You are on page 1of 9

Lecture 4 Compression Member Introduction

ชิ้นส่ วนโครงสร้างรับแรงอัด จะต้องออกแบบให้สามารถต้านทานแรงอัดที่ปลาย


 Introduction
ของชิ้นส่ วนได้โดยทัว่ ไปได้แก่ เสา ของอาคาร , ปี กของคานรับแรงอัด เป็ นต้น
 Buckling , Column Strength Curve ข้อแตกต่างระหว่างโครงสร้างรับแรงอัดและแรงดึง คือ
 Effective Length Factor 1.) แรงดึงจะพยายามดึงโครงสร้างให้อยูใ่ นแนวตรงเสมอแต่แรงอัดจะทําให้โครงสร้างนั้น
 Compression Member Design เกิดการโก่งเดาะ

 Torsional Buckling , Local Buckling 2.) รู เจาะของตัวยึดในโครงสร้างส่ วนรับแรงดึงจะลดพื้นที่หน้าตัดในการรับแรงดึง แต่ใน


โครงสร้างรับแรงอัดจะสมมติให้ตวั ยึดแทนที่รูเจาะเต็มทั้งหมดโดยไม่ตอ้ งคิดหักพื้นที่ของ
Compact Section , Non-Compact Section , Slender Section
รู เจาะออก
Column Base Plate

Compression members Buckling , Column Strength Curve


ในปี ค.ศ. 1757 Leonhard Euler ได้เสนอ ทฤษฏีการโก่งเดาะของเสายาวตรงโดย
ที่ปลายทั้งสองข้างมีจุดรองรับเป็ นแบบจุดหมุน (pinned-ended) ภายใต้แรงตามแนวแกน P
เสาเกิดการโก่งเดาะดังรู ป
P

x
P P
y
L buckling
y
L

P
Buckling , Column Strength Curve Boundary conditions
พิจารณาจากสมดุลและสมการเส้นโค้งอิลาสติคจะได้ จากสภาพเงื่อนไขของจุดรองรับคือ
P
 d2y 
EI  2    Py
(4.1) 1.) y = 0 ที่ x = 0 จะได้ B = 0
 dx 
M
2.) y = 0 ที่ x = L จะได้ Asin(kL) = 0 ซึ่งสามารถพิจารณาได้ดงั นี้
 d y  Py
2

 2  0
L
y
 dx  EI
2.1) A = 0 หมายความว่า เมื่อเสารับนํ้าหนัก เสานี้ไม่มีการโก่งเดาะเลย
x
 d2y  2 P 2.2) kL = 0 หมายความว่า P = 0
 2   k y  0; k 
y 2
P
 dx  EI
2.3) kL = n ซึ่ งเป็ นกรณี ที่เสาเกิดการโก่งเดาะและ n = 1,2,3,…
จะได้ P  n 2
2 2
ซึ่งจะมีคาํ ตอบอยูใ่ นรู ปทัว่ ไปคือ แทนค่า k = n /L ลงใน k2 
P
EI ซึ่ งจะพบว่า P มีค่าตํ่าสุ ดเมื่อ
EI L
y = Asin(kx) + Bcos(kx) (4.2) n = 1 ซึ่ งเป็ นกรณี ที่เสาเกิดการโก่งเดาะแบบความโค้งเดี่ยว (Single Curve) นัน่ คือ นํ้าหนัก
 2 EI
วิกฤต หรื อ นํ้าหนักบรรทุกออยเลอร์ Pe 
L2

Critical stress Basic column strength


จาก I = Ar2 เมื่อ r คือ รัศมีไจเรชัน่ และเสามีพ้ืนที่หน้าตัด เท่ากับ A ดังนั้นหน่วยแรงอัดวิกฤต สําหรับเสาที่มีความชะลูดปานกลางจะเกิดการโก่งเดาะในช่วงอินอิลาสติคของวัสดุที่
เฉลี่ย Pe  2E ค่าของ ( L/r ) เรี ยกว่า อัตราส่ วนความชะลูดของเสา(Slenderness ratio) ใช้ทาํ เป็ นเสา โดย กําลังเสามี ค่าตํ่ากว่ากําลังของเสาที่ คาํ นวณจากหน่ วยแรงของออยเลอร์

A ( L / r )2
จากการทดลองพบว่า สมการของออยเลอร์ให้กาํ ลังรับนํ้าหนักของเสาได้เฉพาะเสาที่มีอตั ราส่ วน (Euler Stress) ทั้งนี้เนื่ องมาจากหน่วยแรงกับความเครี ยดของเหล็กมิได้เป็ นตามทฤษฏีที่สมมติ
ความชะลูดมากๆ และเป็ นการโก่งเดาะในช่วงอิลาสติค ทั้งสิ้ น โดยมีหน่วยแรงวิกฤตไม่เกินกว่า ไว้ ในความเป็ นจริ งกราฟเส้นหน่ วยแรงจะเริ่ มโค้งเมื่อหน่ วยแรงดึงมีค่ามากกว่าหน่ วยแรงที่
หน่วยแรงพิกดั ยืดหยุน่ ของวัสดุ พิกดั ยืดหยุน่ กราฟแสดงกําลังของเสาจะเริ่ มเบนออกจากกราฟเส้นหน่วยแรงออยเลอร์
σcr

σpl Proportional limit

Euler’s curve

0
L/r
Buckling of Columns Buckling of Columns (Design Values)
สําหรับเสาที่มีสภาพการยึดปลายที่แตกต่างกันจะมีผลต่อกําลังรับนํ้าหนักของเสา (ก.)เมื่อปลายเป็ นแบบยึดหมุนทั้งสองข้างสามารถหานํ้าหนักวิกฤตได้ตามสมการของออยเลอร์
(ข.) เมื่อปลายเป็ นแบบยึดแน่นทั้งสองข้างจุดดัดกลับ A และ C จะห่ างจากปลายทั้งสองข้าง
เป็ นระยะ 0.25L ดังนั้นส่ วนของเสา ABC จะเหมือนกับเสาในส่ วนของ (ก.) แต่มีความยาวเสา
4 2 EI
เป็ น 0.5L หรื อ Pe  นัน่ คือ กําลังรับนํ้าหนักของเสาแบบยึดแน่นทั้งสองข้างจะเป็ น
L2
สี่ เ ท่ า ของกํา ลัง รั บ นํ้า หนัก เสาแบบยึด หมุ น ทั้ง สองข้า ง กํา ลัง รั บ นํ้า หนัก องเสานี้ สามารถ
นําไปใช้กบั รู ป (จ.) ได้ดว้ ยซึ่ งเป็ นปลายยึดหมุนทั้งสองข้างและมีการคํ้ายันด้านข้างที่ก่ ึงกลาง
ของเสา

Buckling of Columns (Design Values) Euler Critical Load


(ค.) เมื่อปลายข้างหนึ่งเป็ นแบบยึดแน่นและปลายอีกข้างเป็ นแบบยึดหมุนจุดดัดกลับ C จะห่าง ดังนั้นสมการออยเลอร์จึงเขียนอยูใ่ นรู ปสมการทัว่ ไป
 2 EI
จากจุดดัดกลับ A เป็ นระยะ 0.7L ดังนั้นส่ วนของเสา ABC จะเหมือนกับเสาในส่ วนของ (ก.) Pe  (4.3)
(kL / r ) 2
แต่มีความยาวเสาเป็ น 0.7L หรื อ 2 EI
2
นัน่ คือ กําลังรับนํ้าหนักของเสาแบบนี้จะเป็ น
Pe  โดยที่ kL คือ ความยาวประสิ ทธิผลตามสภาพการยึดปลาย (Effective Length)
L2
สองเท่าของเสาแบบ (ก.) และ k คือ ตัวคูณประกอบความยาวประสิ ทธิผล
จากการพิจารณาหากําลังรับนํ้าหนักเสาที่มีความยาวต่างๆกันสามารถนํามาเขียน
(ง.) เมื่อปลายข้างหนึ่งเป็ นแบบยึดแน่นและปลายอีกข้างเป็ นแบบปล่อยอิสระจุดดัดกลับ C จะ
กราฟระหว่างหน่วยแรงอัดวิกฤต Fcr กับ อัตราส่ วนความชะลูดของเสา kL/r
ห่างจากจุดดัดกลับ A เป็ นระยะ 2L ดังนั้นส่ วนของเสา ABC จะเหมือนกับเสาในส่ วนของ (ก.)
 2 EI
แต่มีความยาวเสาเป็ น 2L หรื อ Pe  นัน่ คือ กําลังรับนํ้าหนักของเสาแบบนี้จะเป็ น Upper bound
4 L2 Lower bound

สองเท่าของเสาแบบ (ก.)
SSRC Parabolic Equation Nominal Strength
ในความเป็ นจริ งองค์อาคารหลังจากผ่านการผลิ ตต่ างๆจนได้เป็ นชิ้ นส่ วนขององค์ นอกจากนี้ SSRC ยังกําหนดให้พฤติกรรมการโก่งเดาะของเสาเปลี่ยนจากช่วงอิลาสติคเป็ น
อาคารนั้นมีหน่ วยแรงคงค้าง เนื่ องมาจากการเย็นอย่างไม่สมํ่าเสมอของเหล็กรี ดร้อนซึ่ ง SSRC ช่วงอินอิลาสติค เมื่อ Fcr = Fy / 2 จะได้ c  2 แต่อย่างไรก็ตามมาตรฐาน AISC
(Structural Stability Research Council) ได้เสนอสมการหน่วยแรงอัดวิกฤต เลือกใช้ c = 1.5 เป็ นค่ากําหนดการเปลี่ยนพฤติกรรมของการโก่งเดาะของเสาดังกล่าว
 F ( KL / r ) 2 
Fcr  Fy 1  y 2  (4.4) แทน คือเมื่อ c > 1.5 เสาจะมีพฤติกรรมการโก่งเดาะในช่วงอิลาสติค ซึ่งหน่วยแรงอัด
 4 E   2E
วิกฤตคือ Fe  แต่มาตรฐาน AISC กําหนดให้ใช้
(kL / r ) 2
Fy kL Fy  E2
โดยที่ c   ; Fe  (4.5) (4.7)
Fe r E ( kL / r ) 2 Fcr  0.877 Fe
พิจารณาค่าเมื่อ c > 1.5 จากสมการ (4.5) จะได้
 2  F 
จะได้ Fcr  Fy 1  c   Fy 1  y  (4.6)
 4   4 Fe  kL E Fy
c 
kL Fy

Fy
 1.5 จะได้  4.71 ;  2.25 (4.8)
r E Fe r Fy Fe

Nominal Strength & Strength Curve Effective Length Factor


เมื่อ c  1.5 เสาจะมีพฤติกรรมการโก่งเดาะในช่วงอินอิลาสติค ซึ่ งหน่วยแรงอัด
มาตรฐาน AISCได้ให้ขอ้ กําหนดทัว่ ไปเกี่ยวกับการใช้ตวั คูณประกอบความยาวประสิ ทธิผลที่
วิกฤตจะหาได้จากสมการที่ (4.6) แต่มาตรฐาน AISC กําหนดให้ใช้
ต้องพิจารณาในส่ วนของการออกแบบโครงสร้างรับแรงอัด โดยค่า kทั้งตามทฤษฏีและที่ให้ใช้
Fcr  (0.658)
( Fy / Fe )
Fy (4.9)
ในการออกแบบเสาเมื่อพิจารณาเป็ นเสาเดี่ยวโดดๆทั้งที่มีการเซ(Side Sway)และไม่มีการเซ
จากสมการ (4.9)
(Non Sway) ซึ่งจะเห็นว่าค่าตามทฤษฏีมีค่าที่นอ้ ยกว่าค่าที่ใช้ในการออกแบบเพราะในทางปฏิบตั ิ
จริ งไม่สามารถยึดปลายเสาได้ตรงตามทฤษฏีนนั่ เอง
จากสมการ (4.7)
Effective Length Factor Effective Length Factor

มาตรฐาน AISC ยังได้แนะนําให้ใช้ Alignment Chart ในการหาค่าตัวคูณประกอบความยาว


ประสิ ทธิผล k ในเสาโครงเฟรมที่มีการเซและไม่มีการเซโดยมีค่าขึ้นอยูก่ บั ค่า G ซึ่งเป็ น
อัตราส่ วนระหว่างผลรวมของสติฟเนสแฟคเตอร์ของเสาต่อผลรวมของสติฟเนสแฟคเตอร์ของ
คานที่ปลายบนและปลายล่างของเสาที่พิจารณา ค่าตัวคูณประกอบความยาวประสิ ทธิผล k ได้
จากการลากเส้นตรงต่อเชื่อมระหว่างค่าของตัว G ที่ปลายบนและปลายล่าง

Sway Non-Sway
Unbraced frame Braced frame

Evaluate Effective Length Factor, K Adjustment of Stiffness Reduction Factors


เมื่อปลายเสาเป็ นแบบยึดหมุน ให้ใช้ค่า G เท่ากับ 10 และเมื่อปลายเสาเป็ นแบบยึดแน่น ให้ใช้ค่า
G เท่ากับ 1 ซึ่งในกรณี ที่ทราบการยึดปลายคานที่ดา้ นไกลที่แน่นอนให้คูณค่าสติฟเนสแฟคเตอร์
ของคานด้วยค่าดังต่อไปนี้
เมื่อโครงสร้างไม่มีการเซ
ปลายคานด้านไกลเป็ นแบบยึดหมุน คูณด้วย 1.5
ปลายคานด้านใกล้เป็ นแบบยึดแน่น คูณด้วย 2.0
เมื่อโครงสร้างมีการเซ
ปลายคานด้านไกลเป็ นแบบยึดหมุน คูณด้วย 1.5
ปลายคานด้านใกล้เป็ นแบบยึดแน่น คูณด้วย 0.67
Restraint Factor, G Compression Member Design
สัญลักษณ์ A และ B ใช้แทนตําแหน่งที่ปลายเสาทั้งสองข้าง ในขณะที่ G มีค่าดังนี้ เกณฑ์การออกแบบด้านกําลัง
ASD : Pa  Pn / c (4.11)
G
 ( EI / L )
c
(4.10) LRFD : Pu  c Pn (4.12)
 ( EI / I )
b โดยที่ Pa = กําลังแรงอัดตามแนวแกนใช้งานที่ตอ้ งการ (กก.)
โดยที่ (EI / Lc) เท่ากับ ผลบวกของค่าสติฟเนสของเสาทุกต้นที่รวมที่จุดต่อ
Pu = กําลังแรงอัดตามแนวแกนปรับค่าที่ตอ้ งการ (กก.)
(EI / Lb) เท่ากับ ผลบวกของค่าสติฟเนสของคานทุกตัวที่รวมที่จุดต่อ (4.13)
Pn = กําลังแรงอัดตามแนวแกนระบุ = FcrAg (กก.)
Fcr = หน่วยแรงอัดวิกฤต (กก. / ตร.ซม.)
Ag = พื้นที่หน้าตัดรวม (ตร.ซม.)
c= ตัวคูณความปลอดภัย = 1.67
c = ตัวคูณความต้านทาน = 0.90

Compression Member Design Compression Member Design


โดยที่ Fcr พิจารณาจากสภาวะการวิบตั ิดงั ต่อไปนี้
1.) การโก่งเดาะในช่วงอิลาสติค(ไม่รวมกรณี ที่หน้าตัดมีชิ้นส่ วนชะลูด)
E Fy
kL
 4.71 ;  2.25 จะได้ Fcr  0.877 Fe  Fy (4.14)
r Fy Fe

2.) การโก่งเดาะในช่วงอินอิลาสติค(ไม่รวมกรณี ที่หน้าตัดมีชิ้นส่ วนชะลูด)


kL E Fy
 4.71 ;  2.25 จะได้ Fcr  (0.658)
( Fy / Fe )
Fy (4.15)
r Fy Fe

โดยที่ Fy = หน่วยแรงคราก (กก. / ตร.ซม.)


Fe = หน่วยแรงอัดอิลาสติค (กก. / ตร.ซม.) การโก่งเดาะเนื่องจากการดัด
Slenderness ratio อัตราส่ วนชะลูด Example
เกณฑ์การออกแบบด้านความชะลูด ตัวอย่างที่ 4.1 เสามีความยาว 10 เมตร รับนํ้าหนักบรรทุกใช้งานตามแนวแกน เนื่ องจาก
• ในการออกแบบองค์อาคารรับแรงอัด ไม่ควรใช้ค่า อัตราส่ วนชะลูด kL / r มากกว่า 200 นํ้าหนักบรรทุกคงที่ 50 ตัน และ นํ้าหนักบรรทุกจร 50 ตัน สภาพจุดรองรับที่ปลายบนและ
ปลายล่างเป็ นแบบธรรมดา และ มีคานเชื่ อมต่อกึ่งกลางความสู งในทิศทางของแกนรอง
โดยทัว่ ไปเสาเหล็ก WF มีค่าโมเมนต์อินเนอร์ เชียรอบแกน x มากกว่า โมเมนต์อินเนอร์ เชียรอบ เสา ไม่เกิดการเคลื่อนที่ดา้ นข้าง ใช้เหล็ก Fy = 2450 กก./ซม. ให้ตรวจสอบความสามารถ
แกน y ดังนั้นเสาที่ถูกยึดปลายทั้งสองข้างการโก่งเดาะเนื่ องจากแรงดัดจะเกิดขึ้นรอบแกน y ในการรับนํ้าหนักบรรทุกตามแนวแกนของเสา W 250x255x14x14 (82.2 kg/m.) ภายใต้
เสมอ แต่หากทําการคํ้ายันระหว่างช่วงเสาในทิศที่ต้ งั ฉากกับแกน y ซึ่ งเป็ นการลดความยาวการ การโก่งเดาะเนื่องจากการดัด ด้วยวิธี ASD และ LRFD
โก่งเดาะรอบแกน y ให้นอ้ ยลง กําลังรับนํ้าหนักของเสาก็จะเพิ่มมากขึ้น

Example cont’d Example cont’d P(DL) = 50 ตัน P(DL) = 50 ตัน


P(LL) = 50 ตัน P(LL) = 50 ตัน
คํานวณหากําลังรับแรงอัดตามแนวแกน
กําลังรับแรงอัดตามแนวแกนใช้งาน Pa =
กําลังแรงอัดตามแนวแกนปรับค่า Pu 5 เมตร 5 เมตร

คํานวณหากําลังรับแรงอัดตามแนวแกนที่สามารถรับได้
เสา W 250x255x14x14 มีพ้นื ที่หน้าตัด A = 104.7 ตร.ซม. rx = 10.5 ซม. ry = 6.09 ซม. 5 เมตร 5 เมตร
L = 10 เมตร , kx = 1.0 , ky = 0.5
(kxL/rx) = , (kyL/ry) =
P(DL) = 50 ตัน P(DL) = 50 ตัน
ดังนั้นจึงเกิดการโก่งเดาะเนื่องจากการดัดรอบแกน x P(LL) = 50 ตัน P(LL) = 50 ตัน
Example cont’d Example
ตัวอย่างที่ 4.2 ให้ใช้ Alignment Chart คํานวณหาค่าสัมประสิ ทธิ์ความยาวประสิ ทธิผล k
Fex  กก./ตร.ซม.
ในช่วงอิลาสติคของเสาต่างๆในโครงอาคาร
เนื่องจาก Fy / Fex
ดังนั้น เสาเกิดการโก่งเดาะในช่วงอินอิลาสติค จะได้
Fcr  กก./ตร.ซม.
กําลังรับแรงอัดตามแนวแกนระบุ Pn =
กําลังรับแรงอัดตามแนวแกนที่สามารถรับได้ และความสามารถในการรับแรง
ASD : Pn / c =
LRFD : cPn =

Example cont’d Example cont’d


คํานวณหาค่า I / L ของเสาต่างๆดังนี้ พิจารณาโครงชั้นล่าง (ABCDFGJ) พบว่าเป็ นโครงที่ไม่มีการเคลื่อนที่ทางด้านข้าง ดังนั้นค่า

เสา AB = CD = FG = ซม.3 k สามารถหาได้ดงั นี้


เสา AB : GA = , GB = จะได้ k =
DE = GH = ซม.3

คํานวณหาค่า I / L ของคานต่างๆดังนี้
คาน BD = ซม.3
DG = GJ = ซม.3
EH = ซม.3
Example cont’d Example cont’d
E E W350x41.4 kg/m.
W350x41.4 kg/m.
เสา CD : GC = , GD = จะได้ k =
เสา FG : GF = , GG = จะได้ k =

W200x49.9 kg/m.
W200x49.9 kg/m.
4 เมตร k x= 1.15

พิ จ ารณาโครงชั้น บน (DEGH)พบว่า เป็ นโครงที่ มีก ารเคลื่ อ นที่ ท างด้า นข้าง ดัง นั้น ค่ า k
สามารถหาได้ดงั นี้
W450x76 kg/m.
เสา DE : GD = , GE = D D W450x76 kg/m.

จะได้ k

W200x49.9 kg/m.

W200x49.9 kg/m.
เสา GH : GG = , GH = 5 เมตร kx = 0.76

จะได้ k

C C

You might also like