You are on page 1of 68

SOLIDWORKS

สารบัญ

เรื่ อง หน้ า
สารบัญ ก
SOLIDWORKS คืออะไร 1
SOLIDWORKS มีหน้าที่การทางานอย่างไร 1
ประโยชน์ของ SOLIDWORKS 2-3
ความรู ้พ้นื ฐานเกี่ยวกับ Part 3-8
ความรู ้พ้นื ฐานเกี่ยวกับ Assembly 9-11
ความรู ้พ้นื ฐานเกี่ยวกับ Drawing 12-16
การใช้คาสั่งพื้นฐานในการเขียนแบบ SOLIDWORKS 17-35
2D และ 3D แตกต่างกันอย่างไร 35
การกาหนดคียล์ ดั แป้นคียบ์ อร์ด และเมาส์ 36
การ Reverse Engineering 37-45
แบบฝึ กหัด SOLIDWORKS
เฉลยแบบฝึ กหัด SOLIDWORKS
1

SOLIDWORKS
SOLIDWORKS คืออะไร
3D 2D

SOLIDWORKS เป็ นโปรแกรมออกแบบ 2 มิติ 3 มิติ สามารถออกแบบชิ้นงานได้ครอบคลุม


ทุกกลุ่มอุตสาหกรรม และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง เพื่อช่ วยวิศวกรลดระยะเวลาในการออกแบบ และลด
ข้อผิดพลาดจากการสื่ อสาร ระหว่างการออกแบบ

SOLIDWORKS มีหน้ าทีก่ ารทางานอย่ างไร


SOLIDWORKS เป็ นโปรแกรมเขียนแบบและออกแบบที่ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในงาน ออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ออกแบบเฟอร์ นิเจอร์ และออกแบบชิ้นส่ วนเครื่ องกล 3 มิติซ่ ึ งมีฟังก์ชนั่ การใช้งาน ดังนี้
การสร้าง Part Solid ใช้วธิ ีการและเทคโนโลยีของ Surface Modeling (NURBS)
Assembly Modeling สามารถประกอบชิ้นส่ วน 3 มิติได้เร็ วขึ้น โดยมีขนาดของไฟล์ เล็กลงและใช้
หน่วยความจาน้อย
Drawing สร้าง Drawing 2 มิติจาก 3 มิติโดยอัตโนมัติและ บันทึกไฟล์เป็ น *.dwg ได้
Simulation ใช้ทดสอบการเคลื่อนที่และตรวจสอบหาชิ้นส่ วนที่ขดั กัน
Animator สร้างภาพเคลื่อนไหวแสดงการทางานของชิ้นส่ วน หรื อเครื่ องจักรกล และสามารถบันทึก
ไฟล์เป็ น *.AVI (ไฟล์วดี ิโอ)ได้
Sheet Metal สามารถสร้างงานพับแบบต่างๆ และทาแผนคลี่งานโลหะแผ่นได้
Module การใช้งานอื่นๆ เช่น การวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์เบื้องต้น
2

ประโยชน์ ของ SOLIDWORKS


1. เพื่อช่วยในการจาลองชิ้นงานรวมถึงการตรวจสอบความผิดพลาดต่างๆ ในชิ้นงานได้
2. SOLIDWORKS Standard เพิ่มความเร็ วในการออกแบบ และปลดล็อกคุ ณประโยชน์ในด้านของ
การออกแบบ 3D สาหรับการแก้ไขปั ญหาในด้านของการสร้างชิ้นส่ วนที่รวดเร็ วส่ วนประกอบและ
การ Drawing 2D ด้วยเครื่ องมื อเฉพาะตัวอย่า งเช่ น แผ่นโลหะ, งานเชื่ อม, พื้ นผิวและเครื่ องมื อ
เกี่ยวกับแม่พิมพ์ ด้วยสิ่ งต่างๆ เหล่านี้จะช่วยให้สามารถที่จะส่ งมอบการออกแบบที่ดีให้แก่ลูกค้าได้
3. SOLIDWORKS Professional สร้างโดยอยูบ่ นพื้นฐานความสามารถของ SolidWorks Standard โดย
มีการเพิม่ ความสามารถทางด้านการออกแบบ, การจัดการเกี่ยวกับเอกสาร, การแสดงผลเสมือนจริ ง,
การออกแบบโดยอัตโนมัติ , การตรวจสอบการวาด Drawing, ส่ วนประกอบย่อยที่ ซับ ซ้อนและ
ชิ้นส่ วน
4. SOLIDWORKS Premium เป็ นการแก้ไขปั ญหาด้านการออกแบบ 3D ซึ่ งมีการเพิ่มความสามารถใน
การจาลองที่มี ป ระสิ ทธิ์ ภาพและความสามารถในการตรวจสอบการออกแบบ ไปจนกระทัง่ ถึ ง
ความสามารถของ SolidWorks Professional รวมทั้ง การท างานร่ ว มกัน ECAD/ MCAD การท า
วิศวกรรมย้อนกลับ ความสามารถในการทางานเกี่ยวกับลวดขั้นสู งและฟั งชัน่ การกาหนดเส้นทาง
ท่อ
5. SOLIDWORKS Simulation คือ โปรแกรมการจาลองวิเคราะห์ความเสี่ ยงจากการสร้างชิ้นงานจริ ง
6. SOLIDWORKS Electrical คือ โปรแกรมออกแบบเขียนแบบทางด้านงานระบบ ไฟฟ้า
3

7. SOLIDWORKS PDM คือ ซอฟแวร์ ที่ช่วยในการจัดการจัดเก็บ ข้อมูลให้เป็ นระบบ


8. SOLIDWORKS Composer คือ เป็ นเครื่ องมือที่ช่วยในการสร้าง เอกสาร ในรู ปแบบภาพ
9. Exalead Part คือ โปรแกรมที่ยกระดับความสามารถจากการวิเคราะห์ เพื่อลดความซ้ าซ้อน
10. SOLIDWORKS MBD (Model Based Definition) คือ เครื่ องมืออ่านชิ้นงานแบบเป็ น 3 มิติ
11. SOLIDWORKS Visualize คือ โปรแกรมสร้างกราฟิ กที่มีคุณภาพสู ง

ความรู้ พืน้ ฐานเกีย่ วกับ Part

จุดเริ่ มต้นของการเขียนแบบและออกแบบ ก็คือการสร้างชิ้นงานเบื้องต้นที่เรี ยกว่า Part ขึ้นมาก่อน


ซึ่ง Part จะเป็ นส่ วนประกอบพื้นฐานที่จะถูกนามาประกอบรวมกันกลายเป็ นชิ้นงานที่มีขนาดใหญ่และมี
ความซับซ้อนขึ้น และถูกนาไปใช้ในการสร้างผลิตภัณฑ์ข้ ึนมา

1. การเปิ ดโปรแกรม (Start Program)


4

2. การสร้างชิ้นงาน (Part) ใหม่

3. การตั้งค่าหน่วยที่ใช้งานให้เป็ นมิลลิเมตร
5

4. การสเก็ตช์ภาพ (Sketch)

5. การเลือก Plane เพื่อสร้างหน้าชิ้นงาน


- ขึ้นอยูก่ บั แบบชิ้นงาน
6

6. การเขียนแบบสี่ เหลี่ยมหรื อวงกลมแล้วแต่ชิ้นงาน (Rectangle)

7. การกาหนดขนาดและการเปลี่ยนขนาด (Dimension)

2
7

8. การเพิ่มเนื้ อของชิ้นงาน (Extrude)


1

ปรับระยะความหนา
ของเน้อชิ้นงาน

9. การสร้างรู ทะลุโดยการตัด (Cut)


1
2
8

10. การเจาะรู ให้ทะลุ โดยใช้คาสั่ง Extrude Cut

1
4
3 2

ปรับระยะการเจาะ เลือกจุดที่จะเจาะ
เน้อชิ้นงาน ทีะลุ

11. การลบเหลี่ยมและมุม โดยใช้คาสัง่ Fillet

4
3 2

เลือกขอบมุมที่
12. การบันทึกไฟล์ชิ้นงาน (Save)
ตองการลบมุ
้ ม
9

ความรู้ พืน้ ฐานเกีย่ วกับ Assembly

ชิ้นส่ วนย่อยๆ ที่ถูกเรี ยกว่า Part หลายชิ้นจะถูกนามาประกอบเป็ นชิ้นงานชิ้นเดียวกัน ซึ่ งการนา Part
มาประกอบกันนั้นจะถูกเรี ยกว่าขั้นตอน Assembly และขั้นตอนการประกอบจะสาเร็ จลุล่วงได้ตอ้ งอาศัยการ
ออกแบบ Part ที่มีความสัมพันธ์กนั และสามารถประกอบเข้ากันได้ดว้ ย
1. เริ่ มต้นการสร้างชิ้นงานใหม่
10

2. การเลือกชิ้นเรี ยงลาดับการประกอบ

3. การนาชิ้นงานอีกตัวออกมาโดยใช้ Insert components


11

4. การกาหนดความสัมพันธ์เพื่อประกอบชิ้นงาน

5. การประกอบชิ้นงานด้วย Mate

6. การบันทึกไฟล์ชิ้นงาน (Save)
12

ความรู้ พืน้ ฐานเกีย่ วกับ Drawing

โปรแกรม SolidWorks จะมีความสามารถในการช่วยให้ผใู ้ ช้งานสามารถเขียนแบบภาพฉายได้ง่าย


กว่าเดิม ซึ่ งหลังจากการเขียนแบบภาพฉายเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว ผูใ้ ช้งานก็จะสามารถตรวจสอบความถู กต้อง
และความสมบูรณ์ ของชิ้ นงานได้อย่างละเอียด ซึ่ งจะสัมพันธ์กบั ความถู กต้องของการออกแบบ Part และ
ขั้นตอน Assembly ด้วย
1. การสร้างชิ้นงาน (Drawing)
13

2. การเลือก Sheet format

3. เมื่อเลือกเสร็ จแล้วให้ทาการ คลิกขวา Edit Sheet format


14

4. เมื่อเลือกเสร็ จแล้วให้ทาการกด view palette

5. ต่อมาให้ทาการ Drag ลากมาวางในจุดที่ตอ้ งการแสดง


15

6. เมื่อลากด้านมุมมองชิ้นงานไปยังแผ่นภาพได้แล้วให้ทาการปรับขนาดให้พอเหมาะ

7. ต่อมาให้ทาการ Section view หรื อแยกส่ วนมุมมองลงมาตรงพื้นที่ที่ตอ้ งการ


16

8. ให้ทาการเลือก Cutting line แล้วเลือกจุดกึ่งกลาง แล้วคลิก ok

9. ต่อมาให้ทาการบอกลาดับชิ้นงานโดยใช้ balloon ต่อมาให้สร้างตารางบอกชื่อและจานวนแต่ละ


ชิ้นส่ วนของงาน โดยการคลิกที่ชิ้นงานที่ตอ้ งการบอกลาดับชื่อแล้วจานวน

10. การบันทึกไฟล์ชิ้นงาน (Save)


17

การใช้ คาสั่ งพืน้ ฐานในการเขียนแบบ SOLIDWORKS


คาสั่ งพืน้ ฐานการเขียนแบบ 2D Sketch

การออกแบบโมเดลในโปรแกรม Solidworks ให้ได้เต็มประสิ ทธิ ภาพนั้น เริ่ มต้นเราจะต้องเรี ยนรู ้


การใช้งานของคาสั่งเบื้องต้นในการสร้าง Sketch 2D ก่อน เพื่อเตรี ยมความพร้อมและความเข้าใจถึงขั้นตอน
การใช้งานในคาสั่งการสร้าง Profile Sketch ต่างๆโดยเมื่อเราทราบถึงวิธีการใช้งานของแต่ละคาสั่งแล้ว เรา
จะสามารถนาความเข้าใจไปพิจารณาคาสั่งต่างๆ ที่จะใช้ในการออกแบบโมเดล เพื่อให้สามารถใช้โปรแกรม
ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพส่ วนประกอบ
คาสัง่ พื้นฐานในการสร้าง Sketch 2D จะแบ่งคาสัง่ ออกเป็ น 2 ส่ วนคือ
- Sketch Entities คือสเกทช์(Sketch) คือส่ วนประกอบพื้นฐานในการออกแบบกาหนดรู ปร่ าง และขนาดของ
ชิ้ นส่ วน (part) 3 มิติ ซึ่ งจะสร้ างจากคาสั่งพื้นฐาน คาสั่งในการสร้ าง Sketch โดยจะประกอบไปด้วยคาสั่ง
ต่างๆ ดังนี้
Line ,Circle, Rectangle, parallelogram, Polygon , Center point Arc,3 Point Arc, Tangent
Arc, Ellipse, Spline ,text เป็ นต้น

สั ญลักษณ์ ของคาสั่ งพืน้ ฐานต่ างๆใน Sketch 2D

สั ญลักษณ์ ชื่ อ คือ

Line ใช้สร้างเส้นตรง

Centerline ใช้สร้างเส้นร่ างหรื อเส้นศูนย์กลาง


18

Midpoint line ใช้สร้างเส้นจากจุดกึ่งกลาง

Circle ใช้สร้างวงกลม

Perimeter Circle ใช้สร้างวงกลมจากจุด 3 จุด

ใช้สร้างรู ป 4 เหลี่ยมโดยการกาหนด
Rectangle
จุด 2 จุด เป็ นจุดของเส้น ทะแยงมุม

Center Rectangle ใช้สร้างสี่ เหลี่ยมจากจุดศูนย์กลาง

3 Point Corner Rectangle ใช้สร้างสี่ เหลี่ยมผืนผ้าจากมุม 3 จุด

3 Point Center Rectangle ใช้สร้างสี่ เหลี่ยมผืนผ้าจากจุดศูนย์กลาง 3 จุด

parallelogram ใช้สร้างรู ป 4 เหลี่ยม โดยการคลิกกาหนดจุด 3 จุด


19

ใช้สร้างรู ปทรงเรขาคณิ ต ที่มีลกั ษณะเป็ นรู ปเหลี่ยม


Polygon
ด้านเท่า

ใช้สร้างเส้นโค้ง โดยการคลิก 3 จุด


Center point Arc จุดแรกคือจุดศูนย์กลางของเส้นโค้งจุดที่สอง และสาม
คือจุดเริ่ มต้นและจุดสุ ดท้ายของเส้นโค้ง

ใช้สร้างเส้นโค้งโดยคลิกจุด 3 จุด
3 Point Arc จุดแรกและจุดที่สองคือจุดเริ่ มต้นและ
จุดปลาย ของเส้นโค้ง ส่ วนจุดที่สามคือจุดบนเส้นโค้ง
ใช้สร้างเส้นโค้งที่ ต่อจากปลายของเส้นตรงหรื อเส้น
โค้งอื่น ๆ โดยการคลิกจุดแรก ที่ปลายเส้นตรงหรื อ
Tangent Arc
เส้นโค้งและลากมาคลิกจุดที่สองจะเป็ นจุดปลายของ
เส้นโค้งที่ สร้างใหม่

ใช้สร้างวงรี โดยจุดแรกที่คลิกคือจุดศูนย์กลางของวงรี
Ellipse
จุดต่อไปคือด้านยาวและด้าน

Partial Ellipse ใช้ในการสร้างวงรี บางส่ วน

ใช้สร้างเส้นเซตของจุดบนพื้นระนาบซึ่ งมีระยะห่าง
Parabola
จากจุดคงที่ เท่ากับระยะที่ห่างจากเส้นคงที่

ใช้สร้างจุดสาหรับใช้เจาะรู หรื อ สร้างจุดเพื่อ


Point
วัตถุประสงค์อื่น ๆ
20

text ใช้เขียนข้อความ

Smart Dimension ใช้บอกขนาดของวัตถุในแนวต่าง ๆ

ใช้คดั ลอกเส้นหรื อเส้นของรู ปทรงเรขาคณิ ตของวัตถุ


Convert Entities โดยการฉายลงบนระนาบ ของสเก็ตส์ที่เปิ ดอยูโ่ ดยเส้น
ต่าง ๆ

- Sketch Tools คือคาสั่งที่ใช้ในการช่วยการสร้าง Sketch ให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น ซึ่ งจะ


ประกอบด้วยคาสั่งต่างๆดังนี้ Sketch Fillet, Sketch Chamfer, Sketch Mirror, Sketch Trim, Linear Step and
Repeat, Circular Step and Repeat เป็ นต้น

สั ญลักษณ์ ของคาสั่ งต่ างๆใน Sketch 2D


สั ญลักษณ์ ชื่ อ คือ

Sketch Fillet ใช้ลบมุม 2D แบบโค้ง

Sketch Chamfer ใช้ลบมุม 2D แบบเหลี่ยม

ใช้คดั ลอกวัตถุแบบกระจกเงาโดยวัตถุจะ
มีลกั ษณะสมมาตร
Sketch Mirror
21

ใช้ลบเส้นที่ ไม่ตอ้ งการออกโดยคลิกเส้น


Sketch Trim
ที่ไม่ตอ้ งการเส้นนั้นก็จะถูกลบ

ใช้คดั ลอกวัตถุไปตามแถวและหลักตาม
จานวนและระยะที่ตอ้ งการ
Linear Step and Repeat

ใช้ ค ัด ลอกวัต ถุ ไ ปตามแนวรั ศ มี ข อง


วงกลม ตามจานวน และระยะที่ตอ้ งการ
Circular Step and Repeat

พืน้ ฐานการเขียนแบบ 3D Feature

การสร้างด้วยรู ปร่ างมาตรฐานของรู ปร่ างทางคณิ ตศาสตร์ แล้วมีการปรับตัดแต่งด้วยความสัมพันธ์


พื้นฐานง่ายๆ ให้เกิดรู ปร่ างที่ตอ้ งการ อาศัยความเข้าใจตามคุณสมบัติและความสัมพันธ์ที่มี และไม่ซบั ซ้อน
ดังตัวอย่าง ด้านล่าง โดยการอธิ บายประกอบรู ปภาพทีละขั้นตอนมีคาสั่งพื้นฐาน ดังนี้

สั ญลักษณ์ ของคาสั่ งพืน้ ฐานต่ างๆใน 3D Feature


สั ญลักษณ์ ชื่ อ คือ
ใช้ยื ด เนื้ อ วัต ถุ อ อกมาตามรู ป เส้ น รอบ
Extrude Boss/Base นอก (Profile) ที่ ส เกตซ์ ไ ว้ส ามารถยื ด
ออกในทิศ ทางบวกหรื อลบก็ได้
22

ใช้เพิม่ เนื้อวัตถุโดยวิธีการหมุน (Rotates)


รู ปเส้นรอบนอกหรื อหน้าตัดของ สเก็ตส์
Revolved Boss/Base
ไปรอบเส้นตรงหรื อแกนหมุนตามมุมที่
กาหนด
ใช้ ส ร้ า งเนื้ อ วัต ถุ จ ากเส้ น profile ที่ ไ ด้
Swept Boss/Base สเกตซ์ ไ ว้ใ ห้ วิ่ ง ไปตามเส้ น ทางเดิ น
(Path) ที่ กาหนด

ใช้ส ร้ า งเนื้ อ วัต ถุ โ ดยการเชื่ อ มต่ อ ของ


Loft Boss/Base เส้ น รอบนอก (Profile) ที่ ส เกตซ์ ไ ว้บน
ระนาบ (plane) ต่าง ๆ

ใ ช้ เ พิ่ ม เนื้ อหาระ หว่ า ง (Profile)ใ น


Boundary Boss/Base
สองทิศทาง

ใช้ตดั เนื้ อวัตถุ จากเนื้ อวัตถุ ที่ผ่านการยืด


Extruded Cut
มาแล้ว

ใช้สร้างรู เจาะแบบต่าง ๆ พร้อมกับสร้าง


Hole Wizard
เกลียวชนิดต่าง ๆบนชิ้นงานได้

Advanced Hole ใช้ในการสร้างหลุมเป็ นเกลียว

Thread ใช้ในการสร้างเกลียวเพื่อสวมยึด
23

Revolved Cut ใช้หมุนตัดเนื้อวัตถุออกจากชิ้นงาน

ใช้ในการตัดแบบจาลองโดยการ swept
Swept Cut
(Profile) ปิ ด หรื อเปิ ดตามเส้นทาง

ใช้ตดั แบบจาลองโดยวัสดุ ระหว่า งสอง


Loft Cut
หรื อมากกว่า

ใช้ลบมุมชิ้นงานที่มีลกั ษณะเป็ นรัศมีโค้ง


Fillet
ตามขนาดที่กาหนด

ใช้ลบมุมชิ้นงานที่มีลกั ษณะเป็ นขอบ


Chamfer
เรี ยบ

ใช้สร้างแบบจาลองเทเปอร์จะหันไปทาง
Draft มุมที่กาหนด โดยใช้ระนาบที่เป็ นกลาง
หรื อเส้นที่แยกจากกัน

ใช้สร้ างงานที่มี ลกั ษณะคล้ายครี บ โดย


Rib
การยืดเนื้อออกมาจากเส้น สเกตซ์ 2 มิติ

ใช้ตดั เนื้ อชิ้ นงานส่ วนที่เราได้เลื อกออก


Shell โดยเหลื อ ผิ ว เปลื อ กนอกไว้ต ามความ
หนาที่กาหนด
24

Wrap ใช้ในการห่อโครงสร้างแบบปิ ดด้านหน้า

ใช้ต ัด กับ พื้ น ผิ ว ระนาบ และเพื่ อ สร้ าง


Intersect
ปริ มาตร

ใช้คดั ลอก Feature แบบกระจกเงา โดย


Mirror ชิ้นงานที่ได้จากการ Mirror จะมีลกั ษณะ
ที่สมมาตรกัน

สั ญลักษณ์ ของคาสั่ งพืน้ ฐานต่ างๆใน Assembly

สั ญลักษณ์ ชื่ อ คือ

ใช้นาไฟล์ชิ้นส่ วนเข้ามาวางใน
Insert Component
ไฟล์แอสเซมบลี

ใช้สร้างไฟล์ชิ้นส่ วนใหม่ในไฟล์
New Component
แอสเซมบลี

เป็ นชุดคาสั่งที่ใช้ประกอบ
Mate
ชิ้นส่ วนเข้าด้วยกัน
25

ใช้เคลื่อนย้ายชิ้นส่ วนไปยัง
ตาแหน่งที่ตอ้ งการ โดยจะ
Move Component
เคลื่อนย้ายได้เพียง ชิ้นส่ วนเดียว
เท่านั้น
ใช้เคลื่อนหมุนชิ้นส่ วนตาม
Rotate Component มุมมองที่ตอ้ งการ โดยจะหมุนได้
เพียงชิ้นส่ วนเดียว เท่านั้น

เป็ นคาสั่งที่ใช้ประกอบชิ้นส่ วน
Smart Fasteners นิตและสกรู เข้ามาประกอบกับ
ชิ้นส่ วน โดย อัตโนมัติ

ใช้เคลื่อนย้ายหรื อหมุนชิ้นส่ วน
Exploded View ให้เป็ นภาพระเบิดตามทิศทางที่
ต้องการ

ใช้ตรวจสอบจุดทับซ้อนกันของ
Interference detection
ชิ้นงาน

Show Hide Component ใช้แสดงหรื อซ่ อนชิ้นส่ วน

ใช้เชื่อมต่อสลับระหว่างโหมด
Edit Component การแก้ไขชิ้นส่ วนกับโหมด
แอสเซมบลี
26

สั ญลักษณ์ ของคาสั่ งพืน้ ฐานต่ างๆใน Drawing

สั ญลักษณ์ ชื่ อ คือ

ใช้วดั ขนาดแนวนอน
Horizontal Dimension

Vertical Dimension ใช้วดั ขนาดแนวตั้ง

Baseline Dimension ใช้วดั ระหว่างขนาดพื้นฐาน

ใช้วดั ขนาดพิกดั
Ordinate Dimension

Horizontal Ordinate Dimension ใช้วดั ขนาดพิกดั แนวนอน

Vertical Ordinate Dimension ใช้วดั ขนาดพิกดั แนวตั้ง


27

Angular Running Dimension ใช้วดั ขนาดมิติการวิง่ เชิงมุม

Chamfer Dimension ใช้วดั ขนาดการลบมุม

ใช้วดั ขนาดความยาวของเส้น
Path Length Dimension

ใช้บอกขนาด คาอธิ บายประกอบของชิ้นงานที่


Model Items
เลือก

Tables ใช้ในการสร้างตาราง

ใช้สร้างตารางในการระบุส่วนประกอบต่างๆ
Bill of Materials
ตามลาดับที่ตอ้ งการหรื อใช้สูตรในการผลิต

Spell Checker ใช้ตรวจสอบคาผิด

ภาพที่แสดงการตัดหรื อผ่าวัตถุ โดยสามารถ


Section view มองเห็นรายละเอียดของวัตถุ, เนื้อวัตถุและที่วา่ ง
ได้อย่างชัดเจน
28

ใช้เพิ่มมุมมองรายละเอียดเพื่อแสดงส่ วนของ
Detail View
มุมมองโดยปกติในขนาดที่ขยายใหญ่ข้ ึน

มุมมองเสริ มเพิ่มมุมมองโดยแสดงมุมมองใหม่
Auxiliary View
จากเอนทิต้ ีเชิงเส้น (ขอบ เอนทิต้ ี ร่ างและอื่นๆ)

มุมมองที่คาดการณ์ คือใช้เพิ่มมุมมองที่ฉายโดย
Projected View
การแสดงมุมมองใหม่จากมุมมองที่มีอยู่

ใช้เพิ่มมุมมองฉาก หรื อตั้งชื่ อตามชิ้นส่ วน หรื อ


Model View
ชุดประกอบที่มีอยู่

ใช้เพิ่มมุมมองมาตรฐาน และมุมฉากสามมุมมอง
Standard 3 View ประเภท และทิศทางของมุมมองอาจเป็ นมุมที่ 1
หรื อมุมที่3

ใช้เพิม่ ส่ วนที่แยกย่อยในมุมมองที่มีอยูซ่ ่ ึ งเผยให้


Broken – out Section
เห็นรายระเอียดภายในของโมเดล

Break View ใช้เพิ่มเส้นแบ่งไปยังมุมมองที่เลือก

ใช้ครอบตัดมุมมองที่มีอยูเ่ พื่อแสดงเพียงบางส่ วน
Crop View
ของมุมมอง
29

Balloon ใช้ในการบอกลาดับของชิ้นงาน

Auto Balloon ใช้ในการบอกลาดับของชิ้นงานแบบอัตโนมัติ

Magnetic Line ใช้แทรกเส้นแม่เหล็ก

Note ใช้ในการเพิ่มบันทึกย่อ

ใช้คดั ลอกคุณสมบัติภาพระหว่างมิติขอ้ มูล และ


Format Painter
คาอธิบายประกอบ

Linear Note Pattern ใช้เพิ่มรู ปแบบเชิงเส้นของบันทึก

Surface Finish ใช้เพิ่มสัญลักษณ์การตกแต่งพื้นผิว

ใช้เพิม่ สัญลักษณ์การเชื่อมบนเอนทิต้ ีที่เลือก


Weld Symbol
(หน้า ขอบ และอื่นๆ)
30

Hole Callout ใช้เพิ่มคาบรรยายภาพ

ใช้ต้ งั ค่าคุณสมบัติสาหรับรู ปเรขาคณิ ตใหม่ และ


Geometric Tolerance
วางไว้บนภาพวาดโดยคลิกที่แผ่นภาพภาด

Datum Feature ใช้เพิ่มสัญลักษณ์คุณสมบัติ

ใช้เพิ่มเป้ าหมายตัวเลข (จด หรื อพื้นที่ และ


Datum Target
สัญลักษณ์)

Blocks บล็อกคาสั่ง

ใช้สร้างจุดเซ็นเตอร์มาร์ค หรื อใช้เพิม่ เครื่ องหมาย


Center Mark
บนวงกลม ขอบ ขอบช่อง หรื อเอนทิต้ ีร่าง

ใช้สร้างเส้นกึ่งกลางในมุมมอง หรื อเอนทิต้ ีที่


Centerline
เลือก

ใช้ในการเพิม่ รู ปแบบ หรื อเติมแบบทึบให้กบั


Area Hatch/Fill
หน้าแบบจาลอง แบบปิ ด
31

Revision Cloud ใช้ในการแทรกคลาวด์การแก้ไข

มุมมองของวัตถุในโปรแกรม Solidworks
มุมมองหรื อการมองภาพแบบต่าง ๆในโปรแกรม Solidworks จะช่ วยอานวยความสะดวกในการมองภาพ
และการเขียนแบบคาสัง่ ที่ใช้แสดงมุมมองแบบต่าง ๆ (View tools) จะอยูบ่ นทูลบาร์ มาตรฐานตามตาราง

สั ญลักษณ์ มุมมอง
สั ญลักษณ์ ชื่ อ คือ

แสดงภาพของวัตถุในมุมมองก่อนหน้ามุมมองที่
Previous view
แสดงอยูใ่ นปั จจุบนั โดยการคลิกที่ไอคอน

แสดงภาพของวัตถุท้ งั หมด ตามขอบเขตของ


Zoom to fit
จอภาพโดยการคลิกที่ไอคอน

ขยายภาพของวัตถุบางส่ วนตามกรอบของ
หน้าต่างที่เลือก โดยการคลิกที่ไอคอนเลือก
Zoom to area
ตาแหน่งที่ตอ้ งการขยายโดยการสร้างกรอบ
หน้าต่างครอบตาแหน่งนั้นๆ

ขยายหรื อย่อภาพของวัตถุโดยคลิกที่ไอคอน หรื อ


Zoom In-Out
หมุนปุ่ มกลางของเมาส์เข้า-ออก

ขยายพื้นผิวที่เลือกอาจเป็ นพื้นผิวเดียวหรื อหลาย


Zoom to selection พื้นผิวก็ด็โดยการเลือกพื้นผิวของภาพ แล็วคลิกที่
ไอคอน
32

การหมุนวัตถุโดยการ
- คลิกที่ไอคอน จะปรากฏเส้นที่เป็ นวงกลมขึ้นบน
Rotate view
จอภาพหมุนวัตถุอิสระคลิกเมาส์ปุ่มซ้ายที่จุดในวงกลม
คลิกค้างไว้แล้วหมุนได้ตามความต้องการ

เลื่อนย้ายวัตถุไปยังตาแหน่งที่ตอ้ งการโดยการ –
Pan คลิกที่ไอคอนแล้วคลิกเมาส์ปุ่มซ้ายที่วตั ถุคา้ งไว้
เลื่อนไปยังตาแหน่งที่ตอ้ งการ
การเปลี่ยนมุมมองไปยังมุมมองมาตรฐาน เช่น
ภาพด้านหน้า (Front) ภาพด้านหลัง (Back) และ
Standard View
มุมมองมาตรฐาน อื่นๆโดย คลิกที่ไอคอนของ
มุมมองมาตรฐานต่างๆ ที่ตอ้ งการ
การเปลี่ยนมุมมองของภาพให้ขนานกับระนาบ
Normal To หรื อพื้นผิวที่ราบเรี ยบ โดยการเลือกระนาบหรื อ
พื้นผิวราบแล้วคลิกที่ไอคอน

การให้วตั ถุแสดงเฉพาะเส้นเต็มโดยการคลิกที่
Wire Frame
ไอคอน

การให้วตั ถุแสดงเส้นที่มองเห็นเป็ นเส้นเต็ม ส่ วน


Hidden lines visible เส้นที่มองไม่เห็นจะแสดงเป็ นเส้นประ โดยการ
คลิกที่ไอคอน

การให้วตั ถุแสดงเฉพาะเส้นที่มองเห็นเท่านั้น
Hidden lines removed ส่ วนเส้นที่มองไม่เห็นจะไม่แสดง โดยการคลิกที่
ไอคอน

การให้แสงเงาแก่วตั ถุและให้แสดงเส้นขอบรู ป
Shaded with Edges
ทุกเส้นของวัตถุ โดยการคลิกที่ไอคอน
33

การให้แสงเงาแก่วตั ถุและแต่ไม่ให้แสดงเส้นขอบ
Shaded
รู ป โดยการคลิกที่ไอคอน

Shadow in Shaded Mode การให้แสดงเงาใต้วตั ถุ โดยการคลิกที่ไอคอน

การให้แสดงภาพตัดของวัสดุตามตาแหน่งที่
Section view
ต้องการโดยการคลิกที่ไอคอน

Dynamic Annotation Views ไดนามิกสลับมุมมองคาอธิบายประกอบไดนามิก

เครื่ องมือพืน้ ฐานของ Relation


การกาหนดความสัมพันธ์ทางเรขาคณิ ตหรื อการบังคับคุณสมบัติของเส้นแบบต่างๆ มีความสาคัญ
และช่วยอานวยความสะดวกในการเขียนแบบเป็ นอย่างมากเมื่อเราทาการแก้ไขหรื อ เปลี่ยนแปลงภาพสเกตซ์
ในภายหลัง ตัวอย่างเช่ นเมื่อกาหนดให้วงกลม 2 วง ให้มีขนาดเท่ากัน โดยใช้คาสั่ง Add Relation และเมื่อ
เปลี่ ยนแปลงขนาดของวงกลมใดวงกลมหนึ่ งอี กวงหนึ่ งก็ จะเปลี่ ย นแปลงตามขนาดของวงกลมที่ มี ก าร
เปลี่ ยนแปลงซึ่ งจะมี ขนาดเท่ากันตลอด โดยสามารถกาหนดความสัมพันธ์ ต่าง ๆ ทางเรขาคณิ ตของภาพ
สเกตซ์โดยการคลิกปุ่ ม Add Relation หรื อคลิก ขวาบนกราฟิ กวินโดว์แล้วเลือก Add Relation มีความหมาย
ดังต่อไปนี้
34

สั ญลักษณ์ Relation หรื อความสั มพันธ์ ของเส้ น

สั ญลักษณ์ ชื่ อ คือ


ใช้กาหนดเส้น 2 เส้นตั้งฉากกัน โดยเส้นแรกที่
Perpendicular เลื อกจะอยู่ในตาแหน่ งเดิ มส่ วนเส้นที่ 2 ที่เลือก
จะเลื่อนไปตั้งฉากกับเส้นแรก

ใช้กาหนดให้เส้น 2 เส้นขนานกัน โดยเส้นแรก


Parallel ที่ เ ลื อ กจะอยู่ ใ นต าแหน่ ง เดิ ม ส่ ว นเส้ น ที่ 2 ที่
เลือกจะปรับเลื่อนไปขนานกับเส้นแรก

Tangent ใช้ก าหนดให้เส้ นตรงไปสั มผัส (Tangent) กับ


เส้นโค้งหรื อวงกลม

ใช้เคลื่ อนย้ายตาแหน่ งของจุ ดปลายของเส้ น 2


Coincident เส้น ให้เข้ามาประสานกันใช้ได้ท้ งั เส้นโค้งและ
เส้นตรง

Concentric ใช้กาหนดให้วงกลมหรื อเส้นโค้งร่ วมศูนย์กนั

ใช้กาหนดให้วงกลมหรื อเส้นโค้งมีรัศมีเท่ ากัน


Coradial
และทับกัน

ใช้กาหนดให้เส้นตรงต่าง ๆ ขนานกับเส้นของ
Horizontal
แกนนอน
35

ใช้กาหนดให้เส้นตรงต่าง ๆ ขนานกับเส้นของ
Vertical
แกนตั้ง

ใช้กาหนดให้ขนาดของเส้ นตรง เส้ นโค้ง หรื อ


Equal
วงกลมมีขนาดที่เท่ากัน

ใช้กาหนดให้จุดต่าง ๆอยูก่ บั ที่ (Fix) เพื่อป้ องกัน


การเปลี่ ย นแปลงต าแหน่ ง ของจุ ด ปลายของ
Fix
เส้นตรงเส้นโค้งหรื อจุ ดศู นย์กลางของวงกลม
ต่าง ๆ
ใช้ ก าหนดให้ จุ ด ต่ อ ของเส้ น ตรง หรื อจุ ด
Merge ศูนย์กลางของวงกลมประสานกันกับจุดต่อของ
เส้นตรง หรื อจุดศูนย์กลางของวงกลมอื่นๆ

ใช้ ก าหนดให้ จุ ด ต่ อ ของเส้ น ตรงหรื อจุ ด


Midpoint ศูนย์กลางของวงกลมประสานกันกับจุดกึ่งกลาง
ของเส้นตรง

2D และ 3D แตกต่ างกันอย่ างไร


2D คือ การเขียนแบบ 2 มิ ติ การวาดแบบลงไปบนกระดาษ หรื อพื้นที่ ก ารท างานบนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ (solid works) โดยการเขียนจะอยูบ่ น 2 แกนที่อยูบ่ นเฉพาะแกน X และ Y เท่านั้น ซึ่ งเราเรี ยกว่า
2D ใช้วาดแบบหรื อออกแบบวัตถุต่างๆ ในรู ปแบบ 2 มิติ
3D คื อ การขึ้ นรู ป ในรู ป แบบ 3 มิ ติ โดยใช้ค อมพิ วเตอร์ ช่ วยในการออกแบบ ช่ วยในการสร้ า ง
ชิ้นส่ วนหรื อ Part ด้วยแบบจาลองทางเรขาคณิ ต (Geometry) ชิ้นส่ วนที่ถูกสร้างขึ้นมาเรี ยกว่าแบบจาลองหรื อ
Model และแบบจาลองนี้ก็สามารถแสดงเป็ นแบบ Drawing หรื อไฟล์ขอ้ มูล
36

การกาหนดคีย์ลดั แป้ นคีย์บอร์ ด และเมาส์


เล่อนลูกกล้ง คือ การขยาย
เขาออกชิ้
้ นงานภาพ
คลิกขวาคาง
้ คือ การ
เลือกหนาแสดง

คลิกคางลู
้ กกล้ง คือ
คลิกซายค
้ าง้ คือ
การหมุนชิ้นงาน
ลากครอบชิ้นงาน

การกาหนดคีย์ลดั แป้นคีย์บอร์ ด และเมาส์


กด Options หรือตัวฟั นเฟือง
เพ่อเลือก Customize

1 2 3

เม่อกด Customize แลวเลื


้ อก
Keyboard เพ่อต้งคาคี
่ ยลั์ ดเม่อ
เสร็จแลวให
้ กด้ OK
37

การ Reverse Engineering


วิศวกรรมย้ อนกลับ (Reverse Engineering)
1. วิศวกรรมย้ อนรอยคืออะไร
วิศวกรรมย้อนรอย (Reverse Engineering) หมายถึ ง กระบวนการพัฒนาโดยใช้การวิเคราะห์ สื บ
กลับไปจากต้นแบบที่มีอยูเ่ ดิ ม โดยต้องมีการศึกษาและวิเคราะห์ขอ้ มูลจากชิ้นงานต้นแบบอย่างเป็ นระบบ
ตั้งแต่วสั ดุ คุณสมบัติ จนถึงกรรมวิธีการผลิต อาจ ขยายความได้วา่ เป็ นการลอกเลียนแบบสร้างสรรค์ และยัง
เป็ นการแก้ไขข้อบกพร่ องของการประดิษฐ์เดิมให้ดียงิ่ ขึ้น
reverse engineering สามารถทาได้กบั ทั้งสิ่ งที่จบั ต้องไม่ได้ เช่นระบบการทางาน บริ การ หรื อสิ่ งที่
จับต้องได้ เช่น สิ นค้าต่างๆ วิธีทา reverse engineering ด้วยการแยกอุปกรณ์ หรื อถอดเป็ นชิ้นๆ ส่ วนใหญ่เป็ น
วิธีที่ทาแล้วได้ผลในการศึกษาหรื อ ปรับปรุ งสิ นค้าต้นแบบให้ดีกว่าเดิ ม เช่ นอาจจะย้อนรอยดู ในเรื่ องของ
ขนาดรู ปร่ างของต้นแบบหรื อวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต
ซึ่ งบางครั้งบริ ษทั คู่แข่งอาจต้องซื้ อ
เครื่ อ งจัก รของอี ก บริ ษ ัท เพื่ อ ไปเรี ย นรู ้
วิธีการทางานหรื ออาจต้องแยกเป็ นชิ้ นส่ วน
เพื่อให้ทราบถึง ขั้นตอนการประกอบ
ทั้ ง นี้ ก็ จ ะ น า ข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ ม า
สร้างสรรค์หรื อพัฒนาเป็ นนวัตกรรมใหม่ๆ
นั่ น เองเหตุ ผ ลที่ วิ ศ วกรรมย้อ นรอยถู ก
น ามาใช้เ ป็ นส่ ว นหนึ่ ง ของกระบวนการ
ทาง วิ ศ วกรรมก็ อ าจจะด้ ว ยเหตุ ผ ลทาง ที่มา https://createc.mhesi.go.th/sites/default/files/revers%20enginerring.pdf
ธุ รกิจหรื อเชิ งพาณิ ชย์ แต่นน่ั อาจจะไม่ใช่ เหตุผลหลักเสมอไปเพราะประโยชน์ที่ได้ก็ทาให้เกิดเทคโนโลยี
38

หรื อเครื่ องจัก ร ใหม่ ๆ มากมาย ส่ วนเหตุ ผ ลอื่ นๆ ก็ เช่ น ผูผ้ ลิ ตรายเก่ า ยกเลิ ก การผลิ ตไปแล้ว หรื อ เพื่ อ
วิเคราะห์ส่วนที่ดีหรื อไม่ดี หรื อเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ของเดิมให้ดียงิ่ ขึ้น”

วิศวกรรมย้ อนรอย ดีอย่ างไร?


o สามารถต่อยอดไปสู่ การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่ดีกว่าเดิม
o ประหยัดเวลา ไม่ตอ้ งเสี ยเวลาลองผิดลองถู ก เพราะสิ่ งที่นามาเป็ นต้นแบบที่ตอ้ งการั นตี
ความสาเร็ จหรื อประสิ ทธิ ผลของต้นแบบชิ้นนั้นอยูแ่ ล้ว
o ประหยัดต้นทุน เครื่ องจักรที่นาเข้าจากต่างประเทศมักมี ราคาแพง หากเราสามารถศึกษา
กระบวนการท างานของเครื่ อ ง จัก ร จนสามารถผลิ ต เองได้ นอกจากการท างานจะมี
ประสิ ทธิ ภาพก็ยงั ช่วยลดส่ วนต่างจากการ นาเข้าได้อย่างมาก

วิศวกรรมย้ อนรอย ผิดกฎหมายไหม?


วิศวกรรมย้อนรอย มักจะถู กเข้าใจว่าเป็ นการลอกเลี ยนแบบหรื อทาซ้าโดยไม่ ํ ได้พฒั นา ซึ่ งตาม
กฎหมายแล้วการทา วิศวกรรมย้อนรอยหรื อวิศวกรรมย้อนกลับนั้น ไม่ ผดิ กฎหมาย เพราะได้รับการคุม้ ครอง
ตามพระราชบัญญัติความลับทางการค้า พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๗ ‘การกระทาอย่างใดอย่างหนึ่ งต่อไปนี้ แก่
ความลับทางการค้า มิให้ถือว่าเป็ นการละเมิดสิ ทธิ ในความลับ ทางการค้า” และ ‘การทาวิศวกรรมย้อนกลับ
ได้แก่ การค้นพบความลับทางการค้าของผูอ้ ื่น โดยผูค้ น้ พบได้ทาการประเมิน และศึกษาวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์
ที่เป็ นที่รู้จกั กันทัว่ ไป เพื่อค้นคว้า หาวิธีที่ผลิตภัณฑ์น้ นั ได้รับการประดิษฐ์ จัดทาหรื อพัฒนาแต่ ทั้งนี้ บุคคล
ที่ทาการประเมินและศึกษาวิเคราะห์ดงั กล่าวจะต้องได้ผลิตภัณฑ์เช่นว่านั้นมาโดยวิธีที่สุจริ ต”

2. ความเป็ นมาวิศวกรรมย้ อนรอย


‘การพัฒนาอันไม่ หยุดยั้ง ของเทคโนโลยี นอกจากจะเข้า มามี บ ทบาทในการขับ เคลื่ อนโลกให้
ก้าวหน้าอยูต่ ลอดเวลาแล้ว ยังเป็ นการผลักดันให้การ แข่งขันของประเทศต่างๆ มีสูงขึ้นตามไปด้วย สาหรับ
ประเทศไทยที่อาศัยศักยภาพในฐานะประเทศผูผ้ ลิต และส่ งออกเป็ นฟันเฟื องใหญ่ในการขับเคลื่อน ประเทศ
การหาแนวทาง หรื อวิธีการ ที่จะมาช่ วยสนับสนุ น ทั้งในด้านการส่ งเสริ มกาลังการผลิ ต และคุ ณภาพของ
ผลิตภัณฑ์ให้ดียงิ่ ขึ้น จึงเป็ นเรื่ องที่มี การศึกษาวิจยั และหาแนวทางพัฒนามาโดยตลอด
วิศวกรรมย้อนรอย ถือเป็ นทางเลือกที่จะมาช่วย "ยกระดับ" การแข่งขันให้ประเทศไทยทัดเทียมกับ
ประเทศอื่ น ๆ บนเวที โ ลกภายใต้ก รอบการ พัฒ นาดัง กล่ า ว แรกเริ่ ม วิ ศ วกรรมย้อ นรอยถู ก น ามาใช้ใ น
การทหารยุคสงครามโลกครั้ งที่ สองและยุคสงครามเย็นเพื่อคัดลอกเทคโนโลยี อุ ปกรณ์ หรื อ ข้อมู ลของ
ํ น
ประเทศอื่ น อย่างที่ กองทัพสหราชอาณาจัก รและกองทัพ อเมริ กนั ได้ป ระกาศว่า เยอรมันมี ถงั เก็บ น้ามั
39

เบนซิ นที่มีการออกแบบอย่างยอดเยีย่ ม พวกเขาได้ทาวิศวกรรมผันกลับเพื่อคัดลอกถังเหล่านี้ หรื อ เครื่ องบิน


ทิ้งระเบิด B-29 ของฝ่ ายอเมริ กนั จานวนหนึ่ งที่ไปปฏิ บตั ิภารกิ จที่ญี่ปุ่น ถู กบังคับ ให้ลงจอดในสหภาพโซ
เวียด ภายในไม่กี่ปีต่อมา โซเวียดได้สร้างเครื่ องบินทิ้งระเบิด Tu-4 ซึ่ งลอกเลียนแบบมาจากเครื่ องบิน B-29
ทุกประการ
ในปั จจุบนั บทบาทของตัววิศวกรรมย้อนรอยได้เปลี่ยนไป ซึ่ งในการอธิ บายทางวิทยาศาสตร์ น้ นั ถื อ
เป็ นพื้นฐานที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ วิเคราะห์การทางานในแต่ละส่ วน จากนั้นจึงนามาสร้างอุปกรณ์
ใหม่หรื อโปรแกรมใหม่ ที่ทางานได้เหมือนเดิม ซึ่ งเป็ นที่ยอมรับอย่างแพร่ หลายในต่าง ประเทศไม่วา่ จะเป็ น
อเมริ กา ญี่ปุ่น เกาหลี ไต้หวัน เป็ นต้น

ที่มา https://createc.mhesi.go.th/sites/default/files/revers%20enginerring.pdf

สาหรับประเทศไทยนั้น เทคโนโลยีวิศวกรรมย้อนรอย ได้ช่วยพัฒนาและสร้างเครื่ องจักรตามความ


ต้องการของภาคอุตสหากรรมการผลิตที่ส่วน ใหญ่ตอ้ งนาเข้าเครื่ องจักรจากต่างประเทศเป็ นการลดต้นทุน
การผลิ ต ทั้งในแง่ของระยะเวลาวิจยั พัฒนาที่ช่วย "เปิ ดโอกาส" ที่จะเกิ ดการพัฒนา เทคโนโลยีใหม่ๆ ให้
เกิดขึ้น ได้อย่างรวดเร็ ว ไม่ตอ้ งลองผิดลองถูก อันทาให้สามารถเน้นการค้นคว้าได้อย่าง "ตรงประเด็น" และ
มี "ประสิ ทธิ ภาพ" มาก ยิ่งขึ้ น อี กทั้งยังเป็ นการ "ลดค่าใช้จ่าย" ให้กบั ผูป้ ระกอบการไทยให้ลงทุนสร้ าง
เครื่ องจักร หรื อเครื่ องมือได้เอง โดยที่ไม่ตอ้ งนาเข้าจากต่างประเทศอันจะ ช่ วยลดปั ญหาการซ่ อมบารุ งไป
โดยปริ ยาย ตลอดระยะเวลาที่ผา่ นมา กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีได้ให้การสนับสนุ นการพัฒนา
เทคโนโลยีดว้ ย กระบวนการวิศวกรรมย้อนรอย มาตั้งแต่ปี 2547 จวบกระทัง่ ปั จจุบนั นับเป็ นเวลาถึง 10 ปี ซึ่ ง
40

ถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับประวัติศาสตร์ การใช้ วิศวกรรมย้อนรอยที่มีมากว่า 75 ปี อย่างไรก็ตามไม่มีขอ้ มูล


ที่ระบุชดั เจนว่า วิศวกรรมย้อนรอยเข้ามามีบทบาทต่อการพัฒนาประเทศไทยตั้งแต่เมื่อไร และผลของการนา
วิศวกรรมย้อนรอยมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาชาติน้ นั ปั จจุบนั มีการพัฒนาหรื อเปลี่ ยนแปลงหรื อประสบ
ความสาเร็ จไปในระดับใด ใน ขณะที่ จีน เกาหลี ไต้หวัน ประสบความสาเร็ จอย่างมากในการพัฒนาชาติดว้ ย
วิศวกรรมย้อนรอย จึงเป็ นเรื่ องราวที่น่าสนใจอย่างยิ่งสาหรับ ประวัติศาสตร์ และความสาเร็ จของวิศวกรรม
ย้อนรอยของประเทศไทย”

Reverse Engineering

ที่มา https://createc.mhesi.go.th/sites/default/files/revers%20enginerring.pdf
41

3. ประโยชน์ ทปี่ ระเทศไทยจะได้ รับจาก วิศวกรรมย้ อนรอย

*เพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาเทคโนโลยี ให้แก่ผปู ้ ระกอบการไทยสามารถ


สร้างเครื่ องจักร/เครื่ องมือที่ได้เองในประเทศ
* ลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ และบริ การการซ่ อมบารุ งเครื่ องจักรที่
ต้องรอผูเ้ ชี่ยวชาญจากต่างประเทศ
* สร้างโอกาสที่จะเกิดการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ข้ ึนในประเทศ จากการปรับปรุ ง
ดัดแปลงหรื อการพัฒนาต่อยอด เทคโนโลยี เทคโนโลยี

เทคโนโลยี * เกิ ด การบู ร ณาการการท างานกัน ระหว่า งภาครั ฐ


ภาคเอกชน (PPP) และภาควิชาการ (Triple Helix) ทั้ง
ผูผ้ ลิตและผูใ้ ช้เครื่ องจักร

สั งคม * นาไปสู่ การสร้างงาน/สร้ างอาชี พ ที่ เกี่ ยวข้อง เช่น


การสร้าง การซ่อมเครื่ องจักร

* คนไทยได้ใช้สินค้าที่ดีมีราคาถูก
เศรษฐกิจ * ผลิตภาพรวมของประเทศสู งขึ้นกลายเป็ นเงิ นภาษี
ย้อนกลับมาพัฒนา สังคมไทยให้มีคุณภาพชีวติ ที่ดี

* ลดต้นทุ นการผลิ ตสิ นค้า จากการที่ ผูป้ ระกอบการผลิ ตไทยได้ใช้เครื่ องจักรที่ มีคุณภาพ
ทัดเทียมกับต่างประเทศในราคาที่ถูกกว่านาเข้า

* ลดการน าเข้าเครื่ อ งจัก รจากต่า งประเทศ รวมถึ ง อะไหล่ และการบริ ก ารซ่ อมบารุ งจาก
ต่างประเทศ

* เพิ่มมูลค่าทรัพยากรของประเทศ จากการใช้วสั ดุและบุคลากรในประเทศ

* เพิม่ การจ้างงานในการผลิตเครื่ องจักรจาหน่าย

* ลดต้นทุนและเวลาที่ตอ้ งใช้ในการวิจยั พัฒนาขั้นต้น โดยการพัฒนาเทคโนโลยีดว้ ยวิศวกรรม


ย้อนรอย

*เพิ่มศักยภาพการแข่งขันด้านเทคโนโลยีของไทยเพื่อเตรี ยมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ. 2558
42

4. ประเภทของอุตสาหกรรมทีเ่ กีย่ วข้ อง


วิศวกรรมย้อนรอยถู กนามาประยุกต์ใช้ใ นหลากหลายอุ ตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็ น อุ ตสาหกรรม
เทคโนโลยีวสั ดุ เช่ น การขึ้ นรู ปหล่ อแบบ ผลิ ตอะไหล่ ชิ้ นส่ วน รวมไปถึ งการย้อนรอยสู ตรทางเคมี เช่ น
พลาสติก ยาง คอมโพสิ ท ปูน คอนกรี ต กาว เป็ นต้น รวมไปถึ งอุตสาหกรรมหนัก ในการผลิ ตเครื่ องมือ
เครื่ อ งจัก รและอุ ป กรณ์ ที่ เ กี่ ย วพัน ถึ ง อุ ต สาหกรรมประเภทต่ า งๆ เช่ น อุ ต สาหกรรมแปรรู ป อาหาร
อุตสาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรมยานยนต์ [อุตสาหกรรมเครื่ องจักรกลอัตโนมัติ อุตสาหกรรม พลังงาน
ทดแทน รวมไปถึ ง การท าวิ ศ วกรรมย้อ นรอยของซอฟต์ แ วร์ โปรแกรม หรื อ ระบบปฏิ บ ัติ ก ารต่ า งๆ
นอกจากนี้ ยังมีการใช้ วิศวกรรมย้อนรอยในเทคโนโลยีการแพทย์และเวชกรรม ทาให้เราได้รับการรักษาใน
ราคาไม่สูงนัก รวมถึงสู ตรยาต่างๆที่ราคาไม่ แพง ดังจะเห็นได้วา่ เทคโนโลยี หรื อผลิตภัณฑ์ต่างๆรอบตัวเรา
มาจากกระบวนการวิศวกรรมย้อนรอยแทบทั้งสิ้ น ไม่ว่าจะเป็ น รถยนต์ ทีวี มือถื อ หรื อแม้แต่เสื้ อผ้าที่ ใส่
ถึงแม้จะไม่มีผปู ้ ระกอบการรายใด ยึดอกอย่างภาคภูมิวา่ ธุ รกิจของเขาเจริ ญก้าวหน้า มาได้จากวิศวกรรมย้อน
รอย แต่คงไม่มีผใู ้ ดปฏิเสธว่า วิศวกรรมย้อนรอยมีส่วนส่ งเสริ มศักยภาพทางการแข่งขันทางธุ รกิจ

ที่มา https://createc.mhesi.go.th/sites/default/files/revers%20enginerring.pdf
43

5. การส่ งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีเครื่ องจักรกลผ่ านกระบวนการวิศวกรรมย้ อนรอยโดย


กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
ส านัก ส่ ง เสริ ม และถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ส านัก งานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
(สป.วท.) ได้ ดาเนิ นงานโครงการศึ ก ษา พัฒนา และถ่ า ยทอดเทคโนโลยีใ นกระบวนการผลิ ต ด้ว ยวิ ธี
วิ ศ วกรรมย้อ นรอย (Reverse Engineering RE) มาตั้ง แต่ ปี ๒๕๔๗ จนถึ ง ปี ๒๕๕ ๖ ได้ ร่ วมทุ น กั บ
สถาบันการศึกษา สถาบันทางวิชาการ สถาบันวิจยั สมาคม และ ผูป้ ระกอบการภาคเอกชนมากกว่า ๖๔๐
ล้านบาท และมีการสนับสนุ นโครงการไปแล้วจานวนมากถึ ง ๔๕ โครงการ โดยมีเป้ าหมาย เพื่อพัฒนา
ผูป้ ระกอบการไทยให้มีศกั ยภาพในการผลิตเครื่ องจักรกลทดแทนการนาเข้าจากต่างประเทศ
อย่างไรก็ตามโครงการวิศวกรรมย้อนรอยยังคงเป็ นชื่ อโครงการที่ผไู ้ ด้ยินรู ้สึกติดภาพลบทั้งในและ
ต่างประเทศ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ จึงมีแนวความคิดที่จะเปลี่ยนชื่ อโครงการ ประกอบกับการขยายขอบเขตการ
สนับสนุ นของโครงการให้ครอบคลุ ม ถึ งเทคโนโลยีใหม่ที่ต่อยอดจากการทาวิศวกรรมย้อนรอย เพื่อให้
สอดคล้องกับกลไกการสนับสนุนการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี ของประเทศ ดังนั้นในปี พ.ศ. ๒๕๕๕
โครงการวิศวกรรมย้อนรอย จึงเปลี่ยนชื่ อเป็ น โครงการวิศวกรรมเพื่อการสร้างสรรค์คุณค่า ด้วยเหตุผลและ
ความหมายของชื่อโครงการตามที่ได้กล่าวมา
นอกจากเหตุ ผ ลปั จ จัย ที่ ก ล่ า วมาข้า งต้น แล้ว การเปลี่ ย นชื่ อ โครงการวิ ศ วกรรมย้อ นรอย เป็ น
โครงการ วิศวกรรมเพื่อการสร้างสรรค์คุณค่า ยังเป็ นการดาเนิ นงานตามแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีที่ได้
กาหนดไว้ล่วงหน้า เพราะนอกจาก จะเปลี่ ยนชื่ อโครงการแล้ว ยังมีการปรับปรุ งขอบตเขตการดาเนิ นงาน
ของโครงการให้ครอบคลุ มถึ งการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ในไทย ถึ งแม้ไม่มีตน้ แบบจากต่างประเทศก็ตาม
กล่าวคือ สามารถครอบคลุมเทคโนโลยีที่เกิดจากการต่อยอดเทคโนโลยีเดิมให้กลายเป็ น เทคโนโลยีใหม่ข้ ึน
ได้ เพื่อให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีเครื่ องจักรกลที่เป็ น Local Content ของไทย ซึ่ งหากพิจารณาขั้นตอน
44

กลไกการถ่ ายทอดเทคโนโลยีของไทย สรุ ปง่ ายๆ ๓ ขั้นคือ


ขั้นต้น ‘เทศในไทย” : ส่ งเสริ มให้ต่างประเทศลงทุนในประเทศไทยเพื่อหวังดูดซับเทคโนโลยี
ขั้นกลาง ‘ไทยในไทย” : ส่ งเสริ มให้เกิด Local Content ในประเทศไทย หลังจากที่ดูดซับเทคโนโลยีมา ได้
ระดับหนึ่ง
ขั้นปลาย ‘ไทยในเทศ” : ขั้นสุ ดยอดของความสาเร็ จ คือผูป้ ระกอบการไทยสามารถดู ดซับเทคโนโลยีจน

สามารถพัฒนาเป็ น ของตัวเอง และก้าวล้าจนอยู ่ระดับเดี ยวกันหรื อเหนื อกว่าต่างประเทศ และสามารถไป
ลงทุนในต่างประเทศและแข่งขันได้

ที่มา https://createc.mhesi.go.th/sites/default/files/revers%20enginerring.pdf
45

ประเทศไทยจึงควรทบทวนกลไกการสนับสนุนให้เกิดการถ่ายทอดและดูดซับเทคโนโลยี ในระดับ
ขั้น ‘ไทยในไทย” และ ‘ไทยในเทศ” อย่างเป็ นรู ปธรรมด้วยแนวความคิดข้างต้น การขับเคลื่อนระดับขั้นจาก
‘เทศในไทย” ให้กา้ วขึ้นสู่ ‘ไทยในไทย” เป็ น แนวความคิดที่ก่อเกิดเป็ นกลไกการส่ งเสริ มที่เป็ นต้นแบบของ
โครงการวิศวกรรมย้อนรอย ซึ่ งดาเนิ นการมาตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ และ กาลังก้าวเข้าสู่ ปีที่ ๑๐ ใน ปี นี้ อย่างไรก็
ตาม กลไกการสนับสนุนต้องขับเคลื่อนไปข้างหน้า การผลักดันและจูงใจให้เกิด การ ขับเคลื่อนระดับขั้นจาก
‘ไทยในไทย” ให้เข้าสู่ ‘ไทยในเทศ” จึงเกิ ดเป็ นโครงการวิศวกรรมสร้ างสรรค์คุณค่า เพื่อขับเคลื่ อนกลไก
การส่ งเสริ มให้เกิดการพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยีเดิมให้กลายเป็ นเทคโนโลยีใหม่ที่ทดั เทียมต่างชาติหรื อดียงิ่
กว่าเดิ มซึ่ งโครงการ วิศวกรรมสร้ างสรรค์คุณค่านี้ จะมีรูปแบบกิ จกรรมที่ เพิ่มเติมเข้ามาให้สอดคล้องกับ
แนวคิ ดดัง กล่ า ว เช่ น กิ จกรรมการประกวดการ ออกแบบระบบการผลิ ต แบบอัต โนมัติ และ กิ จกรรม
เทคโนโลยีรีดีไซน์ ที่จะเริ่ มต้นในปี ๒๕๕๗

ที่มา https://createc.mhesi.go.th/sites/default/files/revers%20enginerring.pdf
จัดทาโดย
นางสาววรรณภา ลองพล

ผู้ตรวจสอบ
อ.พิษณุพงษ์ พุ่มมะรินทร์ และ อ.วภช หลายวัฒนไพศาล
แบบฝึ กหัด
1. จากภาพชิ้นงาน จงใช้โปรแกรม SolidWorks สร้างชิ้นงานดังรู ป โดยใช้หน่วยมิลลิเมตร
เฉลยแบบฝึ กหัด
1. BASE

1.1 การสร้างเอกสารใหม่ คลิกที่ New แล้วเลือกสร้าง Part โดยเราจะเริ่ ม


จากการเขียน part ที่ 1 ชื่อ Base

1.2 เมื่ อ เลื อ ก part และกด ok แล้ว ให้ เ ราท าการเลื อ ก จุ ด origin โดยการกดที่ Top plane
เพื่ อ ที่ จ ะร่ า งชิ้ น งานเมื่ อ กด แล้ว ให้เ ราทาการสร้ า งสี่ เ หลี่ ย ม center Rectangle

คลิกที่ Smart Dimension และกาหนดขนาดตามที่แสดงด้านล่าง


1.3 คลิกที่ Extruded Boss/Base เลือกประเภท Blind และตั้งค่าความลึกที่ 12mm คลิก
เพื่อเสร็จสิ้ น

1.4 เมื่อสร้างชิ้นงานเสร็จแล้วให้ทาการร่ างชิ้นงานขึ้นมาโดยการคลิกที่ชิ้นงานให้ข้ ึน


สี ฟ้า แล้วคลิก ขวา เพื่อกด sketch ทับชิ้นงานแรกดังรู ป
1.5 เมื่ อ ร่ า งชิ้ น งานเสร็ จ แล้ว ให้ ท าการ สร้ า งเนื้ อ ชิ้ น งาน Extruded Boss/Base เลื อ ก
ประเภท Blindและตั้งค่าความลึกที่ 2mm คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น

1.6 เมื่อเพิม่ เนื้อชิ้นงานเสร็จแล้วให้ทาการกด Spacebar คลิก Bottom เพื่อพลิกชิ้นงานไป


ด้านล่าง แล้วทางานตัดชิ้นงานตรงกลางโดยคลิกที่เนื้อชิ้นงานให้เป็ นสี ฟ้า แล้วกด Extruded Cut
ทาการร่ างทับชิ้นงานโดยกดที่ คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น ให้กดที่ Extruded Cut
เลือกประเภท Blindและตั้งค่าความลึกที่ 3mm คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น
1.7 คลิกที่ Chamfer เลือกขอบ 2 ด้านที่ดา้ นล่างของฐานตามที่แสดง และกาหนดรัศมีของ
เนื้อเป็ น 3 มม . คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น

1.8 คลิกที่ Fillet แล้วเลือกขอบด้านทั้ง 4 ด้านของฐานตามภาพ และกาหนดรัศมีของ


เนื้อเป็ น 12 มม . คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น
1.9 เลื อกหน้าที่ จาการเจาะรู แสดงเป็ นระนาบการร่ าง คลิ กที่ เนื้ อชิ้ นงานให้ข้ ึ นสี ฟ้า แล้วกด
Extruded Cut เลือกวงกลม Circle คลิกที่ Smart Dimension และตั้งค่าเส้นผ่าน
ศูนย์กลางเป็ น 12 mm . คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น กด Mirror คลิกวงกลม 2 วงแล้วกด Right
Plane คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น

1.10 กด Extruded Cut อีกครั้งเพื่อเจาะรู เลือก Through All คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น


1.11 บันทึกชิ้นงานนี้ได้โดยคลิกไฟล์ ->บันทึก ตั้ง ชื่อไฟล์น้ ีเป็ น " Base "

2. BRACKET
2.1 การสร้างเอกสารใหม่ คลิกที่ New แล้วเลือกสร้างเอกสาร Part ใหม่
2.2 เลือกระนาบขวาเป็ น Front Plane (ต้องเลือกระนาบก่อนจึงจะร่ างได้) กด Sketch

2.3 คลิกที่ Rectangle และร่ างสี่ เหลี่ยม จากนั้น คลิกที่ Smart Dimension เลือกความยาว
ของสี่ เหลี่ยมผืนผ้าและตั้งค่าขนาดเป็ น 46 mm เลือกความกว้างและกาหนดขนาดเป็ น 10 mm
คลิ ก ที่ Circle และร่ างวงกลมที่ มุ ม บนขวาของสี่ เหลี่ ย มผื น ผ้า ดั ง ภาพ คลิ ก ที่ Smart
Dimension และตั้งค่าเส้นผ่านศูนย์กลางเป็ น 10 mm กดที่ Leaders เลือก Radius ก็จะ
กลายเป็ น R5
2.4 คลิกที่ Extruded Boss/Base เลือกประเภท Mid Plane และตั้งค่าความลึกที่ 74mm คลิก
เพื่อเสร็จสิ้ น

2.5 กดที่ Front Plane ทาการ Sketch เลือกความยาวของสี่ เหลี่ยมผืนผ้าและตั้งค่าขนาดเป็ น


76 mm เลือกความกว้างและกาหนดขนาดเป็ น 9 mm คลิก เพื่อเสร็ จสิ้ น คลิกที่ Extruded
Boss/Base เลือกประเภท Mid Plane และตั้งค่าความลึกที่ 32 mm
2.6 คลิกที่ Fillet เลือกขอบทั้ง 2 ของบล็อกแนวตั้งตามที่แสดง และกาหนดรัศมีของเนื้ อที่
16 mm . คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น

2.7 คลิกเลือกพื้นผิวด้านหน้าให้เป็ นสี ฟ้า เเล้วกด Sketch คลิกที่ Circle และร่ างวงกลม
โดยลากจากโค้งให้เห็นจุดกึ่งกลาง หลังจากนั้นให้ลากจากจุดวงกลมไปยังจุดโค้ง ดังภาพ
2.8 คลิกที่ Extruded Boss/Base เลือกประเภท Blind และตั้งค่าความลึกที่ 5mm คลิก
เพื่อเสร็จสิ้ น

2.9 คลิกที่ ด้านหน้าวงกลมให้เป็ นสี ฟ้า ทาการ Sketch กด Circle ทับวงกลมศูนย์กลาง


ขนาด 12 mm. คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น
2.10 กดที่ Extruded Cut แล้วเลือก Up to Next คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น

2.11 คลิกที่ Fillet เลือกขอบทั้ง 2 ตามภาพและกาหนดรัศมีของเนื้อที่ 12 mm. คลิก


เพื่อเสร็จสิ้ น
2.12 เลือกส่ วนบนของฐานที่จะทาการ Sketch ดังภาพ คลิกวงกลม และร่ างวงกลม 2 วง
โดยมี ข อบโค้ง มน คลิ กที่ Smart Dimension และก าหนดเส้ น ผ่า นศู น ย์ก ลางของวงกลมเป็ น
12mm. คลิ ก วงกลม และกด Mirror เลื อ ก Front Plane คลิ ก ที่ Extruded Cut เลื อ ก
Through All คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น

2.13 คลิก Front Plane กด Sketch ร่ างเส้นโดยใช้ Line เริ่ มจากขอบฐานไปยังที่ใดที่หนึ่งใน


บล็อกแนวตั้ง คลิกที่ Smart Dimension และตั้งค่าระยะห่างแนวตั้งระหว่างจุดปลายทั้งสอง
ของเส้นเป็ น40mm. คลิก Rib เลือกทั้ง2ด้าน และตั้งค่า ระยะทางเป็ น 10 mm. คลิก
เพื่อเสร็จสิ้ น
2.14 คลิกที่ Fillet เลือกขอบตามภาพ และกาหนดรัศมีของเนื้ อเป็ น 5mm. คลิก เพื่อ
เสร็จสิ้ น

2.15 บันทึกชิ้นงานนี้ได้โดยคลิก File -> Save ตั้งชื่อไฟล์น้ ีเป็ น BRACKET

3. SPINDLE
3.1 การสร้างเอกสารใหม่ คลิกที่ New แล้วเลือก สร้างเอกสาร Part ใหม่
3.2 เลือก Top Plane กด Sketch คลิกที่ Circle และร่ างวงกลมโดยให้ Origin เป็ น
ศูนย์กลางของวงกลม คลิกที่ Smart Dimension และกาหนดเส้นผ่านศูนย์กลางเป็ น 20mm.
3.3 คลิกที่ Extruded Boss\Base เลือกประเภท Mid Plane และตั้งค่าความลึกที่ 66mm คลิก
เพื่อเสร็จสิ้ น
3.4 เลื อ กที่ Top Plane กด Sketch คลิ ก ที่ Circle และร่ า งวงกลมตรงกลาง คลิ ก ที่ Smart
Dimension และตั้งค่าเส้นผ่านศูนย์กลางเป็ น 12mm . คลิกที่ Extruded Boss\Base เลือก
ประเภท Mid Plane และตั้งค่าความลึกที่ 100mm คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น
3.5 ต่อมาคือการลบมุมที่ปลายโดยใช้ Chamfer เลือกขอบทั้งสองที่เน้นสี เขียวตามที่แสดง เลือก
ระยะมุมและตั้งค่าระยะทางเป็ น 2mm .และมุมเป็ น 45องศา คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น

3.6 บันทึกชิ้นงานนี้ได้โดยคลิก File -> Save ตั้ง ชื่อไฟล์น้ ีวา่ SPINDLE

4.BUSH
4.1 การสร้างเอกสารใหม่ คลิกที่ New แล้วเลือก สร้างเอกสาร Part ใหม่
4.2 เลือก Top Plane กด Sketch คลิกที่ Circle และร่ างวงกลมโดยให้ Origin เป็ น
ศูนย์กลางของวงกลม คลิกที่ Smart Dimension และกาหนดเส้นผ่านศูนย์กลางเป็ น 32mm.
4.3 คลิกที่ Extruded Boss\Base เลือกประเภท Blind และตั้งค่าความลึกที่ 3mm คลิก
เพื่อเสร็จสิ้ น
4.4 เลื อ ก Top Plane กด Sketch คลิ ก ที่ Circle และ Sketch วงกลมที่ มี เ ส้ น ผ่ า น
ศูนย์กลาง 25mm. ดังภาพ คลิกที่ Extruded Boss\Base เลือกประเภท Blind และตั้งค่าความ
ลึกที่ 25mm คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น
4.5 คลิกหน้าของวงกลมเล็กเพื่อ Sketch กดที่ Circle และร่ างวงกลมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง
20mm. คลิกที่ Extruded Cut เลือกประเภท Through All คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น

4.6 บันทึกชิ้นงานนี้โดยคลิกFile - > Save ตั้ง ชื่อไฟล์น้ ีวา่ BUSH

5. ROLLER
5.1 การสร้างเอกสารใหม่ คลิกที่ New แล้วเลือก สร้างเอกสาร Part ใหม่
5.2 เลือก Front Plane กด Sketch คลิก Centerline ร่ างเส้นกึ่งกลางในแนวนอนและ
แนวตั้ง หลัง จากนั้น คลิ ก Line ร่ า งตามภาพที่ แ สดง คลิ ก ที่ Smart Dimension เพื่ อ
กาหนดขนาด กดที่ Mirror กด Shift ค้างคลิกให้ครบทุกเส้นกดตรงช่ อง Mirror about คลิก
เส้น Centerline คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น
5.3 คลิกที่ Revolved Boss/Base กด Centerline แนวนอน เลือกประเภท Blind ตั้งค่าเป็ น
360องศา คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น
5.4 คลิก Filler กดด้านในทั้งสองด้านของRoller และกาหนดรัศมีของเนื้อเป็ น 6mm . คลิก
เพื่อเสร็จสิ้ น

5.5 คลิกหน้าชิ้นงานวงกลมตรงกลางให้ข้ ึนสี ฟ้า แล้วคลิกขวากด Sketch คลิก Circle


และร่ างวงกลมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 25mm. คลิกที่ Extruded Cut เลือกประเภท Through All
คลิก เพื่อเสร็จสิ้ น

5.6 บันทึกชิ้นงานนี้โดยคลิกไฟล์ ->บันทึก ตั้ง ชื่อไฟล์น้ ีวา่ ROLLER

You might also like