You are on page 1of 3

Innovation of

concrete
นวัตกรรมคอนกรีตในงานก่อสร้าง

Self Healing Concrete - คอนกรีตที่สามารถซ่อมแซมตัวเองได้


อาการแตกหักของคอนกรีต คือปัญหาใหญ่ที่สร้างความปวดหัวให้กับวิศวกรและทุกคนในอุตสาหกรรมก่อสร้างเสมอ
เพราะเมื่อไหร่ที่เกิดการแตกร้าวขึ้น นั่นหมายถึงปัญหารั่วซึมจะตามมา จนความสมบูรณ์ของวัสดุเสียไป
กลุ่มนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัย Delft University of Technology ในเนเธอร์แลนด์ พยายามหาทางออกให้กับปัญหานี้ด้วย ไบโอ
คอนกรีต
ส่วนประกอบหลักของคอนกรีตชนิดนี้แทบไม่ต่างจากที่เราใช้กันทั่วไป ยกเว้นแบคทีเรียชนิดพิเศษที่จะสร้างคริสตัลขึ้นมาห่อหุ้มเซลล์ของพวกมัน
ซึ่งเมื่อคริสตัลเหล่านี้สัมผัสกับโปรตีนและน้ำตาลแล้ว ก็จะก่อให้เกิดสสารที่มีคุณสมบัติคล้ายกาวขึ้น
ทุกครั้งที่คอนกรีตเกิดความเสียหาย แบคทีเรียเหล่านี้ก็จะทำหน้าที่เชื่อมรอยเหล่านั้นด้วยหินปูนหรือแคลเซียมคาร์บอเนต จากคริสตัลที่พวกมัน
สร้างขึ้นมานั่นเอง นวัตกรรมนี้ถูกคิดค้นโดย Dr. Henk Jonkers และคณะ

Carbon Negative Cement-คอนกรีตคาร์บอนต่ำ


แม้จะได้ชื่อเรื่องความทนทานและแข็งแกร่ง แต่กระบวนการก่อสร้างโดยใช้
คอนกรีตก็นำมาซึ่งปัญหาใหญ่เรื่องคาร์บอน
เพราะปริมาณก๊าซเรือนกระจก (carbon footprint) ที่เกิดขึ้นนั้น มีน้ำหนักเทียบ
เท่ากับของวัตถุนั้นๆเลยทีเดียว
จนเป็นที่มาของการหาทางลดมลภาวะดังกล่าว ด้วยการผสมขี้เถ้าที่เกิดจากการ
เผาถ่านหินลงไป ให้ทำปฏิกิริยากับตัวคอนกรีต
ผลที่ได้คือไม่เพียงจะช่วยลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก ยังลดการใช้น้ำลง และที่
สำคัญตัวขี้เถ้าก็ไม่กลายเป็นขยะส่วนเกินด้วย
ผลพลอยได้ที่ตามมาคือก่อนแข็งตัว คอนกรีตจะมีลักษณะคล้ายครีมซึ่งสามารถ
จัดแต่งรูปทรงได้ตามต้องการง่ายกว่าคอนกรีตแบบเดิมๆ
นวัตกรรมนี้ถูกคิดค้นโดย Novacem

ที่มาจาก http://www.environnet.in.th/archives/1656.
https://web.cpac.co.th/th/product/416/concrete-low-carbon
Cormeum Café and
Neighborhood Facility
/ KARO Architekten

Architects: KARO Architects


Area : 2207 m²
Year : 2021
Lead Architects : Kim Kijoong
City : Ansung
Country : South Korea

Cormeum ตั้งอยู่ที่เชิงใต้ของภูเขา Bibongsan (229m) ใน Anseong


Cormeum ได้รับการออกแบบโดยหวังว่าจะสะท้อนถึงลักษณะที่ตั้งของไซต์ ซึ่งจะค่อยๆ เปิดเผยและทำให้เป็น
สถาปัตยกรรมที่คาดเดาไม่ได้ ด้วยเหตุนี้ พื้นที่และรูปแบบได้รับการออกแบบในลักษณะที่สอดคล้องกับถนนทางเข้าที่มีมุม
และระดับต่างๆ แน่นอนว่ามุมและระดับควรสะท้อนถึงมุมมองที่เป็นถนนทางเข้า เมื่อคุณยืนอยู่บนบก คุณจะมองเห็น
ภูมิประเทศในแนวราบที่ห่างไกลจากที่ราบอันซองทางด้านทิศใต้
ซึ่งแสดงถึงความมั่นคงของผืนดินและเกษตรกรรมเนื่องจากที่ดิน
ตั้งอยู่ที่เชิงเขาBibongsanคุณจึงสามารถเห็นทิวทัศน์
นี้ได้อย่างกว้างขวาง มีการสร้างเทางเดินแนวทางเดินไว้สองที่โดย
มีทางเดินข้างนอกและทางเดินข้างใน มีการวางบันไดที่ถูกจัด วางไว้
ที่ด้านหน้าของอาคารเพื่อให้ผู้ใช้ที่เข้าและออกจากคาเฟ่สามารถ
เคลื่อนไหวไปมาและเพลิดเพลินกับอาคารและภูมิทัศน์โดยรอบได้และ
เส้นทแยงมุมหลายมุมที่ใช้กับด้านหน้าแสดงแง่มุมต่างๆของอาคาร
แก่ผู้ใช้ที่ต้องการเดินชม

หลายๆคนที่ได้มาได้วิจารกับงานนี้วว่าเป็นงานศิลปะในท้องถิ่นที่รักษาความสัมพันธ์ลระหว่างพื้นที่จัดตั้งกับ
ศิลปะที่ออกแบบอาคารจากศิลปิน ดังนั้นอาคารจคงมีการวางแผนพื้นที่เปิดโล่งสำหรับอาคารหลังนี้ซึ่งสามารถ
จัดแสดงผนังขนาดต่างๆ และงานศิลปะเชิงพื้นที่ได้ แน่นอนว่าการวางเส้นทางนั้นนั้นเชื่อมโยงกับช่องว่างที่ไว้
จัดงานศิลปะเพื่อให้คุณได้ชื่นชมมัน อีกทั้งมีการจัดโต๊ะและเก้าอี้ให้หมุนเวียนหมุนเวียนกันไปเพื่อให้ผู้ใช้ได้เลือก
ตามรสนิยม

เหตุผลที่เลือกงานชิ้นนี้
งานชิ้นนี้มีการจัดแสดงโชว์เกี่ยวกับการใช้คอนกรีตเพราะตัวอาคารส่วนใหญ่ทำมา
จากคอนกรีตและไม่ได้ทาสีจึงเหมือนเป็นการโชว์งานคอนกรีตที่ได้ออกแบบ และอีกหนึ่ง
ที่ชอบของงานนี้ึคือ สถาปนิกคำนึงถึงพื้นที่การจัดวางของงานที่ต้องการดึงดูด
ทิวทัศน์ความสวยงามและการทำเส้นทางต่า
ๆที่เชื่อมโยงเพื่อให้เราสามารถรับชมงานศิลปะและความสวยของพื้นที่จัดวางได้อย่าง
เต็มที่

ที่มาจาก https://www.archdaily.com/993372/cormeum-cafe-and-neighborhood-facility-karo-architekten?
ad_source=search&ad_medium=projects_tab

You might also like