You are on page 1of 27

รายงานการวิเคราะห์และออกแบบ

เรื่อง

การจัดการฝุ ่น PM2.5

จัดทำโดย กลุ่มที่ 6
มีรายนามสมาชิกกลุ่มดังนี ้
1. นาย ฤทธิรงค์ เรืองแก้ว รหัสนิสต
ิ 6431025421
2. นาย วรัชญ์ สายวิไล รหัสนิสต
ิ 6431026021
3. นาย พุฒิเชษฐ์ เจริญศิลป์ รหัสนิสิต
6331020121
4. นาย ธนโชติ แซ่เจี่ย รหัสนิสิต
6331009321

นำเสนอ
รศ.ดร พิชญ รัชฎาวงศ์
รายงานผลการสำรวจฉบับนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา
2107451 PRIN PUB HLTH ตามหลักสูตรปริญญา
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
ภาคการศึกษาปลาย ปี การศึกษา 2565
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2
คำนำ

รายงานเล่มนีจ
้ ัดทำขึน
้ เพื่อเป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา Principles of
Public Health (PRIN PUB HLTH) รหัสวิชา 2107451 โดยมี
วัตถุประสงค์ในการวิเคราะห์ที่มา สาเหตุ และความรุนแรง ของ PM 2.5
ที่มีผลต่อประชาชน รวมถึง การวางแผนและออกแบบในมุมของวิศวกรสิ่ง
แวดล้อม 3 ด้านที่จำเป็ น คือ 1.) ด้านหน้ากากและดวงตา 2.) ด้านการ
ป้ องกันรักษาคุณภาพอากาศและอุณหภูมิของบ้านและทีพ
่ ักอาศัย  3.)
ด้านการป้ องกันรักษาคุณภาพอากาศและอุณหภูมิของโรงพยาบาล
ทัง้ นี ้ คณะผู้จัดทำหวังเป็ นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนีจ
้ ะเป็ นประโยชน์
ต่อผู้ศึกษา ในการนำไปเป็ นแนวทางในการประเมินข้อมูลผู้ที่ได้รับผลกระ
ทบจาก PM 2.5 หากมีส่วนผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทำขออภัยมา
ณ ที่นด
ี ้ ้วย
คณะผู้จัดทำ

3
สารบัญ

เรื่อง
หน้า
คำนำ
2
สารบัญ
3
บทนำ
4
ฝุ ่น pm 2.5 คืออะไร
4
ที่มาของฝุ ่น pm 2.5
5
สาเหตุของฝุ ่น PM 2.5
6 ความรุนแรงของสถานการณ์ฝุ่นในไทย
7 การตอบสนองจากภาครัฐ
9 ประชาชนป้ องกันตัวเองอย่างไร
12 การวางแผนและออกแบบในมุมมองของวิศวกรสิ่งแวดล้อมที่ควรจะ
ทำได้ 15 บรรณานุกรม
17

4
5
1. บทนำ
ปั ญหามลพิษทางอากาศ คือ การมีอยู่ของมลสารอันตรายในชัน

บรรยากาศของโลกซึ่งสามารถส่งผลกระทบทางลบต่อสุขภาพของมนุษย์
สิ่งแลดล้อม และสิ่งชีวิตโดยรวม มลพิษต่าง ๆ เหล่านีส
้ ามารถเกิดได้ตาม
ธรรมชาติ เช่น พายุฝุ่น ไฟป่ า ภูเขาไฟระเบิด หรืออาจจะมาจากผลการก
ระทำของมนุษย์ เช่น การคมนาคม กระบวนการอุตสาหกรรม หรือการ
ผลิตพลังงานจากฟอสซิล
ประเทศไทยได้ประสบปั ญหาฝุ ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน
(PM2.5) เกินมาตรฐานเป็ นเวลาหลายปี โดยตามในเขตเมือง เช่น
กรุงเทพ หรือเชียงใหม่ ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนทัง้
ในระยะสัน
้ และระยะยาวได้ เช่น ปั ญหาต่อระบบทางเดินหายใจ ระบบ
หมุนเวียนโลหิต โรคหอบหืด หรืออาจร้ายแรงจนถึงชีวิตได้ และในปี พ.ศ.
2566 นี ้ ปั ญหาฝุ ่นเกินมาตรฐานได้กินเวลาล่วงยาวมาจนถึงช่วงเดือน
เมษายน ซึ่งเป็ นสัญญาณที่ผิดแปลกจากปี ก่อนหน้าที่ปัญหาฝุ ่นเกิน
มาตรฐานพบในช่วงหน้าหนาวจนซึ่งกินเวลาจนถึงช่วงประมาณปลาย
เดือนกุมภาพันธ์ต้นเดือนมีนาคม จึงมีความจำเป็ นที่จะต้องศึกษาและหา
มาตรมารับมือกับปั ญหามลพิษทางอากาศที่จะมีแต่ทวีความรุนแรงมาก
ขึน

2. ฝุ ่น PM คืออะไร
Particulate Matter (PM) คือ อนุภาคขนาดในอากาศที่แขวนลอย
อยู่ในอากาศประกอบขึน
้ จากอนุภาคมากกว่า 1 ชนิดโดยมีขนาด รูปร่าง
และสมบัติทางเคมีที่แตกต่างกันไป เช่น ฝุ ่น ดิน เขม่า หรือควัน ฝุ ่น
PM เป็ นน่าสนประกอบหลักในมลพิษทางอากาศ 

6
การบอกปริมาณของฝุ ่นสามารถบอกได้เป็ นความเข้มข้นของฝุ ่น
แต่ละประเภท และประเภทของฝุ ่นมักจะแบ่งตามขนาดของ
aerodynamics diameter (เส้นผ่านศูนย์กลางของทรงกลมที่มีความ
หนาแน่น 1 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และมีความเร็วตกในอากาศ
เท่ากับของอนุภาค) โดย PM10 หมายความว่า ความเข้มข้นุของฝุ ่นที่มี
ขนาดต่ำกว่า 10 ไมครอน และ PM2.5 หมายความว่า ความเข้มข้นของ
ฝุ ่นที่มีขนาดต่ำกว่า 2.5 ไมครอน 
ความอันตรายของฝุ ่น PM ขึน
้ อยู่กับความเข้มข้นและขนาด ใน
สภาวะปกติก็มีฝุ่น PM2.5 แขวนลอยอยู่ในอากาศอยู่แล้ว ซึ่งฝุ ่นเหล่านี ้
เป็ นตัวแก่นในให้ไอน้ำมาเกาะกันเป็ นเมฆ แต่ปริมาณที่มากเกินไปก็
สามารถส่งผลกระทบต่อสุขภาพได้เช่นกัน โดยยิ่งอนุภาคมีขนาดเล็กเท่า
ไหร่ก็จะยิ่งมีความสามารถในการทะลุทลวงเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจได้
ลึกขึน
้ เท่านัน
้ ซึง่ อาจจะเข้าสู่ระบบหมุนเวียนโลหิตแล้วส่งผลกระทบต่อ
สุขภาพทัง้ ในระยะสัน
้ และระยะยาว เช่น ไอ จาม กล้ามเนื้ออ่อนแรง 

3. ที่มาของฝุ ่น PM 2.5 
           PM 2.5 สามารถมาได้จากหลายแหล่ง เช่น มลพิษจากการเผา
ไหม้ของพืชพร้อมเศษซากพืช การปล่อยก๊าซเสียจากการใช้งาน
อุตสาหกรรม การขนส่งทางถนน และกิจกรรมส่วนบุคคล เช่น การทำ
อาหารและการเผาไหม้ขยะ

7
           แต่ในปั จจุบัน ที่ภาคเหนือของประเทศไทย ยกตัวอย่างเช่น
เชียงราย ที่มาหลักของ PM 2.5 มาจากการเผาป่ า เป็ นหลัก ซึ่งจะเห็นได้
จากข่าวปั จจุบัน ยกตัวอย่างเช่น เมื่อวันที่ 26 มี.ค. ผู้ส่ อ
ื ข่าวได้ รายงาน
สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ จ.เชียงราย โดยเฉพาะตามแนวชายแดน
ไทย-เมียนมา ที่ อ.แม่สาย พบว่า มีฝุ่นละออง ขนาดเล็กกว่า 2.5
ไมครอนหรือ PM 2.5 ว่าในพื้นที่ ต.เวียงพางคำ อ.แม่สาย ติดกับ จ. ท่าขี ้
เหล็ก ประเทศเมียนมา มีปริมาณ PM 2.5 สูงถึง 486 ไมโครกรัมต่อ
ลูกบาศก์เมตร ซึ่งถือว่ามีผลกระทบต่อสุขภาพติดต่อกันมาหลายวัน โดย
มาจากการลักลอบเผาป่ าและพื้นที่เกษตรกรรม  

           จากข่าวที่ยกตัวอย่างมา จะเห็นว่า ที่มาของฝุ ่น PM 2.5  ส่วน


นึง มาจากการเผาป่ าและพื้นที่เกษตรกรรม  ซึ่งเมื่อมีการเผาไหม้ จะ
ทำให้เกิดมลพิษอื่นๆ ปนด้วย    
ยกตัวอย่างเช่น ก๊าซไนโตรเจนออกไซด์ (Nitrogen Oxides: NO2) , ก๊าซ
คาร์บอนมอนอกไซด์ (Carbon Monoxide: CO) , ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
(Sulfur Dioxide: SO2)

a. ไนโตรเจนไดออกไซด์ (Nitrogen Oxides: NO2)  เกิดจาก


ยวดยานพาหนะต่าง ๆ การเผาไหม้ที่อุณหภูมิสูง ปฎิกิริยาเคมี
ในชัน
้ บรรยากาศ ซึง่ จะส่งผลให้เกิดการเจ็บป่ วยด้วยโรคเกี่ยว
กับระบบหายใจได้
b. คาร์บอนมอนนอกไซด์  (Carbon Monoxide: CO) เกิด
จากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ของเชื้อเพลิงและสารประกอบ
คาร์บอนต่าง ๆ ส่งผลกระทบต่อร่างกายของเราแบบทันที คือ
ทำให้เกิดอาการมึนงง ปวดศีรษะ ถ้าเป็ นผู้เป็ นโรคหัวใจจะ

8
เกิดอาการรุนแรง และ หากสูดดมในปริมาณที่มากก็อาจถึง
ตายได้
c. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur Dioxide: SO2) เกิดจากการ
เผาไหม้ของเชื้อเพลิงที่มีกำมะถันการถลุงแร่โลหะที่มีส่วนผสม
ของกำมะถัน ลาวาจากภูเขาไฟ ส่งผลทำให้เกิดโรคหลายชนิด
ที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ การทำงานของปอด ทำให้เกิด
การระคายเคืองในนัยน์ตาและจมูก

4. สาเหตุของฝุ ่น PM 2.5

ปั ญหาฝุ ่นละอองขนาดเล็กในประเทศไทยมีสาเหตุมาจากปั จจัยที่


ควบคุมได้และปั จจัยควบคุมไม่ได้ ดังนี ้

ปั จจัยที่ควบคุมได้ ปั จจัยที่ควบคุมไม่ได้

กิจกรรมของมนุษย์ :                             สภาพอุตุนิยมวิทยา :
-   การเผาในที่โล่ง เช่น เผาเศษวัสดุ  -   อากาศเย็นและแห้ง
การเกษตร เผาขยะ ความกดอากาศสูง
-   การจราจร -   สภาพอากาศนิง่
-   การเผาไหม้เชื้อเพลิงอุตสาหกรรม ทำให้ฝุ่นละอองขนาดเล็ก
-   การก่อสร้างอาคาร ไม่แพร่กระจาย ฝุ ่น

9
-   การสูบบุหรี่ ละอองแขวนลอยได้นาน
-   การใช้เตาปิ ้ งย่างที่ทำให้เกิดควัน
-   สถานประกอบการต่าง ๆ เช่น อู่ซ่อมรถ
พ่นสีรถ

ทัง้ นี ้ สาเหตุ ของฝุ ่นละอองขนาดเล็กมีความแตกต่างกันตามแหล่ง


กำเนิดในแต่ละพื้นที่ (โดยจะวิเคราะห์ที่ภาคเหนือ และ ภาคกลางเป็ น
หลัก )

a. พื้นที่ภาคเหนือ มักเกิดจากปั ญหาไฟป่ าและการลักลอบเผา


ในที่โล่ง เช่น การเผาเศษวัชพืช การเผาเศษวัสดุทางการ
เกษตรประกอบกับภูมิประเทศที่มีลักษณะเป็ นแอ่งกระทะ
และมีภูเขาล้อมรอบ ซึง่ ในช่วงหน้าแล้งอากาศแห้ง ความกด
อากาศสูง ทำให้เกิดสภาวะอากาศปิ ด ความรุนแรงของปั ญหา
จึงเพิ่มขึน

b. กรุงเทพมหานคร และ ปริมณฑล มีแหล่งกำเนิดหลักมาจาก
รถยนต์ที่วิ่งบนท้องถนน และเครื่องยนต์ที่เผาไหม้ไม่สมบูรณ์
รวมถึงการติดเครื่องยนต์ขณะจอดอยู่กับที่ โดยเฉพาะในช่วงที่
การจราจรหนาแน่นและติดขัด ทำให้เกิดการสะสมตัวของ
มลพิษทางอากาศในปริมาณมาก
นอกจากนีย
้ ังเกิดจากการเผาไหม้ต่าง ๆ ในบ้านเรือน
หรือกิจกรรมชุมชน เช่น การจุดเตาถ่านในบ้านเรือน การปิ ้ ง
หรือย่างอาหาร ทำให้มีการสะสมมลพิษทางอากาศในปริมาณ
สูงขึน
้ ทำให้เป็ นอันตรายโดยเฉพาะในห้องที่ไม่มีช่องระบาย
10
อากาศ รวมถึงปฏิกิริยาเคมีในอากาศ เช่น ก๊าซซัลเฟอร์ได
ออกไซด์ (SO2) ออกไซต์ของไนโตรเจน (NOX) และสาร
อินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ทำปฏิกิริยากับสารอื่นในอากาศ
เกิดเป็ นฝุ ่นละเอียดได้ ซึง่ อันตรายเป็ นอย่างมาก

5. ความรุนแรงของสถานการณ์ฝุ่นในไทย

11
จากข้อมูลของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่

จากกราฟความสัมพันธ์ระหว่างสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก
PM2.5 จากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ในช่วงวันที่ 21
เมษายน ปี พ.ศ. 2566 ถึงวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2566 พบว่าค่าเฉลี่ย

12
ของปริมาณฝุ ่นอยู่ที่ 50 micro/m^3 โดยวันที่ 21 เมษายน ปี พ.ศ.
2566 มีปริมาณฝุ ่นมากที่สุดถึง 79 micro/m^3

จากตาราแสดงคุณภาพอากาศเฉลี่ย 5 จุด ย้อนหลัง 7 วันพบว่าวัน


ที่ 22/4/2566 มีค่าเฉลี่ย PM 2.5 ต่อ 24 ชั่วโมงเท่ากับ 72 micro/m^3
คิดเป็ นคุณภาพอากาศคือเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ วันที่ 23/4/2566 มี
ค่าเฉลี่ย PM 2.5 ต่อ 24 ชั่วโมงเท่ากับ 53 micro/m^3 คิดเป็ นคุณภาพ
อากาศคือเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ วันที่ 24/4/2566 มีค่าเฉลี่ย PM
2.5 ต่อ 24 ชั่วโมงเท่ากับ 42 micro/m^3 คิดเป็ นคุณภาพอากาศคือ
คุณภาพอากาศปานกลาง วันที่ 25/4/2566 มีค่าเฉลี่ย PM 2.5 ต่อ 24

13
ชั่วโมงเท่ากับ 41 micro/m^3 คิดเป็ นคุณภาพอากาศคือคุณภาพอากาศ
ปานกลาง วันที่ 26/4/2566 มีค่าเฉลี่ย PM 2.5 ต่อ 24 ชั่วโมงเท่ากับ 52
micro/m^3 คิดเป็ นคุณภาพอากาศคือเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ วันที่
27/4/2566 มีค่าเฉลี่ย PM 2.5 ต่อ 24 ชั่วโมงเท่ากับ 39 micro/m^3
คิดเป็ นคุณภาพอากาศคือคุณภาพอากาศปานกลาง วันที่ 28/4/2566 มี
ค่าเฉลี่ย PM 2.5 ต่อ 24 ชั่วโมงเท่ากับ 40 micro/m^3 คิดเป็ นคุณภาพ
อากาศคือคุณภาพอากาศปานกลาง

6. การตอบสนองจากภาครัฐ
กรุงเทพมหานครได้มีการขอความร่วมมือให้หน่วยงานภาคเอกชน
ทำงานที่บ้าน
กทม.ขอความร่วมมือภาคเอกชนทำงานที่บ้าน หลีกเลี่ยงและลด
ปริมาณฝุ ่น PM 2.5 หลังพบว่าค่าฝุ ่นละอองขนาดเล็กจะเกินมาตรฐาน
ในช่วงปลายเดือนนี ้
กรุงเทพมหานครได้ประกาศขอความร่วมมือให้หน่วยงานภาค
เอกชนทำงานจากที่บ้านเพื่อหลีกเลี่ยงปั ญหาการจราจรติดขัดที่นำไปสู่
ปั ญหาฝุ ่น pm2.5 หลังจากมีการตรวจสอบพบว่า ค่าฝุ ่นละออง pm 2.5
เกินระดับมาตรฐานในช่วงปลายเดือนมกราคม ปี 2566 วันพฤหัสบดีที่
26 มกราคม พ.ศ. 2566 เวลา 07.00 น. เว็บไซต์ air4thai ของกรม
ควบคุมมลพิษ รายงานสถานการณ์คณ
ุ ภาพอากาศพื้นที่กรุงเทพมหานคร
และปริมณฑลอยู่ในระดับ คุณภาพอากาศอยู่ในระดับ คุณภาพดีมากถึง
เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ ตรวจพบค่าฝุ ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5

14
ไมครอน (PM2.5) ระหว่าง 23 - 54 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (มคก./
ลบ.ม.) เกินมาตรฐานที่บริเวณริมถนนมาเจริญ เพชรเกษม 81 เขต
หนองแขม จ.กรุงเทพฯ 54 มคก./ลบ.ม.
แผนการการรับมือ 4 ระดับ ตามความวิกฤต
กรุงเทพมหานครได้มีการจัดเตรียมแนวทาง เพื่อรับมือกับปั ญหาฝุ ่น
pm ที่เพิ่มสูงขึน
้ โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่จะดำเนินการตามแผน
ปฏิบัติการดังกล่าว 3 ส่วน  ได้แก่ ขัน
้ ตอนการเฝ้ าระวังและแจ้งเตือน ขัน

ตอนการกำจัดต้นตอ และขัน
้ ตอนการแนะนำการป้ องกันดูแลสุขภาพ ซึ่ง
กรุงเทพมหานครจะนำค่าระดับฝุ ่นประกอบกับค่าการพยากรณ์ของกรม
ควบคุมมลพิษ เพื่อเป็ นข้อมูลสถานการณ์และนำมาใช้ในการวางแผนการ
ทำงาน เป็ น 4 ระดับ ได้แก่
ระดับที่ 1 (ฟ้ า) ค่าไม่เกิน 37.5 มคก./ลบ.ม. จะใช้ 15 มาตรการ เช่น
ตรวจไซต์ก่อสร้าง ตรวจโรงงาน ให้มีการฉีดพ่นน้ำเพื่อไม่ให้มีการฟุ ้ง
กระจายของฝุ ่น
ระดับที่ 2 (เหลือง) ค่า 37.6 - 50 มคก./ลบ.ม. จะมีการเพิ่มความเข้
นข้นในการตรวจมากยิ่งขึน

ระดับที่ 3 (ส้ม) ค่า 51 - 75 มคก./ลบ.ม. จะมีการแจ้งหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง เพื่อประสานงานขอความร่วมมือให้ทำงานแบบ Work From
Home 60% รวมถึงลดงานและกิจกรรมที่เกิดฝุ ่นละออง
ระดับที่ 4 (แดง) มีค่ามากกว่า 75 มคก./ลบ.ม. จะขอความร่วมทำงาน
แบบ Work From Home 100% เพราะเป็ นการช่วยลดมลพิษได้เป็ น
อย่างมากรวมถึงการปิ ดโรงเรียน เป็ นต้น

ความพยายามที่จะแก้ปัญหาฝุ ่น PM 2.5 ในที่ประชุมคณะรัฐมนตรี

15
นายกรัฐมนตรีได้มีการกำชับที่ประชุมคณะรัฐมนตรีให้ เร่งแก้ปัญหา
ฝุ ่นละออง PM 2.5 โดย ลงนามให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง
ประเทศทำหน้าที่ประสานสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อาเซียนเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวร่วมกัน

เนื่องจากปั ญหาฝุ ่น PM 2.5 เป็ นปั ญหาที่เกิดขึน


้ ทัง้ ในประเทศและต่าง
ประเทศ ทัง้ ยังเป็ นปั ญหาที่เกิดขึน
้ มายาวนานสักพักแล้ว โดยภาครัฐของ
ไทย ได้มีการกำชับหน่วยงานในพื้นที่ส่วนภูมิภาคส่วนท้องถิ่นให้ช่วยกัน
ทัง้ หมด

นายกรัฐมนตรี ยังระบุอีกว่า นายดอน ปรมัตถ์วินัย รองนายกรัฐมนตรี


และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้ทำหนังสือขอความร่วม
มือประเทศอาเซียนไปแล้ว โดยตนเป็ นผู้ลงนาม รัฐบาลแต่ละประเทศ
บริหารงานไม่ค่อยเหมือนกันเท่าไหร่ ของไทยยังถือว่าอยู่ในสถานการณ์ที่
ดี ในพื้นที่ภาคเหนือจุดความร้อนลดลง
ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงต้องขอความร่วมมือจากประเทศเพื่อนบ้าน โดย
เฉพาะกลุ่มประเทศที่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรมและยังมีการเผา
วัชพืชอยู่ อย่างไรก็ต้องขอความร่วมมือให้ได้มากที่สุด เพียงแต่เกษตรกร
ไทยคนไทยด้วยกัน ต้องช่วยกันมากกว่าเดิม ไม่เช่นนัน
้ จะมีผลกระทบ
อย่างอื่นด้วย

กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.)


กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยได้มีการจัดทำอินโฟกราฟฟิ กเพื่อ
ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้วิธีการในการป้ องกันตัวเองจากฝุ ่น PM 2.5
กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) แนะนำข้อควรปฏิบัติเพื่อ
ป้ องกันและลดปั ญหาฝุ ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5  โดยปิ ดประตูและ

16
หน้าต่างให้มิดชิด เพื่อลดปริมาณฝุ ่นละอองที่ลอยเข้ามาในบ้าน หรือติด
ตัง้ ระบบกรองอากาศแบบถอดล้างได้ จะช่วยลดผลกระทบจากการสูดดม
ฝุ ่นละอองเข้าสู่ร่างกาย หลีกเลี่ยงการอยู่ในพื้นที่ฝุ่นละอองหนาแน่น หาก
จำเป็ นควรสวมหน้ากากอนามัยและเปลี่ยนหน้ากากอนามัยทุกวัน เพื่อซับ
กรองและป้ องกันการสูดดมฝุ ่นละอองเข้าสู่ร่างกาย  ไม่ควรออกกำลังกาย
และทำงานหนักในที่โล่งแจ้ง เพราะร่างกายจะสูดดมฝุ ่นละอองเข้าไปใน
ปริมาณมาก

ศูนย์แก้ไขปั ญหามลพิษทางอากาศ
ศูนย์แก้ไขปั ญหามลพิษทางอากาศรายงานค่าฝุ ่น PM 2.5 โดยพบ
ว่ามีกลุ่มจังหวัดที่เสี่ยงคือจังหวัดที่มีระดับสีส้ม 35 จังหวัดซึ่งภาพรวมดัง
กล่าว มีแนวโน้มส่งผลต่อสุขภาพประชาชน
โดยสรุปผลการรายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ ได้ดังนี ้

 ภาคเหนือ เกินค่ามาตรฐานเป็ นส่วนใหญ่ ตรวจวัดได้ 44 - 184


มคก./ลบ.ม.
 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เกินค่ามาตรฐาน 4 พื้นที่ ตรวจวัดได้ 29
- 62 มคก./ลบ.ม.
 ภาคกลางและตะวันตก เกินค่ามาตรฐานเป็ นส่วนใหญ่ ตรวจวัดได้
37 - 71 มคก./ลบ.ม.
 ภาคตะวันออก เกินค่ามาตรฐาน 4 พื้นที่ ตรวจวัดได้ 35 - 67
มคก./ลบ.ม.
 ภาคใต้ ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ตรวจวัดได้ 28 - 43
มคก./ลบ.ม.

17
 กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสถานีตรวจวัดของกรม
ควบคุมมลพิษ (คพ.) ร่วมกับ กทม. ตรวจพบเกินค่ามาตรฐาน 42
พื้นที่ ตรวจวัดได้ 38 - 66 มคก./ลบ.ม.

คำแนะนำทางสุขภาพ

 ประชาชนทั่วไป : ควรเฝ้ าระวังสุขภาพ ลดเวลาการทำกิจกรรม


กลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง
 ผู้ที่ต้องดูแลสุขภาพเป็ นพิเศษ : ควรลดระยะเวลาการทำกิจกรรม
กลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง ถ้ามีอาการทางสุขภาพ
ควรปรึกษาแพทย์
ผู้ว่าราชการจังหวัดกรุงเทพมหานครวางแนวทางที่จะนำเอาเซี่ยงไฮ้
โมเดลมาพัฒนาแก้ไขปั ญหาฝุ ่น PM 2.5
นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร กล่าวว่า
ปั ญหาหลาย ๆ เรื่องของกรุงเทพมหานคร สอดคล้องกับปั ญหาที่นคร
เซี่ยงไฮ้เคยประสบมาก่อน โดยเฉพาะปั ญหา ฝุ ่น PM 2.5 อย่างไร
ก็ตามนครเซี่ยงไฮ้ในปั จจุบันสามารถลดปริมาณลงได้อย่างเป็ นรูปธรรม
โดยเล็งเห็นว่าหากมีการศึกษามาตรการที่ทางนครเซี่ยงไฮ้ใช้และนำมา
ปรับใช้กับกรุงเทพมหานคร จะทำให้ปริมาณฝุ ่น PM2.5 ในพื้นที่
กรุงเทพมหานครลดลงได้
สรุปได้ว่า
การตอบสนองจากภาครัฐ ในปี พ.ศ. 2566 มีดังนี ้

18
1. รายงานค่าฝุ ่นที่เกิดขึน
้ ในแต่ละพื้นที่/คาดการ์ณและประเมินผลกระ
ทบที่อาจจะเกิดขึน

2. เตือนเมื่อปริมาณฝุ ่นในอากาศเข้าขัน
้ วิกฤต
3. ออกมาตรการ/ขอความร่วมมือ

การตอบสนองของภาครัฐ ต่อฝุ ่น PM 2.5 เพียงพอหรือไม่ สำหรับ


ความคิดของกลุ่มเรา 
ตอบ ไม่เพียงพอ
โดยกลุ่มของเราจะขอเสนอ ให้ภาครัฐมีการตอบสนองต่อฝุ ่น PM 2.5
เพิ่มเติม ดังนี ้
1. ในส่วนของการเผาตอซังข้าวโพด 
โดย สาเหตุหลักของปั ญหา PM 2.5 ในไทยเกิดจากการ
เผาไหม้ของพืช และการใช้พลังงานที่ไม่สะอาด เช่น การใช้
เชื้อเพลิงและการจราจร ซึ่งเป็ นปั ญหาที่ต้องการการร่วมมือ
ของภาคธุรกิจและประชาชน ด้วย เพื่อลดปั ญหา PM 2.5 
2. ลดการนำเข้าข้าวโพดเลีย
้ งสัตว์
เพื่อทำให้การผลิตลดลงทำให้การเผาตอซังลดลงทำให้
จุดความร้อนลดลงทำให้ปริมาณ ฝุ ่นขึน
้ ลดลงตามไปด้วย
3. สนับสนุนการส่งออกพืชผักและผลไม้
เพื่อการส่งการส่งออกและบริโภคภายในประเทศมากขึน

การตอบสนองของภาครัฐของไทยต่อปั ญหา PM 2.5 ยังไม่เพียงพอ


เนื่องจากปั ญหาความเสี่ยงต่อสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับ PM 2.5 ยังคงเป็ น
ปั ญหาที่รุนแรงและต้องการการแก้ไขที่มีประสิทธิภาพมากขึน
้ ผมคิดว่า
ภาครัฐควรที่จะพัฒนามาตรการที่มีประสิทธิภาพ เพื่อลดปั ญหา PM 2.5

19
ในอนาคต ยกตัวอย่างเช่น ภาครัฐต้องเพิ่มการควบคุมการใช้พลังงานที่มี
ประสิทธิภาพและใช้พลังงานทดแทนที่เหมาะสม เช่น การสร้างพลังงาน
จากแสงอาทิตย์และการนำเทคโนโลยีที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมาใช้ เพื่อ
ลดการใช้พลังงานจากแหล่งพลังงานที่มีผลต่อสิง่ แวดล้อมและสุขภาพ
มนุษย์

7. ประชาชนป้ องกันตัวเองอย่างไร
จากการเก็บข้อมูลในนิสิตและบุคลากรจำนวน 31 คน จากคณะ
วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยเก็บในช่วง 18
เมษายน - 22 เมษายน ปี 2566
a. นิสิตและบุคลากร

b. เพศ

20
c. ความแม่นยำการตรวจค่าฝุ ่นของแอพพลิเคชั่น

d. การใส่หน้ากากป้ องกันตัวเองจากฝุ ่น pm 2.5

21
e. ปั ญหาสุขภาพที่เกิดขึน
้ ในช่วงมีนาคม-เมษายน ปี พ.ศ. 2566

f. มาตรการป้ องกันของนิสิตและบุคลากรจุฬา ที่มีต่อ PM  2.5

 
การป้ องกันตัวเองของประชาชน ( กลุ่มตัวอย่างคือ นิสิตและบุคลากร
จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ )
จากการจากการสำรวจ นิสิตและบุคลากรจากคณะ
วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในส่วนมาตรการป้ องกันตัว
เอง ของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ส่วนใหญ่ถึง ร้อยละ 66.7 มีการหลีกเลี่ยง

22
การออกกำลังกายกลางแจ้ง  ซึ่งถือว่ากลุ่มตัวอย่างมี มาตรการป้ องกันตัว
เองที่ดี แต่เมื่อไปมองในหัวข้อการใส่หน้ากากป้ องกันฝุ ่น PM 2.5 จากผล
การสำรวจพบว่า ส่วนใหญ่ถึง ร้อยละ 70 ยังใส่หน้ากากทางการแพทย์
ธรรมดา และ อีกร้อยละ 10 ไม่ได้ใส่ทงั ้ หน้ากากทางการแพทย์ธรรมดา
และ หน้ากากป้ องกัน PM 2.5  ซึง่ ถือว่ากลุ่มตัวอย่างยังไม่ได้ตระหนักถึง
ความอันตรายของฝุ ่น PM 2.5 มากพอ
      
ความน่าเชื่อถือของแอพพลิเคชั่น

 จากการสำรวจ นิสิตและบุคลากรจากคณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กลุ่มของเราได้เก็บข้อมูลมา 31 คน มีคน
ไม่ได้ใช้แอพเช็คค่าฝุ ่นถึงร้อยละ 58.1  จึงสรุปได้ว่านิสิตและ
บุคลากรยังไม่มีความตระหนักถึงปั ญหาฝุ ่น PM 2.5 จึงไม่ได้ใช้แอพ
เช็คค่าฝุ ่น  จากการกลุ่มเราได้ทำการเช็คแอพเช็คค่าฝุ ่นหลายๆแอพ
กลุ่มเราคิดว่าแอพเช็คค่าฝุ ่น ได้มีการเก็บข้อมูลอย่างละเอียดแต่มี
บางแอพที่รายงานค่าฝุ ่นยังไม่เรียลไทม์ เพราะค่าฝุ ่นที่เป็ นการ
รายงานค่าฝุ ่น 7 วันย้อนหลังนับจากวันที่เราเปิ ดเช็ค ซึ่งในบางครัง้
ตัวแอพก็อาจจะยังไม่อัพเดทข้อมูล

23
8. การวางแผนและออกแบบในมุมมองของวิศวกรสิ่งแวดล้อมที่ควร
จะทำได้
การป้ องกันตัวเองจากฝุ ่น pm 2.5
การวางแผนและออกแบบในมุมมองของวิศวกรสิ่งแวดล้อมที่ควรจะทำ
1. ด้านหน้ากากและดวงตา
a. เลือกใช้วัสดุที่เหมาะสม: การเลือกใช้วัสดุในการผลิตหน้ากากและ
แว่นตาที่สามารถกรองฝุ ่น PM 2.5 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้
คำนึงถึงความหนาและความสามารถในการกันฝุ ่น PM 2.5 ให้มาก
ที่สุด เช่น หน้ากากที่มีชน
ั ้ กรองมากกว่า 1 ชัน
้ หรือแว่นตาที่มีเลนส์ที่
กันแสงและฟิ ลเตอร์ที่สามารถกรองฝุ ่น PM 2.5
b. การทดสอบและประเมินคุณภาพ: หน้ากากและแว่นตาควรผ่านการ
ทดสอบและประเมินคุณภาพเพื่อให้มั่นใจว่ามีประสิทธิภาพในการ
ป้ องกันฝุ ่น PM 2.5 ตามมาตรฐานที่กำหนด
c. การออกแบบให้สามารถใส่และใช้งานได้สะดวก: ออกแบบหน้ากาก
และแว่นตาให้สอดคล้องกับโครงรูปใบหน้า และป้ องกันอากาศที่จะ
ไหลเข้าจากช่องว่างระหว่างใบหน้ากับหน้ากากอย่างมิดชิดสามารถ
ใส่และใช้งานได้สะดวกและไม่ก่อให้เกิดความไม่สะดวกในการ
ทำงานหรือกิจกรรมประจำวัน
d. การแนะนำการใช้งานที่ถูกต้อง: การแนะนำการใช้งานหน้ากากและ
แว่นตาให้ถูกต้อง  และเป็ นไปตามคำแนะนำของผู้ผลิตหรือองค์กรที่
เกี่ยวข้อง
e. พัฒนาแคมเปญเพื่อให้ความรู้แก่สาธารณชนเกี่ยวกับความสำคัญ
ของการใช้หน้ากากและอุปกรณ์ป้องกันดวงตาอย่างเหมาะสม รวม
ถึงวิธีใส่และดูแลรักษาหน้ากากอย่างเหมาะสม

24
2. ด้านการป้ องกันรักษาสุขภาพคุณภาพอากาศและอุณหภูมิของ
บ้านและที่พักอาศัย
 พัฒนาแนวทางการรักษาคุณภาพอากาศภายในอาคารและอุณหภูมิ
รวมถึงคำแนะนำสำหรับการระบายอากาศ การกรองอากาศ และ
การควบคุมอุณหภูมิ
 ส่งเสริมการใช้ระบบ HVAC ที่ประหยัดพลังงานซึ่งมีตัวกรอง
ประสิทธิภาพสูงและแสงฆ่าเชื้อโรค UV เพื่อลดมลพิษ PM2.5 
 สนับสนุนให้เจ้าของบ้านใช้การระบายอากาศตามธรรมชาติทุกครัง้
ที่ทำได้ เช่น เปิ ดหน้าต่างและประตูในวันที่มีระดับมลพิษต่ำ
 ทำงานร่วมกับผู้สร้างและนักพัฒนาเพื่อรวมหลักการอาคารสีเขียว
เข้ากับการก่อสร้างใหม่ เช่น การใช้วัสดุที่ปล่อยมลพิษต่ำ การ
ออกแบบสำหรับการระบายความร้อนและความร้อนแบบพาสซีฟ
และการใช้หลังคาและผนังสีเขียว
 เสนอแนวทางให้คนพักอาศัย ติดตัง้ พัดลมระบายอากาศภายใน
อาคารอย่างสม่ำเสมอ หรือเครื่องฟอกอากาศที่จะช่วยในการปรับ
สภาพอากาศ

3. ด้านการป้ องกันรักษาสุขภาพคุณภาพอากาศและอุณหภูมิของ
โรงพยาบาล
 พัฒนาแนวทางการรักษาคุณภาพอากาศภายในอาคารและอุณหภูมิ
ที่ดีในโรงพยาบาล รวมถึงคำแนะนำสำหรับการระบายอากาศ การก
รองอากาศ และการควบคุมอุณหภูมิ

25
 สนับสนุนให้โรงพยาบาลใช้แผ่นกรองประสิทธิภาพสูงและแสงยูวีฆ่า
เชื้อในระบบ HVAC เพื่อลดมลพิษ PM2.5 และป้ องกันการแพร่
กระจายของไวรัสและแบคทีเรียในอากาศ
 พัฒนาโปรโตคอลสำหรับจัดการคุณภาพอากาศภายในอาคารใน
สถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น ไฟป่ าหรืออุบัติเหตุจากโรงงาน
อุตสาหกรรม
 ดำเนินการประเมินคุณภาพอากาศเป็ นประจำในโรงพยาบาลและ
จัดฝึ กอบรมพนักงานเกี่ยวกับการรักษาคุณภาพอากาศภายใน
อาคารและอุณหภูมิที่ดี

บรรณานุกรม

https://www.hfocus.org/content/2023/03/27365
https://www.chiangmaihealth.go.th/pm25_cm.php
https://workpointtoday.com/news-568/

26
https://www.pptvhd36.com/news/
%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD
%E0%B8%87/193393
https://www.thaipbs.or.th/news/content/323934
https://www.thansettakij.com/business/economy/563739
https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%AA
%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1/194545
https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%AA
%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1/189676

https://www.chula.ac.th/wp-content/uploads/2019/10/Chula-PM25.pdf
https://www.pollutionclinic.com/home/faq/faq1-1.html
https://www.synphaet.co.th/%E0%B8%9C
%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%9A
%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%9D
%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A9-pm-2-5/
แบบฟอร์มที่ใช้ในการสอบถาม เพื่อเก็บสถิติของนิสิตและบุคลากร คณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
https://docs.google.com/forms/d/1iL-aY5PvesgigSHD_vOZk9mEbczpjLNOi_GS7Zaq7Ks/
edit?ts=643eb66c

27

You might also like