You are on page 1of 40

Chulalongkorn University

พุทธธรรมในพระไตรปิ ฎก
พุทธศาสนาในอุดมคติและในปริ บทสังคมไทย
เป้าหมาย กระบวนการ ความขัดแย้ ง

1
Chulalongkorn University

บทบาทของชาวพุ ทธในการเป็ นส่วนหนึง่ ของพระพุ ทธศาสนา


ชาวพุทธ
1.พระสงฆ์สาวก - ภิกษุ (ภิกษุ ณี)
2.อุบาสกอุบาสิกา ฆราวาสผูน ้ บ
ั ถือพระพุทธเจ้า
พฤติกรรมทางศาสนา
1.เลือ
่ มใส ศึกษา ปฏิบตั ิ  เข้าถึงเป้ าหมาย(พ้นทุกข์)
2.สนับสนุนพุทธศาสนา ด้วยการบูชาและถวายทาน
3.ปกป้ องคาสอน และสถาบันพุทธศาสนา เพือ ่ ความดารง
อยูอ ่ ย่างมั่นคงในชุมชน สังคม หรือ รัฐแห่งหนึ่ง
2
Chulalongkorn University

พุ ทธศาสนาในคัมภีร์สาคัญ-ความเป็ นจริงในสังคม
พระไตรปิ ฎก, อรรถกถา, และคัมภีร์ทางศาสนาต่างๆ
– คาสอน แนวปฏิบตั ท ิ างจริยธรรมทีพ ่ งึ ประสงค์ และ
แสดงชีวประวัตข ิ องบุคคลอันเป็ นอุดมคติ น่ าเลือ ่ มใส
ศรัทธา เป็ นแบบอย่างของชาวพุทธ
“ปรากฏการณ์ ” (Phenomena) ทีเ่ กิดขึน ้ ในชุมชน/
สังคมชาวพุทธตามความเป็ นจริง
• ความรู ้ ความคิดความเชือ ่ ของชาวพุทธ
• ลักษณะของคาสอนทีช ่ าวพุทธเรียนรูใ้ นสังคม
• การปฏิบตั ติ วั การแสดงออกทางจริยธรรม
3
Chulalongkorn University

พุ ทธศาสนาทีช่ าวพุ ทธเห็นว่าควรจะเป็ น


มาจากคาสอนในพระไตรปิ ฎกและคัมภีร์ตา่ งๆ
1.ใช้ชีวต
ิ ปฏิบตั ธิ รรมในทีส
่ งัด ปลีกวิเวกจากสังคม
2.มักน้อย กินอยูใ่ ช้ชีวต
ิ อย่างเรียบง่าย
3.สารวมในอิรยิ าบถน้อยใหญ่ น่ าเลือ ่ มใส
4.สงบ เสียงเบา หรือใช้เสียงน้อย
5.ปล่อยวาง นิ่งสยบความเคลือ ่ นไหว
6.เข้าใจชีวต
ิ และโลก อิงคาสอนเรือ ่ งไตรลักษณ์
7.เป็ นไปเพือ่ การละ ละเงินทองวัตถุสงิ่ ของ - ละกิเลส
8.เป้ าหมายสาคัญคือความพ้นทุกข์
4
Chulalongkorn University

ในกาลก่อน พวกภิกษุ สาวกของพระโคดม เป็ นอยูเ่ รียบง่าย


ไม่มกั มากการแสวงหาบิณฑบาต ไม่มกั มากทีน ่ อนทีน ่ ่ งั
ท่านรูว้ า่ สิง่ ทัง้ ปวงเป็ นของไม่เทีย่ ง จึงกระทาทีส่ ด ุ แห่งทุกข์
ได้
ส่วนท่านเหล่านี้ ทาตนเป็ นคนเลี้ยงยาก กินๆแล้วก็นอน
เหมือนนายบ้านโกงชาวบ้าน หมกมุน ่ อยูใ่ นเรือนของคนอืน ่
ข้าพเจ้าทาอัญชลีตอ ่ สงฆ์แล้ว ขอพูดกับท่านบางพวกในทีน ่ ี้
ว่า พวกท่านถูกเขาทอดทิง้ แล้ว เป็ นคนอนาถาเหมือนเปรต
ข้าพเจ้ากล่าวหมายเอาบุคคลพวกทีป ่ ระมาทอยู่ ส่วนท่าน
เหล่าใดทีไ่ ม่ประมาท ข้าพเจ้าขอนอบน้อมท่านเหล่านัน ้
ชันตุสตู ร (เล่ม๑๕)
5
Chulalongkorn University

บทบาท ๓ ประการของชาวพุ ทธในอุดมคติ


๑. กิจของชาวพุทธทีเ่ กีย่ วด้วยการศึกษา-ปฏิบตั ิ
• ยอมรับว่าพระพุทธเจ้าเป็ นพระศาสดา
• มีเป้ าหมายเดียวกับพระพุทธเจ้า คือ ความพ้นทุกข์
• ทาความเข้าใจคาสอนของพระพุทธเจ้าหรือแนวทาง
ศึกษาปฏิบตั เิ พือ ่ ความพ้นทุกข์
• นาความรูจ้ ากการศึกษานัน ้ มาปฏิบตั ิ โดยพิจารณา
ให้เห็นตามนัน ้
• เข้าถึงความรูแ ้ จ้งนัน

6
Chulalongkorn University

7
Chulalongkorn University

8
Chulalongkorn University

9
Chulalongkorn University

10
Chulalongkorn University

11
Chulalongkorn University

การศึกษาธรรม
พระพุทธเจ้าทรงเตือนพระภิกษุ ในเรือ ่ งของการศึกษา
ปริยตั ิ
ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย เปรียบเหมือนบุรุษผูม ้ ค
ี วาม
ต้องการด้วยงูพษ ิ เสาะหางูพษ ิ เทีย่ วแสวงหางูพษ ิ เขาพึง
พบงูพษ ิ ตัวใหญ่ พึงจับงูพษ ิ นัน้ ทีข่ นดหรือทีห ่ าง งูพษ ิ
นัน
้ พึงแว้งกัดเขาทีข ่ อ
้ มือ ทีแ่ ขน หรือทีอ ่ วัยวะใหญ่น้อย
แห่งใดแห่งหนึ่งเขาพึงถึงความตาย หรือความทุกข์ปาง
ตาย มีการกัดนัน ้ เป็ นเหตุ ข้อนัน ้ เป็ นเหตุเพราะอะไร
เพราะงูพษ ิ ตนจับไม่ดแ ี ล้ว แม้ฉน ั ใด
12
Chulalongkorn University

ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย พวกบุรุษเปล่า บางพวกในธรรม


วินยั นี้ก็ฉน
ั นัน
้ นั่นแล ย่อมเล่าเรียนธรรม... เมือ ่ เล่าเรียน
ธรรมนัน ้ แล้ว ย่อมไม่ไตร่ตรองเนื้อความแห่งธรรม
เหล่านัน ้ ด้วยปัญญา ธรรมเหล่านัน ้ ย่อมไม่ควรซึง่ การเพ่ง
แก่บรุ ุษเปล่าเหล่านัน ้ ผูไ้ ม่ไตร่ตรองเนื้อความด้วยปัญญา
บุรุษเปล่าเหล่านัน ้ เป็ นผูม ้ ก
ี ารข่มผูอ้ น
ื่ เป็ นอานิสงส์ และมี
การเปลื้องเสียซึง่ ความนินทาเป็ นอานิสงส์ ก็กุลบุตร
ทัง้ หลาย ย่อมเล่าเรียนธรรมเพือ ่ ประโยชน์ อน ั ใด บุรุษ
เปล่าเหล่านัน ้ ย่อมไม่ได้เสวยประโยชน์ นน ้ ั แห่งธรรมนัน ้
ย่อมเป็ นไปเพือ ่ ความไม่เป็ นประโยชน์ เพือ ่ ทุกข์สนิ้ กาล
นาน
13
Chulalongkorn University

ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย เปรียบเหมือนบุรุษผูม ้ ค


ี วาม
ต้องการงูพษิ เสาะหางูพษ ิ เทีย่ วแสวงหางูพษ ิ เขาพึงพบ
งูพษิ ตัวใหญ่ พึงกดงูพษ ิ นัน้ ไว้ม่นั ด้วยไม้มส ี ณั ฐาน
เหมือนเท้าแพะ ครัน ้ กดไว้ม่น ั ด้วยไม้มส ี ณั ฐานเหมือน
เท้าแพะแล้วจับทีค ่ อไว้ม่น ั ถึงแม้งูพษ ิ นัน
้ พึงรัดมือ แขน
หรืออวัยวะใหญ่น้อยแห่งใดแห่งหนึ่ง ของบุรุษนัน ้ ด้วย
ขนด ก็จริง ถึงอย่างนัน ้ เขาไม่ถงึ ความตาย หรือความ
ทุกข์ปางตาย ซึง่ มีการพันนัน ้ เป็ นเหตุ ข้อนัน ้ เป็ นเพราะ
เหตุอะไร เพราะงูพษ ิ อันตนจับไว้ม่น ั แล้ว แม้ฉน ั ใด

14
Chulalongkorn University

กุลบุตรบางพวกในธรรมวินยั นี้ ก็ฉน ั นัน


้ นั่นแล
ย่อมเล่าเรียนธรรม ... เมือ ่ เล่าเรียนธรรมนัน ้ แล้ว ย่อม
ไตร่ตรองเนื้อความแห่งธรรมเหล่านัน ้ ด้วยปัญญา ธรรม
เหล่านัน ้ ย่อมควรซึง่ การเพ่งแก่กุลบุตรเหล่านัน ้ ผู้
ไตร่ตรองซึง่ เนื้อความด้วยปัญญา กุลบุตรเหล่านัน ้ ไม่
เป็ นผูม
้ กี ารข่มผูอ
้ น
ื่ เป็ นอานิสงส์ และไม่มีการเปลื้องเสีย
ซึง่ ความนินทาเป็ นอานิสงส์ ย่อมเล่าเรียนธรรม และ
กุลบุตรเหล่านัน ้ ย่อมเล่าเรียนธรรมเพือ ่ ประโยชน์ ใด
ย่อมได้เสวยประโยชน์ นน ้ ั แห่งธรรมนัน ้ เป็ นไปเพือ ่
ประโยชน์ เพือ ่ ความสุขสิน ้ กาลนาน
อลคัททูปมสูตร เล่ม ๑๓
15
Chulalongkorn University

มหาโจร ๕ จาพวก
ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย มหาโจร ๕ จาพวกนี้ มีปรากฏ
อยูใ่ นโลก มหาโจร ๕ จาพวกเป็ นไฉน
๑. ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย มหาโจรบางคนในโลกนี้
ย่อมปรารถนาอย่างนี้วา่ เมือ ่ ไรหนอเราจักเป็ นผูอ ้ น
ั บุรุษ
ร้อยหนึ่ง หรือพันหนึ่งแวดล้อมแล้ว ท่องเทีย่ วไปในคาม
นิคมและราชธานีเบียดเบียนเอง ให้ผอ ู้ น
ื่ เบียดเบียน ตัด
เอง ให้ผอ ู้ น
ื่ ตัด เผาผลาญเอง ให้ผอ ู้ น
ื่ เผาผลาญสมัย
ต่อมา เขาเป็ นผูอ ั บุรุษร้อยหนึ่ง หรือพันหนึ่ง แวดล้อม
้ น
แล้วเทีย่ วไปในคามนิคมและราชธานี เบียดเบียนเอง ให้
ผูอ
้ นื่ เบียดเบียน ตัดเอง ให้ผอ ู้ น
ื่ ตัด เผาผลาญเอง ให้
ผูอ้ น
ื่ เผาผลาญฉันใด
16
Chulalongkorn University

ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย ภิกษุ ผเู้ ลวทรามบางรูปในธรรม


วินยั นี้ ก็ฉน
ั นัน
้ เหมือนกันแลย่อมปรารถนาอย่างนี้วา่
เมือ
่ ไรหนอ เราจึงจักเป็ นผูอ ั ภิกษุ รอ้ ยหนึ่ง หรือพันหนึ่ง
้ น
แวดล้อมแล้วเทีย่ วจาริกไปในคามนิคมและราชธานี อัน
คฤหัสถ์และบรรชิต สักการะ เคารพ นับถือ บูชายาเกรง
ได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัย เภสัชบริขาร
สมัยต่อมา เธอเป็ นผูอ ั ภิกษุ รอ้ ยหนึ่งหรือพันหนึ่ง
้ น
แวดล้อมแล้ว เทีย่ วจาริกไปในคามนิคมและราชธานี อัน
คฤหัสถ์และบรรพชิตสักการะ เคารพ นับถือ บูชา ยาเกรง
แล้ว ได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะและคิลานปัจจัยเภสัช
บริขารทัง้ หลาย ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย นี้เป็ นมหาโจรจาพวกที่
๑ มีปรากฏอยูใ่ นโลก
17
Chulalongkorn University

๒. ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุ ผเู้ ลวทราม


บางรูปในธรรมวินยั นี้ เล่าเรียนธรรมวินยั อันตถาคต
ประกาศแล้ว ย่อมยกตนขึน ้ ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย นี้เป็ น
มหาโจรจาพวกที่ ๒ มีปรากฏอยูใ่ นโลก
๓. ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุ ผเู้ ลวทราม
บางรูปในธรรมวินยั นี้ ย่อมตามกาจัดเพือ ่ นพรหมจารี ผู้
หมดจด ผูป ้ ระพฤติพรหมจรรย์อน ุ ธิอ์ ยูด
ั บริสท ่ ว้ ยธรรม
อันเป็ นข้าศึกแก่พรหมจรรย์อน ั หามูลมิได้ ดูกรภิกษุ
ทัง้ หลาย นี้เป็ นมหาโจรจาพวกที่ ๓ มีปรากฏอยูใ่ นโลก

18
Chulalongkorn University

๔. ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย อีกข้อหนึ่ง ภิกษุ ผเู้ ลวทราม


บางรูปในธรรมวินยั นี้ ย่อมสงเคราะห์เกลี้ยกล่อมคฤหัสถ์
ทัง้ หลาย ด้วยครุภณ ั ฑ์ ครุบริขาร ของสงฆ์ ดูกรภิกษุ
ทัง้ หลาย นี้เป็ นมหาโจรจาพวกที่ ๔ มีปรากฏอยูใ่ นโลก
๕. ดูกรภิกษุ ทง้ ั หลาย ภิกษุ ผก ู้ ล่าวอวดอุตตริมนุสส
ธรรม อันไม่มอ ี ยู่ อันไม่เป็ นจริง นี้จดั เป็ นยอดมหาโจร ใน
โลกพร้อมทัง้ เทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมูส ่ ตั ว์
พร้อมทัง้ สมณะพราหมณ์ เทวดา และมนุษย์ ข้อนัน ้
เพราะเหตุไร เพราะภิกษุ นน ้ ั ฉันก้อนข้าวของชาวแว่น
แคว้น ด้วยอาการแห่งคนขโมย.
พระไตรปิ ฎกเล่ม ๑
19
Chulalongkorn University

การศึกษาธรรมทีถ่ ูกต้องตามธรรม
การศึกษาธรรมทีเ่ ป็ นประโยชน์ ตอ ่ พระพุทธศาสนา
อย่างแท้จริงคือการศึกษาธรรมทีเ่ น้นความเข้าใจโลก
และชีวต ิ ซึง่ เป็ นการเจริญปัญญา เพือ่ เป็ นเหตุปจั จัย
ให้ถงึ พระนิพพาน
วางเฉยต่อลาภสักการะอันเนื่องมาจากความสาเร็จ
จากการศึกษาและปฏิบตั ิ
สารวมในกาม -- นาเอาธรรมทีไ่ ด้ศก ึ ษาอบรมมาใช้
พิจารณาจิตและสารวมระวังในโลกธรรม

20
Chulalongkorn University

บทบาท ๓ ประการของชาวพุ ทธในอุดมคติ


๒. สนับสนุนพุทธศาสนา ด้วยการบูชาและถวายทาน
- การบูชาผูค ้ วรบูชาและการถวายทานแด่ผส ู้ มควร
ได้รบั ได้อานิสงส์มากกว่าเมือ่ เทียบกับการบูชาและ
การให้ทานแก่ผรู้ บั อืน

- บุญคือกุศลจิตทีเ่ กิดขึน ้ ขณะกระทาการ
• ปัญญาจากการพิจารณาความสมควรของผูร้ บั การบูชา
หรือการถวายทาน
• การละคลายทิฏฐิมานะด้วยความนอบน้อม
• การละคลายความตระหนี่ดว้ ยการสละวัตถุสงิ่ ของ
21
Chulalongkorn University

การสร้าง/สัง่ สมบุญบารมี
บุญกุศล นามาซึง่ ความสุข ความสมปรารถนาต่างๆ
• ความสุขทางกาม - รูปเสียงกลิน ่ รสสัมผัสธรรมารมณ์ ทด ี่ ี
ทีน
่ ่ าพอใจ ทาให้เกิดสุขเวทนาหรือโสมนัสเวทนา
• สันติสข ุ พระนิพพาน – ความดับต้นเหตุแห่งทุกข์ทง้ ั ปวง
(ทุกข์ในใจ ทุกข์ในกาย)
เป้ าหมายใหม่ของชาวพุทธ อิงกับความคิดดัง้ เดิม
บางอย่างในพระพุทธศาสนา
• “การสั่งสมซึง่ บุญนาสุขมาให้”
• “พระสงฆ์คอ ื เนื้อนาบุญของโลก ทีไ่ ม่มน
ี าบุญอืน
่ ยิง่ กว่า”
22
Chulalongkorn University

23
Chulalongkorn University

บทบาทของชาวพุ ทธจานวนหนึง่ ในสังคมไทยปัจจุบนั


๒. สนับสนุนพุทธศาสนา ด้วยการบูชาและถวายทาน
มองทีผ่ รู้ บั เป็ นหลัก สังฆทานมีอานิสงส์มากกว่าทานอืน ่
คาสอนทีใ่ ห้คณ ุ ค่าแก่ผลของการกระทาเป็ นหลัก
• รักษาศีลเพือ ่ ให้สวย, ทาทานเพือ
่ ให้รวย, เจริญภาวนา
เพือ
่ ให้มป ี ญั ญามาก
• บุญได้จากการถวายเงิน สิง่ ของหรือการกระทา
บางอย่างกับพุทธศาสนา วัด หรือพระภิกษุ
Popular culture เกีย่ วกับการทาบุญไหว้พระ ส่วน
หนึ่งของการรณรงค์วฒ ั นธรรมไทย/ท่องเทีย่ ว/ธุรกิจ
24
Chulalongkorn University

25
Chulalongkorn University

ข้อโต้แย้งจากฝ่ ายสงฆ์/ผู ท้ สี่ นับสนุนการทาบุญด้วยวัตถุปจั จัย

26
Chulalongkorn University

บทบาท ๓ ประการของชาวพุ ทธในอุดมคติ


๓. ปกป้ องพุทธศาสนา เพือ ่ ความดารงอยูอ ่ ย่างมั่นคง
- “ปฏิรูปเทสะ” รัฐสงบสุข คุม ้ ครองนักบวช นักพรต ผูน ้ า
ทางจิตวิญญาณให้อยูอ ่ ย่างเป็ นสุข ใช้ชีวต
ิ ศึกษาปฏิบตั ิ
ธรรมได้เต็มที่
- การสอน-การศึกษาปฏิบตั จิ นกระทั่งบรรลุเป้ าหมาย
เพือ ่ ความมั่นคงของพระสัทธรรม ข่มขี่ “ปรัปวาท”
• ยิง่ สาวกศึกษาปฏิบตั ม ิ ากเท่าไรย่อม“เข้าถึง”คาสอนมาก
ขึน ้ เท่านัน
้ โอกาสทีจ่ ะนับถือแบบผิดๆหรือไปเข้ารีตอืน ่
ก็น้อยลง
- ตักเตือนซึง่ กันและกันด้วยเมตตา ปล่อยวางโลกธรรม 27
Chulalongkorn University

บทบาทของชาวพุ ทธจานวนหนึง่ ในสังคมไทยปัจจุบนั


๓. ปกป้ องพุทธศาสนา เพือ ่ ความดารงอยูอ ่ ย่างมั่นคง
ความคิดว่าพุทธศาสนาคือศาสนาทีด ่ งี ามทัง้ คาสอนและ
บุคคลผูป้ ฏิบตั ิ ต้องอนุรกั ษ์ สบ
ื ไป
รักษาสถานภาพของพุทธศาสนาในฐานะศาสนาของรัฐ
และของพลเมืองอย่างเป็ นทางการ
การจัดงบประมาณเพือ ่ สนับสนุนการศึกษาและการ
ดาเนินการต่างๆของคณะสงฆ์
มีอคติ แสดงท่าทีสนับสนุนหรือวิพากษ์ วจิ ารณ์ บค ุ คล
หรือกลุม
่ คนทีม ่ ค
ี วามเห็นสอดคล้องหรือแตกต่าง
28
Chulalongkorn University

29
Chulalongkorn University

30
Chulalongkorn University

31
Chulalongkorn University

ผลทีต่ ามมาส่วนหนึง่
เป้ าหมายสาคัญกว่า เด่นกว่านิพพานคือสุคติภพ การ
ได้รบั อารมณ์ ทดี่ ี ทีน
่ ่ าพอใจทางตา หู จมูก ลิน ้ กาย ใจ
ละเลยการเจริญปัญญา (การศึกษาหลักไตรลักษณ์
และภาวนาเพือ ่ ความพ้นทุกข์)
บุญถูกมองว่าเป็ นความดีทท ี่ าด้วยการบริจาคหรือการ
กระทาบางอย่างต่อพระสงฆ์ วัด พุทธศาสนา เป็ นไป
เพือ่ การสะสมเงิน วัตถุสงิ่ ของ ศาสนวัตถุ ศาสนา
สถานใหญ่โต
การยกระดับฐานะพุทธศาสนาในสังคม ให้ตาแหน่ ง
และเงินเดือนแก่พระภิกษุ ผป ู้ ฏิบตั ห
ิ น้าที่ เพือ
่ ความ
มั่นคงของพระพุทธศาสนา 32
Chulalongkorn University

ความมัน่ คงของพระพุ ทธศาสนา


พุทธศาสนาคือคณะสงฆ์หรือพุทธบริษท ั จริงหรือ ?
• การดารงอยูด ่ ว้ ยความเจริญทางวัตถุ ความใหญ่โตของ
วัดวาอาราม ด้วยกฎหมายรับรองสถานะของ
พระพุทธศาสนา พระภิกษุ สงฆ์ในทางการเมือง
• การดารงอยูข ่ องการศึกษา ปฏิบตั ิ การแลกเปลีย่ น-เผย
แผ่คาสอนทีเ่ กีย่ วกับชีวต
ิ และโลก และ แนวทางปฏิบตั ิ
เพือ
่ ความพ้นทุกข์

33
Chulalongkorn University

สาเหตุของความเสือ่ ม
ธรรมชาติของพระพุทธศาสนา
• พระพุทธเจ้าเริม ่ ต้นจากคาถามเกีย่ วกับความทุกข์
• มนุษย์โดยทั่วไปมองไม่เห็นสภาพความทุกข์ - ไม่
เห็นความสาคัญของคาสอนทีช ่ ี้ให้เห็นความจริงของ
ชีวต
ิ ทีเ่ ป็ นไตรลักษณ์
มนุษย์มค ี วามกลัวและต้องการทีพ ่ งึ่
• อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ
• พระพุทธศาสนาไม่มท ี พ ี่ งึ่ แบบศาสนาเทวนิยมอืน ่ --
พระรัตนตรัยเป็ นทีพ ่ ง่ึ
34
Chulalongkorn University

การมองโลกปุถุชน-อริยะ

มองโลกแบบปุถช ุ น มองโลกแบบอริยะ
• สวยงาม น่ ารืน่ รมย์ • (ไม่สวยงาม ไม่สะอาด)
• เทีย่ ง • ไม่เทีย่ ง
• เป็ นสุข • เป็ นทุกข์
• มีตวั ตน มีเรา มีเขา • ไม่มต ี วั ตน ไม่มเี รา ไม่มเี ขา

“วิปลั ลาส” “ไตรลักษณ์ ”

35
Chulalongkorn University

เหล่าสัตว์ผถ ู้ ูกมิจฉาทิฐก
ิ าจัด มีจต
ิ ฟุ้ งซ่าน สาคัญ
ผิดสาคัญในสิง่ ทีไ่ ม่เทีย่ งว่าเทีย่ ง สาคัญในสิง่ ทีเ่ ป็ นทุกข์
ว่าเป็ นสุข สาคัญในสิง่ ทีไ่ ม่ใช่ตนว่าเป็ นตน และสาคัญ
ในสิง่ ทีไ่ ม่งามว่างาม สัตว์คอ ื ชนเหล่านัน ้ ชือ ่ ว่าประกอบ
แล้วในเครือ ่ งประกอบของมาร ไม่เป็ นผูเ้ กษมจากโยคะ
มีปรกติไปสูช ่ าติ และมรณะ ย่อมไปสูว่ ฏั ฏสงสาร

36
Chulalongkorn University

ก็ในกาลใด พระพุทธเจ้าทัง้ หลาย ผูก ้ ระทาแสง


สว่างบังเกิดขึน ้ ในโลก พระพุทธเจ้าเหล่านัน ้ ย่อม
ประกาศธรรมนี้ เป็ นเครือ ่ งให้สตั ว์ถงึ ความสงบทุกข์ ชน
เหล่านัน้ ผูม
้ ป
ี ญ
ั ญาฟังธรรมของพระพุทธเจ้าเหล่านัน ้
แล้ว กลับได้ความคิดเป็ นของตัวเอง ได้เห็นสิง่ ไม่เทีย่ ง
โดยความเป็ นของไม่เทีย่ ง ได้เห็นทุกข์โดยความเป็ น
ทุกข์ ได้เห็นสิง่ ทีไ่ ม่ใช่ตนว่าไม่ใช่ตน ได้เห็นสิง่ ทีไ่ ม่งาม
โดยความเป็ นของไม่งาม สมาทานสัมมาทิฐิ จึงล่วงทุกข์
ทัง้ ปวงได้ ฯ
วิปลั ลาสสูตร เล่ม ๒๑
37
Chulalongkorn University

ตราบใดทีช ่ าวพุทธ(ไม่มปี ญั ญาในทางพระพุทธศาสนา)


ยังไม่เห็นไตรลักษณ์ ในชีวต ิ และโลก ไม่เห็นคุณค่าของ
คาสอนทีช ่ ี้ให้เห็นความจริงของชีวต ิ ชาวพุทธนัน้ ยังคง
ถูกครอบงาด้วย “วิปลั ลาส”
เมือ
่ ถูกครอบงาด้วยวิปลั ลาส ชาวพุทธก็จะไม่เห็น
คุณค่าของการศึกษาปฏิบตั ธิ รรม ไม่กระตือรือร้น ไม่
สารวมในศีล เจริญสมาธิ และปัญญา หรือเป็ นชาวพุทธ
ทีห
่ มกมุน ่ ในการศึกษาธรรม ลาภสักการะ การยึดติดใน
หมูค ่ ณะ องค์กร สถาบัน ...
แสดงให้เห็นว่าชาวพุทธยังคงร่าเริงอยูใ่ นความสุข
จากกามทีน ่ ่ าพอใจ การมีชีวต ิ ในโลก และความประมาท
ในอกุศลธรรม -- อันเป็ นธรรมดาของโลก 38
Chulalongkorn University

สาเหตุของความเสือ่ มของพระพุ ทธศาสนา


ความอ่อนด้อยของระบบการศึกษาของชาวพุทธ
• ขาดการปลูกฝังให้เข้าใจพุทธธรรมตัง้ แต่เล็ก
• ขาดโยนิโสมนสิการ/บาลีเปล่า
ธรรมชาติของมนุษย์
• ทีช ่ อบความสุขสบาย ต้องการความปลอดภัย
• ทีช ่ อบความง่าย ความสะดวกสบาย ไม่ชอบฝื น
• ทีม่ ค ี วามโลภ ความโกรธ ความหลง
• ทีไ่ ม่รเู ้ ท่าทันความโลภ ความโกรธ ความหลงของ
ตนเอง
39
Chulalongkorn University

บัดนี้ เรายังไม่ควรจะประกาศธรรมทีเ่ ราบรรลุแล้ว


โดยยาก เพราะธรรมนี้อน ั สัตว์ผอู้ น
ั ราคะและโทสะ
ครอบงาแล้วไม่ตรัสรูไ้ ด้งา่ ย สัตว์ผอ ู้ น
ั ราคะย้อมแล้ว
ถูกอวิชชาหุม ้ ห่อแล้ว จักไม่เห็นธรรมอันละเอียด
ลึกซึง้ ยากทีจ่ ะเห็น ละเอียดยิง่ อันจะยังสัตว์ให้ถงึ
ธรรมทีท ่ วนกระแสคือนิพพาน
ราชายตนกถา เล่ม ๔

40

You might also like