You are on page 1of 3

รายการที่ 1 แบบ สรุปความ

PM2.5 คืออะไร
PM2.5 ภัยคุกคามสุขภาพ และแนวทางแก้ไขปัญหา. / (2563). / สืบค้นจาก / https://www.nstda-
tiis.or.th/publications_media/pm2-5_health-effect-and-solution/

PM (Particulate Matters) PM2.5 - ฝุ่ นละอองขนาดเล็กมาก เส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 2.5


ไมโครเมตร (ประมาณ 1 ใน 25 ส่วนของเส้นผ่านศูนย์กลางเส้นผม) ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า ขนจมูก
ไม่สามารถกรองได้ เป็ นสารแขวนลอยที่ฟุ้งกระจายในชัน้ บรรยากาศ เป็ นได้ทงั้ ของแข็งและของเหลวขนาด
เล็ก ถ้ามีในอากาศปริมาณสูงมากจะมีลกั ษณะคล้ายกับมีหมอกควัน PM2.5 สามารถแพร่กระจายเข้าสู่
ระบบทางเดินหายใจ และซึมเข้าสู่กระแสเลือด และเป็ นพาหะนาสารมลพิษอื่นด้วย เช่น โลหะหนัก สารก่อ
มะเร็ง

รายการที่ 2 แบบ สรุปความ

แหล่งกาเนิด PM2.5
การดูแลและป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจาก PM2.5. / (2566). / สืบค้นจาก / https://www.thaihealth.or.th/
การดูแลป้องกันตนเอง-2/

แหล่งกาเนิด PM2.5
1. ทางตรง (ปฐมภูมิ) - การคมนาคมขนส่ง การเผาในที่โล่ง โรงงานอุตสาหกรรม โรงไฟฟ้า
2. ทางอ้อม (ทุติยภูมิ) - เกิดจากก๊าซไนโตรเจนออกไซด์และก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์รวมตัวกับสารประกอบ
แอมโมเนีย รวมทัง้ สารเคมีต่างๆ ที่เป็ นอันตราย เช่น ปรอท, แคดเมียม และสารก่อมะเร็งจานวนมาก
3. จากประเทศเพื่อนบ้าน – มลพิษที่พดั ข้ามพรมแดนเข้ามา
** ในกรุงเทพฯ มักเกิดจากไอเสียยานพาหนะเป็ นหลัก โดยเฉพาะช่วงหน้าหนาว (ธ.ค.-ม.ค.)
** ภาคเหนือ/ใต้ เกิดจากไฟป่ า ทัง้ ในพืน้ ที่เองและประเทศเพื่อนบ้าน
** ภาคกลาง มักเกิดจากเผาในที่โล่งเพื่อทาการเกษตร
รายการที่ 3 แบบ สรุปความ

ผลกระทบของ PM2.5
ผลกระทบจากฝุ่นพิษ PM2.5. / (2564). / สืบค้นจาก / https://www.synphaet.co.th/ผลกระทบจากฝุ่ นพิษ
-pm-2-5/

ผลกระทบ
• ระบบการหายใจ - โพรงจมูกอักเสบ กล่องเสียงและหลอดลมอักเสบ ไอ มีเสมหะ หอบหืด โรคปอดอุด
กัน้ เรือ้ รัง ปอดอักเสบ ถุงลมโป่ งพอง
• ระบบหัวใจ - กล้ามเนือ้ หัวใจขาดเลือด อักเสบ หัวใจตาย หัวใจล้มเหลว
• ระบบหลอดเลือด - หลอดเลือดไปเลีย้ งสมองเสื่อม โรคstrokeของหลอดเลือดสมอง ความดันโลหิตสูง
หลอดเลือดเลีย้ งหัวใจตีบ หลอดเลือดดาอุดตัน
• ระบบสมอง - สมองด้อยประสิทธิภาพ สมองเสื่อม สมาธิสนั้ ระบบจิตประสาท อารมณ์แปรปรวน
ซึมเศร้า

รายการที่ 4 แบบ สรุปความ

ปัจจัยเสริมความรุนแรงของผลกระทบ
คู่มือเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยที่คกุ คามสุขภาพจากฝุ่ นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5). /
(2564). / กรุงเทพฯ: / อักษรกราฟฟิ คแอนด์ดีไซน์.

ปัจจัยความรุนแรง
• ระดับความเข้มข้นของ PM2.5 • ระยะเวลาสะสมในร่างกาย
• สัดส่วนสารประกอบชนิดต่างๆ ใน PM2.5 • แหล่งกาเนิด
• การพัดพาแปรสภาพของมลพิษ - ฤดูหนาว อากาศแห้ง ความกดอากาศสูง ท้องฟ้าปิ ด สภาพอากาศ
นิ่งไม่กระจายตัว ก่อเกิดสะสมมลพิษสูง
• สภาพของผูร้ บั - กลุ่มเสี่ยง คือ เด็ก หญิงมีครรภ์ ทารกคลอดก่อนกาหนด ทารกคลอดนา้ หนักน้อยกว่า
2.5 กก. ผูป้ ่ วยโรคภูมิแพ้ หอบหืด คนชรา
รายการที่ 5 แบบ สรุปความ
วิธีดแู ลป้องกันตนเอง
ผลกระทบต่อชีวิตและสุขภาพจากมลพิษฝุ่นจิ๋ว PM 2.5 และข้อปฏิบตั ิตวั ที่สาคัญ/ (2563). / สืบค้นจาก /
https://www.greennetworkthailand.com/มลพิษฝุ่ นจิ๋ว-pm--2-5/

วิธีดแู ลตนเอง
• ติดตามค่าดัชนีคณุ ภาพอากาศ หลีกเลี่ยงบริเวณที่ฝนุ่ มาก
• ปิ ดประตูหน้าต่างไม่ให้ฝ่ นุ เข้ามาสะสม ใช้เครื่องฟอกอากาศ
• สวมหน้ากาก N-95 กรองฝุ่นขนาดเล็ก
• งดกิจกรรมนอกบ้านช่วงค่าฝุ่นสูง • ใช้นา้ เกลือล้างจมูกเป็ นประจา
• อาการผิดปกติ ไอ แน่นหน้าอก วิงเวียน คลื่นไส้ อาเจียน รีบปรึกษาแพทย์ทนั ที
• ลดกิจกรรมก่อเกิด PM2.5 งดเผาทุกชนิด ไม่ใช้รถควันดา

รายการที่ 6 แบบ สรุปความ


หน้ากากป้องกัน
รูจ้ กั ฝุ่นพิษ PM 2.5 ที่มากับมลภาวะ และวิธีการเลือกหน้ากากป้องกัน. / (2562). / สืบค้นจาก /
https://www.mnre.go.th/om/th/news/detail/31459

ประเภทหน้ากาก
• ชนิด N95 – นิยมสูงสุด ได้มาตรฐานและป้องกันเชือ้ โรคได้ดีที่สุด ป้องกันฝุ่ นและเชือ้ โรคขนาดเล็กถึง
0.3 ไมครอน เหมาะป้องกันมลพิษ PM2.5 ควันพิษ ไอเสียรถยนต์ ไอระเหยสารเคมีต่างๆ
• แบบเยื่อกระดาษ 3 ชัน้ - คือ หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ มีขายทั่วไป ใส่เพื่อป้องกันการ
แพร่กระจายเชือ้ โรคจากการไอจาม ไม่กนั PM2.5 ใช้ครัง้ เดียวทิง้ ไม่ควรใช้ซา้
• แบบผ้าฝ้าย - คล้ายแบบเยื่อกระดาษ เน้นป้องกันการกระจายของนา้ มูก นา้ ลายเวลาไอจาม กรองฝุ่ น
ละอองใหญ่กว่า 3 ไมครอนแต่ไม่กนั PM2.5 ข้อดี คือ ประหยัด ซักแล้วใช้ใหม่ได้

You might also like