You are on page 1of 19

97

บทที่ 6
แรงปฏิกิริยาและฐานรองรับ

6.1 ความนา
การวิเคราะห์เพื่อการออกแบบ หาขนาดและความแข็งแรงของโครงสร้างอาคาร จะต้องอาศัย
การกาหนดสัญลักษณ์แทนชิ้นส่วนโครงสร้าง จากชิ้นส่วนจริงโครงสร้างทุกประเภทจะต้องมีที่รองรับที่
เหมาะสม เพื่อให้โครงสร้างนั้นเกิดการสมดุล

6.2 สัญลักษณ์ของแรงปฏิกิริยา
ในโครงสร้างจริงจุดต่อและจุดที่รองรับมีด้วยกันหลายรูปแบบ เมื่อเขียนออกมาเ พื่อการคานวณ
จะต้องมีรูปแบบ สัญลักษณ์และเครื่องหมายเฉพาะโครงสร้างโดยทั่วไปมีที่รองรับอยู่ 3 แบบคือ
6.2.1 แบบยึดหมุน (Hinge) ที่รองรับแบบนี้ จะไม่มีการเคลื่อนที่การทางานคล้ายบานพับ คือ
หมุนได้รอบแกน ค่าของโมเมนต์ที่จุดนี้มีค่าเป็นศูนย์ สามารถจะรับแรงได้ทั้งแนวดิ่งและแนวนอน มี
แรงปฏิกิริยาเกิดขึ้น2ทางดูตามรูปที่ 6.1 ก และ ข

(ก) (ข)

รูปที่ 6.1 ก และ ข

6.2.2 แบบหมุนและเคลี่อนที่ได้ทางเดียว (Roller Support) เป็นที่รองรับ ไม่สามารถรับโมเมนต์


ดัดได้ ที่หมุนได้ ที่รองรับชนิดนี้สามารถหาแรงได้ตามแนวดิ่งอย่างเดียว มีแรงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในแนว
วิง่ ดูตามรูปที่ 6.2 ก และ ข
98

รูปที่ 6.2 ก และ ข

6.2.3 แบบยึดแน่น (Fixed support) ที่รองรับแบบนี้จะยึดแน่นอยู่กับที่ไม่สามารถหมุนได้ไม่


สามารถเคลื่อนที่ จึงเกิดมีปฏิกิริยาทุกทางและโมเมนต์ของจุดนี้ไม่เท่ากับศูนย์ ดูตามรูปที่ 6.3 ก และ ข

รูปที่ 6.3 ก และ ข

6.3 ชนิดของคาน
99

ชนิดของคานแบ่งตามที่รองรับได้ดังนี้
6.3.1 คานอย่างง่าย (Simple beam) เป็นคานช่วงเดียวมีที่รองรับ (Support) เป็นแบบ Hinge
และแบบ Roller เมื่อมีน้าหนักภายนอกมากระทาจะเกิดการแอ่นโค้งตลอดคาน ตามรูปที่ 6.4 ก เป็นรูป
อาคารอย่างง่าย A – B เป็นที่รองรับเป็นคานไม้ และขันน๊อตติดกับเสาอีกข้างหนึ่งสอดเข้ารูกลางเสาจะ
ได้รูปการวิเคราะห์โครงสร้าง ตามรูปที่ 6.4 ข และเส้นปะ คือ เส้นการแอ่น
(Elastic curve)

เส้นการแอ่น

รูปที่ 6.4 ก และ ข

6.3.2 คานยึดปลาย (Fixed-end beam) หมายถึงคานที่มีที่รองรับทั้งสองข้างเป็นแบบยึดแน่น


การแอ่นของคานชนิดนี้ เมื่อมีน้าหนักบรรทุกมากระทาตรงปลายยึดเกือบจะไม่เกิดการแอ่น แต่ตรง
กลางคายเกิดการแอ่น ตามรูปที่ 6.5 ก เป็นอาคารจริงส่วนรูปที่ 6.5 ข เป็นโครงสร้างวิเคราะห์ปลายคาน
A – B เชื่อมกับเสา ซึ่งคานนี้รับน้าหนักพื้น น้าหนักบรรทุก และผนังอิฐ
100

W kg/m

รูปที่ 6.5 ก และ ข

6.3.3 คานยื่น (Cantilever beam) หมายถึงคานมีที่รองรับข้างหนึ่งยึดแน่น อีกข้างหนึ่งไม่มีที่


รองรับ ตามรูปที่ 6.6 (ข)

รูปที่ 6.6 ก และ ข

6.3.4 คานปลายยื่น (Over – hanging beam) หมายถึงคานที่ยื่นปลายออกจากที่รองรับจะยื่น


ข้างเดียว หรือ ทั้งสองข้างก็ได้ ตามรูปที่ 6.7 ก และ ข
101

P1 P1 W m P2
w/m P2
/m /m

รูปที่ 6.7 ก และ ข

6.3.5 คานต่อเนื่อง (Continuous beam) หมายถึงคานที่มีที่รองรับมากกว่า 2 แห่ง ดูตามรูที่ 6.8


(ก)(ข)

w/m

รูปที่ 6.8 ก และ ข

6.4 การหาแรงปฏิกิริยาในโครงสร้าง ดังกล่าวตามข้อ 10.2 สามารถแบ่งตามลักษณะของแรงปฏิกิริยาได้


2 แบบ คือ
102

6.4.1 โครงสร้างแบบง่าย (Statically deteminate structure) คือ โครงสร้างที่ มีจานวนแรง


ปฏิกิริยาเท่ากับสามสมการสมดุลย์ สามารถจะหาแรงปฏิกิริยาได้โดยสมการสมดุลย์ เมื่อโครงสร้างนั้น
อยู่ในภาวะสมดุลย์ คือ
1.  H  0
2. V  0
3.  M  0
ตามรูปที่ 6.9 (ก)(ข)(ค) เป็นโครงสร้างแบบง่าย

รูปที่ 6.9 (ก) มีปฏิกิริยา 3 ตัว คือ

รูปที่ 6.9 (ข) มีปฏิกิริยา 3 ตัว คือ

รูปที่ 6.9 (ข) มีปฏิกิริยา 3 ตัว คือ

รูปที่ 6.9 (ค) เป็นคานต่อเนื่องก็จริงแต่มีตัวเชื่อม คือ จุด E โครงสร้างต่อกันด้วยจุดหมุน (hinge)


จุดนี้ไม่มีการถ่ายโมเมนต์ฉะนั้นสมการแยกออกมาได้ 2 คานและเป็นโครงสร้างอย่างง่ายดังรูปที่ 6.10
103

รูปที่ 6.10 แสดงคานที่มีจุดต่อเป็นจุดหมุน (hinge)

6.4.2 โครงสร้างแบบยาก (Statically Indeterminate structure) คือโครงสร้างที่มีตัวปฏิกิริยา


เกินสมควรสมดุลย์ ดูตามรูปที่ 6.11 ก. คานมีปฏิกิริยา 6 ตัว เกินสมการสมดุลย์อยู่ 3 ตัวหรือตามรูปที่
6.11 ข. มีปฏิกิริยาอยู่ 4 ตัว

(ก)

(ข)

รูปที่ 6.11 แสดงโครงสร้างแบบยาก

การหาแรงปฏิกิริยาในที่นี้จะกล่าวเฉพาะการหาปฏิกิริยาของโครงสร้างแบบง่ายทั้งวิธีเขียนรูป
และวิธีคานวณ
6.4.2.1 วิธีเขียนรูป (Graphical method) ข้อสมมติเบื้องต้น
(1) เขียนแทนด้วยเวคเตอร์ คือ ขนาดแทนด้วยเส้นตรง ทิศทางแทนได้ด้วยหัวลูกศร
(2) ภาวะสมดุลย์จะเกิดขึ้นได้ เมื่อมีแรงตั้งแต่ 2 แรงขึ้นไป
104

(3) ถ้ามีแรงสองแรงไม่ขนานกัน สามารถจะหาแรงลัพธ์ได้โดยการเขียนรูป


(4) สร้างรูปหลายเหลี่ยมแทนแรง ดูตามรูปที่ 6.12 จะเห็นว่ามีแรง ก ข ค ง และ จ
กระทาต่อคานสามารถจะหาแรงลัพธ์รวมและแรงปฏิกิริยาได้ดังนี้ คือ ใช้มาตราส่วนกาหนดขนาดของ
แรง เช่น 10 กก.ต่อ 1 ชม. ลากเส้นตรงให้ขนานกับแรง ก ข ค ง และ จ ต่อกันไป จะได้เส้น a b c d e f
ขั้นตอนที่ 2 กาหนดจุดรวม (pole) คือจุด P ลากเส้นตรงจาก a, b, c, d, e, f, & P
ขั้นตอนที่ 3 ลากเส้นตรงเส้นหนึ่งให้ขนานกับเส้น a – P ตัดเส้นตรงที่ต่อจากแนวแรง
ก ที่จุด 1 ลากเส้นตรงจาก 1 ให้ขนานกับ b – p ตัดเส้นต่อจากแนวแรง ข ที่จุด 2 ตามลาดับ จนถึงเส้น
f – p เรียกรูปนี้ว่า Equilibrium polygon
ขั้นตอนที่ 4 ลากเส้นตรงทับเส้น ก – 1 และเส้น จ – 5 จะตัดกันที่จุด g เป็นจุดที่แรง
ลัพธ์ลากเส้นตรงจาก P ให้ขนานกับ 1 – 5 จะได้ตัดกับเส้น a - f ที่จุด 0 เส้น a – 0 จะแทนปฏิกิริยาที่จุด
ก และระยะทาง 0 – f จะแทนปฏิกิริยาที่จุด จ

รูปที่ 6.12
105

ตัวอย่างที่ 6.1 จงหาขนาดของแรงปฏิกิริยาที่ A และ B ตามรูปที่ 6.13


2000 kg

รูปที่ 6.13

วิธีทา 1. กาหนดอักษร a, b ลงบนเส้นตรง A – B


2. กาหนดมาตราส่วนความยาว คือ 2 ซม. แทน 1 ม. และ 500 กก. แทน 1 ซม.
3.กาหนดเส้นตรง AB ในแนวดิ่งขนานกับแนวราบ 2000 kg กาหนดจุด p ลากเส้น a-p และ b-p
จากจุดในแนวดิ่งที่จุด A ลากเส้นขนานกับ a-p ตัดเส้นแนวดิ่งที่ลากตามแนว 2000 kg และลากเส้น 2-3
ขนานกับเส้น b-p จากนั้นลากเส้น 1-3 และop ขนานกับ 1-3 จุด 0 จะเป็นจุดแบ่งขนาดของแรงปฏิกิริยา
วัดขนาดของแรง ตามรูปที่ 10.13
R A  ao  800 กก.
R B  ob  1200 กก.

6.4.2.2 โดยวิธีคานวณ (Analytical Method) ถ้ามีแรงมากระทาต่อโครงสร้างแบบง่าย


(Determinate Structure) และโครงสร้างนั้นอยู่ในภาวะสมดุลย์สามสมการต่อไปนี้ เป็นจริงเสมอ
( 1) H = 0 (ผลบวกทางพีชคณิตของแรงตามแนวนอน = 0)
( 2) V = 0 (ผลรวมทางพีชคณิตของแรงตามแนวดิ่ง = 0)
(3) M = 0 (ผลรวมทางพีชคณิตของโมเมนต์ของแรงรอบจุดใด ๆ = 0)
106

ตัวอย่างที่ 6.2 คาน A – B เป็นคานอย่างง่าย (Simple Beam) จงหาแรงปฏิกิริยา RA และ RB

รูปที่ 6.14

วิธีทา เมื่อคาน A – B อยู่ในภาวะสมดุลย์


จะได้ H = 0 ................(1)
V = 0 ................(2)
M = 0 ................(3)
ที่รองรับ A มี แรงปฏิกิริยา 2 แรง คือ HA และ VA
ที่รองรับ B มีแรงปฏิกิริยา 1 แรง คือ VB
ให้โมเมนต์ของแรงหมุนรอบจุด A
ให้พิจารณาตามลาดับทีละแรง
MA = 0 (ผลรวมทางพีชคณิตของแรงรอบจุด A เท่ากับศูนย์)
+400 x 2 - VB x 4 = 0
- VB x 4 = - 800
800
VB =
4
VB = 200 กก.
V = 0
(ผลรวมของแรงตามแนวดิ่ง = 0)
VA+ VB- 400 = 0
แต่ VB = 200 กก.
 VA = 200 – 400 = 0
VA = 200 กก. ตอบ
107

ตัวอย่างที่ 6.3 คาน AB เป็นคานอย่างง่ายมีน้าหนักเฉลี่ยสม่าเสมอจงหาแรงปฏิกิริยาที่ A และB ตามรูป


ที่ 6.15

รูปที่ 6.15

วิธีทา เขียนแรงปฏิกิริยาที่ A และ B


ได้ HA, VA, และ VB ตามลาดับ
ต้องการหา VB ให้โมเมนต์ของแรงต่าง ๆ หมุนรอบจุด A
MA = 0
(400x4)x 4 - VB x 4 = 0
2
- VB x 4 = - 3200
VB = 800 กก.
V = 0
VA+ VB- 400 x 4 = 0
VA+ 800- 1600 = 0
VA = 800 กก. ตอบ

ตัวอย่างที่ 6.4 จงหา Reaction ของ Support A, และ Support B ดังรูปที่ 6.16

รูปที่ 6.16
108

วิธีทา เมื่อมีน้าหนักกดลงบนคานมากเท่าไรปฏิกิริยา ที่ A และ B ก็จะต้านไว้มากตามไปด้วย เพื่อรักษา


สภาพของคาน AB ให้อยู่ในภาวะสมดุลย์ การรักษาสภาวะสมดุล ของคาน AB จะมีผลทาให้
 MA  0 ;
 MB  0 ;
V  0 ;

H  0 ;
จาก  MA  0
+200 x 2 + 400 x 3 + 600 x 6 - RB x 7 = 0
RB = 742 กก.
จาก V  0
RA+ RB-200-400-600 = 0
RA = 1200 – 742 = 458 กก. ตอบ

ตัวอย่างที่ 6.5 จงหา Reaction ของคานดังรูป 6.17

รูปที่ 6.17

วิธีทา Sketch free body diagram ของคานจะได้ดังรูป


109

H = 0
3
HA- P = 0
5
3
HA = P
5
MA = 0
4 1
- RB x L + P x L = 0
5 4
1
RB = P
5
V = 0
4
P - R A- R B = 0
5
3
RA = P
5
ตรวจสอบ
MB = 0
3 4 3
x Px L - P x L = 0
5 5 4
3 3
P- P = 0 ตอบ
5 5

หมายเหตุ ในกรณีที่มีน้าหนักภายนอกมากระทาต่อคานหลาย ๆ อัน เพื่อการสับสน


เครื่องหมายโมเมนต์ของแรงจึงขอกาหนดเครื่องหมายไว้ดังนี้
เมื่อหาโมเมนต์รอบจุดใด ๆ ถ้าโมเมนต์หมุนไปตามเข็มนาฬิกาก็ให้เครื่องหมายเป็น + และถ้า
โมเมนต์หมุนทวนเข็มนาฬิกาก็ให้เครื่องหมายเป็น -,
110

ตัวอย่างที่ 6.6 จงหา Reaction ของคานดังรูป 6.19

kg/m

รูปที่ 6.19

วิธีทา
MA = 0
2
- P x 6 + RA x 5- P x 4- P x 2 x   + P x 1 = 0
2
11P
RA =
5
MA = 0
2
- P x 1+ P x 1+(P x 2)x  1  2   -RB x 5 + P x 6 = 0
 2
14 P
RB =
5
ตรวจสอบ
V = 0
+RA+RB- P – P – P x 2 - P = 0
11P 14 P
+ - 5P = 0 ตอบ
5 5
111

แบบฝึกหัดบทที่ 6
จงหา Reaction ของ Support ต่อไปนี้
(1)

A B

รูปที่ 6.20

P1 P2

(2)
A B

a b c

รูปที่ 6.21
400 kg
A
(3)
A B

2.00 2.00

รูปที่ 6.22
112

(4) w kg/m

A B

l
รูปที่ 6.23

400 kg/m
(5)
A B

l
รูปที่ 6.24

800 kg
600 kg/m
(6)
A B

2.00 1.00 2.00

รูปที่ 6.25

800 kg

(7)
A B

1.00 4.00 1.00

รูปที่ 6.26
113

2000 kg/m
(8)
A B

6.00 1.00

รูปที่ 6.27

(9) 200 kg/m

A B

4.00 2.00
1.50

รูปที่ 6.28 B

400 kg
800 kg/m Hing

(9)
A

2.00 2.00 2.00

รูปที่ 6.29

(10)
l

รูปที่ 6.30
114

200 kg

(11)
2.00

รูปที่ 6.31
w kg/m

รูปที่ 6.32

(12)

w kg/m

รูปที่ 6.33
(13)

200 kg/m

รูปที่ 6.34
115

(14)

รูปที่ 6.35

You might also like