอุปกรณตอพวง
9Y1210383HYM0005TH0

8-M1
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก

2. วงจรระบบไฮดรอลิก

(1) วาลวคลัตช PTO (7) วาลวปรับตั้งความเร็วการวาง (10) วาลวระบายแรงดัน (14) ปมไฮดรอลิก (สําหรับพวงมาลัย
(2) ชุดคลัตช PTO อุปกรณ (สําหรับระบบพวง 3 จุด) พาวเวอรและคลัตช PTO)
(3) ชุดควบคุมพวงมาลัยพาวเวอร (8) กระบอกไฮดรอลิก (11) ปมไฮดรอลิก (15) วาลวระบายแรงดัน
(4) กระบอกไฮดรอลิกบังคับเลี้ยว (สําหรับระบบพวง 3 จุด) (สําหรับระบบพวง 3 จุด) (ชุดควบคุมการเลี้ยว)
(5) วาลวควบคุมเสริม (S/D) (9) วาลวนิรภัยกระบอกไฮดรอลิก (12) ถังน้ํามัน (หองเกียร) (16) วาลวระบายแรงดัน (วาลว PTO)
(6) คอนโทรลวาลว (13) ไสกรองน้ํามันไฮดรอลิก (17) วาลวระบายแรงดัน (ทอน้ํามัน
(สําหรับระบบพวง 3 จุด) หลอลื่น)
ระบบไฮดรอลิกของแทรกเตอรคันนี้ประกอบดวยสวนประกอบหลักๆ ดังรูป
• การยกและวางอุปกรณตอพวงที่เชื่อมตอกับระบบพวง 3 จุด ระบบจะใชกลไกเชื่อมตอและวาลวควบคุมตําแหนงที่ติดตั้งบนโครงกระบอก
ไฮดรอลิก
• ใชแรงไฮดรอลิกจากโครงกระบอกไฮดรอลิกเพื่อควบคุมอุปกรณไฮดรอลิกของอุปกรณตอพวง
9Y1210383HYM0001TH0

8-M2
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก

3. วงจรระบบไฮดรอลิกสําหรับระบบไฮดรอลิกสามจุด

(1) ถังน้ํามัน (หองเกียร) (5) วาลวระบายแรงดัน (8) กระบอกไฮดรอลิก A : ไปที่กระบอกไฮดรอลิกของอุปกรณ


(2) ไสกรองน้ํามันไฮดรอลิก (6) คอนโทรลวาลว (9) วาลวนิรภัยกระบอกสูบ ตอพวง
(3) เครื่องยนต (7) วาลวปรับตั้งความเร็วการวาง (10) วาลวควบคุมเสริม (S/D) B : จากกระบอกไฮดรอลิกของอุปกรณ
(4) ปมไฮดรอลิก อุปกรณ ตอพวง
N : ทอ N
a : ไปที่ระบบพวงมาลัยพาวเวอรและ
คลัตช PTO
1. เมื่อสตารทเครื่องยนต ปมไฮดรอลิก (4) จะเริ่มหมุนเพื่อดูดเอาน้ํามันจากหองเกียร (1) ผานทางทอดูด น้ํามันที่ถูกดูดเขามาจะถูกกรองดวย
ไสกรองน้ํามันไฮดรอลิก (2)
2. น้ํามันที่ผานการกรองจะถูกปมไฮดรอลิกฉีดไปที่วาลวควบคุมเสริม (10)
3. ระบบไฮดรอลิกมีวาลวระบายแรงดัน (5) ซึ่งคอยจํากัดแรงดันสูงสุดในวงจร
กระบอกไฮดรอลิก (8) จะมีวาลวนิรภัยกระบอกสูบ (9) เพื่อลดแรงแรงดันการสั่นสะเทือนที่เกิดจากการเหวี่ยงไปมาของอุปกรณตอพวงที่หนักมาก
4. คอนโทรลวาลวจะถูกสั่งการโดยกลไกเชื่อมตอสําหรับ “ควบคุมตําแหนง”
9Y1210383HYM0002TH0

8-M3
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก

4. ชุดไฮดรอลิก

(1) วาลวระบายแรงดัน (6) กานเพลาไฮดรอลิก (11) คันโยกควบคุมตําแหนง (a) จากปมไฮดรอลิก


(2) กําปนไฮดรอลิก (7) แขนยก (12) วาลวปรับตั้งความเร็วการวาง
(3) เพลากําปนไฮดรอลิก (8) กานดึงกลับระบบควบคุมตําแหนง อุปกรณ
(4) ฝาปดกระบอกสูบไฮดรอลิก (9) วาลวนิรภัยกระบอกไฮดรอลิก (13) คอนโทรลวาลว
(5) ลูกสูบไฮดรอลิก (10) แขนเชื่อมดึงกลับระบบควบคุม (14) วาลวควบคุมเสริม (S/D)
ตําแหนง
ชุดไฮดรอลิกนี้ประกอบดวยวาลวนิรภัยกระบอกไฮดรอลิก (9), วาลวระบายแรงดัน (1), วาลวปรับตั้งความเร็วการวางอุปกรณ (2), คอนโทรลวาลว
(13), แขนยก (7), เพลากําปนแขนยก (7), ลูกสูบ (6), กานดึงกลับระบบควบคุมตําแหนง (8) และอื่นๆ
1. วิธีควบคุมคอนโทรลวาลวใหดูที่หัวขอ “8. ระบบไฮดรอลิก / (7) วาลวควบคุมตําแหนง – ประเภท 7” ในคูมือกลไกการทํางานของแทรกเตอร
(รหัสหมายเลข 9Y021-18200)
2. วิธีควบคุมวาลวควบคุมแรงดันใหดูที่หัวขอ “8. ระบบไฮดรอลิก / 4. วาลวระบายแรงดัน / [2] ประเภทนํารอง” ในคูมือกลไกการทํางานของ
แทรกเตอร (รหัสหมายเลข 9Y021-18200)
3. วิธีควบคุมวาลวนิรภัยของกระบอกไฮดรอลิก (วาลวกันกระชาก) ใหดูที่หัวขอ “8. ระบบไฮดรอลิก / 7. วาลวนิรภัยของกระบอกไฮดรอลิก
(วาลวกันกระชาก)” ในคูมือกลไกการทํางานของแทรกเตอร (รหัสหมายเลข 9Y021-18200)
9Y1210383HYM0003TH0

8-M4
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก

5. การเชื่อมตอของระบบกลไก
[1] ภาพรวมทั่วไป
(1) แขนเชื่อมดึงกลับระบบควบคุม
ตําแหนง
(2) เพลาดึงกลับควบคุมตําแหนง
(3) คันบังคับหลอดวาลว
(ควบคุมตําแหนง)
(4) ตัวเชื่อมตอควบคุมตําแหนง 1
(5) ตัวเชื่อมตอควบคุมตําแหนง 2
(6) เพลาควบคุมตําแหนง
(7) คันโยกควบคุมตําแหนง
(8) คอนโทรลวาลว

A : เดินหนา
9Y1210365HYM0004TH0

8-M5
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก

[2] กลไกควบคุมตําแหนง

(1) คันโยกควบคุมตําแหนง (5) เพลาดึงกลับควบคุมตําแหนง (9) ตัวเชื่อมตอควบคุมตําแหนง 2 A : ยกขึ้น


(2) เพลาควบคุมตําแหนง (6) คันบังคับหลอดวาลว (10) กานดึงกลับ B : วางลง
(3) คอนโทรลวาลว (7) หลอดวาลว (11) แขนยก
(4) แขนเชื่อมดึงกลับระบบควบคุม (8) ตัวเชื่อมตอควบคุมตําแหนง 1 (12) สปริงหลอดวาลว
ตําแหนง
Q ยกขึ้น
1. เมื่อโยกคันโยกควบคุมตําแหนง (1) ไปที่ตําแหนง “ยกขึ้น” เพลาควบคุมตําแหนง (2) และตัวเชื่อมตอควบคุมตําแหนง 1 (8) จะหมุน ทําใหตัวเชื่อม
ตอควบคุมตําแหนง 2 (9) หมุนตาม
ตัวเชื่อมตอควบคุมตําแหนง 2 (9) หมุนแลวผลักหลอดวาลว (7) ดวยคันบังคับหลอดวาลว (6) ทําใหวงจร “ยกขึ้น” เปด
2. เมื่อแขนยก (11) เคลื่อนที่ขึ้น เพลาดึงกลับควบคุมตําแหนง (5) จะหมุนโดยกานดึงกลับระบบควบคุมตําแหนง (10), คันดึงกลับ (4)
แลวดึงหลอดวาลว (7) ดวยคันบังคับหลอดวาลว (6)
แขนยก (11) จะหยุดเมื่อหลอดวาลว (7) กลับสูตําแหนงปกติ
Q วางลง
1. เมื่อคันควบคุมตําแหนง (12) เคลื่อนไปที่ตําแหนง “วางลง” ตัวเชื่อมตอควบคุมตําแหนง 2 (8) จะเปนอิสระ
หลอดวาลว (7) ของคอนโทรลวาลวจะถูกสปริงหลอดวาลว (12) ดันกลับมาเพื่อเปดวงจร “วางลง”
2. เมื่อแขนยก (11) เคลื่อนที่ลง เพลาดึงกลับควบคุมตําแหนง (5) จะหมุนโดยกานดึงกลับระบบควบคุมตําแหนง (10), คันดึงกลับ (4) แลวผลัก
หลอดวาลว (7) ดวยคันบังคับหลอดวาลว (6)
แขนยก (11) จะหยุดเมื่อหลอดวาลวกลับสูตําแหนงวาง
9Y1210383HYM0004TH0

8-M6
การตรวจซอม

สารบัญ
1. ปญหาและวิธีการแกไข ........................................................................................................................8-S1
2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ .........................................................................................................8-S2
3. คาแรงขัน .........................................................................................................................................8-S4
4. การตรวจเช็คและการปรับตัง้ .................................................................................................................8-S5
[1] ปมไฮดรอลิก ..............................................................................................................................8-S5
[2] วาลวควบคุมแรงดันน้ํามันและวาลวนิรภัย ...........................................................................................8-S6
(1) วาลวควบคุมแรงดันน้ํามัน ........................................................................................................8-S6
(2) วาลวนิรภัย ...........................................................................................................................8-S7
[3] กลไกเชื่อมตอระบบควบคุมตําแหนง..................................................................................................8-S8
[4] สายไฟควบคุมเสริม ......................................................................................................................8-S9
5. การถอดและการประกอบ ...................................................................................................................8-S10
[1] กระบอกไฮดรอลิกและวาลวควบคุมตําแหนง .....................................................................................8-S10
(1) การถอดชุดกระบอกไฮดรอลิก .................................................................................................8-S10
(2) การถอดคอนโทรลวาลว .........................................................................................................8-S12
(3) การถอดแยกกลไกเชื่อมตอ......................................................................................................8-S13
(4) การถอดแยกชุดกระบอกไฮดรอลิก ............................................................................................8-S14
[2] การถอดปมไฮดรอลิก ..................................................................................................................8-S15
6. การดูแลตรวจสอบ ............................................................................................................................8-S16
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก

1. ปญหาและวิธีการแกไข
อาการ สาเหตุ วิธีแกไข ดูทหี่ นา
ยกอุปกรณไมขึ้น ประกอบกลไกควบคุมตําแหนงไมถูกตอง หรือกลไกชํารุด ซอมหรือเปลี่ยนใหม 8-S8
(ไมมีเสียงดัง) คอนโทรลวาลวแตกหัก เปลี่ยนใหม 8-S12
ปรับตั้งคอนโทรลวาลวไมถูกตอง ปรับตั้งใหม 8-S12
สปริงวาลวควบคุมแรงดันแตกหัก เปลี่ยนใหม 8-S6
แหวนยางลูกสูบไฮดรอลิกหรือกระบอกสูบชํารุด เปลี่ยนใหม 8-S14
วาลวนิรภัยชํารุดเสียหาย เปลี่ยนใหม 8-S7
(มีเสียงดังผิดปกติ) ใชน้ํามันเกียรผิดชนิดหรือระดับน้ํามันต่ํากวาที่กําหนด เปลี่ยนหรือเติมใหไดระดับ G-10
ไสกรองน้ํามันอุดตัน เปลี่ยนใหม G-20
ปรับตั้งวาลวควบคุมแรงดันต่ําเกินไป ปรับตั้งใหม 8-S6
สปริงวาลวควบคุมแรงดันลาหรือชํารุด เปลี่ยนใหม –
ปมไฮดรอลิกทํางานผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 8-S15
อุปกรณยกขึ้นไมสุด ปรับตั้งกานควบคุมตําแหนงและกานดึงกลับไมถูกตอง ปรับตั้งใหม 8-S8
ตําแหนงตัวล็อกแขนไมถูกตอง ปรับตั้งใหม –
อุปกรณไมวางลง คอนโทรลวาลวทํางานผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 8-S12
หลอดลิ้นชํารุด เปลี่ยนใหม –
ปรับตั้งหมวกวาลวไมถูกตอง (สกรูปรับตั้งหมวกวาลว) ปรับตั้งใหม –
วาลวปรับอัตราการตกอุปกรณปด เปด –
อุปกรณตกลงมาเอง กระบอกไฮดรอลิกสึกหรอหรือชํารุด เปลี่ยนใหม 8-S14
แหวนยางลูกสูบไฮดรอลิกสึกหรือชํารุด เปลี่ยนใหม 8-S14
วาลวนิรภัยชํารุดเสียหาย เปลี่ยนใหม 8-S7
วาลวปรับตัง้ ความเร็วการวางอุปกรณเสียหาย เปลี่ยนใหม –
พื้นผิวบาวาลวกันกลับชํารุด (คอนโทรลวาลวทํางานผิดปกติ) เปลี่ยนใหม –
พื้นผิวบาหมวกวาลวกันกลับชํารุด เปลี่ยนใหม –
(คอนโทรลวาลวทํางานผิดปกติ)
อุปกรณเคลื่อนทีข่ ึ้น-ลงเอง หมวกวาลว, หนาสัมผัสของบาหมวกวาลวเสียหาย เปลี่ยนใหม –
วาลวกันกลับ , หนาสัมผัสของบาวาลวกันกลับเสียหาย เปลี่ยนใหม –
แหวนยางของคอนโทรลวาลวสึกหรอหรือชํารุดเสียหาย เปลี่ยนใหม 8-S12
9Y1210383HYS0001TH0

8-S1
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก

2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ
ปมไฮดรอลิก
รายการ คามาตรฐานทีก่ ําหนด คาที่ยอมได
ปมไฮดรอลิก การจายน้ํามัน มากกวา 31.1 ลิตร/นาที
สภาวะการทํางาน 38.1 ลิตร/นาที 8.22 แกลลอนสหรัฐ/นาที
• รอบของเครื่องยนต มากกวา 6.84
2600 นาที-1 (รอบตอนาที) 10.1 แกลลอนสหรัฐ/นาที แกลลอนอังกฤษ/นาที
• แรงดันที่กําหนด มากกวา
18.6 เมกะปาสคาล (190 กิโลกรัมแรง/ซม.2, 2700 8.38 แกลลอนอังกฤษ/นาที
ปอนด/ตร. นิ้ว)
• อุณหภูมิน้ํามัน
50 ถึง 60 °C (122 ถึง 140 °F)
วาลวควบคุมแรงดันน้ํามัน
รายการ คามาตรฐานทีก่ ําหนด คาที่ยอมได
วาลวควบคุมแรงดันน้ํามัน แรงดันที่ปรับตัง้ 18.2 ถึง 19.1 เมกะปาสคาล –
185 ถึง 195 กิโลกรัมแรง/ซม.2
2640 ถึง 2770 ปอนด/ตร. นิ้ว
วาลวควบคุมแรงดันน้ํามัน (วาลวนิรภัย) แรงดันที่ปรับตัง้ 21.1 ถึง 22.5 เมกะปาสคาล –
215 ถึง 230 กิโลกรัมแรง/ซม.2
3060 ถึง 3270 ปอนด/ตร. นิ้ว
กลไกควบคุมตําแหนงและกลไกควบคุมอัตโนมัติ
รายการ คามาตรฐานทีก่ ําหนด คาที่ยอมได
กานดึงกลับระบบควบคุมตําแหนง ความยาว 140 มม. –
5.5 นิ้ว
กลไกควบคุมตําแหนง ระยะลอย 10 ถึง 35 มม. –
0.40 ถึง 1.3 นิ้ว
ตําแหนงสูงสุดของแขนยก ระยะฟรีที่ขอบแขนยก 5.0 ถึง 20 มม. –
0.20 ถึง 0.78 นิ้ว
คันโยกควบคุมตําแหนง แรงในการควบคุม 15 ถึง 50 นิวตัน –
1.6 ถึง 5.0 กิโลกรัมแรง
3.4 ถึง 11 ปอนดแรง

8-S2
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก
กระบอกไฮดรอลิก
รายการ คามาตรฐานที่กําหนด คาที่ยอมได
ขอตอหลอดวาลว สกรูยึดความยาวของ 78.80 ถึง 79.20 มม. –
ขอตอหลอดวาลว 3.103 ถึง 3.118 นิ้ว
รูที่ผิวกระบอกสูบ ความโตภายใน 90.000 ถึง 90.050 มม. 90.15 มม.
3.5433 ถึง 3.5452 นิ้ว 3.549 นิ้ว
เพลาแขนยกไฮดรอลิกถึงบุช ระยะหาง (ดานขวา) 0.0490 ถึง 0.154 มม. 0.50 มม.
0.00193 ถึง 0.00606 นิ้ว 0.020 นิ้ว

ระยะหาง (ดานซาย) 0.0490 ถึง 0.149 มม. 0.50 มม.


0.00193 ถึง 0.00586 นิ้ว 0.020 นิ้ว

• เพลากําปนไฮดรอลิก ความโตภายนอก 49.950 ถึง 49.975 มม. –


(ดานขวา) 1.9666 ถึง 1.9675 นิ้ว

ความโตภายนอก 44.950 ถึง 44.975 มม. –


(ดานซาย) 1.7697 ถึง 1.7706 นิ้ว

• บุช ความโตภายใน 50.024 ถึง 50.104 มม. –


(ดานขวา) 1.9695 ถึง 1.9725 นิ้ว

ความโตภายใน 45.024 ถึง 45.099 มม. –


(ดานซาย) 1.7726 ถึง 1.7755 นิ้ว

ตําแหนงในการอัด 22.5 ถึง 23.5 มม. –


(ดานขวา) 0.886 ถึง 0.925 นิ้ว

ตําแหนงในการอัด 14.5 ถึง 15.5 มม. –


(ดานซาย) 0.571 ถึง 0.610 นิ้ว
9Y1210383HYS0011TH0

8-S3
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก

3. คาแรงขัน
คาแรงขันสกรู โบลต และนอตที่กําหนดไวในตารางขางลางเปนคาแรงขันสําหรับสกรู โบลต และนอตชนิดพิเศษ
(ถาใชสกรู โบลต และนอตทั่วไป : ดูที่ “5. คาแรงขัน” ในหัวขอ ขอมูลทั่วไป)
รายการ นิวตัน·เมตร กิโลกรัมแรง·เมตร ปอนดแรง·ฟุต
วาลวควบคุมแรงดันน้ํามัน 35 ถึง 39 3.5 ถึง 4.0 26 ถึง 28
วาลวนิรภัยกระบอกไฮดรอลิก 40 ถึง 49 4.0 ถึง 5.0 29 ถึง 36
นอตล็อกวาลวนิรภัยกระบอกไฮดรอลิก 59 ถึง 78 6.0 ถึง 8.0 44 ถึง 57
นอตยึดลอหลัง 260 ถึง 304 26.5 ถึง 31.0 192 ถึง 224
นอตยึดทอสงน้ํามัน 108 ถึง 117 11.0 ถึง 12.0 79.6 ถึง 86.7
นอตและสกรูยึดชุดกระบอกสูบไฮดรอลิก 78 ถึง 90 7.9 ถึง 9.2 58 ถึง 66
สกรูยึดคอนโทรลวาลว 20 ถึง 23 2.0 ถึง 2.4 15 ถึง 17
สกรูปรับกําปนไฮดรอลิก 40 ถึง 45 4.0 ถึง 4.6 29 ถึง 33
9Y1210365HYS0003TH0

8-S4
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก

4. การตรวจเช็คและการปรับตั้ง
[1] ปมไฮดรอลิก
การทดสอบการไหลของน้ํามันไฮดรอลิก
ขอสําคัญ
• ถาใชมิเตอรวัดอัตราการไหลแบบอื่นนอกเหนือจากที่คูโบตากําหนด
(รหัสหมายเลข 07916-52792) ตองปฏิบัติตามวิธีใชงานของมิเตอรวัดอัตรา
การไหลนั้นอยางเครงครัด
• กอนทําการทดสอบ หามปดวาลวโหลดของมิเตอรวัดอัตราการไหลจนสนิท
เนื่องจากมิไดมีการติดตั้งวาลวควบคุมแรงดัน
• เขาคันเกียรหลักและคันโยกเกียรชวยในตําแหนงเกียรวาง
• ล็อกเบรกจอดรถในตําแหนงจอด
1. ถอดทอสงน้ํามัน (1) ที่เชื่อมตอจากปมไฮดรอลิก (2) ไปที่กระบอกไฮดรอลิก
2. ประกอบขอตอ 53 และ 54 ที่ชองทางออกปม [ขอตอ 53 และ 54 จะมีใหมาพรอม
กับชุดขอตอ (รหัสหมายเลข 07916-54301)]
3. ประกอบขอตอ 64 ที่ขอตอทอสงน้ํามัน [ขอตอไฮดรอลิก 64 จะมีมาใหพรอมกับ
ชุดขอตอ (รหัสหมายเลข 07916-54031)]
4. ตอสายทดสอบระบบไฮดรอลิก (3) ที่ขอตอ 53 และชองทางเขาของมิเตอรวัด
อัตราการไหล
5. ตอสายทดสอบระบบไฮดรอลิกอีกสายหนึ่งเขากับชองทางออกของมิเตอรวัดอัตรา
การไหล และตอปลายอีกดานหนึ่งของสายทดสอบเขากับทอเติมน้ํามันเกียรที่เสื้อ
PTO
6. เปดวาลวโหลดของมิเตอรวัดอัตราการไหลใหสุด (หมุนทวนเข็มนาฬิกา)
7. สตารทเครื่องยนต และเรงรอบของเครื่องยนตไวที่ 2000 ถึง 2200 นาที-1
(รอบตอนาที)
8. คอยๆ ปดวาลวโหลดชาๆ เพื่อเพิ่มความดัน โดยใหอยูประมาณ 9.8 เมกะปาสคาล
(100 กิโลกรัมแรง/ซม.2, 1422 ปอนด/ตร. นิ้ว)
คงสภาวะนี้ไวจนอุณหภูมิของน้ํามันเพิ่มขึ้นไปถึงประมาณ 50 °C (122 °F)
9. เปดวาลวโหลดใหสุด
10. ตั้งรอบของเครื่องยนต (ดูที่หัวขอ สภาวะการทํางาน)
11. อานและบันทึกคาอัตราการสงน้ํามันของปมเมือไมมีแรงดัน
12. คอยๆ ปดวาลวโหลดอยางชาๆ เพื่อเพิ่มแรงดันที่กําหนด (ดูที่หัวขอ
สภาวะการทํางาน) เมื่อน้ําหนักในการลากจูงเพิ่มขึ้น ความเร็วรอบเครื่องยนต
จะลดลง ดังนั้น ใหปรับตัง้ คาความเร็วรอบใหม
13. อานและบันทึกคาอัตราการสงน้ํามันของปมที่จุดแรงดันที่กําหนด
14. เปดวาลวโหลดใหสุดและดับเครื่องยนต
15. ถาอัตราการสงน้ํามันของปมไมถึงคาที่ยอมได ใหตรวจเช็คทอดูดน้ํามันของปม
ไสกรองน้ํามัน หรือปมไฮดรอลิก
(1) ทอสงน้ํามัน (3) สายทดสอบ
(2) ปมไฮดรอลิก (4) มิเตอรวัดอัตราการไหล
(ตอ)

8-S5
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก
(มีตอ)
สภาวะการทํางาน
• รอบของเครื่องยนต :
ประมาณ 2600-1 (รอบตอนาที)
• แรงดันที่กําหนด :
18.6 เมกะปาสคาล (190 กิโลกรัมแรง/ซม.2, 2700 ปอนด/ตร. นิ้ว)
• อุณหภูมิน้ํามัน :
50 ถึง 60 °C (122 ถึง 140 °F)
มากกวา
การสงน้ํามันของปมไฮดรอลิก 41.6 ลิตร/นาที
คามาตรฐานที่กําหนด
ขณะไมมีแรงดัน 11.0 แกลลอนสหรัฐ/นาที
9.15 แกลลอนอังกฤษ/นาที
38.1 ลิตร/นาที
คามาตรฐานที่กําหนด 10.1 แกลลอนสหรัฐ/นาที
การสงน้ํามันของปมไฮดรอลิก 8.38 แกลลอนอังกฤษ/นาที
ขณะมีแรงดันที่กําหนด 31.1 ลิตร/นาที
คาที่ยอมได 8.22 แกลลอนสหรัฐ/นาที
6.84 แกลลอนอังกฤษ/นาที
9Y1210383HYS0002TH0

[2] วาลวควบคุมแรงดันน้ํามันและวาลวนิรภัย
(1) วาลวควบคุมแรงดันน้ํามัน
การทดสอบแรงดันปรับตั้งที่วาลวควบคุมแรงดันน้ํามันโดยใชเครื่องวัดแรงดัน
1. ติดตั้งขอตอแรงดันปรับตั้งที่วาลวควบคุมแรงดันน้ํามัน G (รหัสหมายเลข
07916-52751) ที่ขอตอเพลาสําเร็จ แลวติดตัง้ เกจวัดแรงดัน (รหัสหมายเลข
07916-50322) และสายแรงดัน (รหัสหมายเลข 07916-50331)
2. สตารทเครื่องยนตและเดินเครื่องไปที่ความเร็วสูงสุด
3. ปรับคันโยกวาลวควบคุมเสริมไปที่ตําแหนง ยกขึ้น และอานเกจความดันขณะที่
วาลวควบคุมแรงดันทํางาน
4. หากคาแรงดันที่วัดไดไมเปนไปตามคามาตรฐานที่กําหนด ใหปรับที่ตัวปรับตั้ง
วาลวควบคุมแรงดัน (3)
สภาวะการทํางาน
• รอบเครื่องยนต
ประมาณ 2600-1 (รอบตอนาที)
• อุณหภูมิน้ํามัน
50 ถึง 60 °C (122 ถึง 140 °F)
35 ถึง 39 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน ชุดวาลวควบคุมแรงดัน 3.5 ถึง 4.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
26 ถึง 28 ปอนดแรง·ฟุต

18.2 ถึง 19.1 เมกะปาสคาล


แรงดันที่วาลวควบคุมแรงดัน คามาตรฐานที่กําหนด 185 ถึง 195 กิโลกรัมแรง/ซม.2
2640 ถึง 2770 ปอนด/ตร. นิ้ว

(1) เกจวัดแรงดัน (4) นอตล็อก


(2) ขอตอเพลาสําเร็จ (5) สกรูปรับตั้ง
(3) วาลวควบคุมแรงดันน้ํามัน
9Y1210383HYS0003TH0

8-S6
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก
(2) วาลวนิรภัย
การทดสอบวาลวนิรภัยโดยใชเครื่องทดสอบแรงดันหัวฉีด
1. ถอดชุดวาลวนิรภัย (1) ออก
2. ประกอบวาลวนิรภัยเขากับเครื่องทดสอบแรงดันหัวฉีดดวยขอตอเพิ่ม-ลดสําหรับ
วาลวนิรภัย (ดูที่ “8. เครื่องมือพิเศษ” ในหัวขอ “G. ขอมูลทั่วไป”)
3. วัดความดันขณะทํางานของวาลวนิรภัย
4. หากคาแรงดันที่วัดไดไมเปนไปตามคามาตรฐานที่กําหนด ใหปรับโดยหมุนสกรู
ปรับตั้ง (2)
5. หลังจากการปรับตั้ง ใหขันนอตล็อก (3) ใหแนน
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ประกอบวาลวนิรภัยกลับเขาในกระบอกไฮดรอลิก ระวังมิใหแหวนยางเสียหาย
จากนั้น ทาน้ํามันเกียร
40 ถึง 49 นิวตัน·เมตร
ชุดวาลวนิรภัย 4.0 ถึง 5.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
29 ถึง 36 ปอนดแรง·ฟุต
คาแรงขัน
59 ถึง 78 นิวตัน·เมตร
นอตล็อกวาลวนิรภัย 6.0 ถึง 8.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
44 ถึง 57 ปอนดแรง·ฟุต

21.1 ถึง 22.5 เมกะปาสคาล


ความดันขณะทํางานของวาลว
คามาตรฐานที่กําหนด 215 ถึง 230 กิโลกรัมแรง/ซม.2
นิรภัย
3060 ถึง 3270 ปอนด/ตร. นิ้ว
หมายเหตุ
• ใชน้ํามันเกียรตามชนิดที่กําหนด (ดูที่ “4. สารหลอลื่น, น้ํามันเชื่อเพลิงและ
สารหลอเย็น” ในหัวขอ “G. ขอมูลทั่วไป”) เพื่อทดสอบแรงดันของวาลวนิรภัย
กระบอกไฮดรอลิก
(1) ชุดวาลวนิรภัย (5) เบาะนั่ง
(2) สกรูปรับตั้ง (6) ลูกปน
(3) นอตล็อก (7) ตัวเรือน
(4) สปริง
9Y1210365HYS0019TH0

8-S7
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก

[3] กลไกเชื่อมตอระบบควบคุมตําแหนง
การปรับตําแหนงสูงสุด
1. ประกอบน้ําหนักถวง (1) ประมาณ 490 นิวตัน (50 กิโลกรัมแรง, 110 ปอนดแรง)
ที่ปลายของแขนยกตัวลาง (2)
2. โยกคันโยกควบคุมตําแหนง (3) ไปที่ตําแหนงต่ําสุด
3. สตารทเครื่องยนต และเรงความเร็วรอบของเครื่องยนตไวที่ 1000 นาที-1
(รอบตอนาที)
4. เลื่อนคันโยกควบคุมตําแหนง (3) ขึ้นบนสุด
5. ลดความยาวกานดึงกลับโดยหมุนขอตอปรับตัง้ (4) จนวาลวควบคุมแรงดัน
น้ํามันเริ่มทํางาน
6. จากตําแหนงการทํางานของวาลวควบคุมแรงดันน้ํามัน หมุนขอตอปรับตั้ง
1.5 รอบ เพื่อเพิ่มความยาวของกานดึงกลับ (4) แลวขันนอตล็อกใหแนน
7. โยกคันโยกควบคุมตําแหนงลง แลวโยกขึ้นจนสุด ตรวจเช็คดูวาวาลวควบคุม
แรงดันน้ํามันไมทํางานหรือไม ดับเครื่องยนต แลวตรวจสอบแขนยกวามีระยะฟรี
เมื่อขึ้นไปที่ขอบ 5.0 ถึง 20 มม. (0.20 ถึง 0.78 นิ้ว)
8. หากไมไดระยะฟรีที่กําหนดไว ใหทําซ้ําขั้นตอนที่ 4 อีกครั้ง
ประมาณ
กานดึงกลับควบคุมตําแหนง
คามาตรฐานที่กําหนด 140 มม.
“A”
5.51 นิ้ว

(1) น้ําหนัก (4) ขอตอปรับตั้ง


(2) แขนยกตัวลาง (5) แขนยก
(3) คันโยกควบคุมตําแหนง
9Y1210383HYS0004TH0

8-S8
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก
การตรวจเช็คตําแหนงลูกลอย
1. ประกอบน้ําหนักถวงประมาณ 490 นิวตัน (50 กิโลกรัมแรง, 110 ปอนดแรง)
ที่ปลายของแขนยกตัวลาง
2. ปรับคันโยกควบคุมตําแหนง (1) ไปที่ตําแหนงต่ําสุด แลวเรงความเร็วเครื่องยนต
ไปที่รอบสูงสุด
3. คอยๆ โยกคันโยกควบคุมตําแหนง (1) จนแขนยกตัวลางเริ่มยกขึ้น
4. ตรวจสอบระยะ “A”
5. หากไมไดระยะฟรีที่กําหนดไว ใหปรับกานดึงกลับใหม (ดูในบทการปรับตั้ง
ตําแหนงสูงสุด)
10 ถึง 35 มม.
ระยะ “A” คามาตรฐานที่กําหนด
0.40 ถึง 1.3 นิ้ว

(1) คันโยกควบคุมตําแหนง A : ระยะหาง


9Y1210365HYS0006TH0
แรงในการทํางานของคันควบคุมตําแหนง
1. ตรวจเช็คแรงในการปฏิบัติงานของคันโยกควบคุมตําแหนง (1)
2. หากคาที่วัดได ไมอยูภายในคามาตรฐานที่กําหนดไว ใหปรับดวยนอตยึด (2)
15 ถึง 50 นิวตัน
แรงควบคุมในการทํางานของ
คามาตรฐานที่กําหนด 1.6 ถึง 2.0 กิโลกรัมแรง
คันโยกควบคุมตําแหนง
3.4 ถึง 11 ปอนดแรง

(1) (2)
9Y1210365HYS0020TH0

[4] สายไฟควบคุมเสริม
การปรับตั้งสายไฟควบคุมเสริม
(ดานคันโยก)
1. หมุนสายไฟ (1) เขาไปที่ปลายกาน (3) จนแนน
2. ประกอบสายไฟ (1) ที่กึ่งกลางของเกลียวดวยนอตยึด (2)
(ดานวาลว)
1. ดึงคันโยกวาลวเสริม (8) และสายไฟใหสุดดังรูป
2. ประกอบสายไฟควบคุมเสริม (1) ดวยนอตยึด (6) จะไดความยาว L
ระหวางปลายสายไฟ (4) กับสลักคันโยก (7) ดังรูป
(1) สายไฟควบคุมเสริม (6) นอตยึด (ดานคอนโทรลวาลว)
(2) นอตยึด (ดานคันควบคุม) (7) สลักคันโยก
(3) ปนล็อก (8) คันโยกวาลวเสริม
(4) ปลายสายไฟ
(5) วาลวควบคุมเสริม L : 0 ถึง 3.0 มม. (0 ถึง 0.118 นิ้ว)
9Y1210383HYS0010TH0

8-S9
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก

5. การถอดและการประกอบ
[1] กระบอกไฮดรอลิกและวาลวควบคุมตําแหนง
(1) การถอดชุดกระบอกไฮดรอลิก
กานยก, แขนยกตัวลาง และลอหลัง
1. ถอดกานยก (1), โซยึดแขนขาง (2) และแขนยกตัวลาง (4)
2. ถอดแขนกลาง (5) ออก
3. ตรวจเช็ควาเสื้อคลัตชและหองเกียรวางอยูบนแทนสําหรับถอดประกอบชิ้นสวน
อยางมั่นคง
4. ถอดลอหลัง (3)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
260 ถึง 304 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตยึดลอหลัง 26.5 ถึง 31.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
192 ถึง 224 ปอนดแรง·ฟุต

(1) กานยก (4) แขนยกตัวลาง


(2) โซยึดแขนขาง (5) แขนกลาง
(3) ลอหลัง
9Y1210383HYS0005TH0
เบาะนั่งและบังโคลน
1. ปลดขั้วตอสายไฟสําหรับไฟทายแบบรวมทั้งสองดาน
2. ปลดขั้วตอสวิตช PTO (สําหรับบังโคลนดานขวา)
3. ถอดบังโคลน (2) ออก
4. ถอดเบาะนั่ง (1) และไดอัลวัดอัตราการตกอุปกรณ (3)
5. ถอดที่จับคันโยกควบคุมตําแหนง (6) คันโยกเกียรชวย (4) และคันเกียรขับเคลื่อน
ลอหนา (5)
(1) เบาะนั่ง (4) คันโยกเกียรชวย
(2) บังโคลน (5) คันเกียรขับเคลื่อนลอหนา
(3) ไดอัลวัดอัตราการตกอุปกรณ (6) คันโยกควบคุมตําแหนง
9Y1210365HYS0021TH0

8-S10
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก
ตัวค้ําเบาะและโครงกลาง
1. ถอดสายคลัตช PTO (1)
2. ถอดสายไฟควบคุมเสริม (2)
3. ถอดตัวค้ําเบาะ (2)
4. ถอดทอเติมอากาศ (4) ออก
5. ถอดโครงกลาง (5)
(1) สายคลัตช PTO (4) ทอเติมอากาศ
(2) สายไฟควบคุมเสริม (5) โครงกลาง
(3) ตัวค้ําเบาะ
9Y1210383HYS0006TH0

ชุดกระบอกไฮดรอลิก
1. ถอดทอสงน้ํามัน (2)
2. ถอดแทนยึดเบาะนั่ง (1) ออก
3. ถอดสกรูและนอตยึดชุดกระบอกไฮดรอลิก
4. ยึดชุดกระบอกไฮดรอลิกดวยสายรัดไนลอนและกวาน จากนั้น ใหถอดออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาน้ํายาทาปะเก็น (ทรีบอนด 1208C หรือเทียบเทา) ลงบนผิวหนาขอตอของชุด
กระบอกไฮดรอลิกและหองเกียรหลังจากถายน้ําออกจนหมดและคราบน้ํายา
ทาปะเก็นที่เกาะติดออก
108 ถึง 117 นิวตัน·เมตร
นอตยึดทอสงน้ํามัน 11.0 ถึง 12.0 กิโลกรัมแรง·เมตร
79.6 ถึง 86.7 ปอนดแรง·ฟุต
คาแรงขัน
78 ถึง 90 นิวตัน·เมตร
นอตและสกรูยึดชุดกระบอกสูบ
7.9 ถึง 9.2 กิโลกรัมแรง·เมตร
ไฮดรอลิก
58 ถึง 66 ปอนดแรง·ฟุต
หมายเหตุ
• ประกอบชุดกระบอกไฮดรอลิกเขากับแทรกเตอรใหม อยาลืมปรับตั้งตําแหนงกาน
ดึงกลับควบคุมตําแหนง
(1) ตัวยึดที่นั่ง (2) ทอสงน้ํามัน
9Y1210383HYS0007TH0

8-S11
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก
(2) การถอดคอนโทรลวาลว
การถอดคอนโทรลวาลว
1. ถอดสกรูยึดคอนโทรลวาลวออก (2)
2. ถอดคอนโทรลวาลว (1) ออกมา
หมายเหตุ
• อยาคลายสวนปรับตั้งหลอดลิ้น (4) หากไมจําเปน
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• หากถอดแขนหลอดวาลว (4) ออก ตัองแนใจวาไดปรับตำแหนงตามขั้นตอน
ตอไปนี้
• ตองประกอบแหวนยาง (7) แลวทาจาระบีที่แหวนยาง (7)
19.6 ถึง 23.5 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูยึดคอนโทรลวาลว 2.0 ถึง 2.4 กิโลกรัมแรง·เมตร
14.5 ถึง 17.4 ปอนดแรง·ฟุต
Q การปรับตั้งแขนหลอดวาลว
1. วัดระยะหาง A ระหวางจุดวัด (6) กับขอตอหลอดลิ้น (5)
2. หากคาที่วัดไดไมอยูภายในคามาตรฐานที่กําหนดไว ใหคลายนอตล็อก (6)
และปรับตั้งดวยแขนหลอดวาลว (4)
3. ตรวจสอบระยะหาง B เมื่อปรับระยะหาง A แลว ระยะหาง B จะเปนขอมูลอางอิง
ระยะหาง (A) ระหวางจุดวัด 78.80 ถึง 79.20 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
กับขอตอหลอดลิ้น 3.103 ถึง 3.118 นิ้ว
ระยะหาง (B) ระหวางขอบของ
49.5 มม.
หลอดลิ้นกับตําแหนงเลื่อน คามาตรฐานที่กําหนด
1.95 นิ้ว
แขนหลอดวาลว

(1) คอนโทรลวาลว (6) จุดวัด


(2) สกรูยึดคอนโทรลวาลว (7) แหวนยาง
(3) นอตล็อก
(4) แขนหลอดวาลว A : ระยะหาง
(5) ขอตอหลอดวาลว B : ระยะหาง (ขอมูลอางอิง)
9Y1210365HYS0010TH0

8-S12
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก
(3) การถอดแยกกลไกเชื่อมตอ
กลไกควบคุมตําแหนง
1. ถอดกานดึงกลับระบบควบคุมตําแหนง (4)
2. ถอดคันดึงกลับ (5) หลังจากถอดสลักหมุน (6) ออกแลว
3. ถอดสกรูยึดแผนปรับตั้ง (3)
4. เลื่อนเพลาดึงกลับ (2) แลวถอดคันบังคับหลอดลิ้น (1)
5. ถอดนอตยึดตัวยึดคันโยกควบคุมตําแหนง
6. ถอดแหวนล็อกดานนอก (10) และสลักหมุน (9)
7. ถอดตัวหนีบ (11) และเพลาควบคุมตําแหนง (12) พรอมกับคันโยกควบคุม
ตําแหนง
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ติดตัง้ แหวนยาง (7) จากดานนอกของตัวเรือน
• ปรับแรงในการปฏิบัติงานของคันโยกควบคุมตําแหนงหลังจากประกอบชิ้นสวน
เสร็จแลว
(1) คันบังคับหลอดลิ้น (7) แหวนยาง
(2) เพลาดึงกลับ (8) ตัวยึดคันโยกควบคุมตําแหนง
(3) แผนปรับตั้ง (9) สลักหมุน
(4) กานดึงกลับระบบควบคุมตําแหนง (10) แหวนล็อกดานนอก
(5) คันดึงกลับ (11) ตัวหนีบ
(6) สลักหมุน (12) เพลาควบคุมตําแหนง
9Y1210365HYS0011TH0

8-S13
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก
(4) การถอดแยกชุดกระบอกไฮดรอลิก
ฝาปดกระบอกสูบไฮดรอลิกและลูกสูบไฮดรอลิก
1. ถอดฝาปดกระบอกสูบไฮดรอลิก (1) ออก
2. ดันลูกสูบไฮดรอลิก (5) ออกจากกระบอกสูบไฮดรอลิก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ประกอบลูกสูบไฮดรอลิก โดยดูตําแหนงของแหวนยาง (6) และแหวนรอง (7)
ใหถูกตอง
• ประกอบฝาปดกระบอกสูบไฮดรอลิก โดยดูตําแหนงของแหวนยาง (2), (4)
และแหวนรอง (3) ใหถูกตอง
• ทาจาระบีที่ผิวดานลางของลูกสูบไฮดรอลิกกับกานเพลาไฮดรอลิก

(1) ฝาปดกระบอกสูบไฮดรอลิก (5) ลูกสูบไฮดรอลิก


(2) แหวนยาง (6) แหวนยาง
(3) แหวนรอง (7) แหวนรอง
(4) แหวนยาง
9Y1210383HYS0008TH0
แขนยกและเพลากําปนไฮดรอลิก
1. ถอดกานดึงกลับระบบควบคุมตําแหนงออกจากแขนยกดานซาย (3)
2. ถอดสายไฟ แลวถอดชุดสกรูปรับตั้ง (2) ออก
3. ถอดแหวนล็อกดานนอก (4)
4. ถอดเพลากําปนไฮดรอลิก (1) และแขนยกดานขวา (5) ออกทั้งหมด
5. ถอดแหวนรองและแหวนยางออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ปรับใหมารคปรับตําแหนงของกําปนไฮดรอลิกและเพลากําปนไฮดรอลิกตรงกัน
• ปรับใหมารคปรับตําแหนงของแขนยกและเพลากําปนไฮดรอลิกตรงกัน
• ทาจาระบีลงบนบุชดานซายและขวาของโครงกระบอกไฮดรอลิกและแหวนยาง
• ระวังอยาใหแหวนยางเสียหาย
• หลังจากขันสกรูปรับตั้งกําปนไฮดรอลิกใหไดแรงขันที่กําหนด ใหใสสายไฟผาน
รูบนหัวสกรูและกําปนไฮดรอลิก
40 ถึง 45 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน สกรูปรับกําปนไฮดรอลิก 4.0 ถึง 4.6 กิโลกรัมแรง·เมตร
29 ถึง 33 ปอนดแรง·ฟุต

(1) เพลากําปนไฮดรอลิก (4) แหวนล็อกดานนอก


(2) สกรูปรับตั้ง (5) แขนยกดานขวา
(3) แขนยกดานซาย (6) มารคการจัดตําแหนง
9Y1210365HYS0013TH0

8-S14
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก
กําปนไฮดรอลิกและกานเพลาไฮดรอลิก
1. ถอดสลักสปริง (2) แลวถอดแยกกําปนไฮดรอลิก (3) ออกจากกานเพลาไฮดรอลิก
(1)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีบนขอตอกําปนไฮดรอลิก กานเพลาไฮดรอลิก สลักล็อก และลูกสูบ
• ในการประกอบสลักสปริง (2) ใหหันดานที่ผาไปทาง “A” ตามที่แสดงในรูป
(1) กานเพลาไฮดรอลิก (3) กําปนไฮดรอลิก
(2) สลักสปริง
9Y1210365HYS0014TH0

วาลวปรับตั้งความเร็วการวางอุปกรณ
1. ถอดแหวนล็อกดานใน (1) และสกรูปรับตั้ง (3) ออก
2. ถอดแหวนล็อกดานใน (7) แลวดึงหมวกลิ้น (6) ออก
(1) แหวนล็อกดานใน (5) ฝาปดกระบอกสูบไฮดรอลิก
(2) แหวนรอง (6) หมวกลิ้น
(3) สกรูปรับตั้ง (7) แหวนล็อกดานใน
(4) แหวนยาง (8) แหวนยาง
9Y1210365HYS0015TH0

[2] การถอดปมไฮดรอลิก
การถอดปมไฮดรอลิก
1. ถอดทอสงน้ํามัน (1), (2) ออกจากปมไฮดรอลิก (4)
2. ถอดทอดูด (3) ออกจากปมไฮดรอลิก (4)
3. ถอดสกรูและนอตยึดชุดปมน้ํามันเชื้อเพลิง
4. ถอดชุดปมไฮดรอลิกออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีที่แหวนยาง และระวังอยาใหแหวนยางเสียหาย
18 ถึง 20 นิวตัน·เมตร
สกรูยดึ ทอน้ํามันไฮดรอลิก 1.8 ถึง 2.1 กิโลกรัมแรง·เมตร
13 ถึง 15 ปอนดแรง·ฟุต
คาแรงขัน
24 ถึง 27 นิวตัน·เมตร
นอตและสกรูยึดชุดปมไฮดรอลิก 2.4 ถึง 2.8 กิโลกรัมแรง·เมตร
18 ถึง 20 ปอนดแรง·ฟุต

(1) ทอสงน้ํามัน (ทอน้ํามันไฮดรอลิกสามจุด) (3) ทอดูด


(2) ทอสงน้ํามัน (ทอน้ํามันพวงมาลัยพาวเวอร) (4) ปมไฮดรอลิก
9Y1210383HYS0009TH0

8-S15
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก

6. การดูแลตรวจสอบ
รูกระบอกไฮดรอลิก
1. ตรวจเช็ครอยขีดขวนหรือการชํารุดที่พื้นผิวภายในกระบอกสูบ
2. วัดความโตภายในของกระบอกสูบดวยเกจวัดกระบอกสูบ
3. หากคาทีว่ ัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนใหม
90.000 ถึง 90.050 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
3.5433 ถึง 3.5452 นิ้ว
ความโตภายในกระบอกสูบ
90.15 มม.
คาที่ยอมได
3.549 นิ้ว
9Y1210365HYS0016TH0

8-S16
M6040DT-SU, WSM ระบบไฮดรอลิก
ระยะหางระหวางเพลากําปนไฮดรอลิกกับบุช
1. วัดความโตภายนอกของเพลากําปนไฮโดรลิกดวยไมโครมิเตอรวัดนอก
2. วัดความโตภายในของบุชดวยเกจวัดกระบอกสูบ แลวคํานวณระยะหาง
3. หากคาที่วัดไดเกินจากคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนบุช
0.0490 ถึง 0.154 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ระยะหางระหวางเพลากําปน 0.00193 ถึง 0.00606 นิ้ว
ไฮดรอลิกกับบุช (ดานขวา) 0.50 มม.
คาที่ยอมได
0.020 นิ้ว

ความโตภายนอกของเพลา 49.950 ถึง 49.975 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
กําปนไฮดรอลิก (ดานขวา) 1.9666 ถึง 1.9675 นิ้ว
ความโตภายในบุช 50.024 ถึง 50.104 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
(หลังจากสวมอัด) (ดานขวา) 1.9695 ถึง 1.9725 นิ้ว

0.0490 ถึง 0.149 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
ระยะหางระหวางเพลากําปน 0.00193 ถึง 0.00587 นิ้ว
ไฮดรอลิกกับบุช (ดานซาย) 0.50 มม.
คาที่ยอมได
0.020 นิ้ว

ความโตภายนอกของเพลา 44.950 ถึง 44.975 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
กําปนไฮดรอลิก (ดานซาย) 1.7697 ถึง 1.7706 นิ้ว
ความโตภายในบุช 45.024 ถึง 45.099 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
(หลังจากสวมอัด) (ดานซาย) 1.7726 ถึง 1.7755 นิ้ว
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ระหวางอัดบุชใหมเขาไปดวยเครื่องมืออัดบุช (ดูที่ “9. เครื่องมือพิเศษ” ที่หัวขอ
“G. ขอมูลทั่วไป”) ตรวจสอบขนาดตามที่อธิบายไวในรูป
• เมือ่ อัดบุชใหม ใหทาน้ํามันเกียรที่บุชและดุมไลเนอรกระบอกไฮดรอลิก
• เมือ่ จะสวมอัดบุชอันใหม ใหสวมอัดโดยหันดานตะเข็บขึ้นบน
14.5 ถึง 15.5 มม.
คา “A”
0.571 ถึง 0.610 นิ้ว
ตําแหนงในการอัดบุช มาตรฐาน
ที่กําหนด 22.5 ถึง 23.5 มม.
“B”
0.886 ถึง 0.925 นิ้ว

(1) แหวนรอง (ดานซาย) (a) ดานขวา


(2) แหวนยาง (หันปลายแหวนรองกับดานทายของ
(3) บุช (ดานซาย) กระบอกไฮดรอลิกเขาหากัน)
(4) บุช (ดานขวา)
(5) แหวนยาง
(6) แหวนรอง (ดานขวา)
9Y1210365HYS0017TH0

8-S17
9 ระบบไฟฟา
ระบบกลไก

สารบัญ
1. แผนผังวงจรสายไฟ............................................................................................................................ 9-M1
2. แผนผังวงจรไฟฟาแตละสวน ................................................................................................................ 9-M2
[1] ระบบสตารทเครื่องยนตและระบบชารจแบตเตอรี่ ................................................................................. 9-M2
[2] ระบบไฟสองสวาง....................................................................................................................... 9-M3
[3] แผงหนาปด ............................................................................................................................... 9-M4
3. แผงอุปกรณ ..................................................................................................................................... 9-M5
[1] สวนแจงสถานะของมิเตอรแผงหนาปด .............................................................................................. 9-M5
[2] ตัวตรวจเช็คอยางงาย™ ................................................................................................................. 9-M6
[3] ไฟแสดงสถานะบนหนาจอ LCD ..................................................................................................... 9-M6
(1) โหมดแสดงผล ..................................................................................................................... 9-M7
(2) โหมดตั้งคา ......................................................................................................................... 9-M8
(3) โหมดตรวจเช็ค..................................................................................................................... 9-M8
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

1. แผนผังวงจรสายไฟ

9-M1
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

2. แผนผังวงจรไฟฟาแตละสวน
[1] ระบบสตารทเครื่องยนตและระบบชารจแบตเตอรี่

9-M2
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

[2] ระบบไฟสองสวาง

9-M3
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

[3] แผงหนาปด

9-M4
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

3. แผงอุปกรณ
[1] สวนแจงสถานะของมิเตอรแผงหนาปด
(1) ไฟแสดงการทํางานของไฟ
ฉุกเฉิน/ไฟเลี้ยว
(2) ไฟแสดงการทํางานคลัตช PTO
(3) หนาจอ LCD
(4) ไฟแสดงการชารจไฟฟา
(5) ไฟแสดงแรงดันน้ํามันเครื่อง
(6) เครื่องวัดรอบเครือ่ งยนต
(7) ไฟแสดงการทํางานเครือ่ ง
ทําความรอน
(8) ไฟแสดงระดับน้ํามันเชื้อเพลิง
(9) เกจวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิง
(10) เกจวัดอุณหภูมิน้ําระบายความรอน
(11) สวิตชเลือกมิเตอร PTO /
ชั่วโมงการทํางาน
9Y1210365ELM0005TH0

9-M5
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

[2] ตัวตรวจเช็คอยางงาย™
หากไฟเตือนของตัวตรวจเช็คอยางงาย™ ปรากฏขึ้นระหวางการ
ทํางาน ใหดับเครื่องทันที และตรวจหาสาเหตุดังแสดงดานลาง
หามใชงานแทรกเตอรขณะที่ไฟตัวตรวจเช็คอยางงาย™ ปรากฏอยู
Q แรงดันน้ํามันเครื่อง
หากแรงดันน้ํามันเครื่องต่ํากวาระดับที่กําหนด ไฟเตือนของตัวตรวจ
เช็คอยางงาย™ จะปรากฏขึ้น
หากไฟปรากฏขึ้นระหวางปฏิบัตงิ าน และไฟไมหายไปหลังจากเรง
ความเร็วรอบไปมากกวา 1000 นาที-1 (รอบตอนาที) ใหตรวจระดับน้ํามัน
เครื่อง
Q ระดับน้ํามันเชื้อเพลิง
หากระดับน้ํามันเชื้อเพลิงต่ํากวาระดับที่กําหนด ไฟเตือนของตัว
ตรวจเช็คอยางงาย™ จะปรากฏขึ้น
หากไฟปรากฏขึ้นระหวางปฏิบัตงิ าน ใหเติมน้ํามันเชื้อเพลิงทันที
12 ลิตร
ระดับน้ํามันที่กําหนด 3.2 แกลลอนสหรัฐ
2.6 แกลลอนอังกฤษ
Q การชารจกระแสไฟฟา
หากไดชารจไมชารจกระแสไฟฟา ไฟตัวตรวจเช็คอยางงายจะ
ปรากฏขึ้น
หากไฟเตือนปรากฏขึ้นระหวางการปฏิบัติงาน ใหตรวจเช็คระบบ
ชารจไฟฟา
(1) ไฟแสดงระดับน้ํามันเชื้อเพลิง (3) ไฟแสดงแรงดันน้ํามันเครื่อง
(2) ไฟแสดงการชารจไฟฟา
9Y1210365ELM0006TH0

[3] ไฟแสดงสถานะบนหนาจอ LCD

(1) หนาจอ LCD (2) สวิตชเลือกมิเตอร PTO / (3) ไฟแสดงชั่วโมงการทํางาน (4) ไฟแสดงการทํางานของ PTO
ชั่วโมงการทํางาน
หนาจอ LCD (1) มีโหมดในการทํางานสามโหมดไดแก : “โหมดแสดงผล”, “โหมดตั้งคา” และ “โหมดตรวจเช็ค”
9Y1210365ELM0007TH0

9-M6
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
(1) โหมดแสดงผล
1. หนาจอ LCD มีโหมดการทํางานสองโหมดไดแก : “ชั่วโมงการทํางาน” และ “ความเร็ว PTO” เมื่อกดมาตรวัด PTO/ชั่วโมงทํางาน โหมดการแสดง
จะเปลี่ยนไปแตละครั้งที่กด
2. คันควบคุมคลัตช PTO จะทํางานในโหมดแสดงผลอัตโนมัติดังนี้
• คันควบคุมคลัตช PTO อยูที่ “ON” : หนาจอจะแสดงความเร็วในการเดินทางและความเร็ว PTO
• คันควบคุมคลัตชที่ “OFF” : หนาจอจะแสดงความเร็วในการเดินทางและชั่วโมงการทํางาน
9Y1210365ELM0008TH0
การสลับระหวางโหมดแสดงชั่วโมงการทํางานและโหมดแสดงความเร็ว
PTO
กดสวิตชเลือกมิเตอร PTO/ชั่วโมงการทํางาน (1) เพื่อเปลี่ยนระหวาง
“โหมดแสดงชั่วโมงการทํางาน” และ “โหมดความเร็ว PTO”
(โหมดแสดงชั่วโมงการทํางาน)
• ชั่วโมงการทํางานทั้งหมดจะปรากฏบนหนาจอ
• ชั่วโมงการทํางานจะแสดงเปนเลขหาหลักแทนจํานวนชั่วโมงการ
ใชงาน เลขหลักสุดทายแสดง 1/10 ของชั่วโมง
(โหมดแสดงความเร็ว PTO)
• ความเร็ว PTO จะปรากฏบนหนาจอ
• เมื่อคันควบคุมคลัตช PTO อยูในตําแหนง “ตัดการสงกําลัง”
หนาจอจะแสดงคําวา “OFF”
(1) สวิตชเลือกมิเตอร PTO / A : โหมดแสดงชัว่ โมงการทํางาน
ชั่วโมงการทํางาน B : โหมดแสดงความเร็ว PTO
(2) หนาจอ LCD
9Y1210365ELM0009TH0
ขณะใชงานคันควบคุมคลัตช PTO
(ทีโ่ หมดแสดงชั่วโมงการทํางาน)
• ชั่วโมงการทํางานทั้งหมดจะปรากฏบนหนาจอ
• มิเตอรจะแสดงชั่วโมงการทํางานของแทรกเตอรเปนตัวเลขหาหลัก
หลักสุดทายจะแสดง 1/10 ของชั่วโมง
• เมื่อกดสวิตชเลือกมิเตอร PTO/ชั่วโมงการทํางานในสถานะนี้
หนาจอจะแสดงคําวา “OFF”
(ทีโ่ หมดแสดงความเร็ว PTO)
• ความเร็ว PTO จะปรากฏบนหนาจอ
• เมื่อกดสวิตชเลือกมิเตอร PTO/ชั่วโมงการทํางานในสถานะนี้
หนาจอจะเปลี่ยนโหมดไปเปนโหมดแสดงชั่วโมงการทํางาน
(1) คันควบคุมคลัตช PTO A : ปด PTO (โหมดแสดงชั่วโมง
(2) หนาจอ LCD การทํางาน)
B:
(a) ตําแหนง ON
(b) ตําแหนง OFF
9Y1210365ELM0010TH0

9-M7
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
(2) โหมดตั้งคา
• ใสขอมูลหลายชนิดเขาทาง RAM
• โหมดการตั้งคามีดวยกันสองโหมด : “สวิตชปรับการแสดงผลหนาจอความเร็ว PTO” และ “โหมดเลือกรุนแทรกเตอร”
Q สวิตชปรับการแสดงผลหนาจอความเร็ว PTO
สวิตชปรับการแสดงผลหนาจอความเร็ว PTO นั้นไดผานการตัง้ คามาจากโรงงานแลว เมื่อมีการเปลี่ยนแผงหนาปดใหม ใหใสรหัสตัวเลขให
ถูกตอง
Q โหมดเลือกรุนแทรกเตอร
โหมดการเลือกรุนนี้ ไดรับการตัง้ คามาจากโรงงานแลว เมือ่ มีการเปลี่ยนแผงหนาปดใหม ใหใสรหัสรุนใหถูกตอง
9Y1210365ELM0011TH0

(3) โหมดตรวจเช็ค
โหมดตรวจเช็คจะทําหนาที่ตรวจเช็คเซนเซอร แรงดันไฟฟาของ
แบตเตอรี่ และรอบของเครื่องยนต
ซีพียู (5) จะทําหนาที่ประมวลผลขอมูลจากความตานทานของ
เซนเซอร ทาโคพัลส และแรงดันไฟฟา และแสดงออกทางหนาจอ LCD
(7)
โหมดตรวจเช็คจะแสดงขอมูลสี่รายการดังตอไปนี้
ลําดับ สิ่งที่แสดง สภาวะการทํางาน หนวยที่ใชแสดง
แรงดันไฟฟาของอุปกรณ
1 ตรวจวัดระดับน้ํามัน F ถึง E V
เชื้อเพลิง
แรงดันไฟฟาของอุปกรณ
−30 ถึง 120 °C
2 ตรวจวัดอุณหภูมิน้ําหลอ V
(−4 ถึง 248 °F)
เย็น
3 แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ – V
4 รอบของเครือ่ งยนต เดินเบาถึงสูงสุด รอบ/นาที

(1) เซนเซอรวัดความเร็วเครือ่ งยนต a : จากไดชารจขั้ว L


(2) อุปกรณตรวจวัดระดับน้ํามัน b : จากสวิตชเลือกมิเตอร PTO /
เชื้อเพลิง ชั่วโมงการทํางาน
(3) แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ c : จากสวิตชเลือกความเร็วในการ
(4) อุปกรณตรวจวัดอุณหภูมิน้ําหลอ เดินทาง
เย็น d : จากสวิตชกุญแจหลัก
(5) ซีพียู
(6) สัญญาณเตือน
(7) หนาจอ LCD
9Y1210365ELM0012TH0

9-M8
การตรวจซอม

สารบัญ
1. ปญหาและวิธีการแกไข ........................................................................................................................9-S1
2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ .........................................................................................................9-S5
3. คาแรงขัน .........................................................................................................................................9-S6
4. การตรวจเช็ค การถอด และการตรวจซอม ..................................................................................................9-S7
[1] แบตเตอรี่, ฟวส สายดิน และขั้วตอสายไฟ............................................................................................9-S7
(1) แบตเตอรี่ .............................................................................................................................9-S7
(2) การตรวจเช็คสายดิน .............................................................................................................9-S11
(3) ขั้วตอสายไฟ.......................................................................................................................9-S11
[2] สวิตชกญ ุ แจ .............................................................................................................................9-S11
[3] หัวเผา .....................................................................................................................................9-S13
[4] มอเตอรสตารท ..........................................................................................................................9-S13
[5] โซลีนอยดดับเครื่องยนต...............................................................................................................9-S14
[6] ไดชารจ ...................................................................................................................................9-S15
[7] แผงหนาปด ..............................................................................................................................9-S16
(1) โหมดตั้งคา (เลือกการสลับโหมดแสดงความเร็ว PTO และการเลือกรุนแทรกเตอร) ..................................9-S16
(2) โหมดตรวจเช็ค....................................................................................................................9-S19
(3) การตรวจเช็คแผงหนาปดและสวิตชเลือกมิเตอร PTO/ชั่วโมงการทํางาน ...............................................9-S20
(4) สวิตชและอุปกรณตรวจวัด......................................................................................................9-S22
[8] สวิตชไฟสองสวางและชุดไฟกะพริบ ...............................................................................................9-S25
(1) สวิตชไฟรวม ......................................................................................................................9-S25
(2) สวิตชไฟฉุกเฉิน ..................................................................................................................9-S26
(3) ชุดไฟกะพริบ......................................................................................................................9-S27
(4) สวิตชเบรก .........................................................................................................................9-S28
[9] รีเลย .......................................................................................................................................9-S28
(1) รีเลยมอเตอรสตารท ..............................................................................................................9-S28
(2) รีเลย (นิรภัย PTO, กุญแจดับเครื่อง และอื่นๆ) ...............................................................................9-S30
5. การถอดและการประกอบ ...................................................................................................................9-S32
[1] มอเตอรสตารท ..........................................................................................................................9-S32
[2] ไดชารจ ...................................................................................................................................9-S33
6. การดูแลตรวจสอบ ............................................................................................................................9-S35
[1] มอเตอรสตารท ..........................................................................................................................9-S35
[2] ไดชารจ ...................................................................................................................................9-S37
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

1. ปญหาและวิธีการแกไข
ขอมูลทั่วไป
อาการ สาเหตุ วิธีแกไข ดูทหี่ นา
อุปกรณไฟฟาทัง้ หมดไม แบตเตอรี่ไฟออนหรือทํางานผิดปกติ ชารจไฟหรือเปลี่ยนใหม G-29
ทํางาน สายไฟขั้วบวกที่แบตเตอรี่หลุดหรือตอไวไมถูกตอง ซอมหรือเปลี่ยนใหม –
สายไฟขั้วลบที่แบตเตอรี่หลุดหรือตอไวไมถูกตอง ซอมหรือเปลี่ยนใหม –
ฟวสหลักขาด เปลี่ยนใหม 9-S10
ฟวสขาดบอย ไฟฟาลัดวงจร ซอมหรือเปลี่ยนใหม –
แบตเตอรี่
อาการ สาเหตุ วิธีแกไข ดูทหี่ นา
ประจุไฟฟาในแบตเตอรี่หมด แบตเตอรี่ทํางานผิดปกติ ชารจไฟหรือเปลี่ยนใหม G-29
เร็วเกินไป ไดชารจทํางานผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 9-S33
ขั้วตอสายไฟหลวม ขาด หรือตอไมถูกตอง (ระหวางขั้วบวกของ ซอมหรือเปลี่ยนใหม –
แบตเตอรี่กบั ขั้ว B ของไดชารจ)
สายพานพัดลมลื่นฟรี ปรับตั้งความตึงใหม G-26
ระบบสตารท
อาการ สาเหตุ วิธีแกไข ดูทหี่ นา
มอเตอรสตารทไมทํางาน แบตเตอรี่ไฟออนหรือทํางานผิดปกติ ชารจไฟหรือเปลี่ยนใหม G-29
ฟวสหลักขาด เปลี่ยนใหม 9-S10
รีเลยมอเตอรสตารทชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S28
สวิตช PTO ชํารุด ซอมหรือเปลี่ยนใหม 9-S23
ขั้วตอสายไฟหลวม ขาด หรือตอไมถูกตอง ซอมหรือเปลี่ยนใหม –
มอเตอรสตารทชํารุด ซอมหรือเปลี่ยนใหม 9-S32
สวิตชกญ
ุ แจชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S11

9-S1
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
ระบบไฟสองสวาง
อาการ สาเหตุ วิธแี กไข ดูที่หนา
ไฟหนาไมติด ฟวสขาด เปลี่ยนใหม 9-S10
หลอดไฟขาด เปลี่ยนใหม G-39
ขั้วตอสายไฟหลวม ขาด หรือตอไมถูกตอง ซอมหรือเปลี่ยนใหม –
หลอดไฟบนแผงหนาปด ฟวสขาด เปลี่ยนใหม 9-S10
ไมติด หลอดไฟขาด เปลี่ยนใหม G-39
ขั้วตอสายไฟหลวม ขาด หรือตอไมถูกตอง ซอมหรือเปลี่ยนใหม –
ไฟทายไมติด ฟวสขาด เปลี่ยนใหม 9-S10
ขั้วตอสายไฟหลวม ขาด หรือตอไมถูกตอง ซอมหรือเปลี่ยนใหม –
ไฟฉุกเฉินไมติด ฟวสขาด เปลี่ยนใหม 9-S10
หลอดไฟขาด เปลี่ยนใหม G-39
ชุดไฟกะพริบชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S27
สวิตชไฟฉุกเฉินชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S26
สวิตชไฟรวมชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S25
ไฟแสดงสถานะของไฟ มิเตอรแผงหนาปดชํารุด เปลี่ยนใหม –
ฉุกเฉินและของไฟเลีย้ วไมติด ขั้วตอสายไฟหลวม ขาด หรือตอไมถูกตอง ซอมหรือเปลี่ยนใหม –
ไฟกะพริบและไฟเลี้ยวไมติด ชุดไฟกะพริบชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S27
ดับสลับกัน
ไฟสองอุปกรณไมติด ฟวสขาด เปลี่ยนใหม 9-S10
หลอดไฟขาด เปลี่ยนใหม G-39
ขั้วตอสายไฟหลวม ขาด หรือตอไมถูกตอง ซอมหรือเปลี่ยนใหม –
ไฟเบรกไมติด ฟวสขาด เปลี่ยนใหม 9-S10
หลอดไฟขาด เปลี่ยนใหม G-39

9-S2
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
ตัวตรวจเช็คอยางงาย
อาการ สาเหตุ วิธีแกไข ดูทหี่ นา
ไฟเตือนแรงดันน้ํามันเครื่อง แรงดันน้ํามันเครื่องต่ําเกินไป ซอมเครื่องยนต 1-S17
ติดขณะเครื่องยนตทํางาน ระดับน้ํามันเครื่องต่ํากวาที่กําหนด เติมใหไดระดับที่กําหนด G-10
สวิตชแรงดันน้ํามันเครื่องชํารุด เปลี่ยนใหม 1-S17
ไฟฟาลัดวงจรระหวางสวิตชแรงดันน้ํามันเครื่องกับตัวโครง ซอมแซม –
แทรกเตอร
วงจรไฟฟาที่มิเตอรแผงหนาปดชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S20
ไฟเตือนแรงดันน้ํามันเครื่อง มิเตอรแผงหนาปดชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S20
ไมติดเมื่อเครื่องยนตดับและ สวิตชแรงดันน้ํามันเครื่องชํารุด เปลี่ยนใหม 1-S17
กุญแจสตารทอยูในตําแหนง
ขั้วตอสายไฟหลวม ขาด หรือตอไมถูกตอง ซอมหรือเปลี่ยนใหม –
เปด “ON”
(ระหวางแผงวงจรกับสวิตชแรงดันน้ํามันเครื่อง)
วงจรไฟฟาที่มิเตอรแผงหนาปดชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S20
หลอดไฟชารจไมดับขณะ ไดชารจทํางานผิดปกติ ซอมหรือเปลี่ยนใหม 9-S33
เครื่องยนตทํางานอยู ไฟฟาลัดวงจรระหวางขั้ว L ของไดชารจกับตัวโครงแทรกเตอร ซอมแซม –
วงจรไฟฟาที่มิเตอรแผงหนาปดชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S20
ไฟแสดงการชารจไมติดเมื่อ ขั้วตอสายไฟหลวม ขาด หรือตอไมถูกตอง ซอมหรือเปลี่ยนใหม –
สวิตชกุญแจสตารทอยูใน (ระหวางมิเตอรแผงหนาปดและไดชารจ)
ตําแหนงเปด “ON” วงจรไฟฟาที่มิเตอรแผงหนาปดชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S20
ไฟ PTO ติดขณะสวิตช PTO สวิตช PTO ชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S23
อยูในตําแหนงดับ “OFF”
ไฟ PTO ไมติดขณะสวิตช สวิตช PTO ชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S23
PTO อยูในตําแหนงติด “ON” มิเตอรแผงหนาปดชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S20
ไฟแสดงระดับน้ํามันเชื้อเพลิง น้ํามันเชื้อเพลิงนอยเกินไป เติมใหไดระดับที่กําหนด –
ติด อุปกรณตรวจวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิงในถังน้ํามันชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S24
ไฟฟาลัดวงจรระหวางชุดน้ํามันเชื้อเพลิงและตัวโครง ซอมแซม –
แทรกเตอร
วงจรไฟฟาที่มิเตอรแผงหนาปดชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S20
ไฟแสดงระดับน้ํามันเชื้อเพลิง อุปกรณตรวจวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิงในถังน้ํามันชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S24
ไมติด เมื่อน้ํามันเชื้อเพลิง ขั้วตอสายไฟหลวม ขาด หรือตอไมถูกตอง ซอมหรือเปลี่ยนใหม –
หมดถัง (ระหวางมิเตอรแผงหนาปดและหนวยน้ํามันเชื้อเพลิง)
วงจรไฟฟาที่มิเตอรแผงหนาปดชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S20

9-S3
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
ระบบการดับเครื่องดวยสวิตชกุญแจ
อาการ สาเหตุ วิธแี กไข ดูที่หนา
เครื่องไมดับเมื่อบิดสวิตช ฟวสขาด เปลี่ยนใหม 9-S10
กุญแจไปที่ตําแหนง OFF รีเลยกุญแจดับเครื่องชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S30
มิเตอรแผงหนาปดชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S20
ขั้วตอสายไฟหลวม ขาด หรือตอไมถูกตอง ซอมหรือเปลี่ยนใหม –
เครื่องยนตสตารทไมติด ฟวสหรือฟวสหลักขาด เปลี่ยนใหม 9-S10
โซลีนอยดดับเครื่องยนตชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S14
รีเลยกุญแจดับเครื่องชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S30
สวิตช PTO ชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S23
สวิตชเกียรวางชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S24
เกจวัด
อาการ สาเหตุ วิธแี กไข ดูที่หนา
เกจวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิง อุปกรณตรวจวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิงในถังน้ํามันชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S24
ไมทํางาน ขั้วตอสายไฟหลวม ขาด หรือตอไมถูกตอง ซอมหรือเปลี่ยนใหม –
(ระหวางแผงวงจรกับอุปกรณตรวจวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิง)
วงจรไฟฟาที่มิเตอรแผงหนาปดชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S20
เกจวัดอุณหภูมิน้ําหลอเย็น อุปกรณตรวจวัดอุณหภูมิน้ําหลอเย็นชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S23
ไมทํางาน ขั้วตอสายไฟหลวม ขาด หรือตอไมถูกตอง ซอมหรือเปลี่ยนใหม –
(ระหวางแผงวงจรกับอุปกรณตรวจวัดอุณหภูมิน้ําหลอเย็น)
วงจรไฟฟาที่มิเตอรแผงหนาปดชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S20
หนาจอ LCD
อาการ สาเหตุ วิธแี กไข ดูที่หนา
ไมมีการแสดงขอมูลบนจอ แบตเตอรี่ไมมปี ระจุไฟหรือชํารุด ชารจไฟหรือเปลี่ยนใหม G-29
LCD (แรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่ต่ํากวา 10 โวลต)
ฟวสหลักขาด เปลี่ยนใหม 9-S10
ขั้วตอมิเตอรแผงหนาปดหลุด ตอใหม 9-S20
มิเตอรแผงหนาปดชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S20
ขอมูลบนจอ LCD สวิตชเลือกมิเตอร PTO / ชั่วโมงการทํางานทํางานผิดปกติ เปลี่ยนใหม 9-S22
ไมเปลี่ยนแปลงเมื่อกดสวิตช ขั้วตอสายไฟหลุด ซอมแซม –
โหมดแสดงผล
ไมมีการแสดงความเร็ว PTO ขั้วตอสายไฟหลุด ซอมแซม –
อุปกรณตรวจวัดรอบเครื่องยนตชํารุด เปลี่ยนใหม 9-S25
9Y1210383ELS0001TH0

9-S4
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

2. คามาตรฐานตางๆ ในการตรวจสอบ
มอเตอรสตารท
รายการ คามาตรฐานที่กําหนด คาที่ยอมได
คอมมิวเตเตอร ความโตภายนอก 30.0 มม. 29.0 มม.
1.18 นิ้ว 1.14 นิ้ว
ไมกา ความลึกของรอง 0.50 ถึง 0.80 มม. 0.2 มม.
0.020 ถึง 0.031 นิ้ว 0.008 นิ้ว
แปรงถาน ความยาว 14.0 มม. 9.0 มม.
0.551 นิ้ว 0.35 นิ้ว
ไดชารจ
รายการ คามาตรฐานที่กําหนด คาที่ยอมได
แปรงถาน ความยาว 10.5 มม. 8.4 มม.
0.413 นิ้ว 0.33 นิ้ว
แหวนแยก ความโตภายนอก 15.0 มม. 11.0 มม.
0.591 นิ้ว 0.433 นิ้ว
หัวเผา
รายการ คามาตรฐานที่กําหนด คาที่ยอมได
หัวเผา คาความตานทาน 1.05 ถึง 1.29 Ω –
อุปกรณตรวจวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิง
รายการ คามาตรฐานที่กําหนด คาที่ยอมได
ตําแหนงสูงสุดของลูกลอย คาความตานทาน 3.0 ถึง 5.0 Ω –
ตําแหนงต่ําสุดของลูกลอย คาความตานทาน 107.5 ถึง 112.5 Ω –
อุปกรณตรวจวัดอุณหภูมิน้ําหลอเย็น
รายการ คามาตรฐานที่กําหนด คาที่ยอมได
อุณหภูมิน้ําหลอเย็นที่ 120 °C (248 °F) คาความตานทาน ประมาณ 117 Ω –
อุณหภูมิน้ําหลอเย็นที่ 100 °C (212 °F) คาความตานทาน ประมาณ 189 Ω –
อุณหภูมิน้ําหลอเย็นที่ 80 °C (176 °F) คาความตานทาน ประมาณ 290 ถึง 354 Ω –
อุณหภูมิน้ําหลอเย็นที่ 50 °C (122 °F) คาความตานทาน ประมาณ 808 Ω –
อุณหภูมิน้ําหลอเย็นที่ 20 °C (68 °F) คาความตานทาน ประมาณ 2.21 ถึง 2.69 kΩ –
ชุดไฟกะพริบ
รายการ คามาตรฐานที่กําหนด คาที่ยอมได
การกะพริบของไฟ จํานวนครั้ง 55 ถึง 90 ครั้งตอนาที –
9Y1210383ELS0002TH0

9-S5
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

3. คาแรงขัน
คาแรงขันสกรู โบลต และนอตที่กําหนดไวในตารางขางลางเปนคาแรงขันสําหรับสกรู โบลต และนอตชนิดพิเศษ
(ถาใชสกรู โบลต และนอตทั่วไป : ดูที่ “5. คาแรงขัน” ในหัวขอ ขอมูลทั่วไป)
รายการ นิวตัน·เมตร กิโลกรัมแรง·เมตร ปอนดแรง·ฟุต
นอตยึดมูเล (ไดชารจ) 58.3 ถึง 78.9 5.95 ถึง 8.05 43.0 ถึง 58.2
9Y1210365ELS0002TH0

9-S6
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

4. การตรวจเช็ค การถอด และการตรวจซอม


ขอควรระวัง
• เพื่อปองกันไฟฟาลัดวงจร ตองตอสายแบตเตอรี่ขั้วบวกที่ขั้วบวกใหเรียบรอยกอนจะตอสายดินเขากับขั้วลบ
• หามถอดฝาปดชองเติมน้ํากลั่นแบตเตอรี่ออกขณะสตารทเครื่องยนต
• หลีกเลี่ยงมิใหน้ํากรดแบตเตอรี่สมั ผัสกับดวงตา มือ และเสื้อผา หากสัมผัสใหรีบลางออกดวยน้ําสะอาดทันที
• ระวังอยาใหมีสะเก็ดไฟอยูใกลแบตเตอรี่ กาซไฮโดรเจนผสมกับออกซิเจนเปนสารทีส่ ามารถระเบิดไดงา ยมาก
ขอสําคัญ
• หากตองเดินเครื่องแทรกเตอรในเวลาสั้นๆ โดยไมมีแบตเตอรี่ (ใชแบตเตอรี่อื่นมาทําการสตารท) หามตัดวงจรโดยปดสวิตชกุญแจกอนจะดับ
เครื่องยนตดวยการดึงปุมดับเครื่องยนต ใชกระแสไฟฟาเพิ่มเติม (ไฟสองสวาง) ขณะเดินเครื่องยนต
• ควรหุมขัว้ ตอแบตเตอรี่ มิฉะนั้น อาจทําใหไดชารจ และเร็กกูเลเตอรชํารุดได
9Y1210365ELS0005TH0

[1] แบตเตอรี่, ฟวส สายดิน และขั้วตอสายไฟ


(1) แบตเตอรี่
แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
1. ดับเครื่องยนตแลวบิดสวิตชกญุ แจไปที่ตําแหนงปด “OFF”
2. ตอสายขั้วลบ (−) ของโวลตมิเตอรเขากับขั้วลบของแบตเตอรี่ และสายขั้วบวก (+)
เขากับขั้วบวกของแบตเตอรี่ตามลําดับ แลววัดแรงเคลื่อนไฟฟา
3. ถาแรงเคลื่อนไฟฟาต่ํากวาคามาตรฐานที่กําหนด ใหตรวจเช็คคาความถวงจําเพาะ
ของน้ํากรดและชารจแบตเตอรี่ใหม
แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ คามาตรฐานที่กําหนด มากกวา 12 V
9Y1210365ELS0006TH0
การตอสายไฟที่ขั้วแบตเตอรี่
1. บิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนงเปด “ON” แลวเปดไฟหนาไว
2. วัดแรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้วบวกของแบตเตอรี่กับขั้วของสายไฟ และระหวาง
ขั้วลบของแบตเตอรี่กบั ตัวโครงแทรกเตอร
3. ถาคาที่วัดไดเกินกวาคามาตรฐานที่กําหนด ใหทําความสะอาดขั้วแบตเตอรี่
และขั้วสายแบตเตอรี่ และขันขั้วตอใหแนน
ความตางศักย คาสําหรับอางอิง นอยกวา 0.1 โวลต
WSM000001ELS0001TH0

9-S7
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
การตรวจเช็คสภาพแบตเตอรี่

อันตราย
• หยุดใชงานหรือชารจแบตเตอรี่แบบชารจซ้ําในกรณีทรี่ ะดับน้ําต่ํากวาระดับขีด
ต่ําสุด มิฉะนั้น ชิ้นสวนประกอบแบตเตอรี่อาจเสื่อมสภาพกอนกําหนด ซึง่ จะทําให
อายุการใชงานของแบตเตอรี่สั้นลงหรือทําใหเกิดการระเบิดได ตรวจเช็คระดับ
น้ํามันเปนประจํา และเติมน้ํากลั่นตามที่ตองการโดยใหระดับน้ําอยูระหวางระดับ
ขีดบน UPPER และขีดลาง LOWER
ขอควรระวัง
• หามถอดฝาปดชองเติมน้ํากลั่นออกขณะสตารทเครื่อง
• หลีกเลี่ยงมิใหน้ํากรดแบตเตอรี่สัมผัสกับดวงตา มือ และเสื้อผา หากสัมผัสถูกใหรีบ
ลางน้ําออกใหสะอาด และพาไปพบแพทยทันที
• สวมแวนตานิรภัย และถุงมือยางทุกครั้งที่ทํางานกับแบตเตอรี่
หมายเหตุ
• แบตเตอรี่ที่ติดตั้งมาจากโรงงานนั้นเปนแบบชารจไฟใหมไมได หากไฟแสดง
สถานะเปนสีขาว หามชารจแบตเตอรี่ ใหเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหมแทน
1. การใชงานแบตเตอรี่ไมถูกวิธีจะทําใหอายุการใชงานสั้นลง และเปนการสิ้นเปลือง
คาใชจายในการซอมบํารุง
2. แบตเตอรี่ที่ติดมากับแทรกเตอรเปนประเภทที่ไมตองทําการบํารุงรักษาใดๆ
แตอาจตองทําการเปลี่ยนเมื่อแบตเตอรี่เสื่อม
หากพลังงานแบตเตอรี่ต่ําลง เครื่องยนตจะสตารทติดยากและแสงไฟจะไม
คอยสวาง การตรวจเช็คแบตเตอรี่อยางสม่ําเสมอจึงถือเปนสิ่งสําคัญ
3. ตรวจเช็คสภาพของแบตเตอรี่โดยการอานคาไฟแสดงสถานะ
สถานะของไฟแสดงสถานะ
สีเขียว : คาความถวงจําเพาะของอิเล็กโทรไลตและคุณภาพของอิเล็กโทรไลต
อยูในสภาพดี
สีดํา : จําเปนตองชารจแบตเตอรี่ใหม
สีขาว : จําเปนตองเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม
ตรวจเช็คสภาพของแบตเตอรี่โดยการอานคาสัญญาณเตือน
สถานะของไฟแสดงสถานะ
คาความถวงจําเพาะของอิเล็กโทรไลตและคุณภาพของอิเล็กโทรไลต
สีเขียว
อยูในสภาพดี
สีดํา จําเปนตองชารจแบตเตอรีใ่ หม
สีขาว จําเปนตองเปลี่ยนแบตเตอรี่ใหม

(1) แบตเตอรี่ (2) ไฟแสดงสถานะ


9Y1210383ELS0003TH0

9-S8
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
การชารจแบตเตอรี่

ขอควรระวัง
• ขณะใชงานแบตเตอรี่จะเกิดกาซไฮโดรเจนและออกซิเจนในแบตเตอรี่ ซึ่งสามารถ
ระเบิดไดงายมาก ระวังอยาใหเกิดประกายไฟหรือเปลวไฟบริเวณแบตเตอรี่
โดยเฉพาะขณะทําการชารจแบตเตอรี่
• กอนจะชารจแบตเตอรี่ ควรตรวจสอบใหแนใจวาไดปดฝาปดชองลมเขาที่แนน
ดีแลว (ถาติดตั้งไว)
• ในการถอดสายไฟออกจากแบตเตอรี่ ใหถอดขั้วลบที่แบตเตอรี่กอน
ในการประกอบสายไฟเขาแบตเตอรี่ ใหเริ่มจากขัว้ บวกที่แบตเตอรี่กอน
• อยาทําการตรวจเช็คกระแสไฟวามีหรือไม โดยใชวิธีนําโลหะวางพาดระหวาง
ขั้วบวกและขั้วลบของแบตเตอรี่ ใหใชโวลตมิเตอรหรือไฮโดรมิเตอรในการวัด
เทานั้น
1. หากตองการชารจแบตเตอรี่แบบชา ใหตอขั้วบวกของแบตเตอรี่เขากับขั้วบวก
ของเครื่องชารจ และขั้วลบของแบตเตอรี่เขากับขั้วลบของเครื่องชารจ จากนั้นให
ทําการชารจซ้ําตามวิธีการชารจปกติ
2. การชารจแบบเร็วมีไวสําหรับกรณีฉุกเฉินเทานั้น การชารจแบบนี้จะสามารถชารจ
แบตเตอรี่ในอัตราที่สูงในระยะเวลาสั้นๆ
เมือ่ ทําการชารจแบบเร็วแลว จําเปนจะตองชารจแบตเตอรี่ใหมอีกครั้งใหเร็วที่สุด
เทาที่จะทําได
หากไมรีบชารจไฟใหม จะทําใหอายุการใชงานของแบตเตอรี่ลดลง
3. ถาไฟแสดงสถานะเปลี่ยนจากสีดําเปนสีเขียว แสดงวาแบตเตอรี่ชารจอยู
4. เมือ่ เปลี่ยนแบตเตอรี่ใหมแทนแบตเตอรี่เกา ใชแบตเตอรี่ที่มีคามาตรฐานตาม
ตารางดานลาง
ตาราง
กระแสไฟ
ไหลออก อัตราชารจ
ประเภท ความจุที่ ความจุ
โวลต (V) ขณะสตารท ไฟปกติ
แบตเตอรี่ 5H.R (A.H) สํารอง (นาที)
เครื่องยนต (แอมแปร)
เย็น (SAE)
80D26R 12 55AH 133 582 6.5

CCA: กระแสไฟไหลออกขณะสตารทเครื่องยนตเย็น

Q คําแนะนําในการเก็บรักษา
1. เมือ่ เก็บแทรกเตอรไวเปนระยะเวลานาน ใหถอดแบตเตอรี่ออกจากแทรกเตอร
ปรับอิเล็กโทรไลตใหอยูในระดับที่เหมาะสม และเก็บแบตเตอรี่ไวในที่แหงและ
ไมมแี สงแดดสองโดยตรง
2. แบตเตอรี่จะคายประจุออกมาเองเมือ่ เก็บแบตเตอรี่ไว ทําการประจุแบตเตอรี่ใหม
ทุกๆ สามเดือนในฤดูรอน ทุกๆ หกเดือนในฤดูหนาว
(1) แบตเตอรี่
9Y1210383ELS0004TH0

9-S9
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
ฟวส
1. ระบบไฟฟาของแทรกเตอรจะถูกปองกันจากความเสียหายโดยใชฟวส ฟวสขาด
จะชี้ใหเห็นถึงการใชกระแสไฟเกินหรือมีการลัดวงจรที่ใดที่หนึ่งในระบบไฟฟา
2. หากพบฟวสขาดใหเปลี่ยนใหม โดยใชฟวสขนาดเทาเดิม
ขอสําคัญ
• กอนทําการเปลี่ยนฟวสที่ขาด ใหตรวจสอบสาเหตุที่ทําใหฟวสขาด แลวซอมให
เรียบรอย หากไมปฏิบัติตามขั้นตอนเหลานี้ อาจทําใหเกิดความเสียหายรายแรง
ตอระบบไฟฟาของแทรกเตอร ดูที่ขอมูลเฉพาะเกี่ยวกับการจัดการปญหาดาน
ไฟฟาจากหัวขอปญหา และวิธีการแกไข ในคูมือเลมนี้
Q วงจรปองกัน
ลําดับฟวส ความจุ (แอมแปร) วงจรไฟฟาที่ใชฟวส
a 5 ไดชารจ, เครือ่ งยนต
b 5 แผงหนาปด
c 10 ไฟเลี้ยว
d 15 ไฟทํางาน
e 5 แผงหนาปด (สํารอง)
f 15 ไฟหนา, ไฟทาย
g 15 ไฟกะพริบ (ไฟฉุกเฉิน)
h 5 รีเลยมอเตอรสตารท
i 10 แตร
j 50 ชารจไฟ
k 30 โซเลนอยดดับเครื่องยนต
l 40 สวิตชกุญแจ, ไฟหนา, ไฟฉุกเฉิน

(1) กลองฟวส (3) ปุมดึงฟวสออก


(2) ฟวสสํารอง
9Y1210383ELS0005TH0

9-S10
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
(2) การตรวจเช็คสายดิน
สายดิน
1. ตรวจเช็ควาสายดิน (1) วาเชื่อมตอกับตัวโครงแทรกเตอรแนนดีแลว
2. หากสายดินเสียหายหรือขาด ใหเปลี่ยนใหม
(1) สายดิน
9Y1210383ELS0006TH0

(3) ขั้วตอสายไฟ
การตรวจเช็คขั้วตอ
1. ขณะตรวจเช็คสายไฟในวงจรไฟฟา ใหตรวจเช็คขั้วตอที่เกี่ยวของดังตอไปนี้
2. ถอดขั้วตอตางๆ ออกและตรวจเช็คที่ขั้ววาสกปรกหรือผิดรูปหรือไม
3. ตรวจเช็ควาสายไฟไมฉีกขาด และขั้วตอไมลอกออก
4. หากพบชิ้นสวนที่ชํารุด ซอมแซม หรือเปลี่ยนใหม
ขอสําคัญ
• เชื่อมขั้วตอใหแนนหลังจากตรวจเช็ค
9Y1210365ELS0030TH0

[2] สวิตชกุญแจ
สวิตชกุญแจ
1. ถอดฝาครอบเครื่องดานหลัง (1) ดูที่ “[1] แปนคลัตช” ในหัวขอ “2. คลัตช”
2. ถอดมิเตอรแผงหนาปดและขั้วตอของสวิตชกุญแจออก หลังจากบิดสวิตชกุญแจ
ไปที่ตําแหนงปด “OFF”
3. ดําเนินการตรวจเช็คดังตอไปนี้
(1) ฝาครอบเครือ่ งดานหลัง (2) สวิตชกุญแจ
9Y1210365ELS0031TH0

9-S11
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
แรงดันไฟฟาที่ขวั้ ตอสายไฟ
1. ใชโวลตมเิ ตอรวัดแรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้ว B กับตัวโครงแทรกเตอร
2. หากคาที่วัดไดไมเทากับแรงเคลื่อนไฟฟาของแบตเตอรี่ (11 ถึง 14 โวลต)
แสดงวาตอสายไฟไมแนนหรือไมถูกตอง
ใกลเคียงกับแรงดันไฟฟาของ
แรงดันไฟฟา ขั้ว B – โครงแทรกเตอร
แบตเตอรี่

(1) สวิตชกุญแจ (a) จากขั้วบวกที่แบตเตอรี่


9Y1210365ELS0032TH0
สวิตชกุญแจอยูในตําแหนงเปด “ON”
1. บิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนงเปด ON
2. ใชโอหมมิเตอรวัดคาความตานทานระหวางขั้ว B กับขั้ว M
3. หากคาที่วัดไดไมเทากับ 0 แสดงวาหนาสัมผัสระหวางขั้ว B – M ของสวิตชกญ
ุ แจ
ไมถูกตอง
ขั้ว B –
คาความตานทาน 0Ω
ขั้ว M
9Y1210365ELS0033TH0
สวิตชกุญแจอยูในตําแหนงอุนเครื่อง “หัวเผา”
1. บิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนง หัวเผา คางไว
2. ใชโอหมมิเตอรวัดความตานทานระหวางขั้ว B กับขั้ว G1 และวัดความตานทาน
ระหวางขั้ว B กับขั้ว M
3. หากคาที่วัดไดไมเทากับ 0 แสดงวาหนาสัมผัสตางๆ ของสวิตชกญ
ุ แจไมถูกตอง
ขั้ว B –
0Ω
ขั้ว G1
คาความตานทาน
ขั้ว B –
0Ω
ขั้ว M
9Y1210365ELS0034TH0
สวิตชกุญแจอยูในตําแหนงสตารท “สตารท”
1. บิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนง สตารท คางไว
2. ใชโอหมมิเตอรวัดความตานทานระหวางขั้ว B กับขั้ว ST และวัดความตานทาน
ระหวางขั้ว B กับขั้ว M
3. หากคาที่วัดไดไมเทากับ 0 โอหม แสดงวาหนาสัมผัสตางๆ ของสวิตชกญ
ุ แจ
ไมถูกตอง
ขั้ว B –
0Ω
ขั้ว ST
คาความตานทาน
ขั้ว B –
0Ω
ขั้ว M
9Y1210365ELS0035TH0

9-S12
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

[3] หัวเผา
หัวเผา
1. ถอดสายไฟออกจากหัวเผา
2. วัดความตานทานดวยโอหมมิเตอร โดยวัดระหวางขั้วหัวเผากับโครงแทรกเตอร
3. หากคาที่วัดไดเปน 0 โอหม แสดงวาเกิดการลัดวงจรที่สกรูที่ปลายหัวเผาและโครง
4. หากไมไดคาที่กําหนดไว ใหเปลี่ยนหัวเผาใหม
ความตานทานหัวเผา คามาตรฐานที่กําหนด 1.05 ถึง 1.29 Ω
9Y1210365ELS0011TH0

[4] มอเตอรสตารท
แรงเคลือ่ นไฟฟาที่ขั้ว B ของมอเตอรสตารท
1. ใชโวลตมิเตอรวัดแรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้ว B กับโครงถังแทรกเตอร
2. หากแรงเคลื่อนไฟฟาตางจากแรงเคลื่อนไฟฟาแบตเตอรี่ ใหตรวจเช็คสายไฟ
แบตเตอรี่
ใกลเคียงกับแรงดันไฟฟาของ
แรงดันไฟฟา คามาตรฐานที่กําหนด
แบตเตอรี่
9Y1210365ELS0012TH0

การทดสอบมอเตอรสตารท

ขอควรระวัง
• จับยึดมอเตอรสตารทไวใหแนน เพื่อไมใหมอเตอรสตารทเหวี่ยงไปมาขณะทําการ
ทดสอบมอเตอร
1. ถอดสายขั้วลบออกจากขั้วลบที่แบตเตอรี่
2. ถอดสายขั้วบวกออกจากแบตเตอรี่ แลวจึงถอดสายไฟออกจากมอเตอรสตารท
3. ถอดมอเตอรสตารทออกจากเครื่องยนต
4. ถอดสายขั้วตอสายไฟ (2) ออกจากขั้ว C ของมอเตอรสตารท (1)
5. ตอสายไฟจากขั้วตอสายไฟ (2) เขากับขั้วบวกของแบตเตอรี่
6. ตอสายไฟจากตัวเรือนของมอเตอรสตารทเขากับขั้วลบของแบตเตอรี่ไวสักครู
7. ถามอเตอรสตารทไมหมุนใหทําการตรวจเช็คมอเตอรใหม
(1) ขั้ว C (2) ขั้วตอสายไฟ
9Y1210365ELS0013TH0

9-S13
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
การทดสอบสวิตชแมเหล็ก
1. ถอดสายขั้วลบออกจากแบตเตอรี่
2. ถอดสายขัว้ บวกออกจากแบตเตอรี่ แลวจึงถอดสายไฟออกจากขั้ว B ของ
มอเตอรสตารท (4)
3. ถอดมอเตอรสตารทออกจากเครื่องยนต
4. ถอดสายขั้วตอสายไฟ (3) ออกจากขั้ว C ของมอเตอรสตารท (2)
5. ตอสายไฟจากขั้ว S ของมอเตอรสตารท (1) เขากับขั้วบวกของแบตเตอรี่
6. ตอสายไฟจากขั้ว C ของมอเตอรสตารท (2) เขากับขั้วลบของแบตเตอรี่ไวสักครู
7. หากเฟองสตารทไมยืดออกมาใหตรวจเช็คสวิตชแมเหล็ก
หมายเหตุ
• ควรทดสอบเปนชวงเวลาสั้นๆ ประมาณ 3 ถึง 5 วินาที
(1) ขั้ว S (3) ขั้วตอสายไฟ
(2) ขัว้ C (4) ขั้ว B
9Y1210365ELS0036TH0

[5] โซลีนอยดดับเครื่องยนต
การตรวจเช็คการทํางาน
1. ถอดโซลีนอยดดับเครื่องยนต (2) ออกจากปมจายน้ํามัน
2. ตอขั้วตอตามที่แสดงในรูป
• ตอสายไฟจากขั้ว P ผานสวิตช (4) ไปยังขั้วบวกของแบตเตอรี่
• ตอสายไฟจากขั้ว H ผานสวิตช (3) ไปยังขั้วบวกของแบตเตอรี่
• ตอสายไฟจากขั้วลบของแบตเตอรี่ไปยังตัวโซลีนอยดดับเครื่องยนต
3. เมื่อสวิตช (4) อยูในตําแหนงติด ON ตัวผลักจะถูกดันเขาไปอยูตัวโซลีนอยด
จากนั้นดับสวิตช (4) OFF แลวตัวผลักจะออกมา
4. กดสวิตช (3) ใหตดิ จากนั้นกดสวิตช (4) ใหติด ON ตัวผลักจะถูกดึงเขาไปใน
ตัวโซลีนอยด และจะอยูในตําแหนง คาง (HOLDING) หลังจากดับสวิตช OFF (4)
5. หากตัวผลักไมถูกดูดเขาไป แสดงวาโซลีนอยดดับเครื่องยนตทํางานผิดปกติ
ขอสําคัญ
• ในการตรวจเช็ค หามจายกระแสไฟใหขดลวดดึงดูดเกินสองวินาที
(1) ขั้วตอสายไฟ P : ขั้วตอขดลวดตัวดึง
(2) โซลีนอยดดับเครื่องยนต H : ขัว้ ตอขดลวดตัวยึด
(3) สวิตชขดลวดตัวยึด
(4) สวิตชขดลวดตัวดึง
(5) แบตเตอรี่
9Y1210383ELS0007TH0

9-S14
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

[6] ไดชารจ
ถอดไดชารจ
1. ถอดขั้วตอ 2P (3) ออกจากไดชารจหลังจากบิดสวิตชกญ
ุ แจไปที่ตําแหนง OFF
2. ดําเนินการตรวจเช็คดังตอไปนี้
(1) ขั้ว B (3) ขั้วตอ 2P
(2) ไดชารจ
9Y1210365ELS0014TH0

แรงดันไฟฟาที่ขั้วตอสายไฟ
1. บิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนง ปด แลววัดคาแรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้ว B (1)
กับตัวโครงแทรกเตอร
2. บิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนง ON แลววัดคาแรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้ว IG (3)
กับตัวโครงแทรกเตอร
แรงดันไฟฟา ใกลเคียงกับแรงดันไฟฟาของ
ขั้ว B – โครงถังแทรกเตอร
(สวิตชกุญแจอยูที่ OFF) แบตเตอรี่
แรงดันไฟฟา ใกลเคียงกับแรงดันไฟฟาของ
ขั้ว IG – โครงถังแทรกเตอร
(สวิตชกุญแจอยูที่ ON) แบตเตอรี่

(1) ขั้ว B (3) ขั้ว IG


(2) ไดชารจ (4) ขัว้ L
9Y1210365ELS0015TH0
การทดสอบขณะไมมีโหลด
1. บิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนง OFF แลวตอขั้วสายไฟ 2P (6) เขาที่ตําแหนงเดิม
ของไดชารจ
2. ตอสายพวงแบตเตอรี่ (3) ระหวางขั้ว IG (4) กับขั้ว B (2)
3. สตารทเครื่องยนตและเรงไวที่รอบเดินเบา
4. ถอดสายไฟขั้วลบออกจากแบตเตอรี่
5. แลววัดคาแรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้ว B (2) กับตัวโครงแทรกเตอร
6. หากคาที่วัดไดต่ํากวาคามาตรฐานที่กําหนดไว ใหถอดไดชารจออกและตรวจเช็ค
ไอซี เรกกูเลเตอร
แรงดันไฟฟา คามาตรฐานที่กําหนด มากกวา 14 V
(ขอมูลอางอิง)
• ทันทีที่สตารทเครื่องยนต อุณหภูมิของไดชารจจะสูงขึ้นอยางรวดเร็วจนถึง
ประมาณ 70 ถึง 90 °C (158 ถึง 194 °F) เมื่ออุณหภูมิสูงเกิน 50 °C (122 °F)
แรงเคลื่อนไฟฟาของไดชารจจะลดลงอยางชาๆ และเมื่ออุณหภูมิสูงเกิน 100 °C
(212 °F) แรงเคลื่อนไฟฟาจะลดลงประมาณ 1 โวลต
(1) โวลตมิเตอร (4) ขั้ว IG
(2) ขั้ว B (5) ขัว้ L
(3) สายพวงแบตเตอรี่ (6) ขัว้ 2P
9Y1210365ELS0016TH0

9-S15
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

[7] แผงหนาปด
(1) โหมดตั้งคา (เลือกการสลับโหมดแสดงความเร็ว PTO และการเลือกรุนแทรกเตอร)
ขอควรระวัง
• นั่งบนที่นั่งคนขับทุกครั้งทีท่ ํางานกับมิเตอรแผงหนาปด
9Y1210365ELS0038TH0
การแสดงผลบนหนาจอ LCD (โหมดตั้งคา)
การตั้งคาและตรวจเช็คตอไปนี้สามารถดําเนินการผานหนาจอ LCD (1), สวิตช
เลือกมิเตอร PTO/ชั่วโมงการทํางาน (2)
1. โหมดตั้งคา :
ใสขอมูลหลากหลายรูปแบบ (การสลับโหมดแสดงความเร็ว PTO และการเลือกรุน
แทรกเตอร) ใหกบั มิเตอรแผงหนาปด
2. โหมดตรวจเช็ค :
ตรวจเช็คแรงเคลื่อนไฟฟาของอุปกรณตรวจวัดตางๆ (อุปกรณตรวจวัดระดับ
น้ํามันเชื้อเพลิง อุปกรณตรวจวัดอุณหภูมิน้ําระบายความรอน และอุปกรณตรวจ
วัดแรงเคลื่อนไฟฟา (ของแบตเตอรี่)) หรือความเร็วรอบเครื่องยนต
(1) หนาจอ LCD (2) สวิตชเลือกมิเตอร PTO / ชั่วโมงการทํางาน
9Y1210365ELS0039TH0

9-S16
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
การสลับโหมดแสดงความเร็ว PTO (โหมดตั้งคา)
1. ขณะกดสวิตชเลือกมิเตอร PTO/ชั่วโมงการทํางาน (1) ใหบิดสวิตชกุญแจไปที่
ตําแหนงเปด “ON”
รหัสตัวเลขที่ตั้งไวขณะนั้นจะกะพริบ
2. เมือ่ กดสวิตชเลือกมิเตอร PTO/ชั่วโมงการทํางาน (1) แตละครั้ง รหัสจะเปลี่ยน
ตามลําดับดังนี้ [1] → [2] → [3] → [1] เลือกรหัสตัวเลขที่เหมาะสมตาม
ตารางดานลาง
3. กดสวิตชเลือกมิเตอร PTO/ชั่วโมงการทํางาน (1) คางไวใหนานกวา 2 วินาที
การตัง้ คาจะถูกบันทึกลงในหนวยความจํา และหนาจอ LCD (2) จะกลับสูโหมด
แสดงความเร็ว PTO อีกครั้ง
4. บิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนงปด “OFF” เพื่อออก
หมายเหตุ
• การตั้งคาจะถูกยกเลิกหากบิดสวิตชกญ ุ แจไปที่ตําแหนง OFF กลางคัน
รหัสตัวเลข ความเร็ว PTO (นาที-1 (รอบตอนาที))
1 540 (มาตรฐาน)
2 ไมระบุ
3 ไมระบุ

(1) สวิตชเลือกมิเตอร PTO / ชั่วโมงการทํางาน (A) ขั้นตอนในการเริ่มเปลี่ยนโหมดการแสดง


(2) หนาจอ LCD ผลความเร็ว PTO
(B) ขั้นตอนในการเลือกรหัสตัวเลข
(C) ขั้นตอนในการบันทึกลงหนวยความจํา
9Y1210365ELS0040TH0

9-S17
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
การเลือกรุนแทรกเตอร (โหมดตั้งคา)
1. ขณะกดสวิตชเลือกมิเตอร PTO/ชั่วโมงการทํางาน (1) และดัมมี่สวิตช (2)
ใหบิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนงเปด “ON”
รหัสตัวเลขที่ตั้งไวขณะนั้นจะกะพริบ
2. ทุกครั้งที่กดดัมมี่สวิตช (2) รหัสจะเปลี่ยนไปตามลําดับ [3] → [4] → [3]
เลือกรหัสตัวเลขที่เหมาะสมตามตารางดานลาง
3. กดดัมมีส่ วิตช (2) คางไวใหนานกวา 2 วินาที การตั้งคาจะถูกบันทึกลงใน
หนวยความจํา และหนาจอ LCD (3) จะกลับสูโหมดแสดงความเร็ว PTO
หรือโหมดแสดงชั่วโมงการทํางานอีกครั้ง
4. บิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนงปด “OFF” เพื่อออก
หมายเหตุ
• การตั้งคาจะถูกยกเลิกหากบิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนง OFF กลางคัน
รหัสตัวเลข รุนแทรกเตอร
3 M6040SU
4 ไมระบุ

(1) สวิตชเลือกมิเตอร PTO / ชั่วโมงการทํางาน (A) ขั้นตอนในการเขาสูโหมดเลือกรุน


(2) ดัมมี่สวิตช แทรกเตอร
(3) หนาจอ LCD (B) ขั้นตอนในการเลือกรหัสตัวเลข
(C) ขั้นตอนในการบันทึกลงหนวยความจํา
9Y1210383ELS0008TH0

9-S18
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
(2) โหมดตรวจเช็ค
โหมดตรวจเช็ค
1. บิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนงเปด “ON”
2. กดสวิตชเลือกมิเตอร PTO/ชั่วโมงการทํางาน (1) และดัมมีส่ วิตช (2) คางไว
นานกวา 2 วินาที
3. ทุกครั้งที่กดสวิตชเลือกมิเตอร PTO/ชั่วโมงการทํางาน (1) รหัสตัวเลขจะเปลี่ยน
ตามลําดับดังนี้ [1] → [2] → [3] → [4] → [1] และตัวเลขจะกะพริบ รหัสตัวเลข
มีความหมายดังตารางตอไปนี้
4. บิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนงปด “OFF” เพื่อออก
หมายเหตุ
• หากตองการตรวจเช็ครอบของเครื่องยนต ใหเขาสูโหมดตรวจเช็คระหวางเดิน
เครื่องยนต
• เมื่อเขาสูโหมดตรวจเช็คขณะเดินเครื่องยนต รหัสหมายเลข 3 จะแสดงแรง
เคลื่อนไฟฟาที่ไดชารจใชสรางกระแส
ลําดับ สิ่งที่แสดง สภาวะการทํางาน หนวยที่ใชแสดง
แรงดันไฟฟาของอุปกรณตรวจ
1 F ถึง E V
วัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิง
แรงดันไฟฟาของอุปกรณตรวจ −30 ถึง 120 °C
2 V
วัดอุณหภูมิน้ําหลอเย็น (−4 ถึง 248 °F)
3 แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ – V
4 รอบของเครื่องยนต เดินเบาถึงสูงสุด รอบ/นาที

(1) สวิตชเลือกมิเตอร PTO / ชั่วโมงการทํางาน (A) ขั้นตอนในการเขาสูโหมดตรวจเช็ค


(2) ดัมมี่สวิตช (B) ขั้นตอนในการเลือกรหัสตัวเลขรายการ
(3) หนาจอ LCD ตรวจเช็ค
9Y1210365ELS0042TH0

9-S19
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

(3) การตรวจเช็คแผงหนาปดและสวิตชเลือกมิเตอร PTO/ชั่วโมงการทํางาน


ขอควรระวัง
• ใชตัวทดสอบวงจรในการตรวจเช็ควงจรไฟฟาทุกครั้ง
• สําหรับการตรวจเช็คอุปกรณตรวจวัดและสวิตช ใหปฏิบัติตามขัน้ ตอนดังนี้ ตรวจเช็คแบตเตอรี่ ฟวส และสายดินกอน จากนั้น ทําการตรวจเช็ค
การทํางานของมิเตอรแผงหนาปด และตรวจเช็คขัว้ ตอของแผงวงจร หรือสวิตชหรืออุปกรณตรวจวัดอิเล็กทรอนิกสอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
หากพบขอผิดพลาดที่วงจรเหลานั้น ใหตรวจเช็คอุปกรณตรวจวัดหรือสวิตช เพื่อดูวา ขอผิดพลาดเกิดขึ้นที่ฝงอุปกรณตรวจวัดและสวิตช
หรือดานขั้วตอสายไฟ
• หากไมพบขอผิดพลาดทีอ่ ุปกรณตรวจวัด สวิตช และขั้วตอสายไฟ ใหเปลี่ยนมิเตอรแผงหนาปดใหม
ขอสําคัญ
• ขณะตอหรือถอดขั้วตอสายไฟเพื่อทําการตรวจเช็ค อยาลืมบิดสวิตชกุญแจในตําแหนง OFF กอนเสมอ นอกจากนี้ ระวังมิใหขวั้ ไฟฟาสัมผัสกันเอง
หรือสัมผัสกับโครงแทรกเตอรระหวางการตรวจเช็ค
• ขณะตอเข็มทดสอบเขากับขั้วตอสายไฟ ระวังอยาใหขั้วตอเสียหาย
9Y1210365ELS0043TH0
ตรวจเช็คแรงเคลือ่ นไฟฟาของขั้วตอ ความตานทานของอุปกรณตรวจวัด
และการนําไฟฟาของสวิตช
1. ถอดฝาครอบแผงหนาปด ดูที่ “[1] แปนคลัตช” ในหัวขอ “2. คลัตช”
2. ถอดมิเตอรแผงหนาปด (1) ออก
3. ถอดขั้วตอสายไฟ 40P (2) ออกจากมิเตอรแผงหนาปด
4. ตรวจเช็คแรงเคลื่อนไฟฟาหลัก (แรงเคลื่อนไฟฟาของแบตเตอรี่) กอนและตรวจ
เช็คแรงเคลื่อนไฟฟาของขั้วตอสายไฟ, ความตานทานของอุปกรณตรวจวัด
หรือการนําไฟฟาของสวิตช ตามรายการการตรวจเช็คขอผิดพลาดของมิเตอร
แผงหนาปดดังตารางดานลาง
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ขันสกรูยึด มิเตอรแผงหนาปดใหสม่ําเสมอ
(1) แผงหนาปด a: ขั้ว 1 (T1)
(2) ขั้วตอ 40P ดานมิเตอรแผงหนาปด b: ขั้ว 20 (T20)
(3) ขั้วตอ 40P ดานขั้วตอสายไฟ c: ขั้ว 21 (T21)
d: ขั้ว 40 (T40)
9Y1210365ELS0044TH0

9-S20
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
ขั้วตอ (40P) ดานขั้วตอสายไฟ
สีของ
หมายเลขขั้ว ชื่อขั้ว คาที่วัดไดระหวางขั้ว T40 (สายดิน) สภาวะการทํางาน
สายไฟ
T1
T2
T3
T4
T5
T6
T7
T8
T9
สวิตชกุญแจอยูที่ ON และสวิตชเลือกมิเตอร
T10 LG/B สวิตชเลือกมิเตอร PTO / ชั่วโมงการทํางาน แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
PTO/ชั่วโมงการทํางานอยูที่ ON
สวิตชกุญแจอยูที่ ON และสวิตช
T11 L สวิตชเลือกความเร็วในการเดินทาง แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
เลือกความเร็วในการเดินทางอยูที่ ON
แรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่และ 0 โวลต สวิตชกุญแจอยูที่ ON และสวิตชไฟเลี้ยว
T12 R/B สวิตชไฟเลี้ยว (ดานขวา)
(สลับกัน) (ดานขวา) ON
สวิตชกุญแจอยูที่ตําแหนง ON และสวิตช
T13 P/W สวิตช PTO แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
PTO อยูที่ตําแหนง OFF
T14
T15
แรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่และ 0 โวลต สวิตชกุญแจอยูที่ ON และสวิตชไฟเลี้ยว
T16 G/B สวิตชไฟเลี้ยว (ดานซาย)
(สลับกัน) (ดานซาย) ON
ประมาณ 117 Ω ที่ 120 °C (องศาเซลเซียส)
(248 °F (องศาฟาเรนไฮด)) ถึง 5.88 kΩ ที่
T17 W/R สวิตชอุณหภูมิน้ําหลอเย็น สวิตชกุญแจอยูที่ OFF
0 °C (องศาเซลเซียส)
(32 °F (องศาฟาเรนไฮด))
T18 Y อุปกรณตรวจวัดน้ํามันเชื้อเพลิง ประมาณ 3.0 (F) ถึง 112 Ω (E) สวิตชกุญแจอยูที่ OFF
T19 V/W สวิตชเกียร PTO (ตัวเลือกเสริม)
T20 B/W สายดิน (อนาล็อก)
T21 G/W ไฟสองแผงหนาปด แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ สวิตชไฟหนา ON
T22
T23
T24
T25
T26
T27
T28
T29
T30
T31
0Ω สวิตชขบั เคลื่อน 4 ลออยูท ี่ ON
T32 W สวิตชแรงดันน้ํามันเครื่อง
อนันต ขณะเครือ่ งยนตทํางาน
9-S21
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
สีของ
หมายเลขขั้ว ชื่อขั้ว คาทีว่ ัดไดระหวางขั้ว T40 (สายดิน) สภาวะการทํางาน
สายไฟ
T33 W/G ขั้ว L ของไดชารจ ประมาณ 10 โวลต ขณะเครื่องยนตทํางาน
T34
T35
T36 Y/L อุปกรณตรวจวัดรอบเครื่องยนต แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ สวิตชกุญแจอยูที่ ON
T37 R/G สวิตชกุญแจ (ตําแหนง ON) แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ สวิตชกุญแจอยูที่ ON
T38 R/B แรงเคลื่อนไฟฟาหลัก (แบตเตอรี)่ แรงดันไฟฟาแบตเตอรี่
T39
T40 B สายดิน
9Y1210383ELS0009TH0
สวิตชเลือกมิเตอร PTO / ชั่วโมงการทํางาน
1. ตรวจวัดคาความตานทานระหวางขั้ว a และขั้ว c ขณะกดสวิตชเลือกมิเตอร
PTO/ชั่วโมงการทํางาน (1)
2. หากโอหมมิเตอรอานคาได 0 โอหม แสดงวาการทํางานเปนปกติ
3. ตรวจวัดคาความตานทานระหวางขั้ว b และขั้ว c ขณะกดดัมมี่สวิตช (2)
4. หากโอหมมิเตอรอานคาได 0 โอหม แสดงวาการทํางานเปนปกติ
(1) สวิตชเลือกมิเตอร PTO / ชั่วโมงการทํางาน (2) ดัมมี่สวิตช
9Y1210365ELS0046TH0

(4) สวิตชและอุปกรณตรวจวัด
แผงวงจรสวิตชแรงดันน้ํามันเครื่องกับชุดสายไฟ
1. ปลดสายไฟออกจากสวิตชแรงดันน้ํามันเครื่องหลังจากบิดสวิตชกญุ แจไปที่
ตําแหนง OFF
2. บิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนง ON แลวตอสายพวงแบตเตอรี่จากสายไฟไปที่
โครงถังแทรกเตอร
3. หากไฟแสดงสถานะแรงดันน้ํามันเครื่องไมสวาง แสดงวาวงจรไฟฟาของแผง
วงจรหรือชุดสายไฟชํารุด
(1) สวิตชแรงดันน้ํามันเครือ่ ง (a) จากไฟเตือนแรงดันน้ํามันเครื่อง
9Y1210383ELS0010TH0

9-S22
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
การตรวจเช็คอุปกรณตรวจวัดอุณหภูมิน้ําระบายความรอน
1. ถอดขั้วตอสายไฟออกจากอุปกรณตรวจวัดอุณหภูมิน้ําหลอเย็น (1)
2. ใชโอหมมิเตอรวัดความตานทานระหวางขั้ว 1 และขั้ว 2 ของอุปกรณตรวจวัด
อุณหภูมิน้ําหลอเย็น (1)
3. หากไมแสดงการวัดคา แสดงวาอุปกรณตรวจจับสัญญาณชํารุด
ประมาณ 117 Ω ที่ 120 °C (248 °F)
ความตานทาน ประมาณ 189 Ω ที่ 100 °C (212 °F)
คาสําหรับ
(ขั้วของอุปกรณ ประมาณ 290 ถึง 354 Ω ที่ 80 °C (176 °F)
อางอิง
ตรวจวัดขัว้ 1 – ขั้ว 2) ประมาณ 808 Ω ที่ 50 °C (122 °F)
ประมาณ 2.21 ถึง 2.69 kΩ ที่ 20 °C (68 °F)

(1) อุปกรณตรวจวัดอุณหภูมิน้ําหลอเย็น
9Y1210383ELS0011TH0
สวิตช PTO
1) สายไฟ
1. ถอดสายไฟออกจากสวิตช PTO (1)
2. ตอขั้วตอสายไฟเขาดวยกันและบิดสวิตชกญุ แจไปที่ตําแหนง “ON”
3. หากไฟแสดงสถานะไมสวาง แสดงวาฟวส ขั้วตอสายไฟ หรือหลอดไฟชํารุด
2) การนําไฟฟาของสวิตช PTO
1. ใชโอหมมิเตอรตรวจเช็คการนําไฟฟาระหวางขั้วสวิตช
2. หากไมมีการนําไฟฟาเกิดขึ้น หรือไมสามารถอานคาใดๆ ไดหลังกดสวิตช
แสดงวาสวิตชชํารุด
3. หากปลอยสวิตชแลวคาที่อานไดไมเปนอนันต แสดงวาสวิตชชํารุด
คาความตานทาน คาสําหรับ เมื่อกดสวิตช (P) 0Ω
(ระหวางขั้วสวิตช) อางอิง เมื่อปลอยสวิตช (R) อนันต

(1) สวิตช PTO P : กดสวิตช


R : ปลอยสวิตช
9Y1210365ELS0048TH0

9-S23
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
สวิตชเกียรวาง
1) การนําไฟฟาของสวิตชเเกียรวาง
1. ใชโอหมมิเตอรตรวจเช็คการนําไฟฟาระหวางขั้วสวิตช
2. ปรับสภาพการนําไฟฟาโดยใชปะเก็นที่มีความหนาแตกตางกัน (2)
3. หากไมมกี ารนําไฟฟาเกิดขึ้น หรือไมสามารถอานคาใดๆ ไดหลังกดสวิตช
แสดงวาสวิตชชํารุด
4. หากปลอยสวิตชแลวคาที่อานไดไมเปนอนันต แสดงวาสวิตชชํารุด
คาความตานทาน คาสําหรับ เมื่อกดสวิตช (P) 0Ω
(ระหวางขั้วสวิตช) อางอิง เมื่อปลอยสวิตช (R) อนันต
(ขอมูลอางอิง)
• ความหนาของปะเก็น (2)
1.0 มม. (0.039 นิ้ว) : 6A320-42750
1.5 มม. (0.059 นิ้ว) : 17105-33680
(1) สวิตชเกียรวาง P : กดสวิตช
(2) ปะเก็น R : ปลอยสวิตช
(3) แหวนรองยาง
9Y1210365ELS0049TH0

การตรวจเช็คอุปกรณตรวจวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิงในถังน้ํามัน
1. ถอดอุปกรณตรวจวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิงในถังน้ํามันออกจากถังน้ํามันเชื้อเพลิง
2. ใชโอหมมิเตอรวัดคาความตานทานระหวางขั้ว a กับขั้ว b
3. หากไมแสดงการวัดคา แสดงวาอุปกรณตรวจจับสัญญาณชํารุด
ตําแหนงสูงสุดของ
ความตานทาน 3.0 ถึง 5.0 Ω
คามาตรฐานที่ ลูกลอย
(ขั้วของอุปกรณตรวจ
กําหนด ตําแหนงต่ําสุดของ
วัดขั้ว a – ขั้ว b) 107.5 ถึง 112.5 Ω
ลูกลอย

(1) ระบบน้ํามันเชื้อเพลิง (A) ตําแหนงสูงสุดของลูกลอย


(B) ตําแหนงต่ําสุดของลูกลอย
a: ขั้ว 1
b: ขั้ว 2
9Y1210365ELS0050TH0

9-S24
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
อุปกรณตรวจวัดความเร็วรอบเครื่องยนต
1. ตรวจเช็คหนาปดแสดงความเร็วรอบเครื่องยนต
2. หากมีขอมูลความเร็วรอบเครื่องยนตแสดงอยูบนมิเตอรแผงหนาปด แสดงวา
ไมมปี ญหา
หมายเหตุ
• เซนเซอรวัดความเร็วเครื่องยนตไมไดตรวจเช็คดวยอุปกรณทดสอบวงจร
(1) อุปกรณตรวจวัดความเร็วรอบเครื่องยนต
9Y1210383ELS0019TH0

[8] สวิตชไฟสองสวางและชุดไฟกะพริบ
(1) สวิตชไฟรวม
การตรวจเช็คแรงเคลื่อนไฟฟาของขั้วตอ
1. ถอดขั้วตอไฟฟาของสวิตชไฟรวม
2. ใชโวลตมิเตอรวัดแรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้วตอสายไฟ B1 กับโครงแทรกเตอร
จากนั้น วัดระหวางขั้ว B2 กับโครงแทรกเตอร
3. หากคาแรงเคลื่อนไฟฟาตางจากแรงเคลื่อนไฟฟาของแบตเตอรี่ แสดงวาสายไฟ
ฟวส หรือสวิตชกุญแจชํารุด
สวิตชกุญแจอยูที่
ขั้ว B1 – โครงแทรกเตอร
“ON” ใกลเคียงกับแรงดัน
แรงดันไฟฟา
สวิตชกุญแจอยูที่ ไฟฟาของแบตเตอรี่
ขั้ว B2 – โครงแทรกเตอร
“OFF”

(1) สวิตชไฟรวม (2) ขั้วตอสวิตชไฟรวม (ดานชุดสายไฟ)


9Y1210383ELS0012TH0

9-S25
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
การตรวจเช็คสวิตชไฟสองสวางและสวิตชไฟเลี้ยว
1. ทดสอบการนําไฟฟาของสวิตชตางๆ ดวยโอหมมิเตอร

(1) สวิตชไฟเลี้ยว (a) เลี้ยวขวา


(2) สวิตชไฟรวม (b) OFF
(3) สวิตชแตร (c) เลี้ยวซาย
(3) สวิตชไฟสองสวาง (d) OFF
(4) ขั้วตอสวิตชไฟรวม (ดานสวิตช) (e) ไฟหนา (ต่ํา)
(f) ไฟหนา (สูง)
(g) อิสระ
(f) กด
9Y1210383ELS0013TH0

(2) สวิตชไฟฉุกเฉิน
การตรวจเช็คแรงเคลื่อนไฟฟาของขั้วตอ
1. เชื่อมสายไฟขั้วลบของแบตเตอรี่ จากนั้นใชโวลตมิเตอรวัดแรงเคลื่อนไฟฟา
ระหวางขั้ว a และโครงแทรกเตอร
2. หากแรงดันไฟฟาไมเทากับแรงดันไฟฟาของแบตเตอรี่ แสดงวาขั้วตอสายไฟชํารุด
ใกลเคียงกับแรงดันไฟฟาของ
แรงดันไฟฟา ขั้ว a – โครงแทรกเตอร
แบตเตอรี่

(1) สวิตชไฟฉุกเฉิน (2) ขั้ว 6P (ดานขั้วตอสายไฟ)


9Y1210365ELS0054TH0

9-S26
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
การตรวจเช็คการนําไฟฟาของสวิตชไฟฉุกเฉิน
1. ใชโอหมมิเตอรวัดความตานทานระหวางขั้ว a กับขั้ว c และวัดความตานทาน
ระหวางขั้ว d กับขั้ว e
2. หากคาที่วัดไดไมเปนดังตารางดานลาง แสดงวาสวิตชไฟฉุกเฉินหรือหลอดไฟ
ชํารุด
คาความตานทาน ขั้ว a –
อนันต
(สวิตชอยูที่ OFF) ขั้ว c
คาความตานทาน ขั้ว a –
0Ω
(สวิตชอยูที่ ON) ขั้ว c
คาความตานทาน ขั้ว d –
ประมาณ 13 Ω
(หลอดไฟ) ขั้ว e

(1) สวิตชไฟฉุกเฉิน (2) หลอดไฟ


9Y1210365ELS0055TH0

(3) ชุดไฟกะพริบ
แรงเคลือ่ นไฟฟาที่ขั้วตอชุดไฟกะพริบ
1. ถอดขั้วตอ (2) ออกจากชุดไฟกะพริบ (1) หลังจากถอดขั้วลบออกจากแบตเตอรี่
2. ตอสายไฟขั้วลบเขากับของแบตเตอรี่ จากนั้นใชโวลตมิเตอรวัดแรงเคลื่อนไฟฟา
ระหวางขั้ว B และขั้ว E
3. หากคาแรงเคลื่อนไฟฟาตางจากแรงเคลื่อนไฟฟาของแบตเตอรี่ แสดงวาสวิตช
กุญแจ ฟวส หรือสายไฟชํารุด
ใกลเคียงกับแรงดันไฟฟาของ
แรงดันไฟฟา ขั้ว B – ขั้ว E
แบตเตอรี่
Q การทดสอบการทํางานของชุดไฟกะพริบ
1. ตั้งสวิตชไฟฉุกเฉินไปที่ตําแหนง ON และตรวจเช็คใหแนใจวาไฟฉุกเฉินกะพริบ
เปนจํานวน 60 ถึง 120 ครั้งตอนาที
2. บิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนง ON และเปดสวิตชไฟเลี้ยวดานซาย ตรวจดูวา
สวิตชไฟดานซายกะพริบ จากนั้น ยายไปเปดสัญญาณไฟดานขวา และตรวจดูวา
ไฟดานขวากะพริบปกติดี ตรวจดูวาไฟกะพริบไดตามจํานวนที่ระบุในขอที่แลว
3. หากสวิตชไฟฉุกเฉินและสวิตชไฟเลี้ยวสวาง แตไมกะพริบตามที่กลาวมาขางตน
ใหเปลี่ยนชุดไฟกะพริบใหม
(1) ชุดไฟกะพริบ (a) จากขั้ว B ของสวิตชกุญแจ
(2) ขั้วตอสายไฟ (ชุดสายไฟ)
9Y1210383ELS0014TH0

9-S27
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
(4) สวิตชเบรก
สวิตชไฟเบรก
1) สายไฟ
1. ถอดสายไฟออกจากสวิตชไฟเบรก (1)
2. ตอขั้วตอสายไฟเขาดวยกันและบิดสวิตชกุญแจไปที่ตําแหนงเปด
3. หากไฟเบรกไมสวาง แสดงวาฟวส ขั้วตอสายไฟ หรือหลอดไฟชํารุด
2) การนําไฟฟาของสวิตชไฟเบรก
1. ตองตรวจเช็ควากลไกแปนเบรกทํางานเมื่อกดสวิตชหรือไม
2. ใชโอหมมิเตอรตรวจเช็คการนําไฟฟาระหวางขั้วสวิตช
3. หากไมมกี ารนําไฟฟาเกิดขึ้น หรือไมสามารถอานคาใดๆ ไดหลังกดสวิตช
แสดงวาสวิตชชํารุด
4. หากปลอยสวิตชแลวคาที่อานไดไมเปนอนันต แสดงวาสวิตชชํารุด
คาความตานทาน คาสําหรับ เมื่อกดสวิตช 0Ω
(ระหวางขั้วสวิตช) อางอิง เมื่อปลอยสวิตช อนันต

(1) สวิตชไฟเบรก
9Y1210383ELS0018TH0

[9] รีเลย
(1) รีเลยมอเตอรสตารท
การตรวจเช็คแรงเคลื่อนไฟฟาของขั้วตอ
1. ใชโวลตมเิ ตอรวัดแรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้วแบตเตอรี่กบั ตัวโครงแทรกเตอร
ตามตารางดานลาง
2. หากแรงเคลื่อนไฟฟาไมเทากับแรงเคลื่อนไฟฟาของแบตเตอรี่ แสดงวาขั้วตอ
สายไฟหรือฟวสชํารุด
ใกลเคียงกับแรงดันไฟฟาของ
รีเลยมอเตอรสตารท ขั้ว d – โครงแทรกเตอร
แบตเตอรี่
ใกลเคียงกับแรงดันไฟฟาของ
รีเลยหัวเผา ขั้ว c – โครงแทรกเตอร
แบตเตอรี่

(1) รีเลยมอเตอรสตารท (2) ขั้วตอสายไฟ (ชุดสายไฟ)


9Y1210383ELS0015TH0

9-S28
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
การตรวจเช็คการทํางาน
หมายเหตุ
• รีเลยที่กลาวในที่นี้ใชรีเลยแบบเดียวกันหมด ดังนั้น รีเลยเหลานี้จึงสามารถใช
แทนกันได
1. เดินแรงเคลื่อนไฟฟาดวยแบตเตอรี่เขาระหวางขั้ว c และขั้ว d จากนั้นตรวจเช็ค
การนําไฟฟาระหวางขั้ว a และขั้ว b
2. หากไมมีการนําไฟฟาระหวางขั้ว a และขั้ว b ใหเปลี่ยนรีเลยใหม
(1) ขั้วตอสายไฟ (รีเลย) (2) แบตเตอรี่
9Y1210365ELS0059TH0

9-S29
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

(2) รีเลย (นิรภัย PTO, กุญแจดับเครือ่ ง และอื่นๆ)


การตรวจเช็คแรงเคลื่อนไฟฟาของขั้วตอ
1. ใชโวลตมเิ ตอรวัดแรงเคลื่อนไฟฟาระหวางขั้วแบตเตอรี่กบั ตัวโครงแทรกเตอร
ตามตารางดานลาง
2. หากแรงเคลื่อนไฟฟาไมเทากับแรงเคลื่อนไฟฟาของแบตเตอรี่ แสดงวาขั้วตอ
สายไฟหรือฟวสชํารุด
หมายเหตุ
• ตองแนใจวาไดใชรีเลย 5 ขั้วสําหรับรีเลยนิรภัย PTO (1) และรีเลยไฟฉุกเฉิน (7)
• สวนรีเลยอื่นๆ (2), (3), (4), (5) และ (6) สามารถใชไดทั้งรีเลย 4 ขั้วและรีเลย 5 ขั้ว
• สีของรีเลยจะเปนสีเขียวหรือสีดํา ทั้งรีเลย 4 ขัว้ และรีเลย 5 ขั้ว
รีเลยนิรภัย PTO (สวิตชกุญแจ
ใกลเคียงกับแรงดันไฟฟาของ
อยูที่ตําแหนง ON และคันเกียร ขั้ว c – โครงแทรกเตอร
แบตเตอรี่
PTO อยูที่ตําแหนง OFF)
รีเลยกุญแจดับเครื่องยนต
ใกลเคียงกับแรงดันไฟฟาของ
(สวิตชกุญแจอยูท ี่ตําแหนง ขั้ว e – โครงแทรกเตอร
แบตเตอรี่
OFF)
รีเลยไฟหนา (ไฟต่ํา)
ใกลเคียงกับแรงดันไฟฟาของ
(สวิตชกุญแจอยูท ี่ตําแหนง ขั้ว d – โครงแทรกเตอร
แบตเตอรี่
OFF)
รีเลยไฟหนา (ไฟสูง)
ใกลเคียงกับแรงดันไฟฟาของ
(สวิตชกุญแจอยูท ี่ตําแหนง ขั้ว d – โครงแทรกเตอร
แบตเตอรี่
OFF)
รีเลยไฟกะพริบดานซาย
ใกลเคียงกับแรงดันไฟฟาของ
(สวิตชกุญแจอยูท ี่ตําแหนง ขั้ว c – โครงแทรกเตอร
แบตเตอรี่
OFF)
รีเลยไฟกะพริบดานขวา
ใกลเคียงกับแรงดันไฟฟาของ
(สวิตชกุญแจอยูท ี่ตําแหนง ขั้ว c – โครงแทรกเตอร
แบตเตอรี่
OFF)
รีเลยไฟฉุกเฉิน
ใกลเคียงกับแรงดันไฟฟาของ
(สวิตชกุญแจอยูท ี่ตําแหนง ขั้ว c – โครงแทรกเตอร
แบตเตอรี่
OFF)

(1) รีเลยนิรภัย PTO (สีเขียว : แบบ 5 ขั้ว) (5) รีเลยไฟกะพริบดานซาย


(2) รีเลยกุญแจดับเครือ่ ง (6) รีเลยไฟกะพริบดานขวา
(3) รีเลยไฟหนา (ไฟต่ํา) (7) รีเลยไฟฉุกเฉิน (สีเขียว : แบบ 5 ขั้ว)
(4) รีเลยไฟหนา (ไฟสูง) (8) ตัวยึดรีเลย
9Y1210383ELS0016TH0

9-S30
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
การตรวจเช็คการทํางาน
1. เดินแรงเคลื่อนไฟฟาดวยแบตเตอรี่เขาระหวางขั้ว a และขั้ว c จากนั้น ตรวจเช็ค
การนําไฟฟาระหวางขั้ว d - e และขั้ว b - d
2. หากไมมีการนําไฟฟาระหวางขั้ว d และขั้ว e ใหเปลี่ยนรีเลยใหม

(1) แบตเตอรี่ [A] แบบ 5 ขั้ว


(2) ขั้วตอสายไฟ (รีเลย) [B] แบบ 4 ขั้ว
9Y1210383ELS0017TH0

9-S31
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

5. การถอดและการประกอบ
[1] มอเตอรสตารท
การถอดมอเตอร
1. ปลดสายขั้วตอสายไฟ (9) ออกจากสวิตชแมเหล็ก (8)
2. ถอดสกรู (6) จากนั้น ถอดแยกฝาปดทาย (4), เปลือกทุน (2) และทุนอารเมจอร (1)
3. ถอดสกรู 2 ตัว (5) ออก แลวถอดตัวยึดแปรงถาย (3) ออกจากฝาปดทาย (4)
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีที่รองฟน “A” ของทุนอารเมจอร (1)
• ทาน้ํายาทาปะเก็น (ทรีบอนด 1211 หรือเทียบเทา) ลงบนผิวหนาขอตอของมอเตอร
สตารทและเสื้อคลัตช
(1) ทุนอารเมจอร (7) นอต
(2) เปลือกทุน (8) สวิตชแมเหล็ก
(3) ตัวยึดแปรงถาน (9) ขั้วตอสายไฟ
(4) ฝาปดทาย
(5) สกรู A : รองฟน
(6) สกรู
9Y1210365ELS0018TH0
การถอดแยกสวิตชแมเหล็ก
1. ถอดสกรูยึดเสื้อครอบเฟอง (1) ออก
2. ถอดคลัตชทางเดียว (2), ลูกปน (3), สปริง (4), เฟอง (5), ลูกกลิ้ง (6) และตัวยึด (7)
ออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
• ทาจาระบีที่ฟนเฟอง (5) แลวคลัตชทางเดียว (2) และลูกปน (3)
(1) เสื้อครอบเฟอง (5) เฟอง
(2) คลัตชทางเดียว (6) ลูกกลิ้ง
(3) ลูกปน (7) ตัวยึด
(4) สปริง
WSM000001ELS0021TH0
ตัวผลัก
1. ถอดฝาครอบทาย (1)
2. ถอดตัวผลัก (2) ออก
(1) ฝาครอบทาย (2) ตัวผลัก
WSM000001ELS0022TH0

9-S32
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

[2] ไดชารจ
มูเล
1. ยึดดานปลายทรงหกเหลี่ยมของแกนพูเลยดวยประแจปากตาย (Double-ended
ratchet) ตามที่แสดงในรูป คลายนอตยึดพูเลยดวยประแจกระบอก แลวถอดออก
(เมื่อทําการประกอบกลับ)
58.4 ถึง 78.9 นิวตัน·เมตร
คาแรงขัน นอตยึดพูเลย 5.95 ถึง 8.05 กิโลกรัมแรง·เมตร
43.1 ถึง 58.2 ปอนดแรง·ฟุต
9Y1210365ELS0019TH0

ฝาปดทาย
1. ถอดสกรูยึดฝาปดทายสามตัวออก แลวถอดนอตยึดขั้ว B จากนั้น ถอดฝาปดทาย
ออก
WSM000001ELS0024TH0

ตัวยึดแปรงถาน
1. ถอดสกรูสองตัวที่ยึดตัวยึดแปรงถาน แลวถอดตัวยึดแปรงถาน (1) ออก
(1) ตัวยึดแปรงถาน
WSM000001ELS0025TH0

ไอซีเรกกูเลเตอร
1. ถอดสกรูสามตัวที่ยึดไอซี เรกกูเลเตอร แลวถอดไอซี เรกกูเลเตอร (1) ออก
(1) ไอซี เรกกูเลเตอร
WSM000001ELS0026TH0

เรคติไฟเออร
1. ถอดสกรูสี่ตัวที่ยึดเรคติไฟเออรและสายไฟสเตเตอร
2. ถอดเรคติไฟเออร (1)
(1) เรคติไฟเออร
WSM000001ELS0027TH0

9-S33
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
โครงสวนทาย
1. ถอดนอตสองตัวและสกรูสองตัวที่ยึดเสื้อครอบเฟองและโครงสวนทาย
2. ถอดโครงสวนทาย (1) ออก
(1) โครงสวนทาย
WSM000001ELS0028TH0

โรเตอร
1. ตอกโรเตอร (1) ออกจากเสื้อครอบเฟอง (3)
ขอสําคัญ
• ระมัดระวังเปนพิเศษไมใหโรเตอรตกหลน และไมทําใหแหวนแยกหรือพัดลม
ชํารุดเสียหาย
(1) โรเตอร (3) เสือ้ ครอบเฟอง
(2) บล็อก
WSM000001ELS0029TH0
แผนยึด
1. ถอดสกรูสี่ตัวที่ยึดแผนยึด แลวถอดแผนยึด (1) ออก
(1) แผนยึด
WSM000001ELS0030TH0

ลูกปนทีด่ านเสื้อครอบเฟอง
1. ตอกลูกปนออกจากเสื้อครอบเฟอง (3) ดวยแทนกด (1)
(1) แทนกด (3) เสือ้ ครอบเฟอง
(2) บล็อก
WSM000001ELS0031TH0

ตลับลูกปนดานแหวนแยก
1. ประคองโรเตอร (1) ดวยปากกาจับชิ้นงานอยางเบาๆ เพื่อปองกันความเสียหาย
และถอดตลับลูกปน (2) ดวยเหล็กดูด (3)
(1) โรเตอร (3) เหล็กดูด
(2) ลูกปน
WSM000001ELS0032TH0

9-S34
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา

6. การดูแลตรวจสอบ
[1] มอเตอรสตารท
คลัตชทางเดียว
1. ตรวจเช็ครอยสึกหรอหรือชํารุดของฟนเฟอง
2. หากพบวาชํารุดใหเปลี่ยนชุดคลัตชทางเดียว
3. ตรวจเช็ควาเฟองหมุนไดอิสระ และคลองตัวในทิศทางการหมุนขบและไมลื่นไถล
ในทิศทางการหมุนของเครื่องยนต
4. ถาเฟองลื่นไถลหรือไมหมุนในทั้งสองทิศทางใหเปลี่ยนชุดคลัตชทางเดียว
WSM000001ELS0033TH0

คอมมิวเตเตอรและไมกา
1. ตรวจเช็คความสึกหรอบนหนาสัมผัสของคอมมิวเตเตอร ถาผิวของคอมมิวเตเตอร
สึกหรอเล็กนอย ใหขัดดวยกระดาษทราย
2. วัดความโตภายนอกหลายๆ จุดโดยใชไมโครมิเตอรภายนอก
3. หากความโตภายนอกที่วัดไดนอยกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนทุนใหม
4. ถาความโตภายนอกมีความแตกตางกันมากกวาคาที่ยอมได ใหปรับความโต
ภายนอกโดยการปาดผิวใหอยูภายในคาที่ไดดังตารางขางลาง
5. วัดความลึกของรองไมกา
6. ถาความลึกนอยกวาคาที่ยอมไดใหแกไขโดยใชใบเลื่อยเซาะรองและลบคมที่ขอบ
ชองของคอมมิวเตเตอร
30.0 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ความโตภายนอกของ 1.18 นิ้ว
คอมมิวเตเตอร 29.0 มม.
คาที่ยอมได
1.14 นิ้ว

ต่ํากวา
คามาตรฐานที่กําหนด 0.02 มม.
ความตางของความโตภายนอก 0.0008 นิ้ว
0.05 มม.
คาที่ยอมได
0.0020 นิ้ว

0.50 ถึง 0.80 มม.


คามาตรฐานที่กําหนด
0.020 ถึง 0.031 นิ้ว
ความลึกของรองไมกา
0.2 มม.
คาที่ยอมได
0.008 นิ้ว

(1) ชองของคอมมิวเตเตอร (a) ถูกตอง


(2) ความลึกของรอง (b) ไมถกู ตอง
(3) ไมกา
9Y1210365ELS0020TH0

9-S35
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
ความสึกหรอของแปรงถาน
1. ถาหนาสัมผัสของแปรงถานสกปรกหรือไมเรียบ ใหทําความสะอาดและขัดดวย
กระดาษทราย
2. วัดความยาวของแปรงถาน (A) ดวยเวอรเนียแคลิปเปอร
3. ถาความยาวของแปรงถานนอยกวาคาที่กําหนด ใหเปลี่ยนชุดเปลือกทุนและตัวยึด
แปรงถาน
15.0 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
0.591 นิ้ว
ความยาวแปรงถาน (A)
11.0 มม.
คาที่ยอมได
0.433 นิ้ว
9Y1210365ELS0021TH0
ตัวยึดแปรงถาน
1. ใชโอหมมิเตอรตรวจเช็ควาตัวยึดแปรงถานและตัวยึดแปรงถานมีการนําไฟฟาถึงกัน
หรือไม
2. หากมีการนําไฟฟา ใหเปลี่ยนตัวยึดแปรงถานใหม
9Y1210365ELS0022TH0

ขดลวดทุนอารเมเจอร
1. ใชโอหมมิเตอรตรวจเช็ควาคอมมิวเตเตอรและแกนขดลวดทุนอารเมเจอรมีการนํา
ไฟฟาถึงกันหรือไม
2. หากมีการนําไฟฟา ใหเปลี่ยนทุนอารเมเจอรใหม
3. ใชโอหมมิเตอรตรวจเช็ควาแตละชวงของคอมมิวเตเตอรมกี ารนําไฟฟาถึงกันหรือไม
4. หากไมมกี ารนําไฟฟา ใหเปลี่ยนทุนอารเมเจอรใหม
คอมมิวเตเตอร –
อนันต
คาความตานทาน แกนขดลวดทุนอารเมเจอร
ชองคอมมิวเตเตอร 0Ω
9Y1210365ELS0023TH0

9-S36
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
ขดลวดสนาม
1. ใชโอหมมิเตอรตรวจเช็ควาสายไฟ (1) และแปรงถาน (2) มีการนําไฟฟาถึงกัน
หรือไม
2. หากไมมีการนําไฟฟา ใหเปลี่ยนชุดเปลือกทุนใหม
3. ใชโอหมมิเตอรตรวจเช็ควาแปรงถาน (2) และเปลือกทุน (3) เชื่อมตอถึงกันหรือไม
4. ถาเชื่อมตอถึงกันใหเปลี่ยนชุดเปลือกทุนใหม
สายไฟ (1) – แปรงถาน (2) 0Ω
คาความตานทาน แปรงถาน (2) – เปลือกทุน
อนันต
(3)

(1) สายไฟ (3) เปลือกทุน


(2) แปรงถาน
9Y1210365ELS0024TH0

[2] ไดชารจ
ลูกปน
1. ตรวจเช็คความคลองตัวในการหมุน
2. ถาหมุนไมคลองตัว ใหเปลี่ยนใหม
WSM000001ELS0039TH0

สเตเตอร
1. ใชโอหมมิเตอรวัดคาความตานทานระหวางขั้วสายไฟของขดลวดสเตเตอรแตละ
ขั้ว
2. หากคาที่วัดไดไมอยูในคาที่กําหนด ใหเปลี่ยนสเตเตอรใหม
3. ใชโอหมมิเตอรตรวจเช็ควา สายไฟขดลวดสเตเตอรและแกนไดชารจ มีการนํา
ไฟฟาถึงกันหรือไม
4. หากไมไดคาอนันต ใหเปลี่ยนใหม
คาความตานทาน คามาตรฐานที่กําหนด นอยกวา 1.0 Ω
9Y1210365ELS0025TH0
โรเตอร
1. ใชโอหมมิเตอรวัดคาความตานทานระหวางแหวนแยกทั้ง 2 ตัว
2. หากคาที่วัดไดไมอยูในคาที่กําหนด ใหเปลี่ยนใหม
3. ใชโอหมมิเตอรตรวจเช็ควาแหวนแยกและแกนไดชารจมีการนําไฟฟาถึงกันหรือไม
4. หากไมไดคาอนันต ใหเปลี่ยนใหม
คาความตานทาน คามาตรฐานที่กําหนด 2.9 Ω
9Y1210365ELS0026TH0

9-S37
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
แหวนแยก
1. ตรวจเช็ครอยขีดขวนบนแหวนแยก
2. หากมีรอย ใหขัดดวยกระดาษทรายหรือกลึงใหม
3. วัดความโตภายนอกของแหวนแยกดวยเวอรเนียรแคลิปเปอร
4. หากคาที่วัดไดนอยกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนใหม
14.4 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
ความโตภายนอกของ 0.567 นิ้ว
แหวนแยก 12.8 มม.
คาที่ยอมได
0.504 นิ้ว
9Y1210365ELS0027TH0
ความสึกหรอของแปรงถาน
1. วัดความยาวของแปรงถานดวยเวอรเนียแคลิปเปอร
2. หากคาที่วัดไดนอยกวาคาที่ยอมได ใหเปลี่ยนออก
3. ตองแนใจวาแปรงถานเลื่อนไดคลองตัว
4. ถาพบวาเสียหายใหเปลี่ยนแปรงถานใหม
10.5 มม.
คามาตรฐานที่กําหนด
0.413 นิ้ว
ความยาวแปรงถาน
8.4 มม.
คาที่ยอมได
0.33 นิ้ว
9Y1210365ELS0028TH0
เรคติไฟเออร
1. ตรวจเช็ควาระหวางไดโอดแตละตัวของเรคติไฟเออรเร็กทิไฟเออรมีการนําไฟฟา
ถึงกันหรือไม ดวยโอหมมิเตอรแบบอนาล็อก ทําการทดสอบในคา (R x 1)
2. ถากระแสไฟสามารถไหลผานไดโอดในเรคติไฟเออรไดในทิศทางหนึ่ง
และไมสามารถไหลผานไดในทิศทางตรงกันขาม แสดงวาชุดแปลงไฟทํางาน
เปนปกติ
ขอสําคัญ
• หามใชเครื่องวัด Megger ขนาด 500 โวลต ในการวัด เพราะเครื่องวัดดังกลาว
จะทําใหเรคติไฟเออรชํารุดเสียหาย
หมายเหตุ
• หามใชมัลติมิเตอรระบบดิจิตอลอัตโนมัติ เพราะเปนการยากตอการตรวจสอบ
การนําไฟฟาของเรคติไฟเออรหากใชเครื่องมือดังกลาว
WSM000001ELS0044TH0

9-S38
M6040DT-SU, WSM ระบบไฟฟา
ไอซีเรกกูเลเตอร
1. ใชโอหมมิเตอรแบบอนาล็อกตรวจเช็คการนําไฟฟาระหวางขั้ว B และขั้ว F
ของไอซีเรกกูเลเตอร ทําการทดสอบในคา (R x 1)
2. ถากระแสไฟสามารถไหลผานไอซีเรกกูเลเตอรไดในทิศทางหนึ่ง และไมสามารถ
ไหลผานไดในทิศทางตรงกันขาม แสดงวาไอซีเรกกูเลเตอรทํางานเปนปกติ
ขอสําคัญ
• หามใชเครื่องวัด Megger ขนาด 500 โวลต ในการวัด เพราะเครื่องวัดดังกลาว
จะทําใหไอซีเรกกูเลเตอรชํารุดเสียหาย
หมายเหตุ
• หามใชมัลติมิเตอรระบบดิจิตอลอัตโนมัติ เพราะเปนการยากตอการตรวจสอบ
การนําไฟฟาของไอซีเรกกูเลเตอรหากใชเครื่องมือดังกลาว
WSM000001ELS0045TH0

9-S39

You might also like