You are on page 1of 1

โครงการประจำปี งบประมาณ 2566 (DM HT)

พัฒนาระบบบริการ NCD clinic ไร้รอยต่อ


(Songkhla NCD seamless)

หลักการและเหตุผล
จังหวัดสงขลา จากผลการดำเนินงาน พบว่า
1.เข้าถึงบริการคัดกรองในเขตเมือง ·ความครอบคลุม
การคัดกรอง DM,HT ผลงาน ร้อยละ 77.52,76.73 ยัง
ต่ำ กว่าเป้าหมาย (90) และ ค่า Base line ของเขต/
ประเทศ ( 88.15/85.45 ) พบว่า ในเขตเมืองlสงขลา
,คลองหอยโข่ง,สะเดา,หาดใหญ่ คัดกรองได้ต่ำ กว่า
เป้าหมาย
2. การติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานเพื่อยืนยัน
วินิจฉัย ผลงาน ร้อยละ 50.88 ยังไม่บรรลุตาม
เป้า(ร้อยละ 67) และต่ำ กว่า Base line ของเขต/
ประเทศ (62.39/70.32)
3. คุณภาพการรักษา :การควบคุมระดับน้ำ ตาล และ
ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 20.73,42.5 ต่ำ กว่าค่าเป้า
หมาย (40,60) และ Base line ของเขต/ประเทศ
4. การเชื่อมโยงข้อมูลบริการระหว่างหน่วยบริการ
ภาคเอกชนและนอกเครือข่ายจังหวัด
4. เครือข่าย ผ่านการประเมิน NCD clinic plus เพิ่มการเจาะ วัด BP
ระดับพื้นฐาน 16 แห่ง ระดับดี 1 แห่ง A1C คุณภาพ
กลยุทธ์
1. พัฒนาศักยภาพหน่วยบริการ บูรณาการ 3 หมอ
2. เชื่อมโยงข้อมูลและบริการ
3. พัฒนาคุณภาพ NCD clinic แบบไร้รอยต่อ

วัตถุประสงค์
1. พัฒนาศักยภาพบริการคลินิกโรค
ไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD Clinic) ใน
ตัวชี้วัด
ระดับปฐมภูมิ โดยบูรณาการ 3
1.การเข้าถึงการคัดกรอง
1.1 ร้อยละการคัดกรอง DM HT เป้าหมาย ร้อย หมอ
ละ 90 2. เชื่อมโยงข้อมูลและบริการในทุก
1.2 ร้อยละการติดตามกลุ่มสงสัยป่วย ระดับ
-DM ร้อยละ 70
-HT ร้อยละ 93
2. คุณภาพการรักษา
2.1 ร้อยละผู้ป่วย DM ได้รับการตรวจ HbA1c
เป้าหมาย ร้อยละ 70
2.2 ร้อยละผู้ป่วย DM คุมได้
เป้าหมาย ร้อยละ 40 กิจกรรมที่ 1 พัฒนาศักยภาพ
2.3 ร้อยละผู้ป่วย HT ได้รับการ Home visit (มกราคม 66)
เป้าหมาย ร้อยละ 80 อบรมพัฒนาศักยภาพ Case
2.4 ร้อยละผู้ป่วย HT คุมได้
เป้าหมาย ร้อยละ 60
manager หลักสูตร 3 วัน x 200 คน
3. คุณภาพการจัดบริการ งบประมาณ 48,800 บาท
-ทุกหน่วยบริการ ผ่านการประเมิน NCD clinic
plus เป้าหมาย ระดับดี

กิจกรรมที่ 2 เพิ่มศักยภาพ
กิจกรรมที่ 3 พัฒนาคุณภาพ 1. เพิ่มกรอบยา
(พย. 65 - กย. 66) 2. เพิ่มเครื่องมือ ; เครื่องถ่ายจอประสาทตา
มาตรฐาน NCD clinic Plus งบประมาณ 1.750,000 บาท (service plan
ประชุมชี้แจงมาตรฐานและแผน ตา)
ประเมิน ปีละ 1 ครั้ง
ครั้งที่ 1 มกราคม 66
ครั้งที่ 2 มิถุนายน 66
งบประมาณ 49,280 บาท
กิจกรรมที่ 4
เชื่อมโยงข้อมูลและบริการ
1. พัฒนาระบบติดตาม DM HT (พฤศจิกายน
กิจกรรมที่ 5 เพิ่มการเข้าถึงบริการในเขต 65)
เมือง (หาดใหญ่ เมืองสงขลา สะเดา) 2. Tele - med
1. บูรณาการการคัดกรองแบบมีส่วนร่วม tele - consult
2. จัดตั้งสถานีสุขภาพ(Health station) ในชุมชน 3. Home visit (ธันวาคม 65 - กันยายน 66)
งบ PPA สปสช 1,800,000 บาท 4. พัฒนา CPG : การวินิจฉัย รักษา การให้คำ
ปรึกษาและส่งต่อ (พฤศจิกายน 65)
งบประมาณ 37,680 บาท

กิจกรรมที่ 5 วิจัย พื้นที่นำร่อง


เบาหวานหยุดยาได้
(DM remission) งบประมาณทั้งสิ้น
1. งบ สสจ 150,160 บาท
1. ประชุมชี้แจง 2. งบ PPA สปสช 1,800,000 บาท
2. ค่าย DM remission 3. งบค่าเสื่อม 1,750,000 บาท
งบประมาณ 14,400 บาท

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางจงกล สุกิจจารักษ์ ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ


กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด

You might also like