You are on page 1of 292

6102149L01e-�6 (��.).

indd 1 7/17/18 10:20 AM


6102149 ภาษาไทย ป.6 ล.1 (นักเรียน) 21x29.7 ซม. จัดได 292 น. / ออ-กจธ.
ชุดเอกสารสื่อ ๖๐ พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
ลิขสิทธิ์ของ สํานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์
พิมพครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๑ จํานวน ๒๒,๐๐๐ ชุด
จัดพิมพโดย องคการคาของ สกสค.

6102149L01e-�6 (��.).indd 2 7/17/18 10:20 AM


สารบัญ
หนา
หนวยการเรียนรูที่ ๑ ฟง พูด อาน เขียน ๑
แบบทดสอบกอนเรียน ๓
ใบงานที่ ๐๑ คัดสวย เขียนถูก ดวยมือเรา ๕
ใบงานที่ ๐๒ ผันคลอง เขียนสนุก ๗
ใบงานที่ ๐๓ อาน เขียน ถูก รูความหมาย ๘
ใบงานที่ ๐๔ อาน คิด พิจารณา ๑๑
ใบงานที่ ๐๕ นิทานดาวลูกไก ๑๕
แบบทดสอบหลังเรียน ๑๗
หนวยการเรียนรูที่ ๒ ทํานองเสนาะไพเราะอาขยาน ๑๙
แบบทดสอบกอนเรียน ๒๑
ใบงานที่ ๐๑ คํานาม คําสรรพนาม ๒๒
ใบงานที่ ๐๒ คํานาม คําสรรพนาม ๒๓
ใบงานที่ ๐๓ การใชพจนานุกรม ๒๔
ใบงานที่ ๐๔ คําเปน คําตาย ๒๕
ใบงานที่ ๐๕ ตัวการันต ๒๗
ใบงานที่ ๐๖ การอานบทรอยกรอง ๓๐
ใบงานที่ ๐๗ เขียนแผนภาพโครงเรื่องและสรุปขอคิด ๓๓
ใบงานที่ ๐๘ การคัดลายมือ ๓๖
แบบทดสอบหลังเรียน ๓๗
หนวยการเรียนรูที่ ๓ นิทานอานสนุก ๓๙
แบบทดสอบกอนเรียน ๔๑
ใบงานที่ ๐๑ นิทานเรื่องใชทองซื้อความรู ๔๕
ใบงานที่ ๐๒ แผนภาพโครงเรื่องนิทานเรื่องใชทองซื้อความรู ๔๘
ใบงานที่ ๐๓ ใชถูก อานถูก ๕๕
ใบงานที่ ๐๔ อาน คิด เขียนอักษรนํา ๕๙
ใบงานที่ ๐๕ เพลิดเพลินคํากริยา หรรษาคําวิเศษณ ๖๒
ใบงานที่ ๐๖ การเขียนรายงาน ๖๙
แบบทดสอบหลังเรียน ๗๐

6102149L01e-�6 (��.).indd 3 7/17/18 10:20 AM


สารบัญ (ตอ)
หนา
หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อการสื่อสาร ๗๓
แบบทดสอบกอนเรียน ๗๕
ใบงานที่ ๐๑ การอานออกเสียง ๘๒
ใบงานที่ ๐๒ การอานออกเสียง ๘๕
ใบงานที่ ๐๓ การคัดลายมือ ๙๑
ใบงานที่ ๐๔ การคัดลายมือ ๙๓
ใบงานที่ ๐๕ การเขียนจดหมาย ๑๐๒
ใบงานที่ ๐๖ การเขียนจดหมายถึงญาติ ๑๐๓
ใบงานที่ ๐๗ กรอกแบบฝากธนาณัติและใบรับฝากบริการ ๑๐๖
ใบงานที่ ๐๘ กรอกแบบฝากสงพัสดุ ๑๐๗
ใบงานที่ ๐๙ กรอกแบบใบสมัครเขาเรียน ๑๐๘
ใบงานที่ ๑๐ ชนิดของคํา ๑๑๕
ใบงานที่ ๑๑ ชนิดของคํา ๑๑๘
ใบงานที่ ๑๒ การเขียนประโยค ๑๑๙
ใบงานที่ ๑๓ การเขียนขอความที่มีคําบุพบทและคําเชื่อม ๑๒๑
ใบงานที่ ๑๔ การเขียนขอความที่มีสํานวนเปรียบเทียบ ๑๒๓
แบบทดสอบหลังเรียน ๑๒๕
หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน ๑๒๗
แบบทดสอบกอนเรียน ๑๒๙
ใบงานที่ ๐๑ คิดไดนําไปใชเปน ๑๓๑
ใบงานที่ ๐๒ วิเคราะหคุณคาจากการอานวรรณคดี ๑๓๒
ใบงานที่ ๐๓ ทองจําบทรอยกรองที่มีคุณคา ๑๓๙
ใบงานที่ ๐๔ คําอุทานสื่ออารมณ ๑๔๑
ใบงานที่ ๐๕ การสรางคําในภาษาไทย ๑๔๗
ใบงานที่ ๐๖ ประโยคและสวนประกอบของประโยค ๑๕๒
ใบงานที่ ๐๗ ประโยคเพื่อการสื่อสาร ๑๕๖
ใบงานที่ ๐๘ ประกาศนารู ๑๖๐
แบบทดสอบหลังเรียน ๑๖๖

6102149L01e-�6 (��.).indd 4 7/17/18 10:20 AM


สารบัญ (ตอ)
หนา
หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน ๑๖๙
แบบทดสอบกอนเรียน ๑๗๑
ใบงานที่ ๐๑ เรียนรูคําพองรูป ๑๗๕
ใบงานที่ ๐๒ คนหาความหมายคําพองรูป ๑๗๖
ใบงานที่ ๐๓ เรียนรูคําอานและความหมาย ๑๗๗
ใบงานที่ ๐๔ คนหาความหมายคําพองเสียง ๑๘๑
ใบงานที่ ๐๕ เรียนรูคําพองเสียง ๑๘๒
ใบงานที่ ๐๖ การใชคําพองเสียง ๑๘๓
ใบงานที่ ๐๗ เขียนแผนภาพโครงเรื่อง ๑๘๖
ใบงานที่ ๐๘ เขียนแผนภาพความคิด ๑๘๙
ใบงานที่ ๐๙ ขอคิดจากนิทานพัฒนางานเขียน ๑๙๑
ใบงานที่ ๑๐ ขอคิดจากนิทานพัฒนางานเขียน ๑๙๓
ใบงานที่ ๑๑ ขอคิดจากนิทานพัฒนางานเขียน ๑๙๕
ใบงานที่ ๑๒ ซึมทราบขอคิดจากนิทาน ๑๙๗
ใบงานที่ ๑๓ ซึมทราบขอคิดจากนิทาน ๒๐๐
ใบงานที่ ๑๔ เขียนเรียงความสรางสรรค ๒๐๕
ใบงานที่ ๑๕ เขียนเรียงความสรางสรรค ๒๐๖
ใบงานที่ ๑๖ เขียนเรียงความสรางสรรค ๒๐๗
แบบทดสอบหลังเรียน ๒๐๘
หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน ๒๑๑
แบบทดสอบกอนเรียน ๒๑๓
ใบงานที่ ๐๑ คําสัมผัส คําคลองจอง ๒๑๘
ใบงานที่ ๐๒ คําสัมผัส คําคลองจอง ๒๑๙
ใบงานที่ ๐๓ คําสัมผัส คําคลองจอง ๒๒๐
ใบงานที่ ๐๔ คําขวัญ คําคม ๒๒๕
ใบงานที่ ๐๕ คําคม ๒๒๖
ใบงานที่ ๐๖ การแตงคําขวัญ ๒๒๗
ใบงานที่ ๐๗ ความหมายโดยนัย ๒๒๙
ใบงานที่ ๐๘ ความหมายโดยนัย ๒๓๑

6102149L01e-�6 (��.).indd 5 7/17/18 10:20 AM


สารบัญ (ตอ)
หนา
ใบงานที่ ๐๙ สํานวนไทย คําพังเพย สุภาษิต ๒๓๔
ใบงานที่ ๑๐ สํานวน คําพังเพย สุภาษิต ๒๓๕
ใบงานที่ ๑๑ สํานวน คําพังเพย สุภาษิต ๒๓๖
ใบงานที่ ๑๒ วิเคราะหสุภาษิตสํานวนไทย ๒๓๗
ใบงานที่ ๑๓ วิเคราะหขอความ ๒๓๘
ใบงานที่ ๑๔ ทองจําอาขยาน ๒๔๓
ใบงานที่ ๑๕ ทองจําอาขยาน ๒๔๔
แบบทดสอบหลังเรียน ๒๔๕
หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด ๒๔๗
แบบทดสอบกอนเรียน ๒๔๙
ใบงานที่ ๐๑ การอานจับใจความสําคัญ ๒๕๖
ใบงานที่ ๐๒ การอานจับใจความสําคัญ ๒๕๘
ใบงานที่ ๐๓ การใชพจนานุกรม ๒๖๒
ใบงานที่ ๐๔ การใชพจนานุกรม ๒๖๓
ใบงานที่ ๐๕ การปฏิบัติตนในการอยูรวมกันในสังคม ๒๖๕
ใบงานที่ ๐๖ การปฏิบัติตนในการอยูรวมกันในสังคม ๒๖๖
ใบงานที่ ๐๗ การเขียนยอความ ๒๖๙
ใบงานที่ ๐๘ การเขียนยอความ ๒๗๓
ใบงานที่ ๐๙ การใชคําสรรพนาม ๒๗๗
ใบงานที่ ๑๐ การใชคําสรรพนาม ๒๗๙
แบบทดสอบหลังเรียน ๒๘๐

6102149L01e-�6 (��.).indd 6 7/17/18 10:20 AM


ฟง พูด อาน เขียน

6102149L01e-�6 (��.).indd 1 7/17/18 10:20 AM


6102149L01e-�6 (��.).indd 2 7/17/18 10:20 AM

ท ๑/ผ.๑
ท๑/ผ.๑

แบบทดสอบก่อนเรียน

หนวยการเรียนรูที่ ๑ ฟง พูด อาน เขียน


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ฟัฟงงพูพูดดอ่อาานนเขีเขียยนน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตอนที่ ๑ เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

๑. “สัตว์ที่มีสีสันฉูดฉำด มักเป็นสัตว์ที่มีพิษร้ำยแรง” ข้อควำมนี้ไม่มีมำตรำตัวสะกดแม่ใด


ก. แม่กบ – แม่กม ข. แม่กน – แม่กบ
ค. แม่กด – แม่เกย ง. แม่กง – แม่เกอว
๒. “มนุษย์สุดประเสริฐเลิศเสมอ สูงกว่ำชำติดิรัจฉำน” ข้อควำมนี้มีมำตรำตัวสะกด แม่กด
กี่คำ
ก. ๔ คำ ข. ๕ คำ
ค. ๖ คำ ง. ๗ คำ
๓. “เกวียนหนึ่งเล่ม บรรทุกข้ำวสำรได้ร้อยถัง” ข้อควำมนี้ไม่มีตัวสะกดในมำตรำใด
ก. แม่เกอว - แม่กด ข. แม่กด - แม่กบ
ค. แม่กด - แม่กง ง. แม่กง - แม่กบ
๔. “รับสมัครพนักงำนเสิร์ฟสำว” ข้อควำมนี้มีตัวสะกดในมำตรำใดบ้ำง
ก. แม่กบ แม่กก แม่เกย แม่กน ข. แม่กบ แม่กง แม่เกอว แม่กด
ค. แม่กบ แม่กน แม่กก แม่เกอว ง. แม่กบ แม่เกอว แม่กก แม่กด
๕. ข้อควำมใด มีคำสะกดด้วยมำตรำ แม่ กง มำกที่สุด
ก. ร่ำพิไลรัญจวนหวนละห้อย ข. ถึงยำมค่ำย่ำฆ้องจะร้องไห้
ค. น้ำค้ำงย้อยเย็นฉ่ำทิฆัมพร ง. โอ้ยำมดึกดำวเคลื่อนเดือนก็คล้อย

ตอนที่ ๒ เติมคำตอบในลงในตำรำง
๖. ประโยคต่อไปนี้มีเสียงวรรณยุกต์ใดบ้ำง
๖.๑ “แม่ค้ำขำยผักหลำยอย่ำง”
สำมัญ เอก โท ตรี จัตวำ


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 3 7/17/18 10:20 AM


 ทท๑/ผ.๑
๑/ผ.๑

๖.๒ “น้ำท่วมบ้ำนเรือนเสียหำย”
สำมัญ เอก โท ตรี จัตวำ

๖.๓ “ไก่ป่ำพำลูกคุ้ยเขี่ยหำกิน”
สำมัญ เอก โท ตรี จัตวำ

๗. เติมคำควบกล้ำในประโยคให้ถูกต้องและได้ใจควำม
๗.๑ คุณแม่..........................พระก่อนนอน
๗.๒ สมพลเป็นลูกศิษย์คน................................ของคุณครู
๗.๓ ตำรวจยึดของ.................................ได้จำกผู้ต้องหำ
๗.๔ เด็ก ๆ เล่นก่อกอง.........................ที่ชำยหำดอย่ำงสนุกสนำน
๗.๕ เขำเป็นคนมี................................สินอย่ำงมำกมำย

ตอนที่ ๓ ตอบคำถำมจำกกำรฟัง โดยครูอ่ำนข้อควำมแล้วให้นักเรียนเขียนคำตอบลงในช่องว่ำง

๑.............................................................................................................................................

๒.............................................................................................................................................

๓.............................................................................................................................................

๔..............................................................................................................................................

๕...............................................................................................................................................


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 4 7/17/18 10:20 AM


ท ๑/ผ.๑-๐๑
 ท๑/ผ.๑-๐๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑ ฟง พูด อาน เขียน


ใบงานที่ ๐๑ คัดสวย เขียนถูก ด้วยมือเรา

คาชี้แจง คัดลำยมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดตำมรูปแบบกระทรวงศึกษำธิกำร

มำตรำตัวสะกดของไทย รวบรวมไว้มีหลำยมำตรำ
มำตรำแม่ ก กำ อย่ำชักช้ำจำให้ดี
คำที่ไม่มีตัวสะกด อย่ำละลด เช่น ปู เต่ำ ปลำ
มำตรำตัวสะกดแม่ กน อีกแม่ กม และแม่กง
เกย เกอว อย่ำใหลหลง พวกเรำจงจำให้มั่น
ห้ำแม่นั้นสะกดต่ำงกัน มำเร็วพลันจำให้ขึ้นใจ
มำตรำแม่ กก กด กบ รวมแล้วครบแปดแม่พอดี
มำตรำทั้งสำมแม่นี้ อย่ำรอรีมีเสียงสั้นสั้น
จำคำนั้นว่ำเป็นคำตำย เรำทั้งหลำยจำได้ไม่ลืม


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 5 7/17/18 10:20 AM



ท ๑/ผ.๑-๐๑
 ท๑/ผ.๑-๐๑

...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................

ชื่อ .................................. สกุล .............................. ชั้น ................... เลขที่ ..........


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 6 7/17/18 10:20 AM



ท ๑/ผ.๑-๐๒
 ท๑/ผ.๑-๐๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑ ฟง พูด อาน เขียน


ใบงานที่ ๐๒ ผันคล่อง เขียนสนุก

กิจกรรมที่ ๑ เติมคำ ๒ พยำงค์ ที่ประสมด้วยพยัญชนะเดียวกัน เสียงวรรณยุกต์เหมือนกันแต่สระต่ำงกัน


แล้วเขียนบอกรูปและเสียงวรรณยุกต์

สระที่กาหนด คา รูปวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์

ตัวอย่าง อู – อี คน จู้จี้ .................. ..................


แกง ฉู่ฉี่ .................. ..................
๑. ออ-แอ ผู้คน .................. .................. ..................
เสียง .................. .................. ..................
๒. โอ-เอ อย่ามัว .................. .................. ..................
กระท่อม.................. .................. ..................
๓. อึ-อะ พูด .................. .................. ..................
ท่าทาง .................. .................. ..................
๔. อุ-อิ ทา .................. .................. ..................
หม้อ .................. .................. ..................

กิจกรรมที่ ๒ อ่ำนประโยค แล้ววิเครำะห์ว่ำคำที่พิมพ์ตัวหนำเขียนถูกหรือไม่ ถ้ำเขียนถูกให้เขียน


เครื่องหมำย  ถ้ำผิดให้เขียนเครื่องหมำย  ที่หน้ำประโยค และเขียนแก้ไขให้ถูกต้อง

….……. ๑.ครูเขียนโน้ตเพลงบนกระดำนดำ ………………………...

…….. ๒.ฉันใช้แฟ๊บซักผ้ำเป็นประจำ ……………………......

……. ๓.พ่อชอบกินข้ำวกับเต้าหู้ยี้ ………………………...

๔.แม่ข๋าหนูปวดท้องค่ะ ………………………...
.

๕.อย่ำมำจู้จี้จุ่กจิกกวนใจฉันนะ ………………………………
……..…………………
…...…………………

…... ยนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรี

6102149L01e-�6 (��.).indd 7 7/17/18 10:20 AM



ท ๑/ผ.๒-๐๓
 ท๑/ผ.๒-๐๓

ใบงานที่ ๐๓ อ่าน เขียน ถูก รู้ความหมาย


กิจกรรมที่ ๑ อ่ำนบทร้อยกรองที่กำหนด แล้วจำแนกคำที่มี ร ล เป็นพยัญชนะต้นและคำที่มี
พยัญชนะต้นควบกล้ำ บันทึกลงในตำรำงและเขียนคำอ่ำน
คำที่ ร เป็นพยัญชนะต้น

สักวำชมธำรละหำนห้วย ระรินรวยน้ำตกกระเซ็นไหล
ระเรื่อยเลำะเซำะหว่ำงกลำงพงไพร สำยน้ำใสแลส่องท้องนที
เห็นกรวดทรำยรำยเรียงเคียงประดับ สีสลับเลื่อมพรำยหลำกหลำยสี
ระยิบระยับวับวำวรำวมณี รื่นฤดีธรรมชำติพิลำสเอย

จำกหนังสือแบบเรียนมำตรฐำน ฉบับพิเศษ เน้นกระบวนกำร ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๕


คำที่ ร เป็นพยัญชนะต้น ปสม. โดย วินัย พัคฒำทีนรั่ ฐล และคณะ
เป็นพยัญชนะต้น คำที่มีพยัญชนะต้นควบกล้ำ
พยัญชนะต้ น
คำศัพท์ ……………………………………….. คำศัพท์ ………………………………………. คำศัพท์ ……………………………………….
คำอ่ำน…………………………………………… คำอ่ำน………………………………………… คำอ่ำน…………………………………………
คำศัพท์ ……………………………………….. คำศัพท์ ………………………………………. คำศัพท์ ……………………………………….
คำอ่ำน…………………………………………… คำอ่ำน………………………………………… คำอ่ำน…………………………………………
คำศัพท์ ……………………………………….. คำศัพท์ ………………………………………. คำศัพท์ ……………………………………….
คำอ่ำน…………………………………………… คำอ่ำน………………………………………… คำอ่ำน………………………………………
กิจกรรมที่ ๒ ให้นักเรียนเลือกคำจำกกิจกรรมที่ ๑ หรือคิดเพิ่มเติมประเภทละ ๑ คำมำแต่งประโยค


…………………………………………………………………………………………………………………

ล ……………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….

ควบกล้ำ ……………………………………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………


ชุดกิจกรรมการเรีย……………………………………………………………………………………………………………………….
นรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 8 7/17/18 10:21 AM



ท ๑/ผ.๓
 ท๑/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑ ฟง พูด อาน เขียน


ใบความรู้สาหรับนักเรียน
ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น
ลักษณะของข้อเท็จจริง

ข้อเท็จจริง หมำยถึงข้อควำมที่กล่ำวถึงควำมจริงในโลกทำงกำยภำพ ที่มีลักษณะ ดังนี้


๑) เป็นควำมจริงตำมธรรมชำติ
๒) มีควำมเป็นไปได้
๓) มีควำมสมเหตุสมผล

ตัวอย่าง ตัวอย่าง

นำยกรัฐมนตรีมีนโยบำยปรำบปรำมยำเสพติดและผู้มีอิทธิพล

ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน เรำเห็นดวงดำวชัดเจนในคืนเดือนมืด

ไก่เป็นสัตว์จำพวกเดียวกับนก รับประทำนอำหำรสุกๆ ดิบๆ อำจเป็นพยำธิได้

สำนักพยำกรณ์อำกำศรำยงำนสภำพอำกำศว่ำจะมีฝนตกชุกในภำคเหนือสัปดำห์นี้

ลักษณะของข้อคิดเห็น
ข้อคิดเห็น หมำยถึงข้อควำมที่แสดงทรรศนะ ควำมรู้สึก ควำมคิด ควำมเชื่อ แนวคิดของ
ผู้เขียนหรือผู้พูดที่มีต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะดังนี้
๑) เป็นควำมคิดเห็นส่วนตัว
๒) เป็นข้อควำมที่แสดงควำมรู้สึก
๓) เป็นข้อควำมที่แสดงกำรคำดคะเนไม่แน่นอน
๔) เป็นข้อควำมที่แสดงควำมเปรียบเทียบอุปมำอุปไมย
๕) เป็นข้อควำมที่แสดงคำแนะนำหรือข้อเสนอแนะ


ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 9 7/17/18 10:21 AM


๑๐
ท ๑/ผ.๓
 ท๑/ผ.๓

ตัวอย่าง

ชนกลุ่มน้อยซ่องสุมกำลังแถบชำยแดน รัฐบำลควรส่งทหำรไปตรึงกำลังไว้

อำกำศบนดอยอินทนนท์ สดชื่น เย็นสบำย น่ำอิจฉำชำวเขำแถบนี้นะ

มำนพหลงรักกำญจนำ น่ำสงสำรนะเหมือนดอกฟ้ำกับหมำวัด
มำนพหลงรักกำญจนำ น่ำสงสำรนะเหมือนดอกฟ้ำกับหมำวัด

ฝนตกหนักอย่ำงนี้พี่คงจะไปหำน้องไม่ได้
มำนพหลงรักกำญจนำ น่ำสงสำรนะเหมือนดอกฟ้ำกับหมำวัด

ฉันคิดว่ำคุณไตรภพ เป็นพิธีกรที่ใช้ภำษำได้ดีมำก

ที่น้องปวดท้องพี่คำดว่ำต้องเป็นเพรำะกินส้มตำแน่ๆ

๑๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 10 7/17/18 10:21 AM


๑๑

ท ๑/ผ.๓-๐๔
 ท๑/ผ.๓-๐๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑ ฟง พูด อาน เขียน


ใบงานที่ ๐๔ อ่าน คิด พิจารณา

กิจกรรมที่ ๑ พิจำรณำประโยคที่กำหนดให้ แล้วใส่เครื่องหมำย  หน้ำประโยคที่เป็นข้อเท็จจริง


และใส่เครื่องหมำย  หน้ำประโยคที่เป็นข้อคิดเห็นลงใน

๑ เรำทุกคนจะต้องรับประทำนอำหำรให้ครบ ๕ หมู่


เด็ก ๆ ในวัยเรียนควรนอนอย่ำงน้อย วันละ ๘ - ๑๐ ชั่วโมง

๓ เดือนนี้มีลมพำยุและฝนตกหนัก ควรมีอุปกรณ์กันฝนเวลำออกจากบ้ำน

๔ ๑๒ สิงหำคม ทุกปีเป็นวันแม่แห่งชำติ

๕ เรำมำช่วยกันคว่ำภำชนะที่มีน้ำขังเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก

หมำยเหตุ ตอบถูกได้ ๑ คะแนน ตอบผิดได้ ๐ คะแนน


๑๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 11 7/17/18 10:21 AM


๑๒

ท ๑/ผ.๓-๐๔
 ท๑/ผ.๓-๐๔

กิจกรรมที่ ๒ พิจำรณำข้อควำมที่กำหนดให้แล้วแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น

กำรดำรงรักษำและสืบสำนวัฒนธรรมไทยเป็นสิ่งที่คนไทยทุกคนต้องสำนึกว่ำเป็นเรื่องสำคัญ
และจำเป็นอย่ำงยิ่งที่ต้องร่วมมือร่วมใจกันทำ เพรำะวัฒนธรรมของเรำเป็นสิ่งที่สวยสดงดงำม น่ำ
หวงแหน และน่ำทะนุถนอมเป็นยิ่งนัก กำรที่จะปลูกจิตสำนึกให้คนไทยได้ระลึกถึงเรื่องนี้ให้ทั่วถึง
จำเป็นต้องมีกำรรณรงค์อย่ำงต่อเนื่องกันโดยตลอด มิใช่เพียงแต่ทำกันเป็นปี ๆ และหยุดไป เรำเคยได้
บทเรียนมำพอสมควรแล้วว่ำ วัฒนธรรมต่ำงชำติได้แพร่เข้ำมำในบ้ำนเมืองเรำหลำยอย่ำง และหลำย
ทิศทำง เพรำะฉะนั้นถ้ำเรำไม่พยำยำมปลูกสำนึกให้คนไทย โดยเฉพำะเยำวชนของเรำได้ตระหนักถึง
ควำมสำคัญในเรื่องนี้ก็คงจะเป็นเรื่องที่น่ำห่วง
พลเอกเปรม ติณสูลำนนท์
จำกคู่มือกำรเรียนกำรสอนภำษำไทย คิดและเขียนเชิงสร้ำงสรรค์ กระทรวงศึกษำธิกำร

ข้อคิดเห็น
ข้อเท็จจริง

.........................................................................
............................................................................
.........................................................................
............................................................................
.........................................................................
............................................................................
.........................................................................
............................................................................
.........................................................................
............................................................................
.........................................................................
............................................................................
.........................................................................
............................................................................
.........................................................................
............................................................................
.........................................................................

๑๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 12 7/17/18 10:21 AM


๑๓
ท ๑/ผ.๔
 ท๑/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๑ ฟง พูด อาน เขียน


ใบความรู้ เรื่อง การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง
กำรเขียนแผนภำพโครงเรื่อง เป็นกำรเขียนเพื่อแสดงให้เห็นโครงเรื่องโดยรวม ทั้งเรื่องทำให้จับใจควำม
สำคัญของเรื่องที่อ่ำนได้ดียิ่งขึ้น กำรเขียนแผนภำพโครงเรื่องต้องอำศัยกำรตั้งคำถำมและตอบคำถำมจำกเรื่อง
ที่อ่ำนว่ำตัวละครมีใครบ้ำง สถำนที่เกิดเหตุคือที่ใด มีเหตุกำรณ์อะไรเกิดขึ้น และผลของเหตุกำรณ์นั้นคืออะไร
แล้วจึงเขียนเป็นแผนภำพโครงเรื่อง
นิทานเรื่องหมากับเงา
หมำตัวหนึ่งขี้ขโมยโดยเชื้อชำติ เข้ำตลำดลักเนื้อวัววิ่งถลำ
ข้ำมสะพำนแลลงในคงคำ เกิดแก่ตำตนเห็นเป็นเงำโต
ก้อนเนื้อในน้ำนั้นดูยิ่งใหญ่ จึงสู้ทิ้งชิ้นที่คำบด้วยยโส
หมำยจะแย่งชิ้นใหญ่จำกหมำโซ ด้วยควำมโง่ครั้งทิ้งก้อนเนื้อลง
ในน้ำแล้วเนื้อเงำก็หำยไป จมน้ำใสทั้งสองสิ่งประสงค์
คือของตัวและที่หวังตั้งจำนง ทำลำยลงเพรำะโลภหลงงมงำย

แผนภาพโครงเรื่อง ของนิทานเรื่องหมากับเงา

ตัตัวละครในเรื่อง เหตุ
เหตุการณ
ารณ์ที่เกิด
หมำตัวหนึ่ง
หมาตั หมำขี
หมาขี้ข้ขโมยตั โมยตัววหนึ หนึ่งลั่งลักกเนืเนื้อ้อวัววัแล้
วแลววิว่งวิข้่งำขมสะพำน
ามสะพาน
เห็เห็นนเงำของเนื
เงาของเนื้อ้อในน้ ในนํำก้้ากออนใหญ่
นใหญกว่กำวชิา้นชิที้น่มทีัน่มคำบ
ันคาบ
สถานที่ อยู
อย่ ูจึจึงงทิทิ้ง้งเนืเนื้อ้อทีที่ค่คำบไว้
าบไวในปำกลงไปในน้
ในปากลงไปในนํำ ้า
บนสะพานข
บนสะพำนข้าำมแม
มแม่น้ำํา

ผลของเหตุ
ผลของเหตุการณ
ารณ์ นิทานเรื่องนี้สอนให้
อนใหรรู้วูว่าา….
...
เนืเนื้อ้อชิชิ้น้นทีที่ห่หมาคาบมาจมหายไปในแม
มำคำบมำจมหำยไปในแม่นน้ำํ้า โลภนักมักลาภหาย
โลภนั ลำภหำย
และเงำของเนื้อก็จมหำยไป
และเงาของเนื มหายไป ควรพอใจในสิ่งที่ตนมี
ควรพอใจในสิ

คัดลอกจำกหนังสือคู่มือสอนทำงไกลผ่ำนดำวเทียมโรงเรียนไกลกังวล อ. หัวหิน จ. ประจวบคีรีขันธ์

๑๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 13 7/17/18 10:21 AM


๑๔

 ท ท๑/ผ.๔
๑/ผ.๔

สื่อสาหรับนักเรียน

ตัวอย่าง

เรื่อง ลูกแกะกับจระเข้
ลูกแกะตัวหนึ่งกระหำยน้ำจัด มันจึงเดินไปที่ริมฝั่งน้ำเพื่อที่จะดื่มน้ำดับกระหำย แต่เมื่อไป
ถึงริมฝั่งแม่น้ำ ได้เห็นจระเข้ตัวหนึ่งนอนกบดำนอยู่ใกล้กับริมฝั่ง ลูกแกะจึงล้มเลิกควำมคิดที่จะกิน
น้ำ มันรีบหันหลังกลับทันที จระเข้จึงร้องถำมว่ำ “อ้ำว ! เจ้ำแกะน้อย เจ้ำจะมำกินน้ำไม่ใช่หรือ
ทำไมรีบด่วนกลับเสียล่ะ” ลูกแกะเดินพลำงตอบพลำงไม่เหลียวหลังว่ำ “ช่ำงเถอะ ! กำรกินน้ำของ
ข้ำไม่สำคัญเท่ำกับกำรรอกินลูกแกะของท่ำนดอก”
นิทานอีสป ฉบับสอนเด็ก

ตัวอย่าง

เรื่อง ลูกแกะกับจระเข้
ตัวละคร ลูกแกะ จระเข้
สถานที่ ริมฝั่งแม่น้ำแห่งหนึ่ง
เหตุการณ์ ลูกแกะกระหำยน้ำ แต่เมื่อไปถึงแม่น้ำพบจระเข้นอนรอเหยื่ออยู่ จึงยอมอดน้ำ
เพื่อรักษำชีวิตของตนไว้
ผลของเหตุการณ์ ลูกแกะรอดชีวิตจำกกำรเป็นอำหำรของจระเข้
ข้อคิด/คติสอนใจ คนที่มีควำมฉลำดรอบคอบ ย่อมรู้จักพำตนให้พ้นภัยได้

๑๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 14 7/17/18 10:21 AM


๑๕
ท ๑/ผ.๔-๐๕

หนวยการเรียนรูที่ ๑ ฟง พูด อาน เขียน


ใบงานที่ ๐๕ นิทานดาวลูกไก่

กิจกรรมที่ ๑ อ่ำนนิทำนพื้นบ้ำนเรื่องดำวลูกไก่ แล้วเขียนแผนภำพโครงเรื่อง

แผนภาพโครงเรื่องนิทานพื้นบ้าน
เรื่อง…………………………………………………………….

ตัวละครในเรื่อง ………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
……..
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
สถานที่ ………………………………………………………………………
……..

……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
เหตุการณ์ ……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
……………………………………………………………………
…………………………………………………………………….

ผลของเหตุการณ์ ………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
ข้อคิดที่ได้รับ ………………………………………………………………………

………………………………………
………………………………………
การนาข้อคิดไปใช้
……………………………………………………………………………………………
……………………………………… ……………………………………………………………………………………………
……………………………………… ……………………………………………………………………………………………
……………………………………… ……………………………………………………………………………………………
………………………………………
……………………………………… ๑๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)
………………………………………

6102149L01e-�6 (��.).indd 15 7/17/18 10:21 AM


๑๖

 ทท๑/ผ.๔-๐๕
๑/ผ.๔-๐๕

นิทานพื้นบ้านเรื่อง ดาวลูกไก่
ที่ชำยป่ำแห่งหนึ่ง มีตำกับยำยปลูกกระท่อมอำศัยอยู่กันตำมลำพัง ตำกับยำยมี
อำชีพเก็บผักและของป่ำไปขำยให้พอเลี้ยงชีพได้ ทั้งสองเลี้ยงไก่ตัวหนึ่งไว้กินไข่ ต่อมำแม่
ไก่ออกไข่ แล้วฟักออกมำเป็นลูกไก่ตัวน้อย ๆ น่ำรัก ๗ ตัว ตำกับยำยเลี้ยงดู รักและเมตตำ
ให้อำหำรแม่ไก่และลูกไก่ตำมกำลัง แม่ไก่บอกลูกไก่ทั้ง ๗ ว่ำ “จำไว้นะลูกจ๋ำ ตำกับยำย
เป็นผู้มีพระคุณ”
วันหนึ่ง มีเหยี่ยวตัวหนึ่งบินถลำลงมำ หวังจะโฉบจับไก่ไปเป็นอำหำร แต่ตำยำย
เห็นเข้ำ คว้ำไม้ไล่เหยี่ยวทันเวลำ แม่ไก่และลูกไก่ปลอดภัย แม่ไก่และลูกไก่ต่ำงก็รู้สึก
ซำบซึ้งบุญคุณของตำกับยำยเป็นอย่ำงมำกที่ช่วยชีวิตมันไว้ ให้รอดพ้นจำกอันตรำย
อยู่มำวันหนึ่ง ได้มีพระธุดงค์มำปักกลดอยู่ริมเชิงเขำ ตำกับยำยจึงเข้ำไปนมัสกำร
และตั้งใจว่ำจะทำอำหำรไปถวำยพรุ่งนี้ แต่เมื่อค้นดูในเสบียงอำหำรในครัว ก็ไม่มีอะไร
เหลืออยู่เลย ตำกับยำยสงสำรพระมำก..เกรงว่ำจะอดอำหำร เพรำะในละแวกนี้…มีบ้ำน
ของตำกับยำยเพียงหลังเดียว ตำกับยำยจึงปรึกษำกันว่ำ อำจจะต้องฆ่ำแม่ไก่แล้ว
ทำอำหำรถวำยพระ ทั้งตำกับยำยรู้สึกเศร้ำใจมำกเพรำะรักและสงสำรแม่ไก่กับลูกไก่ที่
ต้องกลำยเป็นลูกกำพร้ำ
แม่ไก่ที่กำลังกกลูกไก่นอนอยู่…ได้ยินดังนั้น จึงตัดสินใจยอมสละชีวิตเพื่อตอบแทน
บุญคุณของตำกับยำย แม่ไก่จึงบอกลูกว่ำ “ลูกเอ๋ย วันรุ่งแม่ก็ต้องตำยแล้ว แม่จะต้อง
ตอบแทนบุญคุณตำกับยำย ที่ชุบเลี้ยงมำตั้งแต่ยังเป็นลูกเจี๊ยบ” ลูกไก่ทั้ง ๗ ได้ยินดังนั้น
ก็ร้องไห้ซบอกแม่แน่นขึ้น แม่ไก่สั่งเสียลูกต่อไปว่ำ “ลูก ๆ ทั้ง ๗ ตัว ต้องรักกัน สำมัคคี
กัน น้องจิ๋วต้องเชื่อฟังพี่ใหญ่” แล้วแม่ไก่ก็กอดลูกน้อยร้องไห้ทั้งคืน จนกระทั่งหลับไป
เช้ำมืดวันรุ่งขึ้น เมื่อตำกับยำยก่อไฟเตรียมประกอบอำหำร โดยเชือดแม่ไก่
ไปทำแกง ทันใดนั้น ตำกับยำยก็ต้องตกตะลึงเมื่อเห็นลูกไก่ทั้ง ๗ ตัว กระโดดเข้ำกองไฟ
ตำยตำมแม่ไก่ไป
เทวดำนำงฟ้ำต่ำงก็ซำบซึ้งในควำมกตัญญูของแม่ไก่และลูกไก่ จึงได้รับลูกไก่ทั้ง
๗ ตัว ไปอยู่บนฟำกฟ้ำ เกิดเป็น “ดำวลูกไก่” หรือที่เรียกว่ำ กลุ่มดำวฤกษ์ ๗ ดวง ชื่อ
“กัตติกำ” บนท้องฟ้ำ เพื่อประกำศถึงควำมดี…ที่มีควำมรัก และควำมสำมัคคีของลูกไก่
พี่น้องทั้ง ๗ นั่นเอง

๑๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 16 7/17/18 10:21 AM


๑๗

 ทท๑/ผ.๔
๑/ผ.๔

แบบทดสอบหลังเรียน

หนวยการเรียนรูที่ ๑ ฟง พูด อาน เขียน


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ฟฟังงพูพูดดออ่าานนเขีเขียยนน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ตอนที่ ๑ เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

๑. “สัตว์ที่มีสีสันฉูดฉำด มักเป็นสัตว์ที่มีพิษร้ำยแรง” ข้อควำมนี้ไม่มีมำตรำตัวสะกดแม่ใด


ก. แม่กบ – แม่กม ข. แม่กน – แม่กบ
ค. แม่กด – แม่เกย ง. แม่กง – แม่เกอว
๒. “มนุษย์สุดประเสริฐเลิศเสมอ สูงกว่ำชำติดิรัจฉำน” ข้อควำมนี้มีมำตรำตัวสะกด
แม่กด กี่คำ
ก. ๔ คำ ข. ๕ คำ
ค. ๖ คำ ง. ๗ คำ
๓. “เกวียนหนึ่งเล่ม บรรทุกข้ำวสำรได้ร้อยถัง” ข้อควำมนี้ไม่มีตัวสะกดในมำตรำใด
ก. แม่เกอว - แม่กด ข. แม่กด - แม่กบ
ค. แม่กด - แม่กง ง. แม่กง - แม่กบ
๔. “รับสมัครพนักงำนเสิร์ฟสำว” ข้อควำมนี้มีตัวสะกดในมำตรำใดบ้ำง
ก. แม่กบ แม่กก แม่เกย แม่กน ข. แม่กบ แม่กง แม่เกอว แม่กด
ค. แม่กบ แม่กน แม่กก แม่เกอว ง. แม่กบ แม่เกอว แม่กก แม่กด
๕. ข้อควำมใด มีคำสะกดด้วยมำตรำ แม่กง มำกที่สุด
ก. ร่ำพิไลรัญจวนหวนละห้อย ข. ถึงยำมค่ำย่ำฆ้องจะร้องไห้
ค. น้ำค้ำงย้อยเย็นฉ่ำทิฆัมพร ง. โอ้ยำมดึกดำวเคลื่อนเดือนก็คล้อย

ตอนที่ ๒ เติมคำตอบในลงในตำรำง
๖. ประโยคต่อไปนี้มีเสียงวรรณยุกต์ใดบ้ำง
๖.๑ “แม่ค้ำขำยผักหลำยอย่ำง”
สำมัญ เอก โท ตรี จัตวำ

๑๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 17 7/17/18 10:21 AM


๑๘

 ท ๑/ผ.๔
ท๑/ผ.๔

๖.๒ “น้ำท่วมบ้ำนเรือนเสียหำย”
สำมัญ เอก โท ตรี จัตวำ

๖.๓ “ไก่ป่ำพำลูกคุ้ยเขี่ยหำกิน”
สำมัญ เอก โท ตรี จัตวำ

๗. เติมคำควบกล้ำในประโยคให้ถูกต้องและได้ใจควำม
๗.๑ คุณแม่..........................พระก่อนนอน
๗.๒ สมพลเป็นลูกศิษย์คน................................ของคุณครู
๗.๓ ตำรวจยึดของ.................................ได้จำกผู้ต้องหำ
๗.๔ เด็ก ๆ เล่นก่อกอง.........................ที่ชำยหำดอย่ำงสนุกสนำน
๗.๕ เขำเป็นคนมี................................สินอย่ำงมำกมำย
ตอนที่ ๓ ตอบคำถำมจำกกำรฟัง โดยครูอ่ำนข้อควำมแล้วให้นักเรียนเขียนคำตอบลงในช่องว่ำง

๑................................................................................................................................................

๒................................................................................................................................................

๓................................................................................................................................................

๔................................................................................................................................................

๕................................................................................................................................................

๑๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 18 7/17/18 10:21 AM


ทํานองเสนาะไพเราะอาขยาน

6102149L01e-�6 (��.).indd 19 7/17/18 10:21 AM


6102149L01e-�6 (��.).indd 20 7/17/18 10:21 AM
๒๑


ท ท๒/ผ.๑
๒/ผ.๑

แบบทดสอบก่อนเรียน

หนวยการเรียนรูที่ ๒ ทํานองเสนาะไพเราะอาขยาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ททํานองเสนาะไพเราะอาขยาน
านองเสนาะไพเราะอาขยาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
...........................................................................................................................................................................................

คาชี้แจง ปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้
๑. ขีดเส้นใต้ คำนำม คำสรรพนำม ในประโยค แล้วเขียนคำลงในช่องว่ำง
- เด็กๆ กำลังเล่นฟุตบอลอยู่ในสนำมแล้วเหนื่อย แต่พวกเขำก็ไม่ยอมหยุดพัก
คำนำม ได้แก่................................... คำสรรพนำม ได้แก่...............................................
- คุณยำยต้องสวดมนต์และนั่งสมำธิท่ำนถึงจะนอนหลับ
คำนำม ได้แก่.....................................คำสรรพนำม ได้แก่..............................................
๒. เรียงคำที่กำหนดให้ถูกต้องตำมลำดับพจนำนุกรม
กระเป๋ำ เก้ำอี้ กล่อง แก้ว
๑)………………………………… ๒).…………………………………
๓)………………………………… ๔)…………………………………
๓. นำคำที่กำหนด จัดกลุ่ม คำเป็น คำตำย
ฉบับ ควำมรู้ สัตว์ วิ่งหนี หนังสือ
ดินสอ โจทย์เลข โคมไฟ ผักสด โต๊ะเหล็ก

คำเป็น คำตำย
……………………………………………………………… ………………………………………………………………
……………………………………………………………… ………………………………………………………………

๔. ยกตัวอย่ำงคำที่มีตัวกำรันต์ ๕ คำ
๑………………………................…๒.………..........…………………๓………….....................……………
๔…………………………….............๕…………….........................
๕. เขียนข้อคิดจำกบทอำขยำนที่กำหนดให้ ต่อไปนี้

แม่รักลูกลูกก็รู้อยู่ว่ำรัก คนอื่นสักหมื่นแสนไม่แม้นเหมือน
จะกินนอนวอนว่ำเมตตำเตือน จะจำกเรือนร้ำงแม่ไปแต่ตัว

............................................................................................................................. ...................................
........................................................................................................................................ ........................
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๒๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 21 7/17/18 10:21 AM


๒๒

ท ๒/ผ.๑-๐๑
ท๒/ผ.๑-๐๑

ใบงานที่ ๐๑ คานาม คาสรรพนาม

กลุ่ม…………………………………...………………………………………….. ชั้นประถมศึกษาปีที่ .............................

คาชี้แจง ค้นหำคำนำมและคำสรรพนำมจำกวรรณคดีเรื่อง สังข์ทอง ตอนกำเนิดพระสังข์

คานาม

คำนำม ชนิดของคำนำม
………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

คาสรรพนาม

คำสรรพนำม ชนิดของคำสรรพนำม
………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

๒๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 22 7/17/18 10:21 AM


๒๓

ท ๒/ผ.๑-๐๒
 ท๒/ผ.๑-๐๒

หนวยการเรียนรูที่ ๒ ทํานองเสนาะไพเราะอาขยาน
ใบงานที่ ๐๒ คานาม คาสรรพนาม

ชื่อ…………………………………………………นามสกุล…………..…………………………….. ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

คาชี้แจง วิเครำะห์ประโยค เพื่อหำ คำนำม คำสรรพนำม แล้วเขียนลงในตำรำง


๑. ท้ำยสวนมะพร้ำวมีกระท่อม ๓ หลัง
๒. ฝูงชนวิ่งกรูเข้ำไปเก็บเมล็ดพันธุ์ข้ำวที่ลำนพิธีแรกนำขวัญ
๓. อะไร ๆ เธอก็ไม่ชอบ
๔. คุณมีควำมคิดเห็นเหมือนเขำหรือไม่
๕. คนไม่เคยทำควำมเดือดร้อนให้ใครเลย
๖. คนไทยสมัยก่อนต่ำงรู้จักใช้ประโยชน์จำกผ้ำขำวม้ำ
๗. ปีใหม่ไม่มีควำมลับกับเพื่อน
๘. พวกเรำทุกคนต้องมำทำงำนวันอำทิตย์นะ
๙. นักเรียนถือหนังสือคนละ ๑ เล่ม
๑๐. คุณยำยต้องสวดมนต์และนั่งสมำธิท่ำนถึงจะนอนหลับ

คา
คานาม คาสรรพนาม

๒๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 23 7/17/18 10:21 AM


๒๔ ท ๒/ผ.๒-๐๓
 ท๒/ผ.๒-๐๓

ใบงานที่ ๐๓ การใช้พจนานุกรม
กลุ่ม……………………………………………………….................................... ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖

กิจกรรมที่ ๑ อ่ำนกลอนดอกสร้อย “มวลดอกไม้” เลือกคำมำเรียงลำดับตำมพจนำนุกรมแล้วหำควำมหมำย

ดอกเอ๋ยดอกพิกุล เหล่ำดรุณเก็บสนุกทุกหนแห่ง
ร้อยมำลัยใส่ก็ได้ทั้งไม่แพง เด็กแดงแดงเป็นผดใช้บดทำ
ดินสอพองเผำไฟแทรกไปด้วย ทำให้ช่วยแก้คันแล้วหรรษำ
หล่นใต้ต้นเกลื่อนกลำดดำษดำ เก็บแต่งกำยำเล่นเย็นใจเอย

๑............ ๒............... ๓..............


ควำมหมำย หม่อมเจ้ำหญิงพิควำมหมำย
จิตรจิรำภำ เทวกุล
ควำมหมำย

…………………… …………………… ……………………


…………………… …………………… ……………………

๔.............. ๕................. ๖................ ๗................


ควำมหมำย ควำมหมำย .......... ควำมหมำย ควำมหมำย
.

…………………… …………………… …………………… ……………………


…………………… …………………… …………………… ……………………

๘................ ๙................ ๑๐.............


ควำมหมำย .... ควำมหมำย ควำมหมำย
..

…………………… …………………… ……………………


…………………… …………………… ……………………

กิจกรรมที่ ๒ สรุปใจควำมสำคัญจำกกลอนดอกสร้อย “มวลดอกไม้” ใจควำมสำคัญคือ


...........................................................................................................................................................................
๒๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 24 7/17/18 10:21 AM


๒๕

ท ๒/ผ.๒-๐๔
 ท๒/ผ.๒-๐๔

หนวยการเรียนรูที่ ๒ ทํานองเสนาะไพเราะอาขยาน
ใบงานที่ ๐๔/๑ คาเป็น คาตาย

คาชี้แจง เขียนคำเป็นและคำตำยจำกวรรณคดี ขุนช้ำงขุนแผน ตอนกำเนิดพลำยงำม


อย่ำงละ ๑๐ คำ
คาเป็น

…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..

คาตาย

…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..

๒๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 25 7/17/18 10:21 AM


๒๖
ท ท๒/ผ.๒-๐๔
๒/ผ.๒-๐๔

ใบงานที่ ๐๔/๒ คาเป็น คาตาย

คาชี้แจง ปฏิบัติกจิ กรรมดังต่อไปนี้


ตอนที่ ๑ วิเครำะห์คำเป็นและคำตำยจำกชื่อของนักเรียนในห้องเรียน
ที่ ชื่อนักเรียน คาอ่าน วิเคราะห์คาเป็นและคาตาย
ตัวอย่ำง อภิชญำ อะ – พิด – ชะ - ยำ คำตำย – คำตำย - คำตำย – คำเป็น


ตอนที่ ๑ วิเครำะห์คำเป็นและคำตำยจำกชื่อเล่นของนักเรียนในห้องเรียน
ที่ ชื่อนักเรียน คาอ่าน วิเคราะห์คาเป็นและคาตาย
ตัวอย่ำง ออมสิน ออม – สิน คำเป็น – คำเป็น


๒๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 26 7/17/18 10:21 AM


๒๗
ท ๒/ผ.๒-๐๕
 ท๒/ผ.๒-๐๕

หนวยการเรียนรูที่ ๒ ทํานองเสนาะไพเราะอาขยาน
ใบงานที่ ๐๕ ตัวการันต์

ชื่อ…………………………………………………….................................... ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
ตอนที่ ๑ เขียนคำอ่ำนต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

คาเขียน คาอ่าน

๑. อำวรณ์
๒. เจ้ำเล่ห์
๓. อุตส่ำห์
๔. ศิษย์
๕. สำยัณห์

ตอนที่ ๒ เขียนคำต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

คาอ่าน คาเขียน

๑. อำ – รม
๒. อับ – ปะ – ลัก
๓. ประ – หวัด – ติ – สำด
๔. บิ – ตุ - รง
๕. รำม – มะ – เกียน

๒๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 27 7/17/18 10:21 AM


๒๘

 ท ท๒/ผ.๓
๒/ผ.๓

ใบความรูส้ าหรับนักเรียน
การอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง

คาประพันธ์ประเภทร้อยกรอง
คำประพันธ์ประเภทร้อยกรองเป็นกำรนำคำคล้องจองมำร้อยเรียงตำมลักษณะบังคับของคำประพันธ์
รูปแบบต่ำงๆ ซึ่งกำหนดจำนวนคำ วรรค และสัมผัสที่แตกต่ำงกัน ร้อยกรองมีหลำยประเภท ได้แก่ กำพย์
กลอน โคลง ฉันท์ ร่ำย พบในวรรณคดีและวรรณกรรม เช่น กำพย์พระไชยสุริยำ กลอนเสภำ เรื่องขุนช้ำง
ขุนแผน โคลงโลกนิติ สำมัคคีเภทคำฉันท์ ร่ำยยำวมหำเวสสันดรชำดก
กำรอ่ำนคำประพันธ์ประเภทร้อยกรอง ต้องเข้ำใจลักษณะของร้อยกรองแต่ละรูปแบบนั้น แบ่งจังหวะ
กำรอ่ำนให้ถูกต้อง ไพเรำะ และมีลีลำอำรมณ์ตำมเรื่องที่อ่ำน ทั้งกำรอ่ำนแบบธรรมดำ และกำรอ่ำนแบบ
ทำนองเสนำะ

วิธีการอ่านทานองเสนาะจากคาประพันธ์
กลอนสุภาพ นิยมอ่ำนเสียงสูง ๒ วรรค และเสียงต่ำ ๒ วรรค
กำรเเบ่งจังหวะวรรคในกำรอ่ำนมีดังนี้
กลอนหก วรรคละ ๖ คำ อ่ำน ๒/๒/๒ OO/OO/OO
กลอนแปด วรรคละ ๗ คำ อ่ำน ๒/๒/๓ OO/OO/OOO
กลอนแปด วรรคละ ๘ คำ อ่ำน ๓/๒/๓ OOO/OO/OOO
กลอนแปด วรรคละ ๙ คำ อ่ำน ๓/๓/๓ OOO/OOO/OOO

หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำนภำษำไทย ชุดภำษำเพื่อชีวิต ภำษำพำที ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ กระทรวงศึกษำธิกำร

๒๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 28 7/17/18 10:21 AM


๒๙
ท ๒/ผ.๓
 ท๒/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๒ ทํานองเสนาะไพเราะอาขยาน
ใบความรูส้ าหรับนักเรียน
ประเภทของกลอน

ประเภทของกลอน
กลอนมีชื่อเรียกหลำยชนิด มีชื่อเรียกต่ำง ๆ กันถ้ำเรียกชื่อตำมจำนวนคำในวรรคก็มี เช่น กลอน ๔
กลอน ๖ กลอน ๘ ถ้ำเรียกชื่อตำมที่ใช้ขับร้องก็มี เช่น กลอนบทละคร กลอนสักวำ กลอนเสภำ กลอน
ดอกสร้อย ฯลฯ
กลอนสุภำพนั้นเรียกกันทั่วไปว่ำ กลอนตลำด บำงตำรำว่ำกลอนสุภำพคือเฉพำะกลอน ๘

ตัวอย่างกลอน ๖
ลิ่ว ลิ่ว ลอยล่องท่องฟ้ำ นภำเปิดทำงกว้ำงใส
ผ่ำนเมฆปุยขำวเป็นใย ชื่นใจลมผ่ำนผิวกำย
มองไปเห็นทุ่งนำกว้ำง เวิ้งว้ำงกระไรใจหำย
ขวำมือมีแสงพรรณรำย คล้ำยคล้ำยร่ำงงำมทรำมวัย

ตัวอย่างกลอน ๘
เห็นดอกไม้ในสวนล้วนงำมยิ่ง รำวกับสิ่งประดิษฐ์คิดเสกสรร
สีสวยสดแซมสลับจับกลุ่มกัน เป็นช่อชั้นห้อยระย้ำช่ำงน่ำมอง
ยื่นมือไปอยำกจับก็กลัวแตก กลีบเจ้ำหักก้ำนแยกคงหม่นหมอง
ขอแตะนิดตั้งใจหมำยประคอง กลีบกลับนุ่มรำวต้องดอกไม้จริง

หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำนภำษำไทย ชุดภำษำเพื่อชีวิต ภำษำพำที ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ กระทรวงศึกษำธิกำร

๒๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 29 7/17/18 10:21 AM


๓๐

 ทท๒/ผ.๓-๐๖
๒/ผ.๓-๐๖

ใบงานที่ ๐๖ การอ่านบทร้อยกรอง

คาชี้แจง อ่ำนบทร้อยกรองเป็นทำนองเสนำะ เรื่อง “ขุนช้ำงขุนแผน ตอนกำเนิดพลำยงำม”

ขุนช้างขุนแผน ตอน กาเนิดพลายงาม

แม่รักลูกลูกก็รู้อยู่ว่ำรัก คนอื่นสักหมื่นแสนไม่แม้นเหมือน
จะกินนอนวอนว่ำเมตตำเตือน จะจำกเรือนร้ำงแม่ไปแต่ตวั
แม่วันทองของลูกจงกลับบ้ำน เขำจะพำลว้ำวุ่นแม่ทูนหัว
จะก้มหน้ำลำไปมิได้กลัว แม่อย่ำมัวหมองนักจงหักใจ
นำงกอดจูบลูบหลังแล้วสั่งสอน อำนวยพรพลำยน้อยละห้อยไห้
พ่อไปดีศรีสวัสดิ์กำจัดภัย จนเติบใหญ่ยิ่งยวดได้บวชเรียน
ลูกผู้ชำยลำยมือนั้นคือยศ เจ้ำจงอตส่ำห์ทำสม่ำเสมียน
แล้วพำลูกออกมำข้ำงท่ำเกวียน จะจำกเจียนใจขำดอนำถใจ
ลูกก็แลดูแม่แม่ดูลูก ต่ำงพันผูกเพียงว่ำเลือดตำไหล
สะอื้นร่ำอำลำด้วยอำลัย แล้วแข็งใจจำกนำงตำมทำงมำ
เหลียวหลังยังเห็นแม่แลเขม้น แม่ก็เห็นลูกน้อยละห้อยหำ
แต่เหลียวเหลียวเลี้ยวลับวับวิญญำณ์ โอ้เปล่ำตำต่ำงสะอื้นยืนตะลึง

หนังสืออ่ำนเพิ่มเติม กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย บทอำขยำนภำษำไทย ช่วงชั้นที่ ๑ – ๔ หลักสูตรกำรศึกษำ


ขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๔๔ กระทรวงศึกษำธิกำร.

๓๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 30 7/17/18 10:21 AM


๓๑

 ท ๒/ผ.๔
ท ๒/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๒ ทํานองเสนาะไพเราะอาขยาน
ใบความรู้สาหรับนักเรียน
การหาข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน

การหาข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน
กำรหำข้อคิดจำกเรื่องที่อ่ำน จะช่วยให้ผู้อ่ำนเข้ำใจเรื่องที่อ่ำนได้ลึกซึ้งและเข้ำใจควำมคิด
ของผู้เขียนที่แฝงไว้ในเรื่อง เช่น คติธรรม คำสอน มุมมองต่ำง ๆ อันเป็นประโยชน์ต่อกำรนำไป
ประยุกต์ใช้ในกำรดำเนินชีวิต
กำรหำข้อคิดจำกเรื่องที่อ่ำน ผู้อ่ำนต้องอ่ำนเรื่องอย่ำงพินิจพิจำรณำ ต้องเข้ำใจควำมหมำย
ของคำ ประโยค และสำนวนภำษำ วิเครำะห์เหตุกำรณ์ ข้อเท็จจริง ประเมินเหตุกำรณ์ โดยใช้
กำรเขียนแผนภำพควำมคิด หรือแผนภำพโครงเรื่องมำลำดับควำมคิดได้

หนังสือเรียนรำยวิชำภำษำไทย ชุดภำษำเพื่อชีวิต ภำษำพำที ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ กระทรวงศึกษำธิกำร

๓๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 31 7/17/18 10:21 AM


๓๒

 ท ๒/ผ.๔
ท ๒/ผ.๔

แผนภาพโครงเรื่องจากผาแต้มสู่อียิปต์
ตัวละคร พ่อ แม่ อิน เอื้อง ณภัทร เพื่อนๆ นักเรียน
สถานที่ ผำแต้ม จังหวัดอุบลรำชธำนี ในห้องเรียน
เวลา เทศกำลทอดกฐิน เปิดภำคเรียน
เหตุการณ์ที่ ๑ พ่อ แม่ อิน และเอื้องไปทอดกฐินที่จังหวัดอุบลรำชธำนีและไปเที่ยวที่ผำแต้ม
กำรกระทำของตัวละคร : ทุกคนไปถวำยผ้ำกฐินที่วัด แล้วพำกันไปเที่ยวสถำนที่สำคัญ
และชมธรรมชำติที่ผำแต้ม
ผลของกำรกระทำ : ทุกคนตื่นตำตื่นใจ สนุกเพลิดเพลินกับกำรทำบุญและสถำนที่ที่ได้ไป
พบเห็น
เหตุการณ์ที่ ๒ เปิดภำคเรียน อินเล่ำเรื่องควำมมหัศจรรย์ของผำแต้มให้เพื่อนๆ ฟัง และณภัทร
ก็เล่ำควำมมหัศจรรย์ของประเทศอียิปต์บ้ำง
กำรกระทำของตัวละคร : อินและณภัทร เล่ำรำยละเอียดของผำแต้มและประเทศอียิปต์
ให้เพื่อนฟังอย่ำงน่ำสนใจ มีกำรสนทนำซักถำมเปรียบเทียบซึ่งกันและกัน
ผลของกำรกระทำ : ทุกคนได้รับควำมรู้และประสบกำรณ์จำกกำรฟังและรู้สึกประทับใจ
เกี่ยวกับสถำนที่ท่องเที่ยวทั้งสองแห่ง
ผลสุดท้ายของเรื่อง ทุกคนประทับใจในควำมมหัศจรรย์ของสถำนที่ทั้งสองแห่ง แม้จะอยู่
ห่ำงไกลกัน แต่ก็มีควำมคล้ำยคลึงกัน
ข้อคิดที่ได้จากเรื่อง กำรรู้จักสังเกต จดจำ คิดเปรียบเทียบจำกสิ่งที่พบเห็น จะทำให้ได้รับควำมรู้
และประสบกำรณ์ที่เป็นประโยชน์

๓๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 32 7/17/18 10:21 AM


๓๓

 ท๒/ผ.๔-๐๗
ท ๒/ผ.๔-๐๗

หนวยการเรียนรูที่ ๒ ทํานองเสนาะไพเราะอาขยาน
ใบงานที่ ๐๗ เขียนแผนภาพโครงเรื่องและสรุปข้อคิด
คาชี้แจง เขียนแผนภำพโครงเรื่องและสรุปข้อคิด

ชื่อเรื่อง

ตัวละคร

สถานที่

…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
เหตุการณ์ …………………………………………………………………………………………………
ที่เกิดขึ้น …………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………

ผลของเหตุการณ์

ข้อคิด

ชื่อ.......................................................นำมสกุล........................................................ชั้น...........เลขที่......
ชื่อ.......................................................นำมสกุล........................................................ชั้น...........เลขที่......

๓๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 33 7/17/18 10:22 AM


๓๔
ท ๒/ผ.๕
 ท ๒/ผ.๕

บทอาขยานหลัก
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

ขุนช้างขุนแผน ตอน กาเนิดพลายงาม

แม่รักลูกลูกก็รู้อยู่ว่ำรัก คนอื่นสักหมื่นแสนไม่แม้นเหมือน
จะกินนอนวอนว่ำเมตตำเตือน จะจำกเรือนร้ำงแม่ไปแต่ตวั
แม่วันทองของลูกจงกลับบ้ำน เขำจะพำลว้ำวุ่นแม่ทูนหัว
จะก้มหน้ำลำไปมิได้กลัว แม่อย่ำมัวหมองนักจงหักใจ
นำงกอดจูบลูบหลังแล้วสั่งสอน อำนวยพรพลำยน้อยละห้อยไห้
พ่อไปดีศรีสวัสดิ์กำจัดภัย จนเติบใหญ่ยิ่งยวดได้บวชเรียน
ลูกผู้ชำยลำยมือนั้นคือยศ เจ้ำจงอตส่ำห์ทำสม่ำเสมียน
แล้วพำลูกออกมำข้ำงท่ำเกวียน จะจำกเจียนใจขำดอนำถใจ
ลูกก็แลดูแม่แม่ดูลูก ต่ำงพันผูกเพียงว่ำเลือดตำไหล
สะอื้นร่ำอำลำด้วยอำลัย แล้วแข็งใจจำกนำงตำมทำงมำ
เหลียวหลังยังเห็นแม่แลเขม้น แม่ก็เห็นลูกน้อยละห้อยหำ
แต่เหลียวเหลียวเลี้ยวลับวับวิญญำณ์ โอ้เปล่ำตำต่ำงสะอื้นยืนตะลึง

หนังสืออ่ำนเพิ่มเติม กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย บทอำขยำนภำษำไทย ช่วงชั้นที่ ๑ – ๔


หลักสูตรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๔๔ กระทรวงศึกษำธิกำร

๓๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 34 7/17/18 10:22 AM


๓๕

 ท ๒/ผ.๕
ท ๒/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๒ ทํานองเสนาะไพเราะอาขยาน
อ่านเพิ่มเติมความหมาย

ตอนที่ ๑ อ่ำนคำศัพท์และควำมหมำย

คาศัพท์ ความหมาย

สวัสดิ์ (สะ – หวัด) ควำมดี , ควำมงำม

ลำยมือ ฝีมือ , ควำมรู้ควำมสำมำรถ

อตส่ำห์ (อด – ส่ำ) คือ อุตส่ำห์ พยำยำม

สม่ำเสมียน (สะ – หม่ำ –สะ - เหมียน) สม่ำเสมอ

เขม้น (ขะ – เหม้น) เพ่ง , จ้องดู

วับวิญญำณ์ (วับ – วิน – ยำ) ใจหำย

เปล่ำตำ มองไม่เห็น

เมตตำ ควำมรักและเอ็นดู

บวชเรียน ถือเพศเป็นภิกษุสำมเณรหรือนักพรตอื่นๆ

ยิ่งยวด เยี่ยมที่สุด

อนำถใจ (อะ – หนำด – ใจ) สงสำร , สังเวช , สลดใจ

ตอนที่ ๒ อ่ำนคำที่กำหนด
คำที่สะกด แม่ กก รัก ลูก สัก นัก หัก ออก จำก ผูก
คำที่สะกด แม่ กด เมตตำ กอด กำจัด ยิ่งยวด บวชเรียน ยศ อตส่ำห์ ขำด อนำถ เลือด
คำที่สะกด แม่ กบ กลับ จูบ ลูบ ลับ วับ

๓๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 35 7/17/18 10:22 AM


๓๖

 ท ๒/ผ.๕-๐๘
ท ๒/ผ.๕-๐๘

ใบงานที่ ๐๘ การคัดลายมือ

คาชี้แจง คัดลำยมือบทอำขยำน เรื่อง “ขุนช้ำงขุนแผน ตอนกำเนิดพลำยงำม” ตัวบรรจง


ครึ่งบรรทัด

............................................................................................................................... .........................
........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................
.........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................
............................................................................................................................. ............................
.........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................
........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...........................
............................................................................................................................. ...........................
........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................
.........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ............................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .............................

๓๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 36 7/17/18 10:22 AM


๓๗

 ท๒/ผ.๕
ท ๒/ผ.๕

แบบทดสอบหลังเรียน

หนวยการเรียนรูที่ ๒ ทํานองเสนาะไพเราะอาขยาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ ทานองเสนาะไพเราะอาขยาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
...........................................................................................................................................................................................
คาชี้แจง ปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้
๑. ขีดเส้นใต้ คำนำม คำสรรพนำม ในประโยค แล้วเขียนคำลงในช่องว่ำง
- เด็กๆ กำลังเล่นฟุตบอลอยู่ในสนำมแล้วเหนื่อย แต่พวกเขำก็ไม่ยอมหยุดพัก
คำนำม ได้แก่......................................คำสรรพนำม ได้แก่...................................................
- คุณยำยต้องสวดมนต์และนั่งสมำธิท่ำนถึงจะนอนหลับ
คำนำม ได้แก่.....................................คำสรรพนำม ได้แก่....................................................
๒. เรียงคำที่กำหนดให้ถูกต้องตำมลำดับพจนำนุกรม
กระเป๋ำ เก้ำอี้ กล่อง แก้ว
๑)………………………………… ๒).…………………………………
๓)………………………………… ๔)…………………………………
๓. นำคำที่กำหนด จัดกลุ่ม คำเป็น คำตำย
ฉบับ ควำมรู้ สัตว์ วิ่งหนี หนังสือ
ดินสอ โจทย์เลข โคมไฟ ผักสด โต๊ะเหล็ก
คำเป็น คำตำย
……………………………………………………………… ………………………………………………………………
……………………………………………………………… ………………………………………………………………

๔. ยกตัวอย่ำงคำที่มีตัวกำรันต์ ๕ คำ
๑………………………................… ๒.………..........………………… ๓………….....................……………
๔……………………………............. ๕……………..........................
๕. เขียนข้อคิดจำกบทอำขยำนที่กำหนดให้ ต่อไปนี้

แม่รักลูกลูกก็รู้อยู่ว่ำรัก คนอื่นสักหมื่นแสนไม่แม้นเหมือน
จะกินนอนวอนว่ำเมตตำเตือน จะจำกเรือนร้ำงแม่ไปแต่ตัว

……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…

๓๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 37 7/17/18 10:22 AM


ท ๑/ผ.๑

๓๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 38 7/17/18 10:22 AM


นิทานอานสนุก

6102149L01e-�6 (��.).indd 39 7/17/18 10:22 AM


6102149L01e-�6 (��.).indd 40 7/17/18 10:22 AM
๔๐

ท ๓/ผ.๑
ท๓/ผ.๑

แบบทดสอบก่อนเรียน

หนวยการเรียนรูที่ ๓ นิทานอานสนุก
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ นิทานอ่านสนุก ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
คาชี้แจง ปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

๑. บอกคำเต็มของอักษรย่อจำกประโยคต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑.๑ ช.ม.วิทยำศำสตร์ ครูจะให้นักเรียนเข้ำห้องสมุด คำเต็มคือ.............................................
๑.๒ น้ำชำยปลูกบ้ำนสองชั้นในพื้นที่ ๑๐๐ ตร.ว. คำเต็มคือ.............................................
๑.๓ คุณพ่อทำงำนที่ อบต.ท่ำทรำย คำเต็มคือ.............................................
๑.๔ บ้ำนของเขำอยู่ จ. นครนำยก คำเต็มคือ.............................................
๒. อ่ำนวันเดือนปีแบบไทยให้ถูกต้อง
๒.๑ ๑๒
๔ ฯ ๑๐ อ่ำนว่ำ...........................................................................................

๒.๒ ๕ ฯ ๒ อ่ำนว่ำ...........................................................................................

๓. เขียนคำอักษรนำจำกคำอ่ำนต่อไปนี้
๓.๑ สะ – เหมอ เขียนว่ำ..........................................................................................................
๓.๒ กะ – หนก เขียนว่ำ..........................................................................................................
๓.๓ ขะ – หยัน เขียนว่ำ..........................................................................................................
๓.๔ จะ – หมูก เขียนว่ำ..........................................................................................................
๔. เขียนคำวิเศษณ์ลงในประโยคให้ถูกต้อง
๔.๑ น้องนอน...........................................จึงตื่น................................................
๔.๒ ดอกรำตรีส่งกลิ่น................................ในเวลำ...........................................
๕. เลือกคำวิเศษณ์มำแต่งประโยค ๒ ประโยค

เก่ง เผ็ด เร็ว มำกมำย

๕.๑ ประโยค...........................................................................................................................................
๕.๒ ประโยค...........................................................................................................................................

๔๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 41 7/17/18 10:22 AM


๔๑

 ทท๓/ผ.๑
๓/ผ.๑

๖. เขียนขั้นตอนกำรพูดรำยงำน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๗. อ่ำนเรื่องที่กำหนดแล้วเขียนแผนภำพโครงเรื่อง

คิดได้ก็สายแล้ว
ครั้งหนึ่งมีพ่อค้ำ จูงม้ำลำไปค้ำขำย
บรรจุของมำกมำย บรรทุกไว้หลังม้ำลำ
เดินทำงต่ำงหัวเมือง เดินต่อเนื่องตำมมรรคำ
แต่หนุ่มจนชรำ ยังยึดอำชีพดั้งเดิม
วันหนึ่งซื้อสินค้ำ บรรทุกลำมำกเพิ่มเติม
หลังลำน้ำหนักเพิ่ม เริ่มอ่อนล้ำเดินช้ำลง
ก้ำวขำเดินไม่มั่น แข้งขำสั่นไม่มั่นคง
เรี่ยวแรงเริ่มถอยลง มิอำจตรงขืนร่ำงกำย
จึงเอ่ยเอื้อนวำจำ ว่ำพ่อม้ำเพื่อนสหำย
ฉันมิอำจทรงกำย เรี่ยวแรงหำยมลำยไป
ช่วยด้วยเถิดเพื่อนรัก พำนักก็มิได้
ช่วยถ่ำยสินค้ำไว้ บนหลังเพื่อนเพื่อผ่อนแรง
ม้ำฟังแล้วได้ยิน นึกดูหมิ่นคิดแอบแฝง
ช่วยไยให้หนักแรง จึงทำแกล้งไม่ได้ยิน
ลำร้องขอวิงวอน ช่วยฉันก่อนอย่ำติฉิน
ก่อนที่ฉันจะสิ้น ล้มกลำงดินสิ้นกำลัง
ม้ำเดินห่ำงไปไกล เบื่อเหลือใจไม่อยำกฟัง
เสียงลำล้มเสียงดัง พ่อค้ำรั้งให้หยุดเดิน
นำของและหนังลำ ใส่หลังม้ำบรรทุกเกิน
เวรกรรมมำเผชิญ จำใจเดินเผชิญกรรม
เพรำะควำมเห็นแก่ตัว จิตเมำมัวมำหนุนนำ
ใจไม้ไส้ระกำ จึงชอกช้ำน้ำตำริน
หวนคิดถึงเพื่อนลำ เป็นเพื่อนม้ำมำอำจินต์
ชีวำมำสูญสิ้น ดับแดดิ้นเพรำะใจดำ
ถ้ำช่วยตำมร้องขอ เพื่อนคงพอมีแรงค้ำ
เพรำะเรำใจจืดดำ ทำให้เพื่อนต้องวำงวำย
จึงต้องทรมำน ฝืนสังขำรและร่ำงกำย
บรรทุกของมำกมำย มำคิดได้ก็สำยแล้ว

๔๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 42 7/17/18 10:22 AM


๔๒

 ท๓/ผ.๑
ท ๓/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๓ นิทานอานสนุก
ตัวละคร ………………………………………………………………………………………………………………………

สถำนที่ …………………………………………………………………………………………………………………………

ผลของเหตุกำรณ์ ………………………………………………………………………………………………………………………….

ข้อคิดที่ได้รับ ………………………………………………………………………………………………………………………….

เหตุกำรณ์ …………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………..

๔๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 43 7/17/18 10:22 AM


๔๓

 ทท๓/ผ.๑
๓/ผ.๑

นินิททานเรื
านเรื่อ่องงชายหน
ชายหนุุม่มกักับบคนแจวเรื
คนแจวเรืออจจ้าางง

มีชำยหนุ่มผู้คงแก่เรียนคนหนึ่ง ได้ว่ำจ้ำงเรือแจวให้พำข้ำมฟำก ในขณะที่ท้องฟ้ำเต็มไปด้วยเมฆ


มืดครึ้ม และลมเริ่มพัดจนน้ำเกิดเป็นระลอกคลื่นเล็กๆ เรือแจวได้แล่นไปอย่ำงช้ำๆ จนเมื่อเรือได้เข้ำสู่กระแสน้ำ
อันเชี่ยวกรำก คนแจวเรือจึงต้องใช้ควำมระมัดระวังเป็นอย่ำงมำก ฝ่ำยชำยหนุ่มนั่งก้มหน้ำอ่ำนหนังสือเล่มใหญ่อยู่
ในที่สุดชำยหนุ่มได้เงยหน้ำขึ้นแล้วมองไปยังคนแจวเรือ “ลุงๆ เคยอ่ำนหนังสือประวัติศำสตร์บ้ำงไหม” ชำยหนุ่ม
เอ่ยถำมขึ้น “ไม่เคยเลยครับ” คนแจวเรือจ้ำงตอบด้วยน้ำเสียงที่แผ่วเบำ “ถ้ำงั้นลุงก็พลำดโอกำสเสียแล้วหละ
ในหนังสือประวัติศำสตร์นะลุง เต็มไปด้วยเรื่องรำวที่น่ำอ่ำน มีเรื่องของกษัตริย์และรำชินีในสมัยอดีต รวมถึง
เรื่องของสงครำม กำรต่อสู้ ทำให้เรำสำมำรถรู้ว่ำคนในสมัยโบรำณ ใช้ชีวิตกันแบบไหน แต่งกำยกันอย่ำงไร
ประวัติศำสตร์จะบอกให้ได้รู้ถึงควำมเจริญและควำมเสื่อมของชนชำติต่ำงๆ ทำไมลุงไม่อ่ำนประวัติศำสตร์บ้ำง
เล่ำ” “ผมไม่เคยเรียนหนังสือครับ” คนแจวเรือตอบ
คนแจวเรือก็ยังคงแจวเรือต่อไป ส่วนชำยหนุ่มก็ก้มหน้ำอ่ำนตำรำต่อไป คงมีแต่เสียงใบแจวกระทบ
พื้นน้ำเท่ำนั้น ผ่ำนไปสักครู่หนึ่ง ชำยหนุ่มก็เอ่ยถำมคนแจวเรือขึ้นอีก “ภูมิศำสตร์เล่ำลุง เคยอ่ำนบ้ำงไหม”
“ไม่เคยเลยครับ” “ภูมิศำสตร์ เป็นวิชำที่สอนให้เรำได้รู้จักกับโลกและประเทศต่ำงๆ และยังรวมถึงกระทั่ง
ภูเขำ แม่น้ำ ลม พำยุ ฝน นะลุง วิชำภูมิศำสตร์เป็นวิชำทีน่ ่ำสนใจมำก ลุงไม่รู้จักวิชำนี้เลยรึ” “ไม่เคยเลยครับ”
คนแจวเรือตอบ ชำยหนุ่มส่ำยหน้ำ “ถ้ำไม่รู้จักวิชำนี้ ชีวิตลุงก็เหมือนไม่มีค่ำอะไรเลย” “วิทยาศาสตรละลุ ์ ง
เคยอ่ำนบ้ำงรึเปล่ำ” “ไม่เคยอีกแหละคุณ” “ลุงเนี่ยนะเป็นคนยังไงกันแน่ ” “วิทยาศาสตรที์ ช่ ่ วยอธิบาย
ถึงเหตุและผลต่ำง ๆ ลุงรู้มั้ยควำมก้ำวหน้ำของคนเรำในทุกวันนี้ขึ้นอยู่กับวิทยำศำสตร์โดยตรงเลยนะ
นักวิทยำศำสตร์เป็นคนที่สำคัญอย่ำงมำกในโลกนี้เลยก็ว่ำได้ แต่นี่อะไรลุงกลับไม่รู้เรื่องพวกนี้เอำเสียเลย
ชีวิตของลุงช่ำงมีค่ำน้อยเสียเหลือเกิน”
ชำยหนุ่มปิดตำรำ และนั่งเงียบไม่พูดอะไรขึ้นอีก ในช่วงเวลำนั้นก้อนเมฆสีดำได้แผ่ขยำยและปกคลุม
เต็มไปทั่วทั้งท้องฟ้ำ ลมเริ่มพัดแรงขึ้น มีฟ้ำแลบแปลบปลำบ เป็นเหตุบอกว่ำพำยุกำลังจะมำและเรือก็ยังเหลือ
ระยะทำงอีกกว่ำครึ่งซึ่งไกลมำกกว่ำจะถึงฝั่ง

คนแจวเรือแหงนขึ้นมองท้องฟ้ำด้วยสีหน้ำที่หวำดหวั่น ”ดูเมฆนั่นซิคุณ พำยุคงจะมำถึงเรำในไม่ช้ำ
คุณว่ำยน้ำเป็นไหมครับ” ชำยหนุ่มพูดขึ้นอย่ำงตื่นตกใจกลัว “ว่ำยน้ำ ผมว่ำยไม่เป็นหรอกลุง”
บัดนี้คนแจวเรือเป็นฝ่ำยเลิกคิ้วมองชำยหนุ่มอย่ำงประหลำดใจบ้ำงแล้ว และพูดว่ำ “อะไรกัน
นี่คุณว่ำยน้ำไม่เป็นหรอกรึ คุณมีควำมรอบรู้มำกมำยออกขนำดนี้ ประวัติศำสตร์เอย ภูมิศำสตร์เอย และวิชำ
วิทยำศำสตร์เอย คุณก็รู้ แต่ทำไมคุณถึงไม่ไปเรียนกำรว่ำยน้ำด้วยเล่ำ อีกสักประเดี๋ยวเถอะ คุณก็จะได้รู้ว่ำชีวิต
ของคุณไม่มีค่ำเลย”
ลมพำยุพัดแรงขึ้นเรื่อยๆ เรือแจวลำน้อยถูกคลื่นและลมโหมซัดพัดกระหน่ำใส่เข้ำมำ ไม่ช้ำไม่นำน
เรือแจวก็ถูกคลื่นและพำยุซัดจนเรือพลิกคว่ำ คนแจวเรือจ้ำงสำมำรถว่ำยน้ำขึ้นฝั่งมำได้อย่ำงปลอดภัย แต่ทว่ำ
ชำยหนุ่มผู้น่ำสงสำร ได้จมหำยไปในกระแสน้ำอันเชี่ยวกรำกนั้นเอง

๔๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 44 7/17/18 10:22 AM


๔๔

 ทท๓/ผ.๑-๐๑
๓/ผ.๑-๐๑

ใบงานที่ ๐๑ นิทานเรื่องใช้ทองซื้อความรู้

หนวยการเรียนรูที่ ๓ นิทานอานสนุก
คำชี้แจง ตอนที่ ๑ ตอบคำถำมและแสดงควำมคิดเห็นจำกนิทำนเรื่องใช้ทองซื้อควำมรู้
๑. นักเรียนแสดงควำมคิดเห็นว่ำ “ควำมรู้” สำมำรถซื้อขำยกันได้หรือไม่
.............................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
..
๒. นักเรียนแสดงควำมคิดเห็นว่ำ “ชำยผู้โง่เขลำ” จำกนิทำนเรื่องนี้ โง่เขลำเบำปัญญำจริงหรือไม่
...............................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

๓. นักเรียนเขียนอธิบำยกำรนำข้อคิดที่ได้จำกเรื่องนี้ ไปใช้ในกำรดำเนินชีวิต
...............................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

ตอนที่ ๒ เลือกนิทำนอีสป นิทำนชำดก หรือนิทำนพื้นบ้ำน ที่นักเรียนสนใจ ๑ เรื่อง


แล้วเขียนเรียบเรียงใหม่ด้วยสำนวนของนักเรียน และวำดภำพประกอบ

เรื่อง..............................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................ ....................................
............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

๔๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 45 7/17/18 10:22 AM


๔๕

 ท๓/ผ.๑-๐๑

ท ๓/ผ.๑-๐๑

นิทานเรื่องใช้ทองซื้อความรู้
ชายผู
ชำยผูห้ นึ่ง โง่โงเขลำเบำปัขลาเบาปญญญำ ญา และมีและมีฐฐำนะยำกจน
านะยากจนวันวัหนึ นหนึ ่งด้่งวดยโชควำสนำที
วยโชควาสนาที ่พอมี ่พอมี
อยูอ่ ขณะที
ยู ขณะที ่เขำก่เขากํ
ำลังาลัง
ซ่ซอมแซมรั้วในสวนหลังบ้บำานซึ่งพังลงมำเพรำะพำยุ ลงมาเพราะพายุฝน ได้ ไดบังเอิญขุดพบทองค พบทองคํำก้ ากอนโตที่ฝัง อยู่ร ิมรั้ว จนท จนทํำให้ าใหเขำขา
กลายเปนเศรษฐีในชัว่ ขข้าำมคืน แต่
กลำยเป็ แตด้ ว ยควำมที
ยความทีร่ ้วู ่ำา สติปญ ั ญาของตนเองค
ญำของตนเองค่อนข นข้าำงทือ่ ทึบ จึงเกรงว่ เกรงวาำอาจจะถู
อำจจะถูกผูอ ้ นื่
มาหลอกลวงเอาเงินนทองไป
มำหลอกลวงเอำเงิ ทองไปเขำจึ เขาจึ งนงำเรืนํา่อเรืงไปปรึ
่องไปปรึ กษำกั กษากับครูบเครู ซนเซน ครูเซนแนะนํ
ครูเซนแนะน ำว่ำ า"ในเมื
วา “ในเมื ่อตอนนี ่อตอนนี
้ท่ำนมี้ทเงิานนมีส่วเนงิน
ผูส้อวนผู
ื่นมีอคื่นวำมรู
มีความรู
้ เหตุ ใเหตุ
ดไม่ในดไม ำเงินนําของท่
เงินของท านไปแลกความรู
ำนไปแลกควำมรู ้จำกผูจากผู ้อื่นเล่อำื่น"เลชำยผู า” ชายผู เปนเศรษฐี
้เป็นเศรษฐี ใหม่ ใจึหมงได้จึนงำค ไดนำแนะน ําคําแนะนํ
ำของา
ของครู
ครู เซน เไปหำพระที
ซน ไปหาพระที ่ได้ชื่อ่ไว่ดำชเป็ื่อวนาผูเป้ฉลำดปรำดเปรื
นผูฉลาดปราดเปรื ่องผู้ห่อนึงผู ่ง หเขำเอ่ นึ่ง เขาเอ
ยถำมว่ยำถามว "ท่ำานสำมำรถขำยควำมรู
“ทานสามารถขายความรู ้ของท่ำนของ
ทากนให
ให้ ับข้ำกได้ ับขหารืไดอไม่
หรื"อไมพระรู ” พระรู ปนั้นตอบว่ปนั้นตอบว ำ "ควำมรู า “ความรู
้ของเรำมี ของเรามี
รำคำแพงมำก" ราคาแพงมาก”
ชายผู
ชำยผูโ ง้โเขลาจึ
ง่เขลำจึ งรีงบรีตอบว
บตอบว่ า “ขอเพี
ำ "ขอเพียงสามารถซื
ยงสำมำรถซื อ้ ความรู
้อควำมรู ม าประดั
้มำประดั บสมอง
บสมองแพงเท แพงเท่ าไหร ขา ก็ขพ้ำก็รอพมยอมจ
ำไหร่ ร้อม าย”
เมื่อไดำฟย"งดัเมืงนั่อ้นได้ฟพระจึ
ยอมจ่ ังดังนัง้นกลพระจึาววางกล่ “อัำนวว่วำาความรู นั้น คือ้นเมื
"อันว่ำควำมรู ั้น ่อคืทอาเมืนประสบป
่อท่ำนประสบปั ญหาใดก็ญหำใดก็ ตามตอย ำม าอย่ ใจเร็ วดววนได
ำใจเร็
รีบรอนแกไข จงคอยๆ เดินหนา ๓ กาว จากนั้นถอยหลัง ๓ กาว ทําเชนนี้กลับไป กลับมาใหครบ ๓ รอบ
ด่วนได้ รีบร้อนแก้ไข จงค่อยๆ เดินหน้ำ ๓ ก้ำว จำกนั้นถอยหลัง ๓ ก้ำว ทำเช่นนี้กลับไป กลับมำให้ครบ
เมื่อนั้นความรูจะเกิดขึ้น”
๓ รอบ เมื่อนั้นควำมรู้จะเกิดขึ้น"
เมือ่ ชายผูโ งเขลาฟงจบก็ไดแตราํ พึงในใจวา “ทีแ่ ท ‘ความรู’ งายดายถึงเพียงนีจ้ ริงหรือ” เขาเชือ่ ครึง่
เมื่อชำยผู้โง่เขลำฟังจบก็ได้แต่รำพึงในใจว่ำ “ที่แท้ ‘ควำมรู้’ ง่ำยดำยถึงเพียงนี้จริงหรือ” เขำเชื่อครึ่ง
ไมเชื่อครึ่ง ใจหนึ่งเกรงวาจะโดนพระหลอกลวงเงินทอง สวนพระรูปนั้น เมื่อมองตาของชายผูโงเขลา ก็ลวงรู
ไม่เชื่อครึ่ง ใจหนึ่งเกรงว่ำจะโดนพระหลอกลวงเงินทอง ส่วนพระรูปนั้น เมื่อมองตำของชำยผู้โง่เขลำ ก็ล่วงรู้ถึง
ถึงจิตเจตนาของอีกฝาย จึงไดกลาววา “ทานยังไมจําเปนตองเชื่อเราตอนนี้ จงกลับไปกอน หากทบทวนดูแลว
จิตเจตนำของอีกฝ่ำย จึงได้กล่ำวว่ำ “ท่ำนยังไม่จำเป็นต้องเชื่อเรำตอนนี้ จงกลับไปก่อน หำกทบทวนดูแล้วคิด
คิดวาความรูของเราไมคุมกับเงินทองก็จงอยาไดกลับมา แตหากคิดวาคุมคาก็คอยนําเงินมามอบใหเรา”
ว่ำควำมรูเศรษฐี ้ของเรำไม่ ใหมคผุ้มูโงกัเบขลากลั
เงินทองก็ บถึจงบงอย่ ำได้กลั่าบมำ
านยามคํ แต่หนำกคิ
มองเห็ ผูเปดนว่ภรรยากํ
ำคุ้มค่ำก็าคลั่องยน ำเงินมำมอบให้
นอนอยู กับคนอีกเผูรำ” หนึ่งบนเตียง
เศรษฐี ใ หม่ ผ โ
้ ู ง่ เ ขลำกลั บ ถึ ง บ้ ำ นยำมค่ ำ
ของตน แตในความมืดสลัวไมทราบวาเปนใคร เมื่อเห็นดังนั้นเขาจึงบันดาลโทสะ เพราะเขาใจวาภรรยานอกใจมองเห็ น ผู ้ เ ป็ น ภรรยำก ำลั ง นอนอยู ก
่ บ
ั คนอี ก ผู ห
้ นึ ่งบนเตียง
ของตน
ฉวยมีดพร แต่าใหวั
นควำมมืงบั่นคอคนผูดสลัวไม่นั้นทรำบว่ แตยำังเป็ ไมนทใครันไดเมื
ลงมื ่อเห็อ นพลั ดังนนั้นึนเขำจึ กถึงคํงาบักล นดำลโทสะ
าวของพระที เพรำะเข้
่ขายความรูำใจว่ำใภรรยำนอกใจ
หกับเขา เมื่อ
ฉวยมี
ตอนกลางวั ดพร้ำนหวัจึงบังได ่นคอคนผู
กาวเดิน้นไปข ั้น แต่
างหน ยังไม่า ท๓ันได้ กาลวงมืจากนั
อ พลั้นนถอยหลั นึกถึงคงำกล่ ๓ ำกวของพระที
าว กลับไป่ขำยควำมรู กลับมา ๓้ให้กรอบ ับเขำพอดี เมื่อกับที่
ตอนกลำงวั
บุคคลที่นอนอยู น จึงบได้นเตีก้ำยวเดิ งเดีนยไปข้
วกับำงหน้ ำ ๓ ก้ำว จำกนั
ภรรยาของเขาตื ่นขึ้น้นมา ถอยหลั
และรง อ๓งถามว ก้ำว กลั า “ลูบไปกเอกลัย บมำ ดึกดื๓่นรอบ
ปานนีพอดี ้ เจกาับเดิที่ นทํา
บุอะไรอยู
คคลที่น”อนอยู เมื่อได่บนเตี
ยิน ยเศรษฐี งเดียวกัใหม บภรรยำของเขำตื
ผูโงเขลาจึงทราบว ่นขึ้นามำที่แและร้ ทผูทอี่นงถำมว่ อนอยูบำ นเตี “ลูกยเอ๋งกัยบภรรยาของเขาก็
ดึกดื่นป่ำนนี้ เจ้คำือเดินมารดา ทำ
อะไรอยู
บังเกิดเกล ่” เมืาของเขาเอง
่อได้ยิน เศรษฐี ใหม่ผงได
ในใจจึ ู้โง่เคขลำจึ
ิดวา ง“หากข
ทรำบว่ำาไม ที่แซท้ื้อผความรู
ู้ที่นอนอยู มาเมื่บนเตี ยงกับนภรรยำของเขำก็
่อกลางวั วันนี้คงไดสังหารมารดาของ คือ มำรดำ
บัตนเองเป
งเกิดเกล้นำแน ของเขำเอง
” ในใจจึงได้คิดว่ำ "หำกข้ำไม่ซื้อควำมรู้มำเมื่อกลำงวัน วันนี้คงได้สังหำรมำรดำของ
ตนเองเป็เชนแน่ าวัน" รุงขึ้น เศรษฐีใหมจึงนําเงินคาความรูไปถวายพระดวยความยอมรับนับถือ
เช้ำวันรุ่งขึ้น เศรษฐีใหม่จึงนำเงินค่ำควำมรู้ไปถวำยพระด้วยควำมยอมรับนับถือ

๔๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 46 7/17/18 10:22 AM


๔๖
ท ๓/ผ.๑
 ท๓/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๓ นิทานอานสนุก
ใบความรู้ การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง

กำรเขียนแผนภำพโครงเรื่อง เป็นกำรเขียนเพื่อแสดงให้เห็นโครงเรื่องโดยรวมทั้งเรื่อง
ทำให้จับใจควำมสำคัญของเรื่องที่อ่ำนได้ดียิ่งขึ้น กำรเขียนแผนภำพโครงเรื่องต้องอำศัยกำรตั้ง
คำถำมและตอบคำถำมจำกเรื่องที่อ่ำนว่ำตัวละครมีใครบ้ำง สถำนที่เกิดเหตุคือที่ใด มีเหตุกำรณ์
อะไรเกิดขึ้น และผลของเหตุกำรณ์นั้นคืออะไร แล้วจึงเขียนเป็นแผนภำพโครงเรื่อง

นิทานเรื่องหมากับเงา
หมำตัวหนึ่ง มันขโมยก้อนเนื้อวัวจำกร้ำนค้ำในตลำดสด มันคำบก้อนเนื้อวิ่งขึ้นสะพำน
ข้ำมแม่น้ำแห่งหนึ่ง ขณะอยู่บนสะพำน มันมองลงไปในน้ำเห็นเงำของมันเองและก้อนเนื้อที่มีขนำด
ใหญ่กว่ำก้อนเนื้อที่มันคำบ ด้วยควำมโลภ มันจึงคำยก้อนเนื้อก้อนที่มันคำบ โดยตั้งใจจะแย่งก้อน
เนื้อที่ใหญ่กว่ำนั้น ทั้งก้อนเนื้อทั้งเงำก็จมหำยไปพร้อมกันทันที หมำตัวนั้นจึงอดทั้งชิ้นเนื้อที่คำบมำ
และก้อนเนื้อที่ใหญ่กว่ำ

แผนภาพโครงเรื่อง นิทานเรื่องหมากับเงา
ตัวละคร หมำกับเงำ
สถานที่ บนสะพำนข้ำมแม่น้ำ
เหตุการณ์ หมำขี้ขโมยตัวหนึ่งลักเนื้อวัวแล้ววิ่งข้ำมสะพำน มันเห็นเงำของก้อนเนื้อใน
น้ำก้อนใหญ่กว่ำก้อนเนื้อที่มันคำบอยู่ จึงทิ้งก้อนเนื้อที่คำบไว้ลงไปในน้ำ
ผลของเหตุการณ์ ก้อนชิ้นเนื้อที่หมำคำบมำจมหำยไปในแม่น้ำและเงำของก้อนเนื้อก็จม
หำยไป
ข้อคิด โลภนักมักลำภหำย ควรพอใจในสิ่งที่ตนมี

๔๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 47 7/17/18 10:22 AM


๔๗


ท ๓/ผ.๑-๐๒
ท๓/ผ.๑-๐๒

ใบงานที่ ๐๒ แผนภาพโครงเรื่องนิทานเรื่องใช้ทองซื้อความรู้

คาชี้แจง เขียนแผนภำพโครงเรื่องจำกนิทำนเรื่องใช้ทองซื้อควำมรู้

......................................................................................................
ตัวละคร

................................................................. สถำนที่
.....................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
เหตุกำรณ์ ...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
...........................................................................................................
.............................................................................................................
............................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
....................................................................................................... ผลของเหตุกำรณ์
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.................................
....................................................................................................
ข้อคิด ....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................................................
....................................................................................................
...................................................
๔๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 48 7/17/18 10:22 AM


๔๘
ท ๓/ผ.๒
 ท๓/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๓ นิทานอานสนุก
ใบความรู้ การใช้เครื่องหมายวรรคตอนในภาษาไทย

เครื่องหมำยวรรคตอน คือ เครื่องหมำยที่ใช้เขียนกำกับคำ กลุ่มคำ ประโยค หรือข้อควำมให้


เด่นชัดเพื่อให้อ่ำนได้ถูกต้อง และช่วยให้ผู้อ่ำนเข้ำใจควำมหมำยได้ชัดเจนขึ้น

มหัพภาค .
- ใช้เขียนไว้หลังตัวอักษร เพื่อแสดงว่ำเป็นอักษรย่อ เช่น ม.ค. คำเต็มว่ำ มกรำคม
- ใช้เขียนไว้ข้ำงหลังตัวอักษรหรือตัวเลขที่บอกลำดับข้อ เช่น ๑. ก. หรือ ข. ๒.
ในกรณีที่มีหัวข้อย่อย ให้ใส่ลำดับข้อย่อยไว้หลังจุด เช่น
๑.๑ อ่ำนว่ำ หนึ่งจุดหนึ่ง ๑.๑๐ อ่ำนว่ำ หนึ่งจุดสิบ
๔.๑.๑๒ อ่ำนว่ำ สี่จุดหนึ่งจุดสิบสอง
- ใช้คั่นระหว่ำงชั่วโมงกับนำทีเพื่อบอกเวลำ เช่น
๙.๓๐ น. อ่ำนว่ำ เก้ำนำฬิกำสำมสิบนำที
- ใช้เป็นจุดทศนิยม แล้วจุดทศนิยมให้อ่ำนตัวเลขเรียงกันไป เช่น
๒.๓๔๕ อ่ำนว่ำ สองจุดสำมสี่ห้ำ ๑๐.๗๕ วินำที อ่ำนว่ำ สิบจุดเจ็ดห้ำวินำที
๔.๕๖๗ เมตร อ่ำนว่ำ สี่จุดห้ำหกเจ็ดเมตร

เสมอภาค =

ใช้เขียนคั่นกลำง เพื่อแสดงควำมข้ำงหน้ำกับข้ำงหลังว่ำมีส่วนเท่ำกัน เช่น ๒ + ๒ = ๔

จุลภาค ,
- ใช้คั่นจำนวนเลขนับจำกหลักหน่วยไปทีละ ๓ หลัก เช่น ๑,๕๐๐ อ่ำนว่ำ หนึ่งพันห้ำร้อย
๒,๓๕๐,๐๐๐ อ่ำนว่ำ สองล้ำนสำมแสนห้ำหมื่น
- ใช้ในหนังสือประเภทพจนำนุกรมเพื่อคั่นควำมหมำยของคำที่มีควำมหมำยหลำย ๆ อย่ำง เช่น
บรรเทำ ก. ทุเลำหรือทำให้ทุเลำ, ผ่อนคลำยหรือทำให้ผ่อนคลำยลง

๔๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 49 7/17/18 10:22 AM


๔๙
ท ๓/ผ.๒
 ท๓/ผ.๒

วงเล็บ หรือ นขลิขิต ( )

- ใช้กันข้อควำมที่ขยำยหรืออธิบำยไว้เป็นพิเศษ เพื่อช่วยให้เข้ำใจข้อควำมนั้นได้แจ่มแจ้งขึ้น เช่น


มนุษย์ได้สร้ำงโลภะ (ควำมโลภ) โทสะ (ควำมโกรธ) และโมหะ (ควำมหลงผิด) ให้เกิดขึ้นในใจ
ของตัวเอง
- ใช้กันข้อควำมที่บอกที่มำของคำหรือข้อควำม เช่น ชลี (กลอน) ก. อัญชลี, ไหว้
- ใช้กับหัวข้อที่เป็นตัวอักษรหรือตัวเลข ซึ่งอำจจะใช้เพียงเครื่องหมำยวงเล็บปิดก็ได้ เช่น
(ก) หรือ ก) (๑) หรือ ๑)
- ใช้กับนำมเต็มที่เขียนใต้ลำยมือชื่อ เช่น ธัณติยำ พรหมประเสริฐ
(นำงธัณติยำ พรหมประเสริฐ)

-
ยัติภังค์ -

- ใช้แยกพยำงค์เพื่อบอกคำอ่ำน โดยเขียนไว้ระหว่ำงพยำงค์แต่ละพยำงค์ เช่น เสมำ อ่ำนว่ำ เส-มำ


- ใช้ในควำมหมำยว่ำ “ถึง” เพื่อแสดงช่วงเวลำ จำนวน สถำนที่
- เวลำ ๙.๐๐ – ๑๐.๓๐ น. อ่ำนว่ำ เวลำเก้ำนำฬิกำถึงสิบนำฬิกำสำมสิบนำที
มีผู้ชมประมำณ ๑๐ - ๒๐ คน อ่ำนว่ำ มีผู้ชมประมำณสิบถึงยี่สิบคน
ระยะทำง นครนำยก – จันทบุรี อ่ำนว่ำ ระยะทำงนครนำยกถึงจันทบุรี
- ใช้เขียนแสดงลำดับย่อยของรำยกำรที่ไม่ต้องใส่ตัวอักษร มีรำยกำรคร่ำว ๆ ดังนี้
– พิธีเปิดงำน – รำอวยพร
– ดนตรีบรรเลง – ปิดงำน

อัญประกาศ “ ”
-
- ใช้เพื่อแสดงว่ำคำหรือข้อควำมนั้น เป็นคำพูดหรือควำมนึกคิด “ขอให้ทุกคนตั้งใจจริง แล้วจะ
ประสบควำมสำเร็จ”
- ใช้เพื่อเน้นคำหรือข้อควำมนั้นให้เด่นชัดขึ้น เช่น คำว่ำ “ตะโก้” พจนำนุกรมฉบับบัณฑิตยสถำน
พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ให้ควำมหมำยไว้ว่ำหมำยถึง “ชื่อขนมชนิดหนึ่งทำด้วยแป้งข้ำวเจ้ำกวนเข้ำกับน้ำตำล
ใส่แห้วหรือข้ำวโพดเป็นต้นก็ได้ หยอดหน้ำด้วยกะทิกวนกับแป้ง”

๕๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 50 7/17/18 10:22 AM


๕๐
ท ๓/ผ.๒
 ท๓/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๓ นิทานอานสนุก
ปรัศนี ?
- ใช้เมื่อสิ้นสุดควำมหรือประโยคที่เป็นคำถำม เช่น ทำไมเธอถึงมำโรงเรียนสำย ?

อัศเจรีย์ !
- ใช้เขียนหลังคำ วลี หรือประโยคที่เป็นคำอุทำน เช่น อื้อฮือ ! มำกจังเลย
- ใช้เขียนหลังคำเลียนเสียงธรรมชำติ เพื่อให้ผู้อ่ำนทำเสียงได้เหมำะสมกับเหตุกำรณ์ในเรื่องนั้น ๆ
เช่น โครม !

ไม้ยมก หรือ ยมก ๆ


- ใช้เขียนหลังคำ วลี หรือประโยค เพื่อให้อ่ำนซ้ำคำ วลี หรือประโยค อีกครั้งหนึ่ง เช่น
๑. เด็กเล็ก ๆ อ่ำนว่ำ เด็กเล็กเล็ก
๒. ในวันหนึ่ง ๆ อ่ำนว่ำ ในวันหนึ่งวันหนึ่ง
๓. แต่ละวัน ๆ อ่ำนว่ำ แต่ละวันแต่ละวัน

ไปยาลน้อย ฯ

- ใช้ละคำที่รู้กันดีแล้ว โดยละส่วนท้ำยไว้เหลือแต่ส่วนหน้ำของคำพอเป็นที่เข้ำใจ เช่น


กรุงเทพฯ คำเต็มคือ กรุงเทพมหำนคร

๕๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 51 7/17/18 10:22 AM


๕๑
ท ๓/ผ.๒
 ท๓/ผ.๒

ไปยาลใหญ่ ฯ ล ฯ

ใช้สำหรับละข้อควำมข้ำงท้ำยที่อยู่ในประเภทเดียวกันซึ่งยังมีอีกมำก แต่ไม่ได้นำมำแสดงไว้
เช่น สิ่งของที่ซื้อขำยกันในตลำดมี เนื้อสัตว์ ผัก น้ำตำล น้ำปลำ ฯลฯ

สัญประกาศ ___

ใช้ขีดไว้ใต้คำหรือข้อควำมที่สำคัญ เพื่อเน้นให้ผู้อ่ำนสังเกตเป็นพิเศษ
เช่น หลักกำรอ่ำนตัวเลขมีตีพิมพ์รวมอยู่ในหนังสืออ่ำนอย่ำงไร-เขียนอย่ำงไร

บุพสัญญา ”

ใช้แทนคำหรือข้อควำมที่อยู่บรรทัดบนเพื่อไม่ต้องเขียนซ้ำอีก

ทับ /

ใช้ขีดหลังจำนวนเลข เพื่อแบ่งจำนวนย่อยออกจำกจำนวนใหม่ เช่น


บ้ำนเลขที่ ๕๖/๓๔๒ อ่ำนว่ำ บ้ำน – เลข – ที่ ห้ำ – สิบ – หก ทับ สำม – สี่ – สอง

๕๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 52 7/17/18 10:22 AM


๕๒
ท ๓/ผ.๒
 ท๓/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๓ นิทานอานสนุก
ใบความรู้ คาย่อ หรืออักษรย่อ

คำย่อ หรืออักษรย่อ ช่วยให้ถ้อยคำสั้นลง จึงนิยมใช้เพรำะสะดวกในกำรสื่อสำร กำรอ่ำน


ต้องอ่ำนเต็มคำ กำรเขียนอักษรย่อให้ใช้เครื่องหมำยมหัพภำค ( . ) ตำมหลังอักษรย่อแต่ละตัวหรือคำ

ตัวอย่างอักษรย่อ

อักษรย่อ คาเต็ม อักษรย่อ คาเต็ม

อ. อำจำรย์, วันอังคำร, อำเภอ บ. บำท

ต. ตำบล ม. มหำวิทยำลัย,มัธยม,เมตร,หมู่บ้ำน

จ. จังหวัด, วันจันทร์ น. ทิศเหนือ, นำฬิกำ

ถ. ถนน จ.ม. จดหมำย

ม.ค. มกรำคม รพ. โรงพยำบำล

ก.พ. กุมภำพันธ์ รร. โรงเรียน, โรงแรม

มี.ค. มีนำคม สต. สตำงค์

เม.ย. เมษำยน ด.ช. เด็กชำย

พ.ค. พฤษภำคม ด.ญ. เด็กหญิง

มิ.ย. มิถุนำยน น.ส. นำงสำว

ก.ค. กรกฎำคม พญ. แพทย์หญิง

๕๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 53 7/17/18 10:22 AM


๕๓ ท ๓/ผ.๒
 ท๓/ผ.๒

อักษรย่อ คาเต็ม อักษรย่อ คาเต็ม

ส.ค. สิงหำคม ครม. คณะรัฐมนตรี

ก.ย. กันยำยน ส.ส. สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร

ต.ค. ตุลำคม พ.ศ. พุทธศักรำช

พ.ย. พฤศจิกำยน นสพ. หนังสือพิมพ์

ธ.ค. ธันวำคม พญ. แพทย์หญิง

ตร. ตำรวจ ผอ. ผู้อำนวยกำร

ททท. กำรท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ตร.ว. ตำรำงวำ

อบต. องค์กำรบริหำรส่วนตำบล ตร.ม. ตำรำงเมตร

อบจ. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด ททท. กำรท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย

ผวจ. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด พ.ร.บ. พระรำชบัญญัติ

รร.จปร. โรงเรียนนำยร้อย ว/ด/ป , วัน เดือน ปี


พระจุลจอมเกล้ำ ว.ด.ป.

ส.ค.ส. ส่งควำมสุข ทูลเกล้ำฯ ทูลเกล้ำทูลกระหม่อม

โปรดเกล้ำฯ โปรดเกล้ำโปรดกระหม่อม น้อมเกล้ำฯ น้อมเกล้ำน้อมกระหม่อม

๕๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 54 7/17/18 10:22 AM


๕๔
ท ๓/ผ.๒-๐๓
 ท๓/ผ.๒-๐๓

หนวยการเรียนรูที่ ๓ นิทานอานสนุก
ใบงานที่ ๐๓ ใช้ถูก อ่านถูก
คาชี้แจง ตอนที่ ๑ จับคู่ชอื่ กับเครื่องหมำยวรรคตอนให้ตรงกัน โดยเติมตัวอักษรหน้ำหัวข้อ
๑. ” ก. มหัพภาค ใช้เขียนข้ำงหลังตัวอักษรย่อ ตัวเลข
๒. ข. นขลิขิต ใช้กำกับตัวเลข ตัวหนังสือ หรือข้อควำมที่กัน
ไว้เป็นพิเศษ
๓. . ค. อัญประกาศ ใช้เขียนคร่อมข้อควำมที่ต้องกำรให้สังเกต
หรือคำสนทนำ
๔. ( ) ง. สัญประกาศ ใช้ขีดใต้ข้อควำมที่เห็นว่ำ สำคัญเพื่อให้
สังเกตุเป็นพิเศษ
๕. “ ” จ. บุพสัญญา ใช้แทนคำในบรรทัดบนที่อยู่ตรงกัน
๖. , ฉ. ยัติภังค์ ใช้เขียนระหว่ำงคำที่เขียนแยกพยำงค์กัน
๗. ? ช. จุลภาค ใช้คั่นคำหลำย ๆ คำ ที่เรียงติดกันไป
๘. ! ซ. เสมอภาค ใช้เขียนคั่นกลำง เพื่อแสดงควำมข้ำงหน้ำกับ
ข้ำงหลังว่ำมีส่วนเท่ำกัน
๙. - ฌ. ปรัศนี ใช้เขียนไว้หลังข้อควำมที่เป็นคำถำม
๑๐. = ญ. อัศเจรีย์ ใช้เขียนไว้หลังคำอุทำน

ตอนที่ ๒ อ่ำนวันเดือนปีแบบไทยต่อไปนี้
๓ ฯ ๔ วันอังคำร แรมเก้ำค่ำ เดือนสี่
อ่ำนว่ำ

๑๒
อ่ำนว่ำ
๔ ฯ ๑
๗ ฯ ๑๒
๑๔ อ่ำนว่ำ


อ่ำนว่ำ
๑ ฯ ๖
๕ ฯ ๒
๒ อ่ำนว่ำ

๑๕ อ่ำนว่ำ
๖ ฯ ๘

๕๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 55 7/17/18 10:23 AM


๕๕

 ท ท๓/ผ.๒-๐๓
๓/ผ.๒-๐๓

ตอนที่ ๓ เขียนคำเต็มของอักษรย่อจำกประโยคต่อไปนี้

๑. แม่ให้ฉันไปซื้อน้ำตำลทรำย ๒ กก.
...........................................................

๒. ช.ม.วิทยำศำสตร์วันนี้ ครูจะให้นักเรียนเข้ำห้องสมุด
...................................................................................

๓. พี่ชำยของฉันเรียนที่ รร. จปร. จ.นครนำยก


.........................................................................................

๔. ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ ตรงกับ ค.ศ. ๒๐๑๓


............................................................................................

๕. ครม. ชุดนี้ตั้งใจทำงำนเพื่อควำมเจริญของบ้ำนเมือง
......................................................................................

๖. น้ำชำยปลูกบ้ำนสองชั้นในพื้นที่ ๗๘ ตร.ว.
.................................................................................

๗. คุณพ่อของเขำทำงำนที่ อบต. ท่ำช้ำง


.................................................................................

๘. เรำขับรถเลยป้อม ตร.ทล. มำแล้ว


.................................................................................

๕๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 56 7/17/18 10:23 AM


๕๖

 ทท๓/ผ.๒
๓/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๓ นิทานอานสนุก
ใบความรู้ การอ่านอักษรนา

การอ่านคาที่มีอักษรสูงนา เช่น
ขณะ ขนบ ขนม ขนาด
เฉลียว ฉลาด ไฉน ฉงน
ถลา ถวาย ถนัด ถลน
สนาน สลับ สนอง สมอง
การอ่านคาที่มีอักษรกลางนา เช่น
ตวำด จมูก จริต จรัส
ตนุ ตวัด ตลก ตลำด
อร่ำม อร่อย อเนก อนำถ
ตลอด ตวำด จรวด จริต
ข้อสังเกตคำที่มีอักษรสูงนำและคำที่มีอักษรกลำงนำ
๑. คำข้ำงต้น พยำงค์ ๑ ออกเสียงพยัญชนะตัวหน้ำประสมกับสระอะ
(ออกเสียง อะ เพียงครึ่งเสียง) พยำงค์ที่ ๒ ออกเสียงพยัญชนะตัวที่ ๒ ประสมกับ
สระและพยัญชนะสะกดตำมที่ปรำกฏ โดยออกเสียงวรรณยุกต์ตำมเสียงพยัญชนะตัวหน้ำ
คล้ำยมี ห นำ
๒. คำอักษรนำซึ่งพยัญชนะตัวหน้ำ เป็นอักษรสูง หรือเป็นอักษรกลำงนำ
พยัญชนะตัวหลัง เป็นอักษรต่ำเดี่ยว คือ ง ณ น ม ย ร ล ว และออกเสียงพยำงค์ที่ ๒
คล้ำยมี ห นำ เช่น
ผลิต อ่ำนว่ำ ผะ – หลิด ฝรั่ง อ่ำนว่ำ ฝะ – หรั่ง
เศวต อ่ำนว่ำ สะ – เหวด สยำม อ่ำนว่ำ สะ – หยำม
สวัสดิ์ อ่ำนว่ำ สะ – หวัด กนก อ่ำนว่ำ กะ – หนก
ตวาด อ่ำนว่ำ ตะ – หวำด จมูก อ่ำนว่ำ จะ – หมูก
อร่อย อ่ำนว่ำ อะ – หร่อย จริต อ่ำนว่ำ จะ – หริด

๕๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 57 7/17/18 10:23 AM


๕๗

 ท ๓/ผ.๒
ท๓/ผ.๒

คำบำงคำแม้มีลักษณะเช่น ข้อ ๑ และข้อ ๒ แต่ไม่นิยมอ่ำนพยำงค์ที่ ๒ เหมือนมี ห นำ


ขนิษฐำ ขะ – นิด – ถำ ขมำ ขะ – มำ
ศรัณยู สะ – รัน – ยู สมัญญำ สะ – มัน – ยำ
สมำทำน สะ – มำ – ทำน สมำธิ สะ – มำ – ทิ
กนิษฐำ กะ – นิด – ถำ อนัตตำ อะ – นัด – ตำ
คาที่มี ห นา
หยุมหยิม หนักหนำ หรูหรำ หญิงใหญ่
แหงนหงำย หลังไหล่ หวั่นไหว หมักหมม
คำที่มีพยัญชนะต้นเป็น ห นำพยัญชนะตัวหลัง คือ ง ญ น ม ย ร ล ว
ไม่ออกเสียงตัว ห แต่ออกเสียงพยัญชนะตัวหลังให้มีเสียงวรรณยุกต์ตำมตัว ห
คาที่มี อ นา

อย่ำ อยู่อย่ำงอยำกได้ ของเขำ


อยู่ อย่ำงคนตัวเบำ สุขล้ำ
อย่ำง อยำกอยู่อย่ำเอำ แต่ได้
อยำก อยู่อย่ำงอย่ำย้ำ เหล่ำนี้ อ นำ

คำที่มีพยัญชนะตัวหน้ำเป็น อ นำ ย ไม่ออกเสียง อ แต่เสียงวรรณยุกต์ของพยำงค์


ออกเสียงตำมพยัญชนะ อ มี ๔ คำ ได้แก่ อย่ำ อยู่ อย่ำง อยำก

หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำนภำษำไทย ชุดภำษำเพื่อชีวิต ภำษำพำที ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๔

๕๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 58 7/17/18 10:23 AM


๕๘
ท ๓/ผ.๒-๐๔
 ท๓/ผ.๒-๐๔

หนวยการเรียนรูที่ ๓ นิทานอานสนุก
ใบงานที่ ๐๔ อ่าน คิด เขียนอักษรนา

คาชี้แจง ตอนที่ ๑ เขียนคำใหม่จำกคำอ่ำนที่กำหนดให้

สะ – หนิด = ................................... ขะ – หมิ้น = ..........................................


ขะ – หยัน = .......................................... สะ – หมัย = ..........................................
จะ – หมูก = ................................... ฉะ – หลำด = ..........................................
ขะ – หนม = ................................... ตะ – หลอด = ........................................
ขะ – หนุน = .................................. สะ – หมุน = ..........................................
ขะ – หนำด = .................................... ฉะ – หลอง = ............................................
สะ – หนอง = ................................... สะ – เหมอ = ..........................................
ตะ – หลำด = ................................... อะ – หงุ่น = ............................................
อะ – หร่อย = ................................... กะ – หนก = .............................................
ถะ – หนน = ................................... ตะ – หลก = .............................................
สะ – หมุด = ................................... ขะ – หนำน = .............................................

ตอนที่ ๒ คัดเลือกคำอักษรนำจำกตอนที่ ๑ อย่ำงน้อย ๕ คำ เขียนเรื่องสั้น ๆ


...............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
................................................................................................................................... ............................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..................................
............................................................................................................................. .................................
...............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................

๕๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 59 7/17/18 10:23 AM


๕๙
ท ๓/ผ.๓
 ท๓/ผ.๓

ใบความรู้ คากริยา

คำกริยา เป็นคำที่บอกอำกำร หรือบอกสภำพของคน สัตว์ พืช สิ่งของ เครื่องใช้ เช่น

ยิ้ม ล้ม กิน ตี ยิ้ม วิ่ง เป็นคำกริยำบอกอำกำร

อ้วน ผอม ฉลำด โง่ เก่ำ ใหม่ เป็นคำกริยำบอกสภำพ

อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้
ภูเขำถล่มเมื่อวำนนี้ รถกระบะวิ่งลับหำยไป

คำว่ำ ถล่ม วิ่ง ไม่ต้องมีกรรมตำมหลังก็ได้ใจควำม คำกริยำประเภทนี้เรียกว่ำ คากริยาอกรรม

คุณยำยเย็บกระทง ช่ำงสลักกาบกล้วยให้เป็นลวดลำย

คำว่ำ เย็บ สลัก ต้องมีกรรม คือ คำ กระทง กาบกล้วย (คำที่พิมพ์ตัวเอนหนำ) ตำมหลังจึงจะได้


ใจควำมสมบูรณ์ คำกริยำประเภทนี้เรียกว่ำ คากริยาสกรรม

เขำเหมือนฉัน ข้ำวเป็นอำหำรของคนไทย

ผลกล้วยตำนีแตกต่ำงจำกผลกล้วยชนิดอื่น คือ มีเมล็ดมำก

คำว่ำ เหมือน ของ เป็น เป็นคำกริยำที่ต้องมีคำนำม หรือคำสรรพนำม ซึ่งทำหน้ำที่เป็นส่วนเติมเต็ม


ตำมหลังเสมอ เรียกว่ำ คากริยาต้องเติมเต็ม คำกริยำประเภทนี้ยังมีอีก นักเรียนควรศึกษำเพิ่มเติม
หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำนภำษำไทย ชุดภำษำเพื่อชีวิต ภำษำพำที ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖

๖๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 60 7/17/18 10:23 AM


๖๐
ท ๓/ผ.๓
 ท๓/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๓ นิทานอานสนุก
ใบความรู้ คาวิเศษณ์
คำวิเศษณ์ คือ คำที่ทำหน้ำที่ขยำยคำนำม คำสรรพนำม คำกริยำ หรือ คำวิเศษณ์ด้วยกัน เพื่อให้
เนื้อควำมชัดเจนขึ้น คำวิเศษณ์มักอยู่หลังคำที่นำมำขยำย

อ่านและพิจารณา
ประโยค คาวิเศษณ์ ชนิดของคาวิเศษณ์
๑. พรำหมณ์เฒ่าเป็นคนเจ้าปัญญา เฒ่า เจ้าปัญญา ขยำยคำนำม (พรำหมณ์ คน)
๒. นักเรียนกำลังสนใจคอมพิวเตอร์เครื่อง เครื่องใหม่ ขยำยคำนำม (คอมพิวเตอร์)
ใหม่
๓. ฉันเองเป็นคนทำ เอง ขยำยคำสรรพนำม (ฉัน)
๔. เรำไม่อยำกนึกถึงใครคนนั้นอีกแล้ว คนนั้น ขยำยคำสรรพนำม (ใคร)
๕. เด็ก ๆ พูดจำไพเราะ ไพเราะ ขยำยคำกริยำ (พูดจำ)
๖. ข้อมูลในอินเทอร์เน็ตมีประโยชน์ มากมาย ขยำยคำกริยำ (มี)
มากมาย
๗. น้ำในคลองเหลือน้อยจริง ๆ จริง ๆ ขยำยคำวิเศษณ์ (น้อย)
๘. ข้อมูลในอินเทอร์เน็ตมีประโยชน์ มหาศาล ขยำยคำวิเศษณ์ (มำกมำย)
มำกมำยมหาศาล

อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้
ประโยค (คาที่พิมพ์ตัวหนาเป็นคาวิเศษณ์) ทาหน้าที่
๑. เสำธงหน้ำโรงเรียนสูงปรี๊ด ปรี๊ด ขยำยกริยำ สูง
๒. เครื่องปรับอำกำศเงียบสนิท สนิท ขยำยกริยำ เงียบ
๓. น้องฉันวำดรูปเก่ง เก่ง ขยำยกริยำสกรรม วำด
๔. ทุกคนลุกขึ้นยืนตรงอย่างสงบ อย่างสงบ ขยำยกริยำลุกขึ้นยืนตรง
๕. แสงสว่ำงในโรงละครพอเห็นได้ราง ๆ ราง ๆ ขยำยกริยำสกรรม เห็น
๖. เรำจะจัดคอนเสิร์ตกันเมื่อไร เมื่อไร ขยำยกริยำ (จะ) จัด
แสดงคำถำม จะ เป็นคำช่วยกริยำ
๗. เพราะเหตุใด วัยรุ่นไม่ชอบชมกำรแสดง เพราะเหตุใด ขยำยกริยำ (ไม่) ชอบชม (แสดง
นำฏศิลป์ไทย คำถำม)
ไม่ เป็นคำช่วยกริยำ
หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำนภำษำไทย ชุดภำษำเพื่อชีวิต ภำษำพำที ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ หลักสูตร
กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๔๔

๖๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 61 7/17/18 10:23 AM


๖๑

ท ๓/ผ.๓-๐๕
 ท๓/ผ.๓-๐๕

ใบงาน ๐๕ เพลิดเพลินคากริยา หรรษาคาวิเศษณ์

คำชี้แจง ตอนที่ ๑ อ่ำนข้อควำมต่อไปนี้ คัดเลือกคำกริยำ เขียนบอกว่ำเป็นคำกริยำชนิดใด และแต่งประโยค


ให้ถูกต้องตำมชนิดของคำกริยำนั้น อย่ำงน้อย ๕ ประโยค

ตอนพักเที่ยง หลังจำกรับประทำนอำหำรกลำงวันแล้ว เด็ก ๆ ในโรงเรียนต่ำงมีควำมสุข


บ้ำงก็เข้ำไปห้องสมุดเพื่ออ่ำนหนังสือ บ้ำงก็วิ่งเล่นกันอย่ำงสนุกสนำน บำงกลุ่มซื้อขนมนั่ง
รับประทำนและพูดคุยกัน เด็กชำยสมหวังนักเรียนชั้น ป. ๕ เดินไปพบครูประจำชั้น เพื่อขอ
อนุญำตกลับบ้ำน เนื่องจำกวันนี้ยำยป่วย แม่บอกว่ำยำยเป็นลม เพรำะอำกำศร้อนมำก แม่ให้
เขำไปตักข้ำวต้ม ขณะที่แม่เช็ดตัวให้ยำย จำกนั้นเขำป้อนข้ำวต้มยำย ยำยบอกว่ำดีใจที่มี
หลำนเป็นคนดีมีน้ำใจ สำมำรถดูแลคนแก่อย่ำงปู่ ย่ำ ตำ ยำยได้ สมหวังบอกว่ำเขำจะเป็นคนดี
ตลอดไป

ตัวอย่าง นั่ง (กริยำอกรรม) นักเรียนนั่งกันอย่ำงเป็นระเบียบในห้องประชุม

๖๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 62 7/17/18 10:23 AM


๖๒
ท ๓/ผ.๓-๐๕
 ท๓/ผ.๓-๐๕

ตอนที่ ๒ เลือกคำวิเศษณ์ที่กำหนดต่อไปนี้ คนละ ๕ คำ แต่งประโยคตำมหน้ำที่

หนวยการเรียนรูที่ ๓ นิทานอานสนุก
หรูหรำ (ประกอบคำกริยำ) เกลี้ยงเกลำ (ประกอบคำนำม)
เกินไป (ประกอบคำวิเศษณ์) เก่ง (ประกอบคำกริยำ)
อร่อย (ประกอบคำกริยำ) ตุ๊บป่อง (ประกอบคำกริยำ)
เผ็ด (ประกอบคำนำม) เหลือเกิน (ประกอบคำวิเศษณ์)
ทุกคน (ประกอบคำสรรพนำม) เร็ว (ประกอบคำนำม )

แต่งประโยค

๑....................................................................................................................................................

๒...................................................................................................................................................

๓...................................................................................................................................................

๔...................................................................................................................................................

๕...................................................................................................................................................

๖๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 63 7/17/18 10:23 AM


๖๓

ท ๓/ผ.๔

ใบความรู้ การพูดรายงาน

หลังจำกได้ควำมรู้ ควำมคิดจำกกำรค้นคว้ำและมีกำรจดบันทึก
หรือเขียนรำยงำนเรียบร้อยแล้ว จึงนำเสนอให้ครูและเพื่อนฟัง มีข้อควร
ปฏิบัติดังนี้

๑. เตรียมตัวพูดรำยงำน เช่น
- กำหนดหัวข้อที่จะพูด เรียงลำดับ ๒. แบ่งเวลำให้เหมำะสมกับควำมสำคัญของเรื่อง
ควำมสำคัญเพื่อให้เข้ำใจง่ำย มีเวลำสำหรับเกริ่นนำ เสนอเนื้อหำที่เป็น
- กำหนดสื่อที่ใช้ประกอบ และควร สำระสำคัญ เสนอข้อคิดที่เป็นประโยชน์ สรุป
ทดลองสื่อก่อน เพื่อไม่ให้เกิดปัญหำ ควำมรู้ทั้งหมดที่ได้และมีเวลำให้ผู้ฟังซักถำม
- กำหนดวิธีกำรนำเสนอ เช่น พูดอย่ำง
เดียว พูดโดยใช้สื่อประกอบ แสดง
หรือสำธิตประกอบ ฯลฯ

๓. เปิดโอกำสให้ผู้ฟังมีส่วนร่วมตำมควำม
เหมำะสม เช่น กำรซักถำม กำรแสดง
ประกอบ กำรทดลอง ฯลฯ

๔. ใช้ภำษำพูดให้ถูกต้อง ชัดเจน และสุภำพ


พยำยำมเน้นจุดสำคัญ เพื่อให้ผู้ฟังตื่นเต้น
ติดตำมและประทับใจ

หนังสือเรียนรำยวิชำพื้นฐำนภำษำไทย ชุดภำษำเพื่อชีวิต ภำษำพำที ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๕

๖๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 64 7/17/18 10:23 AM


๖๔
ท ๓/ผ.๔
 ท๓/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๓ นิทานอานสนุก
ใบความรู้ การเขียนรายงาน
กำรเขียนรำยงำน เป็นกำรเสนอผลงำนกำรศึกษำค้นคว้ำ ผลกำรทดลอง หรือผล
การปฏิบัติงำนต่ำง ๆ เสนอต่อครู เพื่อนนักเรียนหรือผู้อื่น เพื่อให้มีควำมรู้กว้ำงขวำงยิ่งขึ้น
หรือให้ผู้อื่นทรำบผลกำรปฏิบัติงำนของเรำ
กำรเขียนรำยงำนที่ดีควรปฏิบัติดังนี้

๑ กำหนดหัวข้อเรื่อง

๒ วำงแผนเขียนรำยงำน

กำรเขียน ๓ รวบรวมข้อมูล
รำยงำน
๔ เขียนรำยงำน

๕ ตรวจทำนและปรับปรุงให้สมบูรณ์
๑ กำหนดหัวข้อเรื่อง
ควรกำหนดเรื่องที่ผู้รำยงำนสนใจต้องกำรจะรู้ หรือคำดว่ำคนส่วนใหญ่สนใจ เช่น สำรพิษ
ในชีวิตประจำวัน กระดำษนี้มีที่มำ ฯลฯ
นอกจำกกำหนดหัวข้อเรื่องได้แล้ว ควรกำหนดหัวข้อย่อย ๆ ด้วยเพื่อควำมสะดวก
ในกำรค้นคว้ำ เช่น เรื่อง กระดำษนี้มีที่มำ
ที่มำของกระดำษ
คุณค่ำของกระดำษ
กำรทำกระดำษ
กำรใช้กระดำษ

๖๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 65 7/17/18 10:23 AM


๖๕

 ท๓/ผ.๔
ท ๓/ผ.๔

๒ วำงแผนเขีฯลฯ
ยนรำยงำน

กำหนดระยะเวลำปฏิบัติงำน เช่น จะเขียนให้เสร็จภำยใน ๒ สัปดำห์ ฯลฯ


กำหนดสถำนที่ที่จะไปค้นคว้ำ เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต สถำนประกอบกำรหน่วยงำน
ต่ำง ๆ ฯลฯ
กำหนดผู้ร่วมงำน (ถ้ำทำงำนกลุ่ม) และแบ่งหน้ำที่กันให้ชัดเจน
กำหนดวันเขียนรำยงำน วันตรวจทำน ปรับปรุง แก้ไข
กำหนดวันส่ง
ฯลฯ

๓ รวบรวมข้อมูล

คนควาหาขอมู
้ ้ ้ ลจากแหลงความรู
่ ้ต่าง ๆ แลวรวบรวมขอมู
้ ้ ลอยางเป็
่ นหมวดหมู่ หรือตาม
หัวขอยอยที
้ ่ ่กำหนด

๔ เขียนรำยงำน

๔.๑ นำข้อมูลที่รวบรวมได้มำเขียนเรียบเรียงเป็นภำษำของตนเองให้อ่ำนเข้ำใจง่ำย
ประกอบด้วย ๓ ส่วน มีกำรลำดับควำมสำคัญ มีสำระควำมรู้ มีข้อคิดที่เป็นประโยชน์ และมีเหตุผล
ประกอบ ฯลฯ ข้อสำคัญไม่ควรลอกข้อควำมจำกหนังสืออื่น หรือตัดต่อข้อควำมจนดูเสมือนเป็น
สำนวนของตนเอง แต่ถ้ำจำเป็นต้องลอกข้อควำมสำคัญ ต้องบอกว่ำมำจำกหนังสืออะไร และถือเป็น
มำรยำททีจ่ ะต้องระบุชื่อผู้แต่งเสมอ

๖๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 66 7/17/18 10:23 AM


๖๖

 ท๓/ผ.๔
ท ๓/ผ.๔

๔.๒ ทำรูปเล่มรำยงำนให้สมบูรณ์ ซึ่งมีส่วนประกอบ ดังนี้

หนวยการเรียนรูที่ ๓ นิทานอานสนุก
๔.๒.๑ หน้ำปก ควรมีรำยละเอียดดังตัวอย่ำง

รำยงำนวิชำภำษำไทย
เรื่อง กระดาษนี้มีที่มา
…………………….
ผู้เขียนรำยงำน
เด็กชำยผลิต กระดำษสำ
ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๔

เสนอคุณครูละเอียด วงศ์แสนดี
ส่งรำยงำนวันที่ ๒๐ สิงหำคม พ.ศ. ๒๕๕๖

๔.๒.๒ คำนำ กำรเขียนคำนำอำจกล่ำวถึงสำระต่ำง ๆ เช่น ที่มำ จุดประสงค์ของ


กำรเขียนรำยงำน วิธีกำรค้นคว้ำ ผู้ร่วมงำน ผู้มีอุปกำรคุณ ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับจำกรำยงำน
ฯลฯ

ตัวอย่างการเขียนคานา

คานา
รำยงำนเรื่องเครื่องหมำยวรรคตอนฉบับนี้ คณะผู้จัดทำได้พยำยำมค้นคว้ำ
และรวบรวมตัวอย่ำงไว้มำกมำย เพื่อให้ผู้สนใจใช้สำหรับค้นคว้ำ แต่ละเครื่องหมำย
ได้นำประโยคที่มักใส่เครื่องหมำยผิดมำยกเป็นตัวอย่ำงไว้ด้วย
คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ รำยงำนฉบับนี้คงจะเป็นประโยชน์สำหรับ
ผู้อ่ำนได้ตำมต้องกำร

คณะผู้จัดทำ
๑๖ มกรำคม ๒๕๕๖

๖๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 67 7/17/18 10:23 AM


๖๗

 ท๓/ผ.๔
ท ๓/ผ.๔

๔.๒.๓ สำรบัญ ระบุเรื่องแต่ละเรื่องที่เสนอและเลขหน้ำของเรื่องนั้น ๆ


ตัวอย่ำงสำรบัญ

สารบัญ
คานา หน้า
กำรใช้เครื่องหมำยวรรคตอน ๑
เครื่องหมำยจุลภำค ๓
เครื่องหมำยมหัพภำค ๔
เครื่องหมำยปรัศนี ๖
เครื่องหมำยอัศเจรีย์ ๗
เครื่องหมำยนขลิขิต ๘
เครื่องหมำยอัญประกำศ ๑๐
บรรณำนุกรม ๑๑

๔.๒.๔ เนื้อเรื่อง คือส่วนที่ค้นคว้ำเรื่องมำเรียบเรียง ซึ่งเป็นส่วนสำคัญของเรื่อง ตำมข้อ ๔.๑


๔.๒.๕ รำยชือ่ หนังสือที่ใช้ค้นคว้ำ หรือบรรณำนุกรม มีวิธีเขียนดังตัวอย่ำง

บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษำธิกำร. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑.
กรุงเทพมหำนคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์กำรเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด,
๒๕๕๑.
วิชำกำร, กรม, กระทรวงศึกษำธิกำร. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชุดภาษา
เพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖. กรุงเทพมหำนคร : องค์กำรค้ำ
คุรุสภำ, ๒๕๕๕.

๕ ตรวจทานและปรับปรุงแกไขใหสมบู
้ ้ รณ ์
นำรำยงำนมำตรวจทำนอีกครั้ง พิจำรณำควำมต่อเนื่องและตรวจกำรเขียนตัวสะกดกำรันต์
แล้วแก้ไขให้ถูกต้อง

๖๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 68 7/17/18 10:23 AM


๖๘

 ท๓/ผ.๔-๐๖
ท ๓/ผ.๔-๐๖

หนวยการเรียนรูที่ ๓ นิทานอานสนุก
ใบงานที่ ๐๖ การเขียนรายงาน

คาชี้แจง ปฏิบัติกิจกรรมดังต่อไปนี้

แบ่งกลุ่มนักเรียน

ทารายงานเรื่องที่สนใจ

นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานหน้าชั้นเรียน

๖๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 69 7/17/18 10:23 AM


๖๙

ท ๓/ผ.๔
ท๓/ผ.๔

แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ นิทานอ่านสนุก นิทานอานสนุก ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
คาชี้แจง ปฏิบัติกิจกรรมต่อไปนี้ให้ถูกต้อง

๑. บอกคำเต็มของอักษรย่อจำกประโยคต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑.๑ ช.ม.วิทยำศำสตร์ ครูจะให้นักเรียนเข้ำห้องสมุด คำเต็มคือ..........................................................
๑.๒ น้ำชำยปลูกบ้ำนสองชั้นในพื้นที่ ๑๐๐ ตร.ว. คำเต็มคือ..........................................................
๑.๓ คุณพ่อทำงำนที่ อบต.ท่ำทรำย คำเต็มคือ..........................................................
๑.๔ บ้ำนของเขำอยู่ จ. นครนำยก คำเต็มคือ..........................................................

๒. อ่ำนวันเดือนปีแบบไทยให้ถูกต้อง
๒.๑ ๑๒
๔ ฯ ๑๐ อ่ำนว่ำ...........................................................................................

๒.๒ ๕ ฯ ๒ อ่ำนว่ำ...........................................................................................

๓. เขียนคำอักษรนำจำกคำอ่ำนต่อไปนี้
๓.๑ สะ – เหมอ เขียนว่ำ..........................................................................................................
๓.๒ กะ – หนก เขียนว่ำ.........................................................................................................
๓.๓ ขะ – หยัน เขียนว่ำ.........................................................................................................
๓.๔ จะ – หมูก เขียนว่ำ..........................................................................................................

๔. เขียนคำวิเศษณ์ลงในประโยคให้ถูกต้อง
๔.๑ น้องนอน...........................................จึงตื่น...................................................................................
๔.๒ ดอกรำตรีส่งกลิ่น................................ในเวลำ..............................................................................

๕. เลือกคำวิเศษณ์มำแต่งประโยค ๒ ประโยค
เก่ง เผ็ด เร็ว มำกมำย

๕.๑ ประโยค...........................................................................................................................................
๕.๒ ประโยค...........................................................................................................................................

๗๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 70 7/17/18 10:23 AM


๗๐

 ท๓/ผ.๔
ท ๓/ผ.๔

๖. เขียนขั้นตอนกำรพูดรำยงำน

หนวยการเรียนรูที่ ๓ นิทานอานสนุก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
๗. อ่ำนเรื่องที่กำหนดแล้วเขียนแผนภำพโครงเรื่อง

คิดได้ก็สายแล้ว
ครั้งหนึ่งมีพ่อค้ำ จูงม้ำลำไปค้ำขำย
บรรจุของมำกมำย บรรทุกไว้หลังม้ำลำ
เดินทำงต่ำงหัวเมือง เดินต่อเนื่องตำมมรรคำ
แต่หนุ่มจนชรำ ยังยึดอำชีพดั้งเดิม
วันหนึ่งซื้อสินค้ำ บรรทุกลำมำกเพิ่มเติม
หลังลำน้ำหนักเพิ่ม เริ่มอ่อนล้ำเดินช้ำลง
ก้ำวขำเดินไม่มั่น แข้งขำสั่นไม่มั่นคง
เรี่ยวแรงเริมถอยลง มิอำจตรงขืนร่ำงกำย
จึงเอ่ยเอื้อนวำจำ ว่ำพ่อม้ำเพื่อนสหำย
ฉันมิอำจทรงกำย เรี่ยวแรงหำยมลำยไป
ช่วยด้วยเถิดเพื่อนรัก พำนักก็มิได้
ช่วยถ่ำยสินค้ำไว้ บนหลังเพื่อนเพื่อผ่อนแรง
ม้ำฟังแล้วได้ยิน นึกดูหมิ่นคิดแอบแฝง
ช่วยไยให้หนักแรง จึงทำแกล้งไม่ได้ยิน
ลำร้องขอวิงวอน ช่วยฉันก่อนอย่ำติฉิน
ก่อนที่ฉันจะสิ้น ล้มกลำงดินสิ้นกำลัง
ม้ำเดินห่ำงไปไกล เบื่อเหลือใจไม่อยำกฟัง
เสียงลำล้มเสียงดัง พ่อค้ำรั้งให้หยุดเดิน
นำของและหนังลำ ใส่หลังม้ำบรรทุกเกิน
เวรกรรมมำเผชิญ จำใจเดินเผชิญกรรม
เพรำะควำมเห็นแก่ตัว จิตเมำมัวมำหนุนนำ
ใจไม้ไส้ระกำ จึงชอกช้ำน้ำตำริน
หวนคิดถึงเพื่อนลำ เป็นเพื่อม้ำมำอำจินต์
ชีวำมำสูญสิ้น ดับแดดิ้นเพรำะใจดำ
ถ้ำช่วยตำมร้องขอ เพื่อนคงพอมีแรงค้ำ
เพรำะเรำใจจืดดำ ทำให้เพื่อนต้องวำงวำย
จึงต้องทรมำน ฝืนสังขำรและร่ำงกำย
บรรทุกของมำกมำย มำคิดได้ก็สำยแล้ว

๗๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 71 7/17/18 10:23 AM


๗๑
 ท ๓/ผ.๔
ท๓/ผ.๔

ตัวละคร ………………………………………………………………………………………………………………………

สถำนที่ …………………………………………………………………………………………………………………………

ผลของเหตุกำรณ์ ………………………………………………………………………………………………………………………….

ข้อคิดที่ได้รับ ………………………………………………………………………………………………………………………….

เหตุกำรณ์ …………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………..

๗๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 72 7/17/18 10:23 AM


การใชภาษาเพื่อสื่อสาร

6102149L01e-�6 (��.).indd 73 7/17/18 10:23 AM


6102149L01e-�6 (��.).indd 74 7/17/18 10:23 AM
๗๔
ท ๔/ผ.๑
 ท๔/ผ.๑

แบบทดสอบก่อนเรียน

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ การใช้ภาษาเพื่อสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

คาชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับอักษรหน้าคาตอบที่ถูกต้องที่สุด


๑. ข้อใดมีคาสรรพนามถาม
ก. คาถามและคาตอบต้องสัมพันธ์กัน
ข. อะไร ๆ ก็เกิดขึ้นได้เสมอไม่ควรประมาท
ค. ใครใครก็ต้องการมีสุขภาพที่แข็งแรงทั้งนั้น
ง. การปลูกพืชผักสวนครัวควรใช้ปุ๋ยชนิดใดจึงจะปลอดภัย
๒. ประโยคใดใช้คาเชื่อมถูกต้องที่สุด
ก. เงินทองเป็นของหายาก
ข. ผมชอบอ่านหนังสือบ้างเป็นบางครั้ง
ค. เธอไม่ชอบออกไปท่องเที่ยวต่างจังหวัด
ง. พี่สาวและน้องชายชอบเรียนวิชาศิลปะ
๓. “แสวงหาผลประโยชน์โดยตัวเองไม่ลงทุน” ตรงกับสานวนข้อใด
ก. จับปูใส่กระด้ง ข. จับแพะชนแกะ
ค. จับเสือมือเปล่า ง. จับปลาสองมือ
๔. “จับได้ในขณะทาความผิด” ตรงกับสานวนใด
ก. สู้จนยิบตา ข. คาหนังคาเขา
ค. สุนัขจนตรอก ง. คาบลูกคาบดอก
๕. ในการเขียนจดหมายต้องระวังเรื่องใดมากที่สุด
ก. การเขียน วัน เดือน ปี
ข. การใช้ภาษาให้สุภาพ
ค. การใช้ซองจดหมายให้ถูกขนาด
ง. การผนึกดวงตราไปรษณียากร

๗๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 75 7/17/18 10:23 AM


๗๕
ท ๔/ผ.๑
 ท๔/ผ.๑

๖. จดหมายลาครูจะไม่สมบูรณ์ถ้าขาดส่วนใด
ก. วันที่ลา ข. สาเหตุที่ลา
ค. สถานที่เขียน ง. คารับรองจากผู้ปกครอง
๗. ข้อใดใช้คาบุรุษสรรพนามไม่ถูกต้อง
ก. พวกเขาเป็นสัตว์เลี้ยงที่อยู่ใกล้ชิดคนมาก
ข. คุณพ่อคุณแม่ท่านรักและห่วงใยลูกๆ เสมอ
ค. เธอเป็นผู้หญิงที่สวยและเก่งจึงมีคนชื่นชมมาก
ง. ประชาชนนับถือหลวงพ่อเพราะท่านอยู่ในพระธรรมวินัย
๘. ประโยคใดใช้คากริยาอกรรม ได้ถูกต้องที่สุด
ก. นักเรียนอ่านทุกวันจนคล่องแคล่วและเก่งขึ้น
ข. ฝนตกมากในภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ค. นักกีฬาทุกคนต้องเล่นกีฬาอย่างมีน้าใจเป็นนักกีฬา
ง. แผ่นดินไทยเป็นแผ่นดินทองในน้ามีปลาในนามีข้าว
๙. ข้อใดใช้คาที่มีความหมายเชิงอุปมา
ก. ทางแคบเดินจะหลีกกันไม่พ้น
ข. กางเกงเธอคับจนตะเข็บปริแล้ว
ค. ซอยนี้แคบคงกลับรถไม่สะดวก
ง. ภาวะเศรษฐกิจตกต่าทาให้คนใจคอคับแคบ
๑๐. ข้อใดเป็นคาบุพบทบอกความเป็นเจ้าของ
ก. บ้านฉันอยู่ใกล้โรงเรียน
ข. หนังสือเล่มนี้เป็นของฉัน
ค. รถคันนั้นวิ่งเร็วกว่ารถคันนี้
ง. สวนน้าเป็นสวนสาธารณะสาหรับประชาชน

๗๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 76 7/17/18 10:23 AM


๗๖
ท ๔/ผ.๑
 ท๔/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้
สานวนโวหารในภาษาไทย

สานวนโวหารในภาษาไทย แบ่งออกเป็น ๕ แบบ คือ


๑. บรรยายโวหาร คือ การอธิบาย
๒. พรรณนาโวหาร คือ ทาให้เห็นภาพ
๓. เทศนาโวหาร คือ การสั่งสอน
๔. สาธกโวหาร คือ การยกตัวอย่าง
๕. อุปมาโวหาร คือ การเปรียบเทียบ
๑. บรรยายโวหาร
คือการเล่าเรื่องหรืออธิบายเรื่องราวต่างๆตามลาดับเหตุการณ์ เขียนตรงไปตรงมา รวบรัด
ได้แก่ การเขียนอธิบายประเภทต่างๆ เช่น บทความ การเขียนเล่าเรื่อง บันทึก ข่าว เป็นต้น
ตัวอย่างบรรยายโวหาร
“พ่อเดินเข้าหากอไผ่ป่า เลือกตัดลาเท่าขามาสองปล้อง ทาเป็นกระบอก คัดเห็ดดอกใหญ่
ไปล้างในลาห้วยจนสะอาด บรรจุลงในกระบอกไม้ไผ่จนแน่น ไม่ต้องใส่น้า เติมเกลือและ
เติมน้าพริกลงไปพอเหมาะ ก่อไฟเผากระบอกไม้ไผ่นั้น ไม่นานนักเห็ดก็ขับน้าออกมาเดือดปุดๆ”
๒. พรรณนาโวหาร
มุ่งให้ความแจ่มแจ้ง ละเอียดลออ เพื่อให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ซาบซึ้งเพลิดเพลินไปกับ
ข้อความนั้น การเขียนพรรณนาโวหารจึงยาวกว่าบรรยายโวหารมาก มุ่งให้ภาพ และอารมณ์
จึงมักใช้การเล่นคา เล่นเสียง ให้ภาพพจน์ เต็มด้วยสานวนโวหารที่ไพเราะ อ่านได้รสชาติ
ตัวอย่างพรรณนาโวหาร
“วันเพ็ญ พระจันทร์สีนวลจ้าส่องแสงอยู่วงรัศมีสีขาว น้าขึ้นเต็มฝั่ง นิ่งไม่กระดุกกระดิก
แต่เป็นเงาแวววาวเหมือนถาดเงินใบใหญ่ที่ขัดมัน ทางฝั่งขวาของแม่น้าเจ้าพระยาตอนหนึ่ง
มีต้นลาพูต้นใหญ่”

๗๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 77 7/17/18 10:23 AM


๗๗
ท ๔/ผ.๑
 ท๔/ผ.๑

๓. เทศนาโวหาร
คือโวหารที่ผู้เขียนมุ่งจะสั่งสอนคุณธรรมหรือจรรโลงใจผู้อ่าน หรือปลุกใจ จูงใจให้ผู้อ่าน
คล้อยตาม
ตัวอย่างเทศนาโวหาร
ทาอะไรก็อย่าทาด้วยความอยากมีอยากเป็น อยากได้นั่นอยากได้นี่ แต่เราทาไปตามหน้าที่
ของเรา เรามีหน้าที่อะไรก็ทาหน้าที่นั้นให้สมบูรณ์ ให้เรียบร้อย ไม่ต้องมีความอยากจะได้ อยากจะ
เป็นก็ทาได้ ทาเพราะสานึกในหน้าที่ มันเป็นเหตุให้กระตุ้นเตือนให้กระทา เพราะความสานึกว่า
เราเกิดเพื่อหน้าที่ หรือคาพูดที่เคยพูดบ่อยๆ ว่า “งานคือชีวิต ชีวิตคืองานบันดาลสุข ทางาน
ให้สนุก เป็นสุขขณะทางาน”
๔. สาธกโวหาร
คือโวหารที่มุ่งให้ความชัดเจน โดยการยกตัวอย่างเพื่ออธิบายหรือสนับสนุนความคิดเห็น
ให้หนักแน่น น่าเชื่อถือ
ตัวอย่างสาธกโวหาร
โยคีเทศนาทหารทัพลังกาและเมืองผลึกในเรื่องพระอภัยมณี
คือรูปรสกลิ่นเสียงไม่เที่ยงแท้ ย่อมเฒ่าแก่เกิดโรคโศกสงสาร
ความตายหนึ่งพึงให้เห็นเป็นประธาน หวังนิพพานพ้นทุกข์สนุกสบาย
ซึ่งบ้านเมืองเคืองเข็ญถึงเช่นนี้ เพราะโลกีย์ตัณหาพาฉิบหาย
อันศีลห้าว่าอย่าทาให้จาตาย จะตกอบายภูมิขุมนรก
๕. อุปมาโวหาร
คือโวหารเปรียบเทียบ โดยยกตัวอย่าง สิ่งที่คล้ายคลึงกันมาเปรียบเพื่อให้เกิดความชัดเจน
ด้านความหมายด้านภาพและเกิดอารมณ์ ความรู้สึกมากยิ่งขึ้น อุปมาโวหารมักจะปรากฏพร้อมกับ
พรรณนาโวหารเสมอ
ก. เปรียบเทียบสิ่งที่เหมือนกันสองสิ่ง มักมีคาว่า เหมือน ดุจ คล้าย เป็นตัวเชื่อม
คาอุปมาอุปไมยให้สอดคล้องกัน เช่น ดีใจเหมือนได้แก้ว
ข. เปรียบเทียบโดยการโยงความคิดจากสิ่งหนึ่งไปยังสิ่งหนึ่ง เป็นการเปรียบโดยนัย
ต้องอาศัยการตีความประกอบ เช่น ครูเหมือนเรือจ้าง ชาวนาเป็นกระดูกสันหลังของชาติ

๗๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 78 7/17/18 10:23 AM


๗๘
 ท๔/ผ.๑
ท ๔/ผ.๑

ค. เปรียบเทียบโดยการซ้าคา เช่น จะมารักเหากว่าผม จะมารักลมกว่าน้า

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
จะมารักถ้ากว่าเรือน จะมารักเดือนยิ่งกว่าตะวัน จะมารักตัวออกเฒ่ายิ่งกว่า
ง. เปรียบเทียบโดยการยกตัวอย่างประกอบ เช่น พระราชา ๑ หญิง ๑ ไม้เลื้อย ๑
ย่อมรักผู้คนและสิ่งที่อยู่ใกล้ๆ
จ. เปรียบความขัดแย้งหรือเปรียบสิ่งที่อยู่ตรงกันข้าม เช่น น้ากับไฟ รักยาว
ให้บั่น รักสั้นให้ต่อ
ฉ. เปรียบเทียบโดยใช้ชื่อเทียบเคียง เช่น ปากกามีอานาจกว่าคมดาบ
จากเปลไปถึงหลุมฝังศพ

https://www.facebook.com

๗๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 79 7/17/18 10:24 AM


๗๙
 ท๔/ผ.๑
ท ๔/ผ.๑

ใบความรู้
สานวนที่เกิดขึ้นใหม่

สานวนที่เกิดขึ้นใหม่
๑. สานวนที่เกิดจากวงการสื่อมวลชน เช่น ไปไม่ถึงดวงดาว (ไม่สาเร็จ ไม่บรรลุวัตถุประสงค์
ตามที่คิดไว้) มองต่างมุม (แสดงความคิดเห็นที่แตกต่างออกไป) เป็นต้น
๒. สานวนที่เกิดจากวงการเมือง เช่น โปร่งใส (ชัดเจน ไม่มีลับลมคนใน) น็อตหลุด (ยั้งไม่อยู่พูด
โพล่งออกมา หรือแสดงอารมณ์อย่างไม่สมควร) เป็นต้น
๓. สานวนที่เกิดจากวงการโฆษณา เช่น ภาษาดอกไม้ (คาพูดที่ไพเราะ รื่นหู พูดไปทางที่ดี)
มีระดับ (คุณภาพดีมีมาตรฐานสูง) เป็นต้น
๔. สานวนที่เกิดจากวงการบันเทิง เช่น แจ้งเกิด (เริ่มมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักหรือเป็นที่ยอมรับ
ในวงการนั้น ๆ) คู่กัด (คู่ที่ไม่ถูกกัน) เป็นต้น
๕. สานวนที่แปลมาจากภาษาต่างประเทศ เช่น เเกะดา (back sheep หมายถึง คนชั่วในกลุ่ม
คนดี) แขวนอยู่บนเส้นด้าย (hang by a thread หมายถึง ตกอยู่ในสถานการณ์ที่หมิ่นเหม่ต่อ
อันตราย) ลื่นเหมือนปลาไหล (slippery as eel หมายถึง (คน) ที่เชื่อถือได้ยาก เพราะเป็น
คนตลบตะแลง พลิกแพลงกลับกลอก หรือหลบเลี่ยงไปมาได้คล่องแคล่ว) ล้างมือ (wash
one’s hand of หมายถึง ปฏิเสธที่จะเกี่ยวข้อง หรือรับผิดชอบหรือเลิกเกี่ยวข้อง) สร้างวิมาน
ในอากาศ (build castles in the air หมายถึง ฝันหรือหวังในสิ่งที่ไม่สามารถจะเป็นความจริงได้)
๖. สานวนเกิดใหม่ที่ปรากฏในหนังสือพิมพ์รายวัน
- สานวนสร้างใหม่ เช่น ขบเหลี่ยม (ไม่ลงรอยกัน ขัดกัน หักร้างกัน) ไทยเหลือง
(พระที่ประพฤติตนไม่เหมาะสม)
- สานวนดัดแปลง เช่น กิ้งก่าฟาดหาง (อาการเตะเพื่อทาร้ายฝ่ายตรงข้าม ดัดแปลงจาก
ชื่อท่ามวยไทยจระเข้ฟาดหาง) นักกินเมือง (นักการเมืองที่มุ่งแต่จะหาประโยชน์เข้าตัวเอง
ดัดแปลงจากคาว่า นักการเมือง)

๘๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 80 7/17/18 10:24 AM


๘๐

 ท ๔/ผ.๑
ท๔/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
- สานวนที่เปลี่ยนบริบทการใช้ เช่น ชิงสุกก่อนห่าม (ตกรอบไปก่อนเวลาอันสมควร
ปรกติใช้กับการที่หนุ่มสาวลักลอบได้เสียกันก่อนแต่งงาน แต่นามาใช้ในบริบทใหม่ทางการกีฬา)
อุ้ม (ลักพาตัวไป เพื่อนาไปฆ่า เปลี่ยนความหมายจากเดิมที่หมายถึง โอบ ยกขึ้น หรือให้ความ
อุปถัมภ์ช่วยเหลือ)
- สานวนที่มาจากภาษาต่างประเทศ เช่น ฮั้ว (สมยอมกันในการประมูลงาน โดย
บริษัทหนึ่งจะนัดบริษัทอื่น ๆ ที่สนใจในการประมูลงานใดงานหนึ่งมาตกลงกัน บริษัทนั้นจะ
จ่ายเงินจานวนหนึ่งให้บริษัทอื่น ๆ เพื่อให้บริษัทเหล่านั้นหลีกทางให้บริษัทตนเป็นผู้ประมูลได้
มาจากคาว่าฮั้ว ในภาษาจีน)

จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ , บาหยัน อิ่มสาราญ

๘๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 81 7/17/18 10:24 AM


๘๑
 ท ท๔/ผ.๑-๐๑
๔/ผ.๑-๐๑

ใบงานที่ ๐๑
การอ่านออกเสียง

คาชี้แจง ตอนที่ ๑ อ่านออกเสียงบทร้อยกรองสานวนโวหาร แล้วเขียนอธิบายความเป็นร้อยแก้ว

อุปมาโวหารเป็นการเล่า แล้วหยิบเอาสานวนมาเฉลย
สุภาษิตคาคมมาเปรียบเปรย แล้วเอื้อนเอ่ยกล่าวอ้างหวังเตือนใจ
ว่ารักยาวให้บั่นสั้นให้ต่อ เด็กเหลือขอใครหรืออยากปราศรัย
น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าพงไพร เหมือนลูกไม้ยามหล่นไม่พ้นกอ
บทร้อยกรองนี้กล่าวถึง ......................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
สมนึก ธนการ

เทศนาโวหารการสั่งสอน ชี้แนะก่อนมิใช่ให้เหลือขอ
ยกเหตุผลมาพร่าย้าให้พอ อย่านะพ่อลูกอย่าด้วยปรานี
ชี้ถูกผิดให้คิดให้วิเคราะห์ เพื่อบ่มเพาะให้หยิ่งเรื่องศักดิ์ศรี
คอยเข้มงวดกวดขันถึงเฆี่ยนตี ให้รู้ดีรู้ชั่วรู้ตัวตน
บทร้อยกรองนี้กล่าวถึง ......................................................................................................
............................................................................................................................................
............................................................................................................................................
สมนึก ธนการ

๘๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 82 7/17/18 10:24 AM


๘๒

 ท๔/ผ.๑-๐๑
ท ๔/ผ.๑-๐๑

ตอนที่ ๒ อ่านสานวนโวหาร แล้วเติมประเภทของโวหารตามกลวิธีในการเขียน

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
สานวนโวหารประเภท ..............................

“รับประทานกันไปพลางปรึกษากันพลาง ถึงกระนั้นวิชัยก็มีเวลาพินิจดูหญิงสาวที่นั่งอยู่
ตรงหน้าโดยละเอียดลออ สิ่งแรกที่เห็นได้โดยง่ายและสะดวกเพราะดูได้เต็มตา คือลาแขนซ้าย
ที่เท้าตึงรับน้าหนักตัวอยู่นั้นขาวผ่องทั้งกลมและเรียวอ่อน มือขวาจับช้อนตักอาหารมีผิวละเอียด
ขาวเช่นกันกับแขน ประกอบด้วยหลังมืออวบนูน นิ้วเล็กเรียว หลังเล็บมีสีดังกลีบบัวหลวง
เมื่อแรกบาน ปลายเล็บขาวสะอาดเป็นมัน”
ดอกไม้สด

สานวนโวหารประเภท .................................

“ฉันยืนต้นอยู่ในป่าลึก ฉันมีลาต้นสูงใหญ่ กิ่งก้านใบแน่นหนาและแผ่กว้าง แสงอาทิตย์


ไม่อาจส่องลอดได้ เบื้องล่างจึงร่มรื่น ลาธารน้อย ๆ ไหลผ่านใกล้ลาต้นฉันไป น้าในลาธารใสจนเห็น
กรวดทราย ท้องธารและปลาว่ายเวียน ทุกวันจะมีสัตว์ป่านานาชนิดมากินน้า ที่ลาธารสายนี้
บางตัวจะอาศัยใต้ร่มใบของฉันนอนหลับอย่างเป็นสุข”
ไมตรี ลิมปิชาติ

สานวนโวหารประเภท ...............................

“ศิลปินหรือผู้สร้างศิลปะก็คือหน่วยหนึ่งของสังคม ที่สาคัญได้แก่กลไกทางการเมือง
และทางเศรษฐกิจ การต่อสู้กับอิทธิพลดังกล่าวเป็นเรื่องซับซ้อนใหญ่โต เป็นต้นว่าศิลปินและ
นักเขียนมีขอบข่ายแห่งเสรีภาพได้แค่ไหน เมื่อผู้ผลิตงานศิลปะจาเป็นต้องยังชีพจากผลงาน
ของเขาด้วย เขาจะมีทางแก้ปัญหาปากท้องของตัวเองอย่างไร โดยเฉพาะในสังคมแบบทุนนิยม”
ณรงค์ จันทร์เรือง

๘๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 83 7/17/18 10:24 AM


๘๓

ท ๔/ผ.๑-๐๑
 ท๔/ผ.๑-๐๑

สานวนโวหารประเภท .................................

“รูปร่างงามหาตาหนิมิได้ ผมดาราวกับแมลงผึ้ง หน้าเปล่งปลั่งดั่งดวงจันทร์


เนตรประหนึ่งตากวาง จมูกแม้น ดอกงา ฟันเทียบไข่มุก ริมฝีปากเพียงผลตาลึงสุก เสียงหวาน
ปานนกโกกิลา ขาคือลากล้วย เอวเหมาะเจาะไม่อ้วนเกิน เวลาย่างเดินแคล่วคล่องมีสง่าเสมอ
ช้างทรง เพราะฉะนั้นเจ้าจะหาทางตาหนิขัดข้องมิได้เลย”
เสถียรโกเศศ

สานวนโวหารประเภท ................................

“ถ้าเธอไม่อยากอยู่กับฉันจริงจริง ยินยอมทุกสิ่ง ให้เธอทิ้งไป ฉันขอแค่เพียงให้เวลา


หน่อยได้ไหม อยากเล่านิทานให้ฟัง ชาวนาคนหนึ่งมีชีวิตลาพัง ไปเจองูเห่ากาลังใกล้ตายสงสาร
จึงเก็บเอามาเลี้ยงโดยไม่รู้สุดท้ายจะเป็นอย่างไร คอยดูแลด้วยความจริงใจ ห่วงใยและคอยให้
ความรักเป็นกังวลว่ามันจะตาย เฝ้าคอยเอาใจทุกอย่าง แต่สุดท้ายชาวนาผู้ใจดี ด้วยความที่เขา
ไว้ใจ น่าเสียดายกลับต้องตายด้วยพิษงู นิทานมันบอกให้ยอมรับความจริง ว่ามีบางสิ่งไม่ควรไว้ใจ
อะไรบางอย่างที่ทาดีซักแค่ไหน ไม่เชื่อง ไม่รัก ไม่จริง”
สีฟ้า
สานวนโวหารประเภท ..................................

“…เราโชคดีที่มีภาษาของตนเองแต่โบราณกาล จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะรักษาไว้
ปัญหาเฉพาะในด้านการรักษาภาษานี้ก็มีหลายประการ อย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในทาง
การออกเสียง คือ ให้ออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจน อีกอย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในวิธีการใช้
หมายความว่า วิธีใช้คามาประกอบเป็นประโยคนับเป็นปัญหาที่สาคัญ ปัญหาที่สาม คือ
ความร่ารวยในคาของภาษาไทย ซึ่งพวกเรานึกว่าไม่ร่ารวยพอ จึงต้องมีการบัญญัติศัพท์
ใหม่มาใช้…”
พระราชดารัสในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

๘๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 84 7/17/18 10:24 AM


๘๔
 ท๔/ผ.๑-๐๒
ท ๔/ผ.๑-๐๒

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
ใบงานที่ ๐๒
การอ่านออกเสียง

คาชี้แจง ตอนที่ ๑ อ่านออกเสียงสานวนที่เกิดขึ้นใหม่

สานวนที่เกิดขึ้นใหม่
๑. สานวนที่เกิดจากวงการสื่อมวลชน เช่น ไปไม่ถึงดวงดาว มองต่างมุม
๒. สานวนที่เกิดจากวงการเมือง เช่น โปร่งใส น็อตหลุด
๓. สานวนที่เกิดจากวงการโฆษณา เช่น ภาษาดอกไม้ มีระดับ
๔. สานวนที่เกิดจากวงการบันเทิง เช่น แจ้งเกิด คู่กัด
๕. สานวนที่แปลมาจากภาษาต่างประเทศ เช่น เเกะดา แขวนอยู่บนเส้นด้าย
๖. สานวนเกิดใหม่ที่ปรากฏในหนังสือพิมพ์รายวัน
- สานวนสร้างใหม่ เช่น ขบเหลี่ยม ไทยเหลือง
- สานวนดัดแปลง เช่น กิ้งก่าฟาดหาง นักกินเมือง
- สานวนที่เปลี่ยนบริบทการใช้ เช่น ชิงสุกก่อนห่าม อุ้ม
- สานวนที่มาจากภาษาต่างประเทศ เช่น ฮั้ว

๘๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 85 7/17/18 10:24 AM


๘๕

 ทท๔/ผ.๑-๐๒
๔/ผ.๑-๐๒

ตอนที่ ๒ จับคู่สานวนและความหมายโดยนาตัวอักษร ก – ญ มาวางไว้หน้าข้อ ๑ – ๑๐

ตัวอักษร ข้อ สานวน ตัวอักษร ความหมาย


………… ๑ โปร่งใส ก ไม่ลงรอยกันขัดกันหักร้างกัน
……….. ๒ น็อตหลุด ข แสดงความคิดเห็นที่แตกต่างออกไป
………… ๓ ขบเหลี่ยม ค อาการเตะเพื่อทาร้ายฝ่ายตรงข้าม
….……. ๔ เเกะดา ง ชัดเจน ไม่มีลับลมคนใน
……….. ๕ มีระดับ จ ยั้งไม่อยู่พูดโพล่งออกมาหรือแสดงอารมณ์
ทีไ่ ม่สมควร
……….. ๖ มองต่างมุม ฉ คาพูดที่ไพเราะ รื่นหูพูดไปทางที่ดี
………… ๗ กิ้งก่าฟาดหาง ช ลักพาตัวไป เพื่อนาไปฆ่า
……….. ๘ อุ้ม ซ คนชั่วในกลุ่มคนดี
………… ๙ แจ้งเกิด ฌ คุณภาพดีมีมาตรฐานสูง
……….. ๑๐ ภาษาดอกไม้ ญ เริ่มมีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักหรือเป็นที่ยอมรับ
ในวงการนั้นๆ

๘๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 86 7/17/18 10:24 AM


๘๖
ท ๔/ผ.๒
 ท๔/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้
การคัดลายมือ

การคัดลายมือ เป็นการฝึกเขียนตัวอักษรไทยให้ถูกต้องตามหลักการเขียนคาไทย ซึ่ง


จะต้องคานึงถึงความถูกต้องของตัวอักษรไทย เขียนให้อ่านง่าย มีช่องไฟ มีวรรคตอน ตัวอักษร
เสมอกัน วางพยัญชนะ สระและวรรณยุกต์ให้ถูกที่ ตัวสะกดการันต์ถูกต้อง และลายมือสวยงาม
การคัดลายมือ มีแบบการคัดหลายแบบดังนี้
ประเภทตัวเหลี่ยม มีลักษณะเด่น คือ เส้นตัวอักษรส่วนใหญ่เป็นเส้นตรง ตัวอักษร
แบบเหลี่ยม เช่น ตัวอักษรแบบอาลักษณ์ของแผนกอาลักษณ์ กองประกาศิต สานักเลขาธิการ
คณะรัฐมนตรีใช้เป็นแบบตัวอักษรที่สวยงาม ใช้ในงานเขียนเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ การเขียน
ทางราชการ การเขียนกฎหมายหรือใช้เขียนเพื่อการเกียรติยศหรือในเอกสารพิเศษต่าง ๆ เช่น
ประกาศนียบัตร ปริญญาบัตร เป็นต้น
ประเภทตัวกลมหรือตัวมน มีลักษณะเด่น คือ ลักษณะตัวอักษรมีเส้นโค้งประกอบอยู่
เช่น ตัวอักษรแบบกระทรวงศึกษาธิการ เป็นแบบตัวอักษรที่กระทรวงธรรมการ หรือกระทรวง
ศึกษาธิการ ในอดีตได้ดดั แปลงรูปแบบตัวอักษรของ ขุนสัมฤทธิ์วรรณการ เพื่อทาเป็นแบบฝึกหัด
คัดลายมือ สาหรับใช้กับนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาทั่วประเทศ
ลักษณะของการคัดลายมือ การคัดลายมือ มี ๓ ลักษณะ คือ
๑. การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ และ ๒
ควรฝึกคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เนื่องจากเป็นช่วงที่กล้ามเนื้อมือ และการประสานระหว่าง
ตากับมือยังพัฒนาไม่เต็มที่
๒. การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัดนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ และ ๔ จะมี
การประสานระหว่างกล้ามเนื้อมือและตาเพิ่มมากขึ้น จึงควรฝึกคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด
แต่ขณะเดียวกันก็ยังต้องฝึกคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดด้วย
๓. การคัดลายมือหวัดแกมบรรจง เป็นการคัดลายมือแบบหวัด แต่ให้อ่านออก
การเขียนลายมือหวัดแกมบรรจงเป็นการเขียนที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ซึ่งผู้เขียนจะต้องเขียนให้อ่าน
ง่าย มีช่องไฟ เว้นวรรคตอนถูกต้อง และเขียนด้วยลายมือที่สวยงามนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
และ ๖ ควรหัดคัดลายมือลายมือหวัดแกมบรรจง โดยคัดให้รวดเร็ว สวยงาม ถูกต้องและน่าอ่าน
โดยมีการฝึกคัดลายมือ ตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัดเป็นครั้งคราว

๘๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 87 7/17/18 10:24 AM


๘๗
 ท๐๔/ผ.๒
ท ๔/ผ.๒

ตัวอย่างอักษรประเภทตัวกลมหรือตัวมน เช่น ตัวอักษรแบบกระทรวงศึกษาธิการ

๘๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 88 7/17/18 10:24 AM


๘๘
 ทท๔/ผ.๒
๔/ผ.๒

หลักการคัดลายมือ

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
๑. นั่งตัวตรง เขียนด้วยมือขวา ส่วนมือซ้ายวางบนกระดาษที่จะเขียน
เพื่อมิให้กระดาษเลื่อนไปมา ข้อศอกขวาวางบนโต๊ะ ขณะที่เขียนสายตาห่างจากกระดาษ
ที่เขียนประมาณ ๑ ฟุต
๒. จับดินสอหรือปากกาให้ถูก โดยดินสอหรือปากกาจะอยู่ที่นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้
และนิ้วกลาง ส่วนนิ้วนางกับนิ้วก้อยงอไว้ในฝ่ามือ
๓. การเขียนตัวอักษรให้เขียนให้ถูกส่วน ตัวอักษรตั้งตรง การเขียนพยัญชนะ
ไทยทุกตัวต้องเริ่มเขียนหัวก่อน ยกเส้น ตัว ก และ ธ ซึ่งไม่มีหัว เว้นช่องไฟและวรรคตอน
ให้พองาม วางเครื่องหมายต่าง ๆ ให้ถูกต้องตามตาแหน่ง
๔. การวางพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ สระทุกตัวมีตาแหน่งซึ่งสัมพันธ์กับ
พยัญชนะ เช่น
๔.๑ สระที่อยู่หน้าพยัญชนะได้แก่ เ - แ - โ - ใ - ไ-
๔.๒ สระที่อยู่หลังพยัญชนะได้แก่ - ะ -า
๔.๓ สระที่อยู่เหนือพยัญชนะได้แก่ - ิ - ี - ึ - ื
๔.๔ ไม้หันอากาศ ( -ั ไม้ไต่คู้ ( -็ นิคหิต ( - ) จะวางเหนือ
พยัญชนะตรงกลาง
๔.๕ สระที่อยู่ใต้พยัญชนะได้แก่ - ุ – ู

ปรับปรุงมาจาก www.st.ac.th

๘๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 89 7/17/18 10:24 AM


๘๙
 ท ๔/ผ.๒
ท๔/ผ.๒

ใบความรู้
มารยาทในการเขียนและการสร้างนิสัยรักการเขียน

มารยาทในการเขียน

๑. ใช้ถ้อยคาสุภาพ หลีกเลี่ยงคาหยาบ ไม่ใช้อารมณ์ ความรู้สึกส่วนตนหรืออคติ


วิจารณ์ผู้อื่นอย่างปราศจากเหตุผล จนทาให้เกิดความเดือดร้อนเสียหายและสังคมแตกแยก
๒. เขียนข้อความหรืองานเขียนที่เป็นจริง โดยศึกษาค้นคว้าและตรวจสอบว่า
ถูกต้องแล้ว ถ้าเป็นเรื่องส่วนตัวต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าของเสียก่อน
๓. เขียนให้ถูกต้องตามอักขรวิธี ใช้สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์ให้ถูกต้อง
ใช้ถ้อยคาที่เหมาะสมกับเนื้อหา กาลเทศะและสถานะบุคคล
๔. เขียนสิ่งที่มีคุณค่าอันจะก่อให้เกิดความสุข ไม่เขียนเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อ
ความมั่นคงของชาติหรือสถาบันเบื้องสูง
๕. บอกแหล่งที่มาของข้อมูลเดิมเสมอ เพื่อให้เกียรติเจ้าของข้อมูลนั้นๆ ทุกครั้ง
ไม่คัดลอกงานเขียนของผู้อื่น โดยอ้างว่าเป็นผลงานของตนเอง

การสร้างนิสัยรักการเขียน

๑. ศึกษาค้นคว้า จดบันทึกเรื่องราวต่างๆ จากการอ่าน การฟัง การพบเห็นอย่าง


สม่าเสมอ
๒. มีความกระตือรือร้นในการเขียน
๓. มีใจรักและมีความสุขในการเขียน

ปรับปรุงมาจาก www.thaigoodview.com/node/145421

๙๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 90 7/17/18 10:24 AM


๙๐
 ทท๔/ผ.๒-๐๓
๔/ผ.๒-๐๓

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
ใบงานที่ ๐๓
การคัดลายมือ

คาชี้แจง อ่านออกเสียงบทร้อยกรองสานวนโวหาร แล้วคัดตัวบรรจงเต็มบรรทัด ๑ จบ

อุปมาโวหารเป็นการเล่า แล้วหยิบเอาสานวนมาเฉลย
สุภาษิตคาคมมาเปรียบเปรย แล้วเอื้อนเอ่ยกล่าวอ้างหวังเตือนใจ
ว่ารักยาวให้บั่นสั้นให้ต่อ เด็กเหลือขอใครหรืออยากปราศรัย
น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่าพงไพร เหมือนลูกไม้ยามหล่นไม่พ้นกอ
เทศนาโวหารการสั่งสอน ชี้แนะก่อนมิใช่ให้เหลือขอ
ยกเหตุผลมาพร่าย้าให้พอ อย่านะพ่อลูกอย่าด้วยปรานี
ชี้ถูกผิดให้คิดให้วิเคราะห์ เพื่อบ่มเพาะให้หยิ่งเรื่องศักดิ์ศรี
คอยเข้มงวดกวดขันถึงเฆี่ยนตี ให้รู้ดีรู้ชั่วรู้ตัวตน

สมนึก ธนการ

๙๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 91 7/17/18 10:24 AM


๙๑

 ท๔/ผ.๒-๐๓
ท ๔/ผ.๒-๐๓

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๙๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 92 7/17/18 10:24 AM


๙๒
 ท ท๔/ผ.๒-๐๔
๔/ผ.๒-๐๔

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
ใบงานที่ ๐๔
การคัดลายมือ

คาชี้แจง อ่านออกเสียงบทร้อยกรอง แล้วคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๑ จบ

เจ้างามพักตร์ผ่องเพียงบุหลันหงาย
เจ้างามเนตรประหนึ่งนัยนาทราย เจ้างามขนงก่งละม้ายคันศรทรง
เจ้างามนาสายลดังกลขอ เจ้างามศอเหมือนคอสุวรรณหงส์
เจ้างามกรรณกลกลับบุษบง เจ้างามวงวิลาสเรียบระเบียบไร
เจ้างามปรางเปล่งปลั่งเปรมปราโมทย์ เจ้างามโอษฐ์แย้มยวนจิตน่าพิสมัย
เจ้างามทนต์กลนิลช่างเจียระไน เจ้างามเกศดาประไพเพียงภุมริน
เจ้างามปีกดัดทรงมงกุฎกษัตริย์ เจ้างามทัดกรรเจียกผมสมพักตร์สิ้น
เจ้างามไรไม่แข็งคดหมดมลทิน เจ้างามประทิ่นกลิ่นเกศขจายจร
เจ้างามเบื้องปฤษฎางค์พ่างพิศวง เจ้างามทรงสมทรงอนงค์สมร
เจ้างามถันเทียบเทพกินนร เจ้างามกรอ่อนดังงวงเอราวัณ
เจ้างามนิ้วนขาน่ารักหรอ เจ้างามลออเอวบางเหมือนนางสวรรค์
เจ้างามเพลากลกัทลีพรรณ เจ้างามบาทจรจรัลจริตงาม
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

๙๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 93 7/17/18 10:24 AM


๙๓

 ท๔/ผ.๒-๐๔

ท ๔/ผ.๒-๐๔

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๙๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 94 7/17/18 10:24 AM


๙๔
ท ๔/ผ.๓
 ท๔/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้
การเขียนจดหมาย

ในป
ในปัจจจุจุบบันัน โลกมี
โลกมีกการพั ารพัฒฒนาการสื
นาการสื ่อสารทางโทรคมนาคมได
่อสารทางโทรคมนาคมได๎ สะดวก
สะดวก และรวดเร็
และรวดเร็ วแตํการวแต
สื่อสารอี
การสื กชนิกดชนิ
่อสารอี ที่ยดังมีทีค่ยวามส าคัญอยํ
ังมีความสํ าคัาญงยิอย่งก็าคงยิือ่งก็การเขี ยนจดหมาย
คือ การเขี เพราะสามารถเขี
ยนจดหมาย ยนได๎ทุกยเวลา
เพราะสามารถเขี นได
โอกาสกเก็
ทุกเวลาทุ บไว๎เป็เก็นบหลัไวกเปฐานทางประวั
โอกาส ติศาสตร์ตไิศด๎าสตรได
นหลักฐานทางประวั
หลักการเขียนจดหมาย
การเขียนจดหมาย เป็นการสื่อสารชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นความเรียงที่มีรูปแบบ
โดยเฉพาะ ผู๎เขียนต๎องใช๎ถ๎อยคาที่สั้น กระชับ ตรงตามวัตถุประสงค์
การเขียนจดหมาย แบํงออกเป็น ๔ ชนิด ดังนี้
๑. จดหมายสํวนตัว เป็นจดหมายที่เขียนติดตํอระหวํางบุคคลที่คุ๎นเคยกัน เชํน
ญาติสนิท ครู - อาจารย์ เพื่อไตํถามทุกข์สุขสํวนตัว
๒. จดหมายกิจธุระ เป็นจดหมายที่เกี่ยวข๎องกับธุระการงาน เป็นจดหมายระหวําง
บุคคลถึงบุคคล บุคคลถึงบริษัทห๎างร๎าน หรือเป็นจดหมายของบุคคลถึงสํวนราชการ การใช๎สานวน
ภาษาต๎องสุภาพและให๎ความสาคัญกับผู๎รับจดหมาย
๓. จดหมายธุรกิจ เป็นจดหมายที่ใช๎ติดตํอระหวํางกันในวงธุรกิจ มีจุดประสงค์ในการ
ดาเนินธุรกิจ เชํน เสนอขายสินค๎า หรือบริการสั่งซื้อสินค๎า และตอบรับการสั่งซื้อ ติดตาม
หนี้ เป็นต๎น มีรูปแบบและการใช๎ภาษาเป็นทางการหรือคํอนข๎างเป็นทางการ
๔. จดหมายราชการ เป็นจดหมายที่เขียนติดตํอกันระหวํางสํวนราชการตําง ๆ หรือบุคคล
เขียนไปถึงสํวนราชการ หรือสํวนราชการมีไปถึงสํวนราชการด๎วยกันเอง ตลอดจนสํวนราชการ
นั้นเขียนจดหมายไปถึงตัวบุคคล
วิธีการเขียนจดหมาย
๑. เขียนข๎อความให๎ชัดเจน ใช๎ถ๎อยคาสุภาพ กะทัดรัด สละสลวย
๒. เขียนด๎วยลายมือชัดเจน อํานงําย
๓. ใช๎ภาษาถูกต๎องตามลักษณะการใช๎ภาษา
๔. เขียนตามรูปแบบจดหมายที่ถูกต๎อง

๙๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 95 7/17/18 10:24 AM


๙๕
 ท๔/ผ.๓
ท ๔/ผ.๓

รูปแบบการเขียนจดหมายที่ถูกต้อง
๑. การวางรูปแบบจดหมาย ควรจัดวางให๎มีสัดสํวนพอเหมาะกับหน๎ากระดาษ โดยเว๎น
ด๎านหน๎าประมาณหนึ่งนิ้ว และเว๎นด๎านหลังประมาณครึ่งนิ้ว
๒. ที่อยูํของผู๎เขียน อยูํตรงมุมบนขวาของหน๎ากระดาษ
๓. วันเดือนปี เขียนกึ่งกลางหน๎ากระดาษ
๔. คาขึ้นต๎น อยูํด๎านซ๎ายหํางจากขอบกระดาษประมาณ ๑ นิ้ว และต๎องเขียนให๎เหมาะแกํ
ฐานะและตาแหนํงหน๎าที่
๕. เนื้อความ เริ่มเขียนโดยยํอหน๎าเล็กน๎อย และควรขึ้นยํอหน๎าใหมํเมื่อขึ้นเนื้อความใหมํ
สานวนภาษาที่ใช๎ในการเขียน ต๎องคานึงถึงความสุภาพ เขียนถูกต๎องเหมาะแกํฐานะ และ
ความสัมพันธ์ระหวํางบุคคล เว๎นวรรคตอนให๎ถูกต๎อง ถ๎าต๎องการอวยพรให๎ญาติผู๎ใหญํในตอนท๎าย
ของจดหมาย ควรอ๎างถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ สํวนการอวยพรให๎เพื่อนจะอ๎างถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือไมํก็ได๎
๖. คาลงท๎าย อยูํตรงกับวัน เดือน ปีที่เขียน และต๎องเขียนให๎ถูกต๎อง เหมาะแกํฐานะและ
บุคคล
๗. ชื่อผู๎เขียน เยื้องลงมาทางขวามือ ถ๎าเขียนจดหมายถึงบุคคลที่ไมํคุ๎นเคย ควรวงเล็บชื่อ
ที่เขียนเป็นตัวบรรจง ถ๎าเป็นจดหมายราชการต๎องบอกยศตาแหนํงของผู๎สํงด๎วย

มารยาทในการเขียนจดหมาย
๑. ใช๎กระดาษสีขาว สีอํอนหรือสีสุภาพ ไมํมีรอยยับหรือรอยฉีกขาด ขนาดได๎มาตรฐาน
ไมํควรใช๎กระดาษที่มีตราของทางราชการเขียนจดหมายสํวนตัว
๒. เขียนด๎
นดววยหมึ
ยหมึกสีกดสีาดสีํ านสี้าเงินนํ้ า เงิไมํนควรใช๎
ไม คดวรใช
ินสอ ดหมึ
ิ น สอ
กแดงหมึหรืกอแดงหมึกสีหรืฉูดอฉาด
หมึ กเพราะไมํ
สี ฉู ด ฉาด
สุภาพ สควรเขี
เพราะไม ุภาพ ยควรเขี
นตัวอัยกนตั
ษรหรื
วอักอษรหรื
ตัวเลขให๎ อตัวชเลขให ัดเจนชไมํ ขูด ลบ
ัดเจน ไมขขีูดดลบฆําขีหรื
ด ฆอาเขีหรื
ยนทัอเขีบยลงไป
นทับลงไป
๓. ไมํใช๎ซองที่มีลวดลายหรือสีเข๎มมาก
๔. ไมํสอดธนบัตรหรือสิ่งของมีคําลงในซองจดหมาย อาจหายได๎
๕. จดหมายที่สํงทางไปรษณีย์ ต๎องผนึกดวงตราไปรษณียากรตามอัตราที่การสื่อสาร
กาหนดไว๎ที่มุมบนด๎านขวามือ
๖. เรียงลาดับเนื้อหาสาระเหมาะสม ใช๎ภาษาถูกต๎องตามหลักภาษา ไมํใช๎ภาษาพูดใน
การเขียนจดหมาย
๗. ถ๎าต๎องการเขียนข๎อความเพิ่มเติมหลังเขียนจดหมายจบแล๎ว ต๎องเขียนคาวํา ป.ล.
(ปัจฉิมลิขิต) กํอน
๘. ควรเขียนคานาหน๎าชื่อผู๎รับบนหน๎าซองให๎ถูกต๎อง เชํน คุณ นายแพทย์ อาจารย์ หรือ
ยศทางทหาร

๙๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 96 7/17/18 10:24 AM


๙๖
 ท๔/ผ.๓
ท ๔/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
รูปแบบของคำขึ้นตน้ สรรพนาม คำลงทาย

ในการเขียนจดหมายต๎องคานึงถึงการเขียนคาขึ้นต๎น คาลงท๎าย และสรรพนามให๎ถูกต๎อง


ผู้รับ คุณพ่อ, คุณเเม่
คาขึ้นต๎น กราบเท๎า...ที่เคารพอยํางสูง
สรรพนาม (ผู๎เขียน) ลูก, หนู, ผม, กระผม, ดิฉัน หรือใช๎ชื่อเลํนเเทน
สรรพนาม (ผู๎รับ) คุณพํอ คุณเเมํ
คาลงท๎าย ด๎วยความเคารพรักอยํางสูง
ผู้รับ ญาติผู้ใหญ่
คาขึ้นต๎น กราบเท๎า....ที่เคารพอยํางสูง หรือ กราบเรียน...ที่เคารพอยํางสูง
สรรพนาม (ผู๎เขียน) หลาน, ผม, กระผม, ดิฉัน, หนู, หรือใช๎ชื่อเลํนแทน
สรรพนาม (ผู๎รับ) คุณปู่, คุณยํา, คุณตา, คุณยาย, คุณลุง, คุณป้า, คุณน๎า, คุณอา
คาลงท๎าย ด๎วยความเคารพอยํางสูง
ผู้รับ พี่หรือเพื่อนที่อาวุโสกว่า
คาขึ้นต๎น เรียนคุณพี่ที่เคารพ หรือ กราบ...ที่เคารพ
สรรพนาม (ผู๎เขียน) น๎อง, ผม, ดิฉัน, หนู, หรืออาจใช๎ชื่อเลํนเเทน
สรรพนาม (ผู๎รับ) คุณพี่, คุณ ...
คาลงท๎าย ด๎วยความเคารพ, ด๎วยความเคารพรัก
ผู้รับ น้อง หรือเพื่อน
คาขึ้นต๎น ...น๎องรัก หรือ คุณ ... ที่รัก หรือ (ชื่อเลํน) ที่รัก
สรรพนาม (ผู๎เขียน) ฉัน, พี่
สรรพนาม (ผู๎รับ) เธอ, คุณ, น๎อง
คาลงท๎าย ด๎วยความรัก, ด๎วยความรักยิ่ง, รักเเละคิดถึง
ผู้รับ บุคคลทั่วไป
คาขึ้นต๎น เรียนคุณ...ที่นับถือ หรือ เรียนผู๎จัดการบริษัท ... จากัด
สรรพนาม (ผู๎เขียน) ผม, ดิฉัน
สรรพนาม (ผู๎รับ) คุณ, ทําน
คาลงท๎าย ขอเเสดงความนับถือ

๙๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 97 7/17/18 10:24 AM


๙๗
 ทท๔/ผ.๓
๔/ผ.๓

ผู้รับ พระภิกษุทั่วไป
คาขึ้นต๎น นมัสการ...
สรรพนาม (ผู๎เขียน) ผม, กระผม, ดิฉัน
สรรพนาม (ผู๎รับ) ทําน, พระคุณทําน, ใต๎เท๎า, พระคุณเจ๎า
คาลงท๎าย ขอนมัสการมาด๎วยความเคารพอยํางสูง

ส่วนประกอบของจดหมาย

๑. สถานที่เขียน ควรบอกให๎ชัดเจน จากหนํวยยํอยไปหาหนํวยใหญํ เชํน ๕/๒ หมูํ ๔


ตาบลองครักษ์ อาเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอํางทอง ๑๔๑๒๐
๒. วัน เดือน ปี ใช๎แบบจดหมายราชการ ดังนี้ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๕
๓. คาขึ้นต๎น ใช๎ให๎เหมาะสมกับบุคคล
๔. ใจความหรือเนื้อความ ถ๎ามีเรื่องจะต๎องเขียนมากควรแบํงเป็นตอนๆ ถ๎าจะเขียนเรื่อง
ใหมํก็ขึ้นบรรทัดใหมํ ไมํควรเขียนติดตํอกันเพียงยํอหน๎าเดียว
๕. คาลงท๎าย ต๎องใช๎ให๎สัมพันธ์กับคาขึ้นต๎นและใช๎ให๎ถูกต๎องตามฐานะของบุคคล
๖. ชื่อผู๎เขียน ถ๎าใช๎ลายเซ็นต๎องวงเล็บชื่อ-นามสกุลไว๎ใต๎ลายเซ็นด๎วยลายมือที่อํานงําย
ชัดเจนหากมีตาแหนํงหน๎าที่การงานให๎บอกตาแหนํงหน๎าที่นั้นด๎วย

ขนาดของซอง

การใช๎ซองขนาดมาตรฐาน ปัจจุบันที่ทาการไปรษณีย์ทุกแหํงจะมีซองจดหมายจาหนําย
เป็นซองที่มีขนาดเหมาะสม โดยทั่วไปมี ๒ แบบ ดังนี้
๑. ซองสั้น มีขนาด ๓.๕ x ๖ นิ้ว ถึง ๔.๕ x ๗ นิ้ว
๒. ซองยาว มีขนาด ๔.๒๕ x ๙ นิ้ว

๙๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 98 7/17/18 10:24 AM


๙๘
 ท๔/ผ.๓
ท ๔/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
การจ่าหน้าซอง

การจําหน๎าซอง มีหลักการ ดังนี้


๑. ที่อยูํของผู๎รับ ต๎องเรียงลาดับจากสํวนยํอยไปหาสํวนใหญํ ได๎แกํ
- ชื่อ-นามสกุลของผู๎รับ ถ๎าเป็นจดหมายสาคัญ เชํน มีธนาณัติสอดอยูํด๎วย
ต๎องระบุคานาหน๎าชื่อผู๎รับ
- บ๎านเลขที่ ซอย หรือตาบล
- ถนนที่ตั้ง
- ตาบลหรือเเขวง
- อาเภอหรือเขต
- จังหวัด
- รหัสไปรษณีย์
๒. ที่อยูํของผู๎สํง เรียงลาดับเชํนเดียวกับผู๎รับ จะเขียนไว๎ด๎านบนซ๎ายของตนเอง
๓. คาขึ้นต๎น
- ถ๎าเป็นจดหมายสํวนตัว อาจใช๎คาวํา "กรุณาสํง" หรือ "นามผู๎รับ"
- ถ๎าเป็นจดหมายราชการหรือจดหมายธุรกิจนิยมใช๎ "เรียน"
- จดหมายถึงพระสงฆ์ทั่วไปใช๎ "นมัสการ"
๔. เเสตมป์ ต๎องติดเเสตมป์ตามราคาที่กรมไปรษณีย์ฯ กาหนด เพราะถ๎าติดไมํครบ ผู๎รับ
จะถูกปรับเป็น ๒ เทําของราคาเเสตมป์ที่ขาดไป

ปรับปรุงมาจาก https://sites.google.com

๙๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 99 7/17/18 10:24 AM


๙๙
 ท๔/ผ.๓
ท ๔/ผ.๓

การวางรูปแบบของจดหมาย

ที่อยู.ํ .................................................
..........................................................
..........................................................

วันที่.............................................................................
คาขึ้นต๎น................................................................................
เนื้อความ .............................................................................................................
...........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................

เนื้อความ .............................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................
............................................................................................................................. ..............................

คาลงท๎าย........................................

ลายมือชื่อผู๎เขียนจดหมาย

ขอรับรองวําเป็นความจริง

ลายมือชื่อ
(.................................................)
ตาแหนํง/สถานะ

๑๐๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 100 7/17/18 10:24 AM


๑๐๐
ท ๔/ผ.๓
 ท๔/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
ตัวอย่าง จดหมายถึงญาติผู้ใหญ่

๑๕/๑ หมูํที่ ๕ ตาบลอํางแก๎ว


อาเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอํางทอง
๑๔๑๒๐
๒๖ กรกฎาคม ๒๕๕๗
กราบเท๎า คุณพํอคุณเเมํ ที่เคารพรักอยํางสูง
ผมได๎รับเงิน ๕๐๐ บาท ที่คุณพํอคุณแมํกรุณาสํงมาให๎แล๎วครับ ผมจะนาไปซื้อ
กางเกงกีฬา ๑ ตัว และสมุด ๓ เลํม เหลือเงินอีก ๓๐๐ บาท ผมนามารวมไว๎ในคําใช๎จําย
ประจาวันครับ
โรงเรียนจัดกิจกรรมแขํงขันกีฬา เพื่อคัดเลือกตัวแทนนักกีฬาแตํละประเภท
เข๎ารํวมการแขํงขันในระดับจังหวัด ผมได๎รับคัดเลือกเป็นตัวแทนนักกีฬาฟุตบอล และวิ่ง
๑๐๐ เมตร ผมดีใจมากและจะพยายามฝ
จมากและ จะพยายามฝึกซกอซ๎มอมเพืเพื่อนํ่อานรางวั
ารางวัลมาฝากคุ
ลมาฝากคุณณพพํอคุอณคุณแมแมํครัคบรับ
ผมจะเลําเรื่องดี ให๎คุณพํอคุณแมํฟังครับ ในงานแขํงขันกีฬาของโรงเรียนมีผู๎ใหญํ
จากจังหวัดมารํวมงาน เขาลืมกระเป๋าถือไว๎หน๎าห๎องน้า ผมจึงเก็บไปให๎ครูประกาศหาเจ๎าของ
เขามารับกระเป๋าคืนด๎วยความดีใจ เขาประกาศ ชมเชยโดยประกาศชื่อคุณพํอคุณแมํด๎วยครับ
สํวนคุณครูให๎ผมเป็นเด็กดีที่เป็นตัวอยํางครับ ผมดีใจและยังปลื้มไมํหายเลยครับ จึงเขียนจดหมาย
มาเลําเรื่องให๎คุณพํอคุณแมํทราบ ตอนนี้ผมขอทาการบ๎านกํอนนะครับ
สุดท๎ายนี้ ขออานาจคุณพระศรีรัตนตรัย คุ๎มครองคุณพํอคุณแมํให๎มีความสุข
มีสุขภาพแข็งแรงและปลอดภัยครับ

ด๎วยความเคารพอยํางสูง
ภูวดล สุวรรณภูมิ

๑๐๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 101 7/17/18 10:24 AM


๑๐๑
 ทท๔/ผ.๓-๐๕
๔/ผ.๓-๐๕

ใบงานที่ ๐๕
การเขียนจดหมาย

คาชี้แจง เติมคาขึ้นต๎นและคาลงท๎ายจดหมายสาหรับบุคคลทั่วไป ในตารางที่กาหนด


ให๎เหมาะสม

บุคคลที่ติดต่อ คาขึ้นต้น คาลงท้าย

คุณพํอ คุณแมํ

ญาติผู๎ใหญํ
เชํน ปู่ ยํา ตา ยาย ลุง ป้า น๎า อา

พี่หรือญาติชั้นพี่

บุคคลทั่วไป

พระภิกษุทั่วไป

๑๐๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 102 7/17/18 10:24 AM


๑๐๒
 ท ท๔/ผ.๓-๐๖
๔/ผ.๓-๐๖

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
ใบงานที่ ๐๖
การเขียนจดหมายถึงญาติ

คาชี้แจง เขียนจดหมายถึงญาติโดยคิดสถานการณ์ได๎ตามต๎องการ พร๎อมจําหน๎าซอง


สํงทางไปรษณีย์

...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
๑๐๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 103 7/17/18 10:25 AM


๑๐๓
 ท๔/ผ.๓-๐๖

ท ๔/ผ.๓-๐๖

ชื่อและที่อยูํผู๎ฝาก
......................................………………
..................................................……
.......................………………….......……
.....................………………………………

ชื่อและที่อยูํผู๎รับ
……………………………….......……………………………………………..
…………….......................…………………………....................…….
..................………………………….......………………………………….
..................................…………………………………………………….



๑๐๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 104 7/17/18 10:25 AM


๑๐๔

 ท ท๔/ผ.๔
๔/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้
การกรอกแบบรายการ

การกรอกแบบรายการ
การกรอกแบบรายการ หมายถึงการเขียนกรอกรายละเอียดต ดต่างๆ ลงในแบบรายการ
ซึ่งเป็ เปนเอกสารที่จัดททําขึ าขึ้นโดยเว้
โดยเวนช่ชองว่ งวางไว้
งไวสาหรั
ําหรับเขียนข้ นขอความเพื
ความ เพื่อ่อให้ใหเอกสารนัเอกสารนั้น้นสมบู
สมบูรณ์รณและและ
ถูกต้ตอง แบบรายการแบ่
แบบรายการแบงงออกเป ออกเป็นน๔๔ชนิ ชนิดดไดได้แแกก่
๑. แบบรายการที
แบบรายการที ่ใช้่ ในการติ
ช ใ นการติ ดต่อดกัตบอหน่กั บวยงานทั ้งภาครั้ฐงบาลและเอกชน
หน ว ยงานทั ภาครั ฐ บาลและเอกชน แบบ
รายการชนิ
แบบรายการชนิ ดนี้หน่ดวนียงานเป็ นผู้จัดนทผูาขึจ้นัดเพื
้หนวยงานเป ทํา่อขึความสะดวกแก่
้นเพื่อความสะดวกแก ผู้มาติดผตู่มอาตินอกจากนี ้ยังทาให้้ยจังัดทํเก็าให
ดตอ นอกจากนี บ
เป็
จัดนเก็ระเบี บเปยนบเรี
ระเบียบร้ยบเรี
อย ยเช่บรนอยแบบรายการสมั
เชน แบบรายการสมั ครงาน แบบรายการสมั
ครงาน แบบรายการสมั ครเข้าศึกคษาต่ รเขอาใบฝากเงิ
ศึกษาตอนใบ
และถอนเงิ
ฝากเงิน และถอนเงิ นของธนาคาร นของธนาคาร
๒. แบบรายการที
๒. แบบรายการที่ใช้่ใชภภายในองค์ ายในองคกรต่ กรตางาๆง ๆในปั ในปจจุจบจุันบนีัน้มนีีร้มะบบรวบรวมเรื
ีระบบรวบรวมเรื ่องราว
่องราว
ทีที่เ่เกีกี่ย่ยวข้
วขอองกั
งกับบบุบุคคลากรภายในหน่
ลากรภายในหนววยงานของตนยงานของตน ด้ดววยวิ ยวิธธีใีให้หกกรอกแบบรายละเอี
รอกแบบรายละเอียยดด เช เช่นน กรอกแบบ
กรอกแบบ
รายการใบลา
รายการใบลา
การกรอกแบบรายการ ควรปฏิ
การกรอกแบบรายการ ควรปฏิบบัตัติ ิ ดัดังงนีนี้ ้
๑. อ่อาานค
๑. นคําชี
าชี้แ้แจงในการกรอกแบบรายการนั
จงในการกรอกแบบรายการนั้น้น ๆๆ ให้ใหเข้เขาาใจก่ ใจกออนนแต่แตถถ้าแบบรายการ
าแบบรายการ
นันั้น้น ไม่ ม ค
ี าชี แ
้ จง ควรอ่ า นแบบรายการนั น
้ อย่ า งผ่ า น
ไมมีคําชี้แจง ควรอานแบบรายการนั้นอยางผาน ๆ ๑ รอบ เพื่อใหทราบวาควรเขี ๆ ๑ รอบ เพื อ
่ ให้ ท ราบว่ า ควรเขี ยนหรื
ยนหรื ออ
กรอกข้
กรอกขออความใด ความใด ๆๆ ลงในแบบรายการนั
ลงในแบบรายการนั้น้น ๆๆ บบ้าางง
๒. เขียนหรือกรอกข้อความต่าง ๆ ลงในช่องว่างของแบบรายการ ซึ่งแบบรายการ
๒. เขียนหรือกรอกขอความตาง ๆ ลงในชองวางของแบบรายการ ซึ่งแบบรายการ
บางลักษณะ จะชี้แจงให้เขียนหรือกรอกเครื่องหมายต่าง ๆ
บางลักษณะ จะชี้แจงใหเขียนหรือกรอกเครื่องหมายตาง ๆ
๓. ไม่ควรขีดฆ่า หรือ ลบข้อความ เพราะแบบรายการบางชนิดเป็นเอกสารที่มีผล
๓. ไมควรขีดฆา หรือ ลบขอความ เพราะแบบรายการบางชนิดเปนเอกสารที่มีผล
ผูกพันทางกฎหมาย ถ้ามีรอยลบหรือขีดฆ่า อาจทาให้แบบรายการนั้น ๆ ใช้อ้างอิงไม่ได้ เพราะขาด
ผูกพันทางกฎหมาย ถามีรอยลบหรือขีดฆา อาจทําใหแบบรายการนั้น ๆ ใชอางอิงไมได เพราะ
ความน่าเชื่อถือ
ขาดความนาเชื่อ๔.ถืออ่านทบทวนที่เขียนหรือกรอกอีกครั้งหนึ่ง เพื่อตรวจสอบว่ากรอกข้อมูล
ครบถ้วนและถูก๔.ต้ออง าถ้นทบทวนที ่เขียนหรื
ามีข้อผิดพลาดให้ แก้อไขให้
กรอกอี
ถูกต้กองและสมบู
ครั้งหนึ่ง รเพืณ์่อตรวจสอบวากรอกขอมูล
ครบถวนและถูกตอง ถามีขอผิดพลาดใหแกไขใหถูกตองและสมบูรณ

๑๐๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 105 7/17/18 10:25 AM


๑๐๕

ท ๔/ผ.๔-๐๗
 ท๐๔/ผ.๔-๐๗

กรอกแบบฝากธนาณัติและใบรับฝากบริการ
ไปรษณีย์
คาชี้แจง กรอกแบบฝากธนาณัติและใบรับฝากบริการไปรษณีย์

๑๐๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 106 7/17/18 10:25 AM


๑๐๖

ท ๔/ผ.๔-๐๘
 ท๐๔/ผ.๔-๐๘

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
ใบงานที่ ๐๘
กรอกแบบฝากส่งพัสดุ

คำชี
คําชี้แจง กรอกแบบฝากส่งพัสดุไปรษณียภัณฑ์ ต่อไปนี้

ชื่อและที่อยูข่ องผู้รับ
ชื่อ...................................................................................... ๑.
ที่อยู่...................................................................................
....................................... รหัสไปรษณีย์ ........................... ตราประจาวัน
ฝากส่ง ณ ที่ทาการไปรษณีย์.............................................. ของที่ทาการไปรษณีย์
วันที่...............เดือน.....................................พ.ศ.................
ช่องนี้สาหรับเจ้าหน้าที่
เลขที่ของสิ่งของ
คำตอบรับของผูร้ ับ ไดรั้ บสิ่งของตามที่แจงไวขางตน ้ ้้ ้ ที่ขอใบตอบรับ
เรียบรอยแลว
้ ้ ................................................
เมื่อวันที.่ ............เดือน...............................พ.ศ....................
๒.
เวลา........................น.
ลงชื่อผู้ รับหรือผู้ รับแทน......................................................
ผู้รับแทนชื่อ........................................................... ตราประจาวัน
เกี่ยวพันกับผูร้ ับโดยเป็น........................................ ของที่ทาการที่ส่งคืนผู้ฝาก
ลงชื่อเจาหนาที
้ ้ ่ผ้ ูนำจาย......................................................

การกรอกแบบรายการกรอกแบบฝากส่งพัสดุไปรษณียภัณฑ์ ควรกรอกข้อมูลให้สมบูรณ์
ถูกต้อง โดยใช้ลายมือที่สวยงามเป็นระเบียบเรียบร้อย และเขียนให้สะอาดอ่านง่าย

๑๐๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 107 7/17/18 10:25 AM


๑๐๗ ท ๔/ผ.๔-๐๙
 ท๐๔/ผ.๔-๐๙

ใบงานที่ ๐๙
กรอกแบบใบสมัครเข้าเรียน

คาชี้แจง กรอกใบสมัครเข้าเรียนต่อระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ต่อไปนี้


ใบสมัครเข้าเรียนต่อระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ติดรูปถ่าย

๑ ข้อมูลส่วนตัว

ชื่อ-นามสกุล ….....……......................................…………………………………………..เพศ.............................................
วัน/เดือน/ปีเกิด........................................................อายุ......................................ที่อยู่..................หมู่ที่ .............
..................... …………………………………………………………………....................…………………………………………………...
โทรศัพท์................................... บิดาชื่อ...................................นามสกุล..................................อายุ.......................
อาชีพ........................................ มารดาชื่อ...............................นามสกุล..................................อายุ......................
อาชีพ.............................................
๒ ข้อมูลด้านการศึกษา

จบการศึกษาระดับชั้น จากโรงเรียน เกรดเฉลี่ย

ขอรับรองว่าข้อมูลที่ข้าพเจ้ากรอกนี้เป็นความจริง
ลงชื่อ .....................................................
(...................................................) ผู้สมัคร
.............../............................/.....................

๑๐๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 108 7/17/18 10:25 AM


๑๐๘
 ท๔/ผ.๕
ท ๔/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้
ชนิดของคา

การเลือกใช้คาให้ถูกต้องตามชนิดและหน้าที่ จะช่วยให้สื่อสารทาความเข้าใจได้ตรง
ตามความต้องการและรวดเร็ว คาในภาษาไทยมีหลายชนิดที่ควรทราบในระดับชั้นนี้ คือ คานาม
คาสรรพนาม คากริยา คาวิเศษณ์ คาบุพบท คาเชื่อม คาอุทาน
คานาม
คาที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สิ่งของ สภาพธรรมชาติ สถานที่ต่าง ๆ ทั้งที่เป็นสิ่งมีชีวิต และ
ไม่มีชีวิต ทั้งที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม เรียก คานาม
อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้
๑. พ่อ แม่ ลูกช่วยกันใส่บาตร
๒. หลายประเทศในโลกมีเศรษฐกิจดีขึ้น
๓. กล้วยเป็นต้นไม้สารพัดประโยชน์
๔. กล้วยตานีมีลาต้นตรง ใบยาวสีเขียวเข้ม
๕. คุณยายชอบรับประทานมะม่วงกับข้าวสวย
๖. มะม่วงเขียวเสวยมีรสชาติอร่อย
๗. นกกาลังบินกลับรัง
๘. น้องอยากเลี้ยงนกขุนทอง
คาที่พิมพ์ตัวหนาในประโยคตัวอย่างข้างต้น เป็นคานามทั่วไป เรียกว่า คานามสามัญ
อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้
๑. นักท่องเที่ยวชอบไปชม วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
๒. กล้วยตานีมีถิ่นกาเนิดมาจากทางตอนใต้ของ ประเทศอินเดีย
๓. วันอาทิตย์หน้าเราจะปลูกกล้วยในสวน
๔. ลูกสาวของหทัยชื่อหอม
พระเชตุพนวิมลมังคลาราม อินเดีย อาทิตย์ หทัย หอม เป็นคาที่ตั้งขึ้นเพื่อเป็นชื่อเฉพาะ
ของคน สัตว์ สิ่งของ และสถานที่ เรียกว่า คานามวิสามัญ คานามวิสามัญส่วนใหญ่ เมื่อใช้มักจะ
มีคานามสามัญ เช่น วัด ประเทศ วัน (คาที่พิมพ์ตัวหนาเอน) อยู่ข้างหน้าด้วย

๑๐๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 109 7/17/18 10:25 AM


๑๐๙
 ทท๔/ผ.๕
๑/ผ.๑

อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้
๑. ท้ายสวนกล้วยมีบ้าน ๕ หลัง
๒. ผู้หญิง ๒ คนนั้นหน้าตาคล้ายกันราวกับฝาแฝด
๓. ฝูงชนวิ่งกรูเข้าไปเก็บเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ลานพิธีแรกนาขวัญ
๔. กรรมการคณะนี้ กาลังประชุมพิจารณาผลการสอบของนักเรียน
คาที่พิมพ์ตัวหนา คือ หลัง คน ฝูง คณะ เป็น คาลักษณนาม บอกลักษณะของคานาม
สามัญ คือ บ้าน ผู้หญิง ชน กรรมการ
ตัวอย่างคาลักษณนามอื่น ๆ เช่น คน เล่ม อัน ชิ้น สาย แท่ง กระบอก ซี่ กลุ่ม
โขลง หมู่ กอง ชุด พวก เหล่า ทะลาย ฯลฯ
อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้
๑. การสลักกาบกล้วยเป็นงานฝีมือของคนไทย
๒. กล้วยหอมไม่มีความลับกับเพื่อนรัก
คาที่พิมพ์ตัวหนา ในประโยคตัวอย่างขั้น เป็นคานามที่เกิดจากการแปลงคากริยา
ให้เป็นคานาม มักมีคาว่า การ หรือ ความ นาหน้า เช่น การพูด การเขียน ความรัก
ความเมตตา ฯลฯ เรียกว่า คาอาการนาม
คาสรรพนาม
คาที่ใช้แทนคานาม เรียกว่า คาสรรพนาม ซึ่งในการพูดหรือเขียน เมื่อใช้คานามคาใด
คาหนึ่ง และจะกล่าวถึงคานั้น ๆ ในโอกาสต่อไป มักนาคาสรรพนามมาใช้แทน
อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้
๑. วันนี้คุณยายไม่สอนฉันเย็บกระทง เพราะท่านไม่สบาย
๒. คุณมีความเห็นเหมือนเขาหรือไม่
คาว่า ฉัน ท่าน คุณ เขา เป็นคาสรรพนามใช้แทนผู้พูด ผู้ฟังและผู้ที่ถูกกล่าวถึง เรียกว่า
คาสรรพนามแทนบุคคล หรือ คาบุรุษสรรพนาม มีคาอื่น ๆ อีก เช่น
ดิฉัน ผม อาตมา ข้าพเจ้า ฯลฯ แทนผู้พูด
พระองค์ โยม เธอ ท่าน แก ฯลฯ แทนผู้ฟัง
เขา เธอ มัน ท่าน ใคร ฯลฯ แทนผู้ที่กล่าวถึง
๑. นั่นต้นอะไร
คาว่า นั่น เป็นคาสรรพนามที่บอกความหมาย เฉพาะเจาะจง เรียกว่า คาสรรพนาม
ชี้เฉพาะ มีคาอื่น ๆ อีก คือ นี่ โน่น นู่น นี้ นั้น โน้น นู้น
๒. เขาไม่เคยทาความเดือดร้อนให้ใครเลย
คาว่า ใคร เป็นสรรพนามที่มีความหมายทั่ว ๆ ไป ไม่เฉพาะเจาะจง เรียกว่า
คาสรรพนามไม่ชี้เฉพาะ มีคาอื่น ๆ อีก เช่น อะไร ไหน ผู้หนึ่งผู้ใด
๑๑๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 110 7/17/18 10:25 AM


๑๑๐
ท ๔/ผ.๕
 ท๔/ผ.๕

๓. ใครเอาต้นกล้วยมาโยนทิ้ง

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
คาว่า ใคร เป็นสรรพนามที่ใช้เป็นคาถามที่ต้องการคาตอบ เรียกว่า คาสรรพนามถาม
มีคาอื่น ๆ อีก เช่น อะไร ไหน
๔. คนไทยสมัยก่อนต่างก็รู้จักใช้ประประโยชน์จากต้นกล้วย
คาว่า ต่าง เป็นคาสรรพนามใช้เพื่อแยกคานามออกเป็นส่วน ๆ เรียกว่า คาสรรพนาม
แยกฝ่าย มีคาอื่น ๆ อีก คือ บ้าง กัน
คากริยา
คากริยาเป็นคาที่บอกอาการ หรือบอกสภาพของคน สัตว์ พืช สิ่งของ เครื่องใช้
เช่น ยิ้ม วิ่ง ล้ม กิน ตี เป็นคากริยาบอกอาการ อ้วน ผอม ฉลาด โง่ เก่า ใหม่ เป็นคากริยา
บอกสภาพ
อ่านและพิจารณาประโยคต่อไปนี้
๑. ภูเขาถล่มเมื่อวานนี้
๒. รถกระบะวิ่งลับหายไป
คาว่า ถล่ม วิ่ง ไม่ต้องมีกรรมตามหลังก็ได้ใจความ คากริยาประเภทนี้ เรียกว่า
คากริยาอกรรม
๑. คุณยายเย็บกระทง
๒. ช่างสลักกาบกล้วยให้เป็นลวดลาย
คาว่า เย็บ สลัก ต้องมีกรรม คือ คา กระทง กาบกล้วย จึงจะได้ใจความสมบูรณ์ คากริยา
ประเภทนี้เรียกว่า คากริยาสกรรม
๑. เขาเหมือนฉัน
๒. ข้าวเป็นอาหารของคนไทย
๓. ผลกล้วยตานีแตกต่างจากผลกล้วยชนิดอื่นคือ เมล็ดมาก
คาว่า เหมือน เป็น คือ เป็นคากริยาที่ต้องมีคานาม หรือสรรพนาม ซึ่งทาหน้าที่
เป็นส่วนเติมเต็มตามหลังเสมอ เรียกว่า คากริยาเติมเต็ม คากริยาประเภทนี้ยังมีอีกนักเรียนควร
ศึกษาเพิ่มเติม

ปรับปรุงมาจาก https://site.google.com

๑๑๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 111 7/17/18 10:25 AM


๑๑๑
ท ๔/ผ.๕
 ท๔/ผ.๕

ใบความรู้
คาบุพบท

คาบุพบท คือ คาที่เชื่อมคาหรือกลุ่มคาให้สัมพันธ์กันและเมื่อเชื่อมแล้ว ทาให้ทราบว่า


คาหรือกลุ่มคาที่เชื่อมกันนั้นมีความสัมพันธ์กันอย่างไร ได้แก่ ใน แก่ จน ของ ด้วย โดย ฯลฯ
หน้าที่ในการแสดงความสัมพันธ์ของคาบุพบท
๑. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับสถานที่ เช่น คนในเมือง
๒. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับเวลา เช่น เขาเปิดไฟจนสว่าง
๓. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับการเป็นเจ้าของ เช่น แหวนวงนี้เป็นของฉัน
๔. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับเจตนาหรือสิ่งที่มุ่งหวัง เช่น เขาทาเพื่อลูก
๕. แสดงความสัมพันธ์เกี่ยวกับอาการ เช่น เราเดินไปตามถนน
ชนิดของคาบุพบท คาบุพบทแบ่งเป็น ๒ ชนิด
๑. คคําบุ
าบุพพบทที
บทที่แ่แสดงความสั
สดงความสัมมพัพันนธ์รธะหว่ ระหวางคางคําต่าอตคอาคําเช่นเชความสั
น ความสั มพัมนพัธ์รนะหว่ ธระหว
าง าง
คํคานามกั
านามกับบคคํานาม
านาม คคํานามกัานามกับบคคําสรรพนาม
าสรรพนาม คคํานามกั านามกับบคากริคํากริยายาคาสรรพนามกั
คําสรรพนามกั บคบาสรรพนาม
คําสรรพนาม คา
คํสรรพนามกั
าสรรพนามกั บคากริบคํายกริ
า ยคาากริคํยากริ ากับยคากัานาม
บคํานามคากริคํยาากั กริบยคากั
าสรรพนาม
บคําสรรพนาม คากริยคํากั บคยากริ
ากริ ากับยคํา าเพืกริ่อยา
บอกสถานการณ์
เพื ่อบอกสถานการณ ให้ชใัดหเจน
ชัดเจน ดังต่ดัองไปนี ้ ้
ตอไปนี
- บอกสถานภาพความเป็
- บอกสถานภาพความเป นเจ้าของน เจเช่านของ ฉันซื้อเชสวนของนายสมชาย
น ฉั น ซื้ อ สวนของนายสมชาย
(นามกับนาม) บ้บาานของเขาใหญ่
นของเขาใหญโโตแท้ ตแท ๆ (นามกั
(นามกับบสรรพนาม
สรรพนาม)) อะไรของเธออยู
อะไรของเธออยูใ่นถุ ในถุงงนีนี้ ้ (สรรพนาม
(สรรพ
กันามกั บสรรพนาม)
บสรรพนาม)
    - บอกความเกี
- บอกความเกี ่ยวข้่ยอวข
ง เช่องน เช
เธอต้ องการมะม่
น เธอต องการมะมวงในจาน วงในจาน (นามกั(นามกั
บนาม)บนาม) พอเห็น
พ่อแเห็มน(กริ
แก แก่แยม่ากั(กริ ยากับฉันาม)
บนาม)  นไปกับฉันเขาไปกั(กริ บเขา
ยากั(กริ ยากับสรรพนาม)
บสรรพนาม)
      - บอกการให้
- บอกการให และบอกความประสงค์
และบอกความประสงค เช่น  เช
แกงหม้
น  แกงหมอนีเ้ ป็อนนีของส าหรับาใส่
้เปนของสํ หรับบาตร ใสบ(นาม าตร
กับกริยบา)กริพ่ยอา) พ
(นามกั ให้รอางวั
ใหลรแก่
างวัฉลันแก( ฉนามกั บสรรพนาม
ัน ( นามกั บสรรพนาม ) )
      - บอกเวลา
- บอกเวลา เชเช่น เขามาตั ้งแต่เ้งช้แต
น เขามาตั า (กริ
เชาย(กริ
ากับยนาม)
ากับนาม) เขาอยู ่เมือเงนอกเมื
เขาอยู มืองนอกเมื ่อปี่อทปี่แทล้วี่แลว
(นามกับนาม)
       - บอกสถานที
- บอกสถานที ่ เช่น่ เชเธอมาจากหั
น เธอมาจากหั วเมือวงเมื(กริ
อง ย(กริ
ากัยบากั
นาม)บนาม)
- บอกความเปรี
- บอกความเปรี ยบเทียยบเทีบ เช่
ยบ น เช
เขาหนั กกว่ากฉักว
น เขาหนั น า(กริ
ฉันยากั (กริบยนาม)
ากับนาม)  เขาสูงกวาพอ
เขาสูยากั
(กริ งกว่บานาม)
พ่อ (กริยากับนาม)

๑๑๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 112 7/17/18 10:25 AM


๑๑๒
 ทท๔/ผ.๕
๔/ผ.๕

คาบุพบทที ๒. ่ไคํม่ามบุีคพวามสั
บททีม่ไมพัมนีคธ์วามสั
กับคาอื มพั่นนส่ธวกนมากจะอยู
ับคําอื่น สว่ตนมากจะอยู
้นประโยค ตใช้นประโยค เป็นการทัใช กทาย เปนการ

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
มัทักใช้ ทาย ในคมัาประพั
กใชในคํ
นธ์าประพัเช่น ดูนกธร เชดูนก่อดูนกดูร ราดูกข้อาแต่ น ดูคราาเหล่ ขาาแต
นี้ใช้คํนาาหน้ เหลาคนีานามหรื
้ใชนําหนอาสรรพนาม
คํานามหรือ
สรรพนาม  ดูกร ท่านพราหมณ์ ท่าจงสาธยายมนต์บูชาพระผู้เป็นเจ้าด้วย
            ดูกรดูทกา่อนพราหมณ
น ภิกษุทั้งหลาย ทาจงสาธยายมนต
การเจริญวิปัสบสนาเป็ ูชาพระผู นการปฏิ เปนเจาบดัตวิธย รรมของท่าน
            ดูกอดูนรภิา กสหายเอ๋
ษุทั้งหลายย ท่าการเจริ
นจงทาตามค ญวิปสสนาเป นการปฏิ
าที่เราบอกท่ านเถิบัตดิธรรมของทาน 
            ดูรา ช้สหายเอ
าแต่ ท่ายนทัทา้งนจงทํหลายาข้ตามคํ าพเจ้าทียิ่เนราบอกท
ดีมากที่ทานเถิ ่านมาร่ ด  วมงานในวันนี้
           หลักการใช้คขาบุ าแตพบทบางคทานทั้งหลาย า ขาพเจายินดีมากที่ทานมารวมงานในวันนี้ หลักการใชคํา
บุพบทบางคํา "กับ" ใช้แสดงอาการกระชับ อาการร่วม อาการเทียบกันและแสดงระดับ
เช่ น ฉันเห็นกับตา “กับ” ใชแสดงอาการกระชับ อาการรวม อาการเทียบกันและแสดงระดับ เชน
           
ฉันเห็นกับตา "แก่" ใช้นาหน้าคาที่เป็นฝ่ายรับอาการ เช่น ครูให้รางวัลแก่นักเรียน
            “แก"แด่ ” ใช"นใช้ําหน
แทนคาคําาว่ที่เาป"แก่
นฝา"ยรัในที ่เคารพ เชเช่นน ครู
บอาการ นักใหเรีรยางวั นมอบพวงมาลั
ลแกนักเรียน ยแด่ครู
            “แด"แต่ ” ใช"แใช้ทนคํในความหมายว่
าวา “แก” ในที า จาก ่เคารพ ตั้งแต่
เชนเฉพาะ
นักเรียเช่นมอบพวงมาลั
น เขามาแต่บย้านแดครู 
            “แต"ต่ ” อใช"ใใช้ นาหน้าแสดงความเกี
นความหมายว า จาก ตั้ง่ยแต วข้อเฉพาะ
งกัน ติเช ดต่นอกัเขามาแตน เทียบจบาานวน น  เช่น
เขายื
            ่นคาร้องต่อศาล“ตอ” ใชนําหนาแสดงความเกี่ยวของกัน ติดตอกัน เทียบจํานวน เชน เขายื่น
คํารองตคอาบุ ศาลพบท เป็นคาที่ใช้หน้าคานาม คาสรรพนาม หรือคากริยาสภาวมาลา เพื่อแสดง
ความสัมพันธ์ของค ๓. าและประโยคที
คําบุพบท เปน่อคํยูา่หทีลั่ใชงคหาบุ นาพคํบทว่
านามามีคคํวามเกี
าสรรพนาม ่ยวข้องกัหรื บคอาหรื
คํากริอประโยค
ยาสภาวมาลา
ทีเพื่อ่อยูแสดงความสั
่ข้างหน้าอย่างไร มพัเช่ นธนของคําและประโยคที่อยูหลังคําบุพบทวามีความเกี่ยวของกับคําหรือ
ประโยคที่อยูขางหน ลูกชายของนายแดงเรี
าอยางไร เชน ยนหนังสือไม่เก่งแต่ลูกสาวของนายดาเรียนเก่ง
                   ครูทลูางานเพืกชายของนายแดงเรี่อนักเรียน ยนหนังสือไมเกงแตลูกสาวของนายดําเรียนเกง    
                   เขาเลี ครูท้ยํางนกเขาส
งานเพื่อนัาหรั กเรีบยฟัน   งเสียงขัน
ตาแหน่งของค เขาเลีาบุ้ยพงนกเขาสํ
บท เป็นคาหรั าทีบ่ใช้ฟนงาหน้
เสียงขั าคนาอื่นหรือประโยค เพื่อให้รู้ว่าคาหรือประโยค
ที่อยู่หลังคาบุพบทมี ความสั
ตําแหน มพัานบุธ์พกับบทคาหรื
งของคํ เปนอประโยคข้
คําที่ใชนําาหน งหน้
าคําาอืดั่นงนัหรื้นคอาบุ พบทจะอยู
ประโยค เพื่อ่หใหน้ราูวคาาต่
คําาหรื
ง ๆอ
คืประโยคที
อ ่อยูหลังคําบุพบทมีความสัมพันธกับคําหรือประโยคขางหนา ดังนั้นคําบุพบทจะอยู
หนาคําตาง ๆ คื๑. อ นาหน้าคานาม เช่น เขาเขียนจดหมายด้วยปากกา เขาอยู่ที่บ้านของฉัน
๒. น๑.าหน้ นําาหน คาสรรพนาม
าคํานาม เชนเช่นเขาเขีเขาอยู ่กับฉันตลอดเวลา
ยนจดหมายด วยปากกา เขาอยู เขาพูทดกัี่บบานของฉั
ท่าน น
เมื่อนํคืานหนนี้แาคํล้าวสรรพนาม เชน เขาอยูก บั ฉันตลอดเวลา เขาพูดกับทานเมือ่ คืนนีแ้ ลว
๒.
๓. น๓.าหน้ นําาหน คากริาคํายกริ
า ยเช่านเชเขาเห็
น เขาเห็นแก่ นแกกินกิน โต๊โตะะตัตัววนีนี้จ้จดั ัดสสําหรั
าหรับบอภิ
อภิปปรายคื
รายคืนนนีนี้ ้
๔. น๔.าหน้ นําาหน คาวิาคํเศษณ์
าวิเศษณ เช่นเชเขาวิ
น เขาวิ่งมาโดยเร็
่งมาโดยเร็ วว

ปรับปรุงปรัมาจาก https://site.google.com
บปรุงมาจาก https://site.google.com

๑๑๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 113 7/17/18 10:25 AM


๑๑๓
ท ๔/ผ.๕
 ท๔/ผ.๕

ใบความรู้
คาเชื่อม

คาเชื่อม คือคาที่ทาหน้าที่เชื่อมคากับคา เชื่อมประโยคกับประโยค เชื่อมข้อความกับ


ข้อความ หรือข้อความให้สละสลวย คาเชื่อม มี ๔ ชนิด คือ
๑. เชื่อมใจความที่คล้อยตามกัน ได้แก่คาว่า กับ และ , ทั้ง…และ , ทั้ง…ก็ ,
ครั้น…ก็ , ครั้น…จึง , พอ…ก็ ตัวอย่างเช่น พออ่านหนังสือเสร็จก็เข้านอน พ่อและแม่ทางาน
เพื่อลูก ฉันชอบทั้งทะเลและน้าตก ครั้นได้เวลาเธอจึงไปขึ้นเครื่องบิน
๒. เชื่อมใจความที่ขัดแย้งกัน ได้แก่คาว่า แต่ , แต่ว่า , ถึง…ก็ , กว่า…ก็
ตัวอย่างเช่น กว่าตารวจจะมาคนร้ายก็หนีไปแล้ว เขาอยากมีเงินแต่ไม่ทางาน ถึงเขาจะโกรธ
แต่ฉันก็ไม่กลัว เธอไม่สวยแต่ว่านิสัยดี
๓. เชื่อมใจความเป็นเหตุเป็นผลกัน ได้แก่ คาว่า จึง , เพราะ…จึง ,
เพราะฉะนั้น…จึง ตัวอย่างเช่น เขาวิ่งเร็วจึงหกล้ม ฉันกลัวรถติดเพราะฉะนั้นฉันจึงออกจากบ้าน
แต่เช้า เพราะเธอเรียนดีครูจึงรัก เขาไว้ใจเราให้ทางานนี้เพราะฉะนั้นเราจะเหลวไหลไม่ได้
๔. เชื่อมใจความให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่คาว่า หรือ หรือไม่ก็ ,
ไม่เช่นนั้น , มิฉะนั้น ตัวอย่างเช่น เธอต้องทางานมิฉะนั้นเธอจะถูกไล่ออก นักเรียนจะทาการบ้าน
หรือไม่ก็อ่านหนังสือ คุณจะทานข้าวหรือก๋วยเตี๋ยว
หน้าที่ของคาเชื่อม
๑. เชื่อมคากับคา เช่น ฉันเลี้ยงแมวและสุนัข นิดกับหน่อยไปโรงเรียน
๒. เชื่อมข้อความ เช่น คนเราต้องการปัจจัย ๔ ด้วยเหตุนี้เราจึงต้องประกอบอาชีพ
เพื่อให้ได้เงินมา
๓. เชื่อมประโยคกับประโยค เช่น พี่สาวสวยแต่น้องฉลาด เพราะเขาขยันจึงสอบได้
๔. เชื่อมความให้สละสลวย เช่น เขาก็เป็นคนดีคนหนึ่งเหมือนกัน คนเราก็มีเจ็บป่วยบ้าง
เป็นธรรมดา

ปรับปรุงมาจาก https://site.google.com

๑๑๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 114 7/17/18 10:25 AM


๑๑๔
ท ๔/ผ.๕-๑๐
ท๔/ผ.๕-๑๐

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
ใบงานที่ ๑๐
ชนิดของคา

คาชี้แจง ตอนที่ ๑ พิจารณาคาสรรพนามที่ขีดเส้นใต้ แล้วเลือกตัวอักษร ก ข ค ง และ จ


เป็นคาตอบที่ถูกต้องเติมลงในช่องว่างหน้าประโยค

ก. คาบุรุษสรรพนาม
ข. คาสรรพนามถาม
ค. คาสรรพนามชี้เฉพาะ
ง. คาสรรพนามไม่ชี้เฉพาะ
จ. คาสรรพนามแยกฝ่าย

เติมอักษร ข้อ ประโยค


................... ๑. ขอพระองค์จงทรงพระเจริญ
.................. ๒. ใครหยิบกล่องดินสอของฉันไป
................... ๓. กระเป๋าใบนี้ของพี่สาวฉันเอง
................... ๔. บ้างก็วิ่งบ้างก็เดินอย่างสนุกสนาน
................... ๕. คุณจะไปที่ไหนก็เรื่องของคุณ
................... ๖. เขาจะทาอะไร
................... ๗. ใครจะมากับฉันก็ได้
................... ๘. คุณแม่ท่านร้อยมาลัยสวยมาก
................... ๙. นั่นหนังสือการ์ตูนที่เด็ก ๆ ชอบ
................... ๑๐. ต่างทาหน้าที่ที่รับผิดชอบให้ดีที่สุด

๑๑๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 115 7/17/18 10:25 AM


๑๑๕

ท ๔/ผ.๕-๑๐
ท๔/ผ.๕-๑๐

ตอนที่ ๒ พิจารณาคานามที่ขีดเส้นใต้ แล้วเลือกตัวอักษร ก ข ค และ ง ที่เป็น


คาตอบที่ถูกต้องเติมลงในช่องว่างหน้าประโยค

ก. คานามสามัญ
ข. คานามวิสามัญ
ค. คาลักษณนาม
ง. คาอาการนาม

เติมอักษร ข้อ ประโยค


................... ๑. ฉันรักโรงเรียนของฉัน
.................. ๒. แม่ครัวซื้อปลามาแกงสองตัว
................... ๓. ดอยตุงอยู่ในจังหวัดเชียงราย
................... ๔. วัดแห่งนี้มีพระสงฆ์อุปสมบทใหม่ ๙ รูป
................... ๕. การร้องเพลงเป็นการพักผ่อนที่ดีอย่างหนึ่ง
................... ๖. นักเรียนแสดงความยินดีที่เพื่อนได้รับรางวัล
................... ๗. ประชาชนต่างรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
................... ๘. กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงของประเทศไทย
................... ๙. บ้านหลังนั้นเป็นบ้านของผู้ว่าราชการจังหวัดลพบุรี
................... ๑๐. ทุกคนในหน่วยงานต่างมีความผูกพันรักใคร่สามัคคีกัน

๑๑๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 116 7/17/18 10:25 AM


๑๑๖
 ท๔/ผ.๕-๑๐
ท ๔/ผ.๕-๑๐

ตอนที่ ๓ เลือกคากริยาที่ไม่ต้องมีกรรมจากตัวเลือกที่กาหนด เติมลงในช่องว่างในประโยค

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
ให้ถูกต้อง

ข้อ ประโยค ตัวเลือก


๑. นกยูง................................... ตัวเล็ก, ราแพน, ตัวใหญ่
๒. คุณยาย...................................... เป็นคนดี, สวดมนต์, สูง
๓. ต้นไม้ในสวน....................... เตี้ย, โค่น, แห้ง
๔. เด็กน้อย...............เสียงดัง กิน, เล่น, ร้อง
๕. ดอกไม้ในแจกัน...................... สวย, สด, หล่น

ตอนที่ ๔ เลือกประโยคที่มีคากริยาสกรรม โดยใส่เครื่องหมาย √ หน้าประโยค

เติมเครื่องหมาย
ข้อ ประโยค

๑. ปลื้มจิตเล่นวอลเลย์บอล
๒. แมงมุมตัวใหญ่ชักใยเก่ง
๓. ชาวสวนเก็บผลไม้ในสวน
๔. พี่เดือนขายเสื้อผ้าในตลาด
๕. โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์

๑๑๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 117 7/17/18 10:25 AM


๑๑๗
 ท ๔/ผ.๕-๑๑
ท๔/ผ.๕-๑๑

ใบงานที่ ๑๑
ชนิดของคา

คาชี้แจง ตอนที่ ๑ เขียนประโยคที่มีคาบุพบท ตามความสัมพันธ์ระหว่างคาที่กาหนดให้


ข้อ ความสัมพันธ์ระหว่างคา เขียนประโยคที่มคี าบุพบท
๑. นาหน้าคานาม
๒. นาหน้าคาสรรพนาม
๓. นาหน้าคากริยา
๔. นาหน้าคาวิเศษณ์
๕. นาหน้าคานาม
ตอนที่ ๒ เขียนประโยคที่มีคาบุพบท ตามที่กาหนดให้
ข้อ คาบุพบท เขียนประโยคที่มคี าบุพบท
๑. แก่
๒. แด่
๓. แต่
๔. ต่อ
๕. เพื่อ
ตอนที่ ๓ เขียนประโยคที่มีคาเชื่อม ตามที่กาหนดให้
ข้อ คาเชื่อม เขียนประโยคที่มคี าบุพบท
๑. เพราะ
๒. และ
๓. จึง
๔. แต่
๕. หรือ
๖. จนกระทั่ง
๗. อัน
๘. แต่ทว่า
๙. ที่
๑๐. ในที่สุด.....ก็

๑๑๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 118 7/17/18 10:25 AM


๑๑๘
ท ๔/ผ.๕-๑๒
 ท๔/ผ.๕-๑๒

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
ใบงานที่ ๑๒
การเขียนประโยค

คาชี้แจง เขียนประโยคที่มีคาบุพบทและคาเชื่อมให้สอดคล้องกับภาพ

...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................

...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................

...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................


๑๑๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 119 7/17/18 10:25 AM


๑๑๙
 ท๔/ผ.๕-๑๒
ท ๔/ผ.๕-๑๒

...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................

...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................

วาดภาพแล้วเขียนข้อความที่มีคาบุพบทและคาเชื่อมให้สอดคล้องกับภาพที่วาด

๑๒๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 120 7/17/18 10:25 AM


๑๒๐


ท ๔/ผ.๕-๑๓
ท๔/ผ.๕-๑๓

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
ใบงานที่ ๑๓
การเขียนข้อความที่มีคาบุพบทและคาเชื่อม

คาชี้แจง เขียนข้อความที่มีคาบุพบทและคาเชื่อมให้สอดคล้องกับภาพตามความคิด

………………………………………………………………………………………………………………….……...…….
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

………………………………………………………………………………………………………………….……...…….
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

๑๒๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 121 7/17/18 10:25 AM


๑๒๑
 ท๔/ผ.๕-๑๓
ท ๔/ผ.๕-๑๓

คาชี้แจง เขียนข้อความที่มีคาบุพบทและคาเชื่อมให้สอดคล้องกับภาพ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๑๒๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 122 7/17/18 10:25 AM


๑๒๒

 ทท๔/ผ.๕-๑๔
๔/ผ.๕-๑๔

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
ใบงานที่ ๑๔
การเขียนข้อความที่มีสานวนเปรียบเทียบ

คาชี้แจง เขียนข้อความที่มีสานวนเปรียบเทียบ

1 2

3 4

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๑๒๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 123 7/17/18 10:25 AM


๑๒๓

 ท๔/ผ.๕-๑๔
ท ๔/ผ.๕-๑๔

เขียนข้อความโดยมีสานวนเปรียบเทียบ พร้อมตั้งชื่อให้สอดคล้องกับภาพ

1 2

3 4

.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................... ..................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................... .........................

๑๒๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 124 7/17/18 10:25 AM


๑๒๔

 ท๔/ผ.๕
ท ๔/ผ.๕

แบบทดสอบหลังเรียน

หนวยการเรียนรูที่ ๔ การใชภาษาเพื่อสื่อสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ การใช้ภาษาเพื่อสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------
คาชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับอักษรหน้าคาตอบที่ถูกต้องที่สุด

๑. " จับได้ในขณะทาความผิด " ตรงกับสานวนใด


ก. สู้จนยิบตา ข. คาหนังคาเขา
ค. สุนัขจนตรอก ง. คาบลูกคาบดอก
๒. ข้อใดเป็นคาบุพบทบอกความเป็นเจ้าของ
ก. บ้านฉันอยู่ใกล้โรงเรียน ข. หนังสือเล่มนี้เป็นของฉัน
ค. รถคันนั้นวิ่งเร็วกว่ารถคันนี้ ง. สวนน้าเป็นสวนสาธารณะสาหรับประชาชน
๓. ประโยคใดใช้คาเชื่อมถูกต้องที่สุด
ก. เงินทองเป็นของหายาก
ข. ผมชอบอ่านหนังสือบ้างเป็นบางครั้ง
ค. เธอไม่ชอบออกไปท่องเที่ยวต่างจังหวัด
ง. พี่สาวและน้องชายชอบเรียนวิชาศิลปะ
๔. ประโยคใดใช้คากริยาอกรรม ได้ถูกต้องที่สุด
ก. นักเรียนอ่านทุกวันจนคล่องแคล่วและเก่งขึ้น
ข. ฝนตกมากในภาคใต้และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ค. นักกีฬาทุกคนต้องเล่นกีฬาอย่างมีน้าใจเป็นนักกีฬา
ง. แผ่นดินไทยเป็นแผ่นดินทองในน้ามีปลาในนามีข้าว
๕. ข้อใดมีคาสรรพนามถาม
ก. คาถามและคาตอบต้องสัมพันธ์กัน
ข. อะไรๆ ก็เกิดขึ้นได้เสมอไม่ควรประมาท
ค. ใครใครก็ต้องการมีสุขภาพที่แข็งแรงทั้งนั้น
ง. การปลูกพืชผักสวนครัวควรใช้ปุ๋ยชนิดใดจึงจะปลอดภัย

๑๒๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 125 7/17/18 10:25 AM


๑๒๕

 ท
ท๔/ผ.๕
๔/ผ.๕

๖. ในการเขียนจดหมายต้องระวังเรื่องใดมากที่สุด
ก. การเขียน วัน เดือน ปี
ข. การใช้ภาษาให้สุภาพ
ค. การใช้ซองจดหมายให้ถูกขนาด
ง. การผนึกดวงตราไปรษณียากร
๗. ข้อใดใช้คาบุรุษสรรพนามไม่ถูกต้อง
ก. พวกเขาเป็นสัตว์เลี้ยงที่อยู่ใกล้ชิดคนมาก
ข. คุณพ่อคุณแม่ท่านรักและห่วงใยลูกๆ เสมอ
ค. เธอเป็นผู้หญิงที่สวยและเก่งจึงมีคนชื่นชมมาก
ง. ประชาชนนับถือหลวงพ่อเพราะท่านอยู่ในพระธรรมวินัย
๘. ข้อใดใช้คาที่มีความหมายเชิงอุปมา
ก. ทางแคบเดินจะหลีกกันไม่พ้น
ข. กางเกงเธอคับจนตะเข็บปริแล้ว
ค. ซอยนี้แคบคงกลับรถไม่สะดวก
ง. ภาวะเศรษฐกิจตกต่าทาให้คนใจคอคับแคบ
๙. " แสวงหาผลประโยชน์โดยตัวเองไม่ลงทุน " ตรงกับสานวนข้อใด
ก. จับปูใส่กระด้ง ข. จับแพะชนแกะ
ค. จับเสือมือเปล่า ง. จับปลาสองมือ
๑๐. จดหมายลาครูจะไม่สมบูรณ์ถ้าขาดส่วนใด
ก. วันที่ลา ข. สาเหตุที่ลา
ค. สถานที่เขียน ง. คารับรองจากผู้ปกครอง

๑๒๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 126 7/17/18 10:26 AM


วรรณกรรมคําสอน

6102149L01e-�6 (��.).indd 127 7/17/18 10:26 AM


6102149L01e-�6 (��.).indd 128 7/17/18 10:26 AM
๑๒๘

 ท ท๕/ผ.๑
๕/ผ.๑

แบบทดสอบก่อนเรียน

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ วรรณกรรมคาสอน วรรณกรรมคําสอน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
...........................................................................................................................................................................
คาชี้แจง ตอบคําถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. อธิบายคําสอนที่กาํ หนดให้
“จงเตืออนตนด
“จงเตื นตนด้ววยตนเอง”
ยตนเอง” หมายความว่า..............................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๒. “จะนุ ่งห่มุงหพอสมศั
“จะน มพอสมศั กดิก์สดิงวน
์สงวน ให้สมควรรั
ใหสมควรรั บพักบตรพัตกามศั
ตร์ตกามศั
ดิ์ศรีกดิ์ศรี
จะแต่จะแต
งหน้างหน ทาแป้าทาแป
งแต่งแต อินงทรี
อินยทรี
์ ย ดูฉวีดูผิวฉเนื
วีผ้อิวอย
เนืา้อเหลื
อย่าอเหลื
เกินอ”เกิน”
คําประพันธ์นี้ต้องการสอนอะไร ............................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ เพราะอะไร ....................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๓. แต่งประโยค โดยให้มีคําอุทานในประโยคด้วย
๓.๑ ........................................................................................................................................................
๓.๒ ........................................................................................................................................................
๓.๓ ........................................................................................................................................................

๔. จัดกลุ่มคําที่กําหนดให้ ให้ถูกต้อง

เพื่อนๆ แม่น้ํา ใกล้ๆ ช่างไฟฟ้า เรือกสวน นักการเมือง


พ่อครัว บ้านเรือน ลูกๆ หลานๆ ทรัพย์สิน เช้าค่าํ ลมๆ แล้งๆ

คาซ้า คาซ้อน คาประสม

๑๒๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 129 7/17/18 10:26 AM


๑๒๙

 ท ท๕/ผ.๑
๕/ผ.๑

๕. เลือกคําที่นักเรียนชอบในข้อ ๔ แต่งประโยค
ประโยคคําสั่ง ..................................................................................................................................
ประโยคขอร้อง ..................................................................................................................................
ประโยคคําถาม ..................................................................................................................................
๖. อ่านประกาศตอไปนี่ ้ แล้วตอบคําถาม

ประกาศรับสมัครนักเรียนเข้าศึกษาต่อ กาหนดวันและเวลา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หลักสูตรปกติ ๑. นักเรียนในเขตพื้นที่บริการรับ ร้อยละ ๕๐ และ
คุณสมบัติ นักเรียนทั่วไปรับ ร้อยละ ๕๐ โดยคัดเลือกจากผล
๑. สําเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ตาม การสอบ ร้อยละ ๘๐ คะแนน O-NET ร้อยละ ๒๐
หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ หรือเทียบเท่า ๒. รับสมัครวันที่ ๑๔ - ๑๘ มีนาคม ๒๕๖....
หรือกําลังศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ปีการศึกษา ๒๕๖... หรือเทียบเท่า ๓. สอบคัดเลือก วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖....
๒. ไม่จํากัดอายุ สอบเวลา ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น.
๓. เป็นโสด วิชาที่สอบ ไทย คณิต วิทย์ สังคม ภาษาอังกฤษ
๔. มีความประพฤติเรียบร้อย (วิชาภาษาไทยมีการสอบปฏิบัติทักษะการอ่าน)
เอกสารประกอบการรับสมัคร ๔. ประกาศผล วันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๖.....
๑. สําเนาทะเบียนบ้าน ๑ ฉบับ (พร้อมฉบับจริง) ๕. รายงานตัว วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖.....
๒. รูปถ่าย ๒ นิ้ว จํานวน ๒ รูป เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๓๐ น.
๓. สําเนา ปพ ๑ : ป พร้อมฉบับจริง ๖. มอบตัว วันที่ ๗ เมษายน ๒๕๖.....
๔. หลักฐานแสดงผลการสอบ O-NET เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๓๐ น.

๖.๑ เรื่องที่ประกาศเกี่ยวกับเรื่องอะไร
...........................................................................................................................................................
๖.๒ ผู้ที่ประสงค์ยื่นใบสมัครตามประกาศดังกล่าว ต้องมีคุณสมบัติอย่างไร
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
๖.๓ ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ตามประกาศนี้ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินอย่างไร
.........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

๑๓๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 130 7/17/18 10:26 AM


๑๓๐

 ท๕/ผ.๑-๐๑
ท ๕/ผ.๑-๐๑

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
ใบงานที่ ๐๑ คิดได้นาไปใช้เป็น

คาชี้แจง อ่านสุภาษิตสอนหญิงในใบความรู้ชุดที่ ๑ แล้วพิจารณาว่าคําสอนในเรื่องใดที่สามารถ


นํามาเป็นหลักปฏิบัติในชีวิตได้ โดยใช้แผนภาพความคิดพัฒนางานเขียน (๑๒ คะแนน)

 ฉันคิดว่าคาสอนในสุภาษิตสอนหญิง ที่สามารถนามาปฏิบัติได้คือเรื่อง
.................................................................................................................. สอนไว้ดังนี้

 เหตุผลคือ
...............................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

 ผลที่เกิดจากการปฏิบัติคือ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

๑๓๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 131 7/17/18 10:26 AM


๑๓๑

 ท๕/ผ.๑-๐๒
ท ๕/ผ.๑-๐๒

ใบงานที่ ๐๒ วิเคราะห์คุณค่าจากการอ่านวรรณคดี
คาชี้แจง อ่านสุภาษิตสอนหญิวรรณคดี
ง แล้วเขียนแผนภาพความคิดตามหัวข้อทีก่ ําหนด (๑๒ คะแนน)

กลุ่มที่ ๑

....................................................
....................................................
....................................................
....................................................

.............................................. ...........................................
.............................................. ...........................................
.............................................. ...........................................
.............................................. คาสอนจากสุภาษิตสอนหญิง ...........................................
“คุณค่าของสตรี”

.................................................. ..................................................
.................................................. ..................................................
.................................................. ..................................................
.................................................. ..................................................

๑๓๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 132 7/17/18 10:26 AM


๑๓๒

ท ๕/ผ.๑-๐๒
ท๕/ผ.๑-๐๒

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
กลุ่มที่ ๒

.....................................................
.....................................................
.....................................................
.....................................................

............................................ ..........................................
............................................ ..........................................
............................................ ..........................................
............................................ คาสอนจากสุภาษิตสอนหญิง ..........................................
“สตรีผู้มีกิริยามารยาทงาม”

.................................................. .................................................
.................................................. .................................................
.................................................. .................................................
.................................................. .................................................

๑๓๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 133 7/17/18 10:26 AM


๑๓๓
ท ๕/ผ.๑-๐๒
 ท๕/ผ.๑-๐๒

กลุ่มที่ ๓

.....................................................
.....................................................
.....................................................
.....................................................

............................................. ..........................................
............................................. ..........................................
............................................. ..........................................
คาสอนจากสุภาษิตสอนหญิง
............................................. ..........................................
“สตรีผู้มีวาจางาม”

.................................................. ..................................................
.................................................. ..................................................
.................................................. ..................................................
.................................................. ..................................................

๑๓๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 134 7/17/18 10:26 AM


๑๓๔
ท ๕/ผ.๑
 ท๕/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
ใบความรู้ สุภาษิตสอนหญิง

๑. ที่มาของสุภาษิตสอนหญิง
สุภาษิตสอนหญิงนีส้ มเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ
ทรงสันนิษฐานว่าเป็นบทประพันธ์ของสุนทรภู่ ที่แต่งขึ้นในช่วงสมัยรัชกาลที่ ๓-๔ แห่ง
กรุงรัตนโกสินทร์ นอกจากนี้ยังมีผู้สันนิษฐานแตกต่างกันไปว่า ผู้แต่งอาจไม่ใช่สุนทรภู่ก็ได้ เพราะ
มีกวีที่มีนามว่า “ภู”่ หลายคน จึงไม่อาจสรุปได้แน่ชัดว่าเป็นผลงานของใคร
สุภาษิตสอนหญิงเป็นวรรณคดีประเภทคําสอนที่แสดงวัตถุประสงค์ไว้ในเนื้อหา
อย่างชัดเจนว่า ต้องการให้เป็นเครื่องเตือนสติ สอนใจสตรี มีเนื้อหาสอนหญิงทุกวัย และมีสาระ
ครอบคลุมแทบทุกเรื่องทั้งทางกาย วาจา ใจ และการครองตนให้เหมาะสมตามค่านิยมที่ดี
การปฏิบัติตนต่อบิดามารดา สามี และบุคคลทั่วไป ซึ่งยังใช้ได้ดีจนถึงปัจจุบัน
๒. ลักษณะการแต่ง
เป็นคําประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพ เริ่มคําประพันธ์ด้วยการกล่าวบูชาพระพุทธเจ้า
เพื่อเป็นสิริมงคลในการแต่งหนังสือตามธรรมเนียม ดังนี้
ประนมหัตถ์นมัสการขึ้นเหนือเศียร
ต่างประทีปโกสุมปทุมเทียน จํานงเนียนนบบาทพระศาสดา
อันเป็นมิ่งโมลีสี่ทวีป ดังประทีปส่องทั่วทุกทิศา
ก็ล่วงลับดับไกลนัยนา สู่มหาห้องนิพพานสําราญรมย์
ฉันชื่อภู่ประดิษฐ์คิดสนอง ขอประคองคุณใส่ไว้เหนือผม
ให้ประเสริฐเลิศล้ําด้วยคําคม โดยอารมณ์ดําริรักชักภิปรายฯ
จากนั้นเริ่มคําสอนด้วยการให้ข้อคิดเตือนใจ และหลักในการประพฤติตนแก่สตรีในเรื่อง
ต่าง ๆ ตามมารยาทและประเพณีไทยในยุคนั้น เริ่มตั้งแต่เมื่อย่างเข้าสู่วัยสาวจนกระทั่งมีครอบครัว
แล้ว เช่น
- คุณค่าของสตรีในวัยสาว - การแต่งกาย
- กิริยามารยาทในเรื่องต่าง ๆ - ความขยันหมั่นเพียร
- การคบเพื่อน - การรู้จักเก็บออมและการใช้จ่าย
- พระคุณบิดามารดา ฯลฯ

๑๓๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 135 7/17/18 10:26 AM


๑๓๕
ท ๕/ผ.๑
 ท๕/ผ.๑

สุภาษิตสอนหญิง (ชุดที่ ๑)
ผู้ใดเกิดเป็นสตรีอนั มีศักดิ์ บํารุงรักกายไว้ให้เป็นผล
สงวนงามตามระบอบให้ชอบกล จึงจะพ้นภัยพาลการนินทา
เป็นสาวแส้แร่รวยสวยสะอาด ก็หมายมาดเหมือนมณีอันมีค่า
แม้นแตกร้าวรานร่อยถอยราคา จะพลอยพาหอมหายจากกายนาง
อันตัวต่ําแล้วอย่าทําให้กายสูง ดูเยี่ยงยูงแววยังมีที่วงหาง
ค่อยเสงี่ยมเจียมใจจะไว้วาง ให้ต้องอย่างกิริยาเป็นนารีฯ
จะนุ่งห่มพอสมศักดิ์สงวน ให้สมควรรับพักตร์ตามศักดิ์ศรี
จะผัดหน้าทาแป้งแต่งอินทรีย์ ดูฉวีผิวเนื้ออย่าเหลือเกิน
ประการหนึ่งซึ่งจะเดินดําเนินนาด ค่อยเยื้องยาตรยกย่างไปกลางสนาม
อย่าไกวแขนสุดแขนเขาห้ามปราม เสงี่ยมงามสงวนไว้แต่ในที
อย่าเดินกรายย้ายอกยกผ้าห่ม อย่าเสยผมกลางทางหว่างวิถี
อย่าพูดเพ้อเจ้อไปไม่สดู้ ี เหย้าเรือนมีกลับมาจึง่ หารือ
ให้กําหนดจดจําแต่คําชอบ ผิดระบอบแบบกระบวนอย่าควรถือ
อย่านุ่งผ้าพกใหญ่ใต้สะดือ เขาจะถือว่าเล่นไม่เห็นควร
อย่าลืมตัวมัวเดินให้เพลินจิต ระวังปิดปกป้องของสงวน
เป็นนารีมีที่อายหลายกระบวน จงสงวนศักดิ์สง่าอย่าให้อาย
แม้นลูกดีก็จะมีศรีสง่า ญาติวงศ์พงศาก็ผ่องใส
ถึงเพื่อนบ้านฐานถิ่นทีใ่ กล้ไกล ก็มีใจสรรเสริญเจริญพร

๑๓๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 136 7/17/18 10:26 AM


๑๓๖
ท ๕/ผ.๑
 ท๕/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
สุภาษิตสอนหญิง (ชุดที่ ๒)

จงรักนวลสงวนงามห้ามใจไว้ อย่าหลงใหลจําคําที่รา่ํ สอน


คิดถึงหน้าบิดาแลมารดร อย่ารีบร้อนเร็วนักมักไม่ดี
เมื่อสุกงอมหอมหวนจึงควรหล่น อยู่กับต้นอย่าให้พรากไปจากที่
อย่าชิงสุกก่อนห่ามไม่งามดี เมื่อบุญมีคงจะมาอย่าปรารมภ์
อย่าคิดเลยคู่เชยคงหาได้ อุตส่าห์ทําลําไพ่เก็บประสม
อย่าเกียจคร้านการสตรีจงนิยม จะอุดมสินทรัพย์ไม่อับจน
ถ้าแม้นทําสิ่งใดให้ตลอด อย่าทิ้งทอดเที่ยวไปไม่เป็นผล
เขม้นขะมักรักงานการของตน อย่าซุกซนคบเพื่อนไพร่เชือนแช
เมื่อเหนื่อยอ่อนนอนหลับอยู่กับบ้าน อย่าเที่ยวพล่านพูดผลอประจ๋อประแจ๋
อะไรฉาวกราวเกรียวอย่าเหลียวแล ฟังให้แน่เนื้อความค่อยถามกัน
ระวังดูเรือนเหย้าแลข้าวของ จะบกพร่องอะไรที่ไหนนั่น
เห็นไม่มีแล้วอย่าอ้างว่าช่างมัน จงผ่อนผันเก็บเล็มให้เต็มลง

มีสลึงพึงประจบให้ครบบาท อย่าให้ขาดสิ่งของต้องประสงค์
จงมักน้อยกินน้อยค่อยบรรจง อย่าจ่ายลงให้มากจะยากนาน
ไม่ควรซื้อก็อย่าไปพิไรซื้อ ให้เป็นมือ้ เป็นคราวทั้งคาวหวาน
เมื่อพ่อแม่แก่เฒ่าชรากาล จงเลี้ยงท่านอย่าให้อดระทดใจ
ด้วยชนกชนนีนั้นมีคุณ ได้การุณเลี้ยงรักษามาจนใหญ่
อุ้มอุทรป้อนข้าวเป็นเท่าไร หมายจะได้พึ่งพาธิดาดวง
ถ้าเราดีมีจิตอุปถัมภ์ กุศลล้ําเลิศเท่าภูเขาหลวง
จะปรากฏยศยิ่งสิ่งทั้งปวง กว่าจะล่วงลุถึงซึ่งพิมาน
เทพไทในห้องสิบหกชั้น จะชวนกันสรรเสริญเจริญสาร
ว่าสตรีนี้เป็นยอดยุพาพาล ได้เลี้ยงท่านชนกชนนีฯ

๑๓๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 137 7/17/18 10:26 AM


๑๓๗
ท ๕/ผ.๑
 ท๕/ผ.๑

จะพูดจาปราศรัยกับใครนั้น อย่าตะคั้นตะคอกให้เคืองหู
ไม่ควรพูดอื้ออึงขึ้นมึงกู คนจะหลู่ล่วงลามไม่ขามใจ
แม้จะเรียนวิชาทางค้าขาย อย่าปากร้ายพูดจาอัชฌาสัย
จึงซื้อง่ายขายดีมีกําไร ด้วยเขาไม่เคืองจิตระอิดระอา
เป็นมนุษย์สุดนิยมเพียงลมปาก จะได้ยากโหยหิวเพราะชิวหา
แม้นพูดดีมีคนเขาเมตตา จะพูดจาจงพิเคราะห์ให้เหมาะความ

๑๓๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 138 7/17/18 10:26 AM


๑๓๘

 ท๕/ผ.๑-๐๓
ท ๕/ผ.๑-๐๓

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
ใบงานที่ ๐๓ ท่องจาบทร้อยกรองที่มีคุณค่า

คาชี้แจง เลือกท่องจําบทร้อยกรองที่มีคุณค่า จากสุภาษิตสอนหญิง (๑๖ คะแนน)

ท่องจาบทร้อยกรองที่มีคุณค่า

นักเรียนเลือกท่องจําบทร้อยกรองจากสุภาษิตสอนหญิง อย่างน้อยคนละ ๒ บท ตามความถนัด


และความสนใจ โดยปฏิบัติดังนี้

๑. ท่องเป็นกลุ่ม/จับคู่
๒. ท่องรายบุคคล
๓. เพือ่ นๆ ในกลุ่มให้คําแนะนํา แก้ไขปรับปรุงน้ําเสียง การออกเสียงคําถูกต้อง การเว้นวรรคตอน
ท่องได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์คําประพันธ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในกลุ่ม
๔. ท่องกับครู

การท่องบทร้อยกรองที่มีคุณค่าเป็นการ
ฝึกความจําที่ดี ผู้ท่องจะเกิดความภาคภูมิใจและ
ร่วมสืบสานภูมิปัญญาทางภาษาของไทยนะคะ

๑๓๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 139 7/17/18 10:26 AM


๑๓๙

 ท๕/ผ.๒
ท ๕/ผ.๒

ใบความรู้ ชนิดของคา (คาอุทาน)

คาอุทาน
คือคําที่พดู ออกมาด้วยน้ําเสียงแตกต่างจากเสียงของคําธรรมดาเพื่อแสดงอารมณ์ ความรู้สึกต่าง ๆ
ของผู้พูด คําอุทานมักปรากฏอยู่หน้าประโยค ในการเขียนนิยมใช้เครื่องหมายอัศเจรีย์ (!) กํากับหลังคําอุทาน

๑. แสดงการร้องเรียกหรือบอกให้รู้ตัว ๒. แสดงความตกใจ เช่น ว๊าย! โอ๊ะ!


เช่น แน่ะ! นี่แน่ะ! เฮ้! ช่วยด้วย! คุณพระช่วย!
 แน่ะ! แอบมานั่งอยู่ที่นี่เอง  ช่วยด้วย! เด็กตกน้ํา

๓. แสดงความเสียดาย ผิดหวัง ๔. แสดงความไม่พอใจ โกรธเคือง


สงสาร เช่น โธ่! โถ! อนิจจัง! พุทโธ่ เช่น ฮึ่ม! อุเหม่! ชิชะ! ดูด!ู๋
เอ๋ย!  ฮึ่ม! ใครมาตัดกุหลาบของฉัน
 โถ! สุนัขตัวนี้ช่างน่าสงสาร

๕. แสดงความประหลาดใจ เช่น ฮ้า! ๖. แสดงความเข้าใจหรือรับรู้ เช่น


เอ๊ะ! โอ้โฮ! ว้าว! อื้อฮือ! อ๋อ! อ้อ! อือ!
ชนิดของคาอุทาน
 โอ้โฮ! เสื้อขาวสะอาดดีจงั  อ๋อ! เด็กนั่นเป็นน้องเธอนี่เอง

๗. แสดงความเจ็บปวด เช่น โอย ! ๘. แสดงความท้อใจ ราคาญ เบื่อ หน่าย


โอ๊ย! อูย! เช่น เฮ่อ! ฮื้อ!
 โอ๊ย! เจ็บจังเลย  ฮื้อ! เสื้อเลอะเทอะอีกแล้ว

๙. แสดงความโล่งใจ เช่น เฮอ้ ! ๑๐. แสดงความดีใจ เช่น ไชโย! เย้!


 เฮอ!
้ สอบเสร็จแล้ว  ไชโย! เราชนะแล้ว

สรุปความรู้ คําอุทานใช้แสดงอารมณ์ ความรู้สึกต่าง ๆ ของผู้พูด ทําให้ผฟู้ ังเข้าใจสิ่งที่พดู ชัดเจนยิง่ ขึ้น

เฮ้! ไปทําแบบฝึกกัน อ๋อ! เข้าใจ


เถอะ แล้ว

๑๔๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 140 7/17/18 10:26 AM


๑๔๐

 ท๕/ผ.๒-๐๔

ท ๕/ผ.๒-๐๔

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
ใบงานที่ ๐๔ คาอุทานสื่ออารมณ์

คาชี้แจง ตอนที่ ๑ อ่านนิทาน เรื่อง “แตงโม เจ้ามดแดงจอมขี้เกียจ” แล้วตอบคําถาม (๑๐ คะแนน)

แตงโม เจ้ามดแดงจอมขี้เกียจ
ณ หนองน้ํากลางป่าใหญ่ เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์นานาชนิด และข้างหนองน้ํานั้นเป็นที่อาศัยทํารัง
ของมดแดงฝูงหนึง่ มานานแล้ว มดแดงฝูงนี้มีการแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบทุกตัว ทั้งออกหาอาหาร ดูแลรักษา
อาณาจักร รวมทั้งการเฝ้าเวรยามป้องกันภัยต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดแก่อาณาจักรมดแดง
“เจ้าแตงโม” เป็นทหารหน่วยรับเฝ้าระวังภัยหน้าหนองน้ํา ทุกวันไม่เคยได้ผจญภัยกับผองเพื่อน มัน
จึงเบื่อหน่ายในหน้าที่ของตนเองมาก จึงมักจะแอบงีบหลับเป็นประจํา
วันนี้เจ้าแตงโมไม่ได้ออกลาดตระเวนรอบหนองน้ํา เพราะเห็นว่าเหตุการณ์ปกติเช่นทุกวัน จึงแอบ
งีบหลับ โดยไม่เห็นว่าน้ําในหนองน้ําเริ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ จนปริ่มเกือบจะท่วมผืนดินอาณาจักร เพราะเกิดน้ําป่า
ไหลหลากลงมาจากภูเขาสูง
“เฮ้ย! เจ้าแตงโม ตื่นเร็ว น้ําจะท่วมแล้ว รีบยกกังหันขึ้นเร็ว” เพื่อนทหารมดตัวหนึ่งมองเห็นจึงรีบ
บอก
“ฮือ! ...โอ๊ะ!... เกือบแย่ไปแล้วซิ” แตงโมตกใจตืน่ รีบทําหน้าที่อย่างแข็งขัน
“นี!่ แตงโม เจ้าแอบงีบหลับอีกแล้วนะ ช่างไม่มคี วามรับผิดชอบเอาเสียเลย เกือบทําให้พวกเรา
เดือดร้อนกันแล้ว ถ้าน้ําท่วมขึ้นถึงอาณาจักรโดยไม่ทันได้ตั้งตัว จะเป็นอย่างไร เจ้าคิดดูสิ” เพื่อนๆ ดุแตงโม
“เชอะ! เจ้าอย่าตกอกตกใจไปหน่อยเลย น่ารําคาญ น้ําก็ไม่ได้ท่วมซะหน่อย ฮึ่ม! หลีกไป”
เพื่อนมดแดงเห็นว่าตักเตือนไป เจ้าแตงโมก็ไม่เชื่อฟัง จึงนําเรื่องไปปรึกษานางพญามด
“ชิชะ! เจ้าแตงโม เราต้องสั่งสอนมันให้รู้ว่า การไม่รับผิดชอบหน้าที่ของตนนั้น ไม่เพียงแต่ส่งผลเสีย
ต่อตัวเองเท่านั้น ยังทําให้ผู้อื่นเดือดร้อนอีกด้วย” พวกมดจึงไปรายงานนางพญามด นางพญามดคิดจะ
สั่งสอนเจ้าแตงโมให้รู้สํานึก โดยให้จับเจ้าแตงโมซึ่งกําลังแอบงีบหลับอยู่ โยนลงไปในหนองน้ําทันที
“ช่วยด้วย! พวกเรา....น้ําท่วมแล้ว หนีเร็ว ช่วยด้วย! จะจมน้ําตายแล้ว” แตงโมตะเกียกตะกายอยู่
ในน้ําร้องตะโกนให้เพื่อนช่วย
“คราวนี้เจ้ารู้แล้วใช่ไหมว่า ความเดือดร้อนจากการละทิ้งหน้าที่ของตนเอง จะนํามาซึ่งภัยเช่นใด”
นางพญามดพูดกับแตงโมหลังจากที่เหล่าทหารมดช่วยมันขึ้นมาจากหนองน้ําแล้ว
“ข้าขอโทษท่านนางพญา ข้าสํานึกผิดแล้ว ต่อไปนี้ข้าจะตั้งใจทําหน้าที่ให้ดีที่สดุ ครับ” แตงโมกล่าว
อย่างสํานึกผิด ตั้งแต่นั้นมา แตงโมก็ไม่เคยงีบหลับในขณะเฝ้ายามอีกเลย

๑๔๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 141 7/17/18 10:26 AM


๑๔๑

 ท๕/ผ.๒-๐๔
ท ๕/ผ.๒-๐๔

ตอนที่ ๑
๑. จงยกตัวอย่างประโยคที่มีคําอุทานจากเรื่อง “แตงโม เจ้ามดแดงจอมขี้เกียจ” แล้ววิเคราะห์อารมณ์
ความรู้สกึ ของคําอุทานในประโยคนั้น (๕ คะแนน)

ตัวอย่างคําอุทาน แสดงอารมณ์
อนิจจา ! เจ้าแตงโมถูกลงโทษอีกแล้ว สงสาร

แสดงอารมณ์
๑........................…………………………........……………... .......................................
.......
แสดงอารมณ์
๒.....................................………………………………………… .......................................
......

แสดงอารมณ์
๓....................................………………………………………… ......................................
........
แสดงอารมณ์
๔.....................................………………………………………… ......................................

แสดงอารมณ์
๕....................................………………………………………… ......................................

๒. นักเรียนคิดว่าอุปนิสัยของแตงโมเป็นอย่างไร (๓ คะแนน)
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
....

๓. ข้อคิดที่ได้จากการอ่าน และการนําไปใช้ในชีวติ จริง (๒ คะแนน)


..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
....
๑๔๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 142 7/17/18 10:26 AM


๑๔๒
 ท๕/ผ.๒-๐๔

ท ๕/ผ.๒-๐๔

ตอนที่ ๒ เขียนเรื่องสร้างสรรค์ตามจินตนาการ กําหนดให้มีคาํ อุทานในเรื่องไม่น้อยกว่า ๕ คํา

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
ความยาวประมาณ ๑๕ บรรทัด (๒๐ คะแนน)

_______________________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________

๑๔๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 143 7/17/18 10:26 AM


๑๔๓

 ท๕/ผ.๒
ท ๕/ผ.๒

ใบความรู้

การสร้างคาในภาษาไทย

เมื่อโลกวิวัฒนาการ มีสิ่งแปลกใหม่เพิ่มขึ้น มีเครื่องมือ เครื่องใช้ วัสดุ หรือสิ่งของต่าง ๆ มาใช้ใน


ชีวิตประจําวันมากมาย ดังนั้น คําที่เคยมีใช้อยู่ในภาษาไทยจึงมีไม่พอที่จะใช้เรียกวัสดุสิ่งของเหล่านั้น
เราจึงต้องมีการสร้างคําเพิ่มขึ้นด้วยวิธตี ่าง ๆ เพื่อให้มีถ้อยคําใช้ในภาษาไทยได้มากขึ้น
การสร้างคําในภาษาไทยมี ๓ ลักษณะ คือ คําประสม คําซ้อน คําซ้ํา

คามูล

คามูล คือ คํา ๆ เดียวที่มิได้ประสมกับคําอื่น อาจมี ๑ พยางค์ หรือหลายพยางค์ก็ได้ แต่เมื่อแยก


พยางค์แล้ว แต่ละพยางค์ไม่มีความหมาย คําภาษาไทยที่ใช้มาแต่เดิมส่วนใหญ่เป็นคํามูลที่มีพยางค์เดียว
โดด ๆ เช่น พ่อ แม่ กิน เดิน ร้อง คํามูลหลายพยางค์ เป็นคําสองพยางค์ขึ้นไป มีความหมายในตัว
ไม่สามารถแยกพยางค์ภายในคําได้ เพราะทําให้ไม่มีความหมาย อาจเป็นคําไทยแท้ หรือคําภาษาต่างประเทศ
ก็ได้ เช่น มะละกอ เกเร โหระพา นาฬิกา บิดา วิทยุ เป็นต้น

ตัวอย่างแบบสร้างของคามูล

คน มี ๑ พยางค์ คือ คน
สิงโต มี ๒ พยางค์ คือ สิง + โต
นาฬิกา มี ๓ พยางค์ คือ นา + ฬิ + กา
ทะมัดทะแมง มี ๔ พยางค์ คือ ทะ + มัด + ทะ + แมง
กระเหี้ยนกระหือรือ มี ๕ พยางค์ คือ กระ + เหี้ยน + กระ + หือ + รือ

๑๔๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 144 7/17/18 10:26 AM


๑๔๔

 ท๕/ผ.๒
ท ๕/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
คาประสม
คาประสม คือ คําที่สร้างขึ้นใหม่โดยนําคํามูลตั้งแต่ ๒ คําขึ้นไปมาประสมกัน ให้เกิดเป็นคําใหม่
ความหมายใหม่ โดยอาจมีเค้าความหมายเดิมหรือมีความหมายใหม่ก็ได้

ลักษณะของคาประสม
๑. คําประสมที่เกิดความหมายใหม่ มีเค้าความหมายเดิม เช่น
เตา + ถ่าน - เตาถ่าน หมายถึง เตาที่ใช้ถ่านเป็นเชื้อเพลิง
เตา + รีด - เตารีด หมายถึง เครื่องใช้ทใี่ ช้รดี เสื้อผ้า
รถ + ไฟฟ้า - รถไฟฟ้า หมายถึง รถที่ใช้ไฟฟ้าเป็นพลังงานขับเคลื่อน
รถ + ยนต์ - รถยนต์ หมายถึง ยานพาหนะทางบกที่ขับเคลื่อนที่ด้วยพลังงาน
อย่างใดอย่างหนึ่งและถ่ายทอดลงสู่ล้อ
๒. คําประสมที่เกิดความหมายใหม่เปลี่ยนไปจากเดิม เช่น
ขาย + หน้า - ขายหน้า หมายถึง รู้สึกอับอาย
ราด + หน้า - ราดหน้า หมายถึง อาหารประเภทก๋วยเตี๋ยวมีน้ําปรุงข้นๆ
ลูก + น้ํา - ลูกน้ํา หมายถึง ลูกอ่อนของยุงซึ่งยังอาศัยอยู่ในน้ํา
ผี + เสื้อ - ผีเสื้อ หมายถึง แมลงพวกหนึ่งมีปีกเป็นแผ่นบางสีต่าง ๆ
หาง + เสือ - หางเสือ หมายถึง เครื่องถือท้ายเรือ

๓. คําประสมที่มาจาก อาการนาม มีคําว่า “การ” หรือ “ความ” นําหน้าคํากริยาหรือคําวิเศษณ์


เช่น การกิน การบ้าน การเมือง การกระทํา ความดี ความชัว่ ความสวย ความขยันหมั่นเพียร
๔. คําประสมที่เกิดจากการย่อคําให้กะทัดรัดขึ้น มักขึ้นต้นด้วยคําว่า ชาว ช่าง นัก ที่ เครื่อง
ผู้ หมอ ของ เช่น
ชาวบ้าน ชาววัง ชาวนา ชาวประมง ชาวสวน
ช่างยนต์ ช่างภาพ ช่างเสริมสวย ช่างไฟฟ้า ช่างไม้
การค้า การเรือน นักเรียน นักการเมือง นักข่าว
เครื่องเขียน เครื่องใช้ ที่นอน ที่อยู่ ที่พัก
หมอดู หมอลํา ของกิน ของใช้ ผู้ดี

๑๔๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 145 7/17/18 10:26 AM


๑๔๕

 ท๕/ผ.๒
ท ๕/ผ.๒

คาซ้อน
คาซ้อน เป็นการสร้างคําโดยนําคํามูลที่มีความหมายเหมือนกัน ใกล้เคียงกัน หรือตรงข้ามกัน
มาวางซ้อนกันทําให้เกิดคําใหม่ มีความหมายใหม่ โดยความหมายใหม่อาจกว้างขึ้น หนักแน่นขึ้น หรือ
เบาลงก็ได้
ชนิดของคาซ้อน
๑. คําซ้อนเพื่อความหมาย คือ คําซ้อนที่เกิดจากคํามูลที่มีความหมายเหมือนกัน ใกล้เคียงกัน หรือ
ตรงข้ามกันมาวางชิดกัน เช่น
ความหมายเหมือนกัน เสื่อสาด เหาะเหิน พูดจา บ้านเรือน
ความหมายใกล้เคียงกัน คัดเลือก แนะนํา เกรงกลัว ขัดขวาง
ความหมายตรงกันข้าม ผิดชอบ ชั่วดี ได้เสีย เช้าค่ํา
๒. คําซ้อนเพื่อเสียง คือ คําซ้อนที่เกิดจากการนําคําที่มีเสียงคล้องจองและมีความหมายสัมพันธ์กัน
มาซ้อนกัน เพื่อให้ออกเสียงได้ง่าย ไพเราะ เช่น
เร่อร่า ท้อแท้ จริงจัง ตูมตาม ซุบซิบ
ราบคาบ จิ้มลิ้ม แร้นแค้น เบ้อเร่อ อ้างว้าง
ออดอ้อน อัดอั้น รวบรวม กระดุกกระดิก กระดูกกระเดี้ยว
ประเจิดประเจ้อ ถ้วยโถโอชาม ขโมยขโจร ทรัพย์ในดินสินในน้ํา

ตัวอย่างคาซ้อน

พร้อมเพรียง ครบครัน แข็งแรง ขัดข้อง ผิดชอบชั่วดี


ถิ่นฐาน จิตใจ ทุกข์ยาก ทรัพย์สิน ทรัพย์สมบัติ
รูปภาพ รูปพรรณ โศกเศร้า ยวดยาน กู้หนี้ยืมสิน
สูญหาย กู้ยืม อดทน ขัดขวาง หนักอกหนักใจ

๑๔๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 146 7/17/18 10:26 AM


๑๔๖

 ท๕/ผ.๒-๐๕
ท ๕/ผ.๒-๐๕

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
ใบงานที่ ๐๕ การสร้างคาในภาษาไทย

คาชี้แจง ตอนที่ ๑ สร้างคําจากคําที่กําหนดให้ แล้วเลือกคํามาแต่งประโยค (๑๐ คะแนน)

ตัวอย่าง แผ แผนการ วางแผน แผนที่ แผนผัง แผนซ้อนแผน



ตารวจทราบแผนการของคนร้ายจึงวางแผนซ้อนแผนเข้าจับกุมโดยไม่เสียเลือดเนื้อ

น้า ...................................................................................................................

............................................................................................................................................

สรร ........................................................................................................................................
........................................................................

...............................................................................................................................................

เรื่อ ...................................................................................................................

............................................................................................................................................
.

เครื่ ......................................................................................................................................
อง ..........................................................................

..............................................................................................................................................

๑๔๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 147 7/17/18 10:26 AM


๑๔๗

 ท๕/ผ.๒-๐๕
ท ๕/ผ.๒-๐๕

ตอนที่ ๒ สร้างคําประสม คําซ้อน ตามที่กําหนด อย่างละ ๓ คํา (๑๕ คะแนน)

คาประสมที่เป็นชื่ออาชีพ คาประสมที่เป็นชื่ออาหาร

………………………………………………………………… …………………………………………………………………
………………………………………………………………… …………………………………………………………………
……………………………………………………………….. ………………………………………………………………..
……

คาประสมที่เป็นชื่อเครื่องใช้

…………………………………………………………………
…………………………………………………………………
…………………………………………………….…………..

คาซ้อนที่มีความหมาย คาซ้อนที่มีความหมาย
เหมือนกัน ใกล้เคียงกัน

………………………………………………………………… …………………………………………………………………
………………………………………………………………… …………………………………………………………………
…………………………………………………….………….. …………………………………………………….…………..
……

๑๔๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 148 7/17/18 10:27 AM


๑๔๘

 ทท๕/ผ.๓
๕/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
ใบความรู้
ประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซ้อน

ประโยค แบ่งตามโครงสร้างได้ ๓ ชนิด คือ ประโยคสามัญ หรือประโยคพื้นฐาน ประโยครวม และ


ประโยคซ้อน
ประโยคสามัญหรือประโยคพื้นฐาน

ประโยคสามัญหรือประโยคพื้นฐาน ประกอบด้วยส่วนสําคัญ ๒ ส่วน คือ ประธานและภาคแสดง


บางประโยค ประธาน อาจเป็นคํานามหรือสรรพนาม และภาคแสดงเป็นคํากริยา ที่เรียกว่า กริยา
อกรรม เช่น
ประธาน ภาคแสดง
คํานาม สรรพนาม คํากริยาอกรรม
นักเรียน - ดีใจ
- ฉัน วิ่ง

บางประโยคอาจมีคํานามหรือคําสรรพนามอยู่หลังคํากริยาที่เรียกว่า กริยาสกรรม เช่น


ประธาน ภาคแสดง
คํานาม คําสรรพนาม คํากริยาสกรรม คํานาม คําสรรพนาม
ตํารวจ - สืบค้น ข้อมูล -
- เขา เตือน - ฉัน

บางประโยคมีโครงสร้างซับซ้อนขึ้น คือ มีส่วนขยายประธาน มีสว่ นขยายคํากริยา เช่น


ประธาน ภาคแสดง
คํานาม คําสรรพนาม ส่วนขยาย คํากริยา คํานาม คําสรรพนาม ส่วนขยายคํากริยา
มด - ตัวน้อย กิน น้ําหวาน -
- เขา คนนั้น ชอบ - เธอ
เจ้าหน้าที่ - กด ปุ่ม - ทันที
ลิง - ของคุณลุง กิน กล้วย - รวดเร็ว

ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ กระทรวงศึกษาธิการ : ๒๕๕๖.

๑๔๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 149 7/17/18 10:27 AM


๑๔๙

ท ๕/ผ.๓
 ท ๕/ผ.๓

ประโยครวม

ประโยครวม คือ ประโยคย่อยที่เป็นประโยคพื้นฐาน หรือประโยคสามัญตั้งแต่ ๒ ประโยคขึ้นไปมา


รวมกัน โดยมีคาํ เชื่อม เชือ่ มประโยค เพื่อให้ได้ใจความติดต่อกันเป็นประโยคเดียวกัน ถ้าประธานหรือกริยาของ
ประโยคเป็นคําเดียวกันก็อาจละได้ ดังตัวอย่าง

ประโยค ชนิดของประโยค
- ขวัญข้าวชอบอ่านหนังสือทุกวัน ประโยคสามัญ
- ขวัญข้าวชอบเขียนหนังสือทุกวัน ประโยคสามัญ
- ขวัญข้าวชอบอ่านและชอบเขียนหนังสือทุกวัน ประโยครวม เชื่อมด้วยคําเชื่อม และ
- วันนี้ฉันอยากจะไปดูนิทรรศการ ประโยคสามัญ
- วันนี้แม่ให้เลี้ยงน้อง ประโยคสามัญ
- วันนี้ฉันอยากจะไปดูนทิ รรศการแต่แม่ให้เลี้ยงน้อง ประโยครวม เชื่อมด้วยคําเชื่อม แต่
- เขาอยากจะเป็นนักกีฬา ประโยคสามัญ
- เขาอยากจะเป็นนักดนตรี ประโยคสามัญ
- เขาอยากจะเป็นนักกีฬาหรืออยากจะเป็นนักดนตรี ประโยครวม เชื่อมด้วยคําเชื่อม หรือ
- ดวงดาวชอบฟังเพลง ประโยคสามัญ
- ดวงดาวชอบดูโทรทัศน์ ประโยคสามัญ
- ดวงตาชอบอ่านหนังสือ ประโยคสามัญ
- ดวงดาวชอบฟังเพลงและดูโทรทัศน์ แต่ดวงตาชอบ ประโยครวม เชื่อมด้วยคําเชื่อม และ , แต่
อ่านหนังสือ (ละประธาน ดวงดาว และ ละกริยา ชอบ)

ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ กระทรวงศึกษาธิการ : ๒๕๕๖.

๑๕๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 150 7/17/18 10:27 AM


๑๕๐

 ท ท๕/ผ.๓
๕/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
ประโยคซ้อน

ประโยคซอน
้ คือ ประโยคที่มีใจความสําคัญเป็นประโยคหลัก และมีอนุประโยคซึ่งมีคําเชื่อมอยู่
ข้างหน้าอนุประโยคนั้น เช่น ที่ ซึ่ง อัน เมื่อ จน เพื่อ ตั้งแต่ เพราะ ฯลฯ ดังตัวอย่าง

ประโยค ชนิดของประโยค
๑. นักเรียนเขียนรายงานที่คิดหัวข้อขึ้นเอง ประโยคซ้อน
 นักเรียนเขียนรายงาน ประโยคหลัก
 ที่คิดหัวข้อขึ้นเอง อนุประโยค ทําหน้าที่ขยายคํานาม รายงาน ที่ เป็นคําเชื่อม

๒. ขวัญข้าวซึ่งเป็นคนขยันกังวลใจเกี่ยวกับ ประโยคซ้อน
การบ้าน ประโยคหลัก
 ขวัญข้าวกังวลใจเกี่ยวกับการบ้าน อนุประโยค ทําหน้าที่ขยายคํานาม ขวัญข้าว ซึ่ง เป็นคําเชื่อม
 ซึ่งเป็นคนขยัน

๓. นักเรียนกลับบ้านเมื่อโรงเรียนเลิก ประโยคซ้อน
 นักเรียนกลับบ้าน ประโยคหลัก
 เมื่อโรงเรียนเลิก อนุประโยค ทําหน้าที่ขยายคํากริยา กลับบ้าน เมื่อ เป็นคําเชื่อม

๔. เขาทํางานจนหมดแรง ประโยคซ้อน
 เขาทํางาน ประโยคหลัก
 จนหมดแรง อนุประโยค ทําหน้าที่ขยายคํากริยา ทางาน จน เป็นคําเชื่อม

๕. คุณครูอธิบายเพื่อให้นักเรียนเข้าใจ ประโยคซ้อน
 คุณครูอธิบาย ประโยคหลัก
 เพื่อให้นักเรียนเข้าใจ อนุประโยค ทําหน้าที่ขยายคํากริยา อธิบาย เพื่อ เป็นคําเชื่อม

ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ กระทรวงศึกษาธิการ : ๒๕๕๖.

๑๕๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 151 7/17/18 10:27 AM


๑๕๑

ทท๕/ผ.๓-๐๖
๕/ผ.๓-๐๖

ใบงานที่ ๐๖ ประโยคและส่วนประกอบของประโยค

คาชี้แจง ตอนที่ ๑ อ่านข้อความทีก่ ําหนด ขีดเส้นใต้คําเชื่อม และระบุว่าเป็นประโยคชนิดใด


(๑๐ คะแนน)
ตัวอย่าง แพทย์รักษาผูป้ ่วยซึ่งเป็นโรคเบาหวาน
ชนิดของประโยค .........ประโยคซ้อน...............

๑. พ่อและแม่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของลูก
ชนิดของประโยค ...............................................................................................

๒. เด็กนักเรียนที่มีวินัยจะรู้จักเข้าแถวซื้ออาหาร
ชนิดของประโยค ...............................................................................................

๓. คุณยายอ่านหนังสือธรรมะ แต่คุณตาสานปลาตะเพียนให้หลาน
ชนิดของประโยค ................................................................................................

๔. ลมพายุพัดแรงจนต้นไม้หักโค่นจานวนมาก
ชนิดของประโยค ................................................................................................

๕. ฉันชอบไปเที่ยวทะเลในหน้าร้อน
ชนิดของประโยค ...............................................................................................

๑๕๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 152 7/17/18 10:27 AM


๑๕๒
 ท๕/ผ.๓-๐๖
ท ๕/ผ.๓-๐๖

คาชี้แจง ตอนที่ ๒ พิจารณาประโยคซ้อนต่อไปนี้ แล้วจําแนกเป็นประโยคหลัก

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
และประโยคย่อยให้ถูกต้อง (๑๐ คะแนน)

ตัวอย่าง เขามีผักสดปลอดสารพิษรับประทานเสมอ
ประโยคหลัก เขามีผักสดรับประทานเสมอ
ประโยคย่อย ผักสดปลอดสารพิษ

๑. มดแดงเป็นมดชนิดหนึ่งซึ่งมีมากกว่า ๑๕,๐๐๐ ชนิด


ประโยคหลัก .....................................................................
ประโยคย่อย .....................................................................

๒. คุณปู่ปล่อยนกพิราบที่ติดตาข่าย
ประโยคหลัก .....................................................................
ประโยคย่อย .....................................................................

๓. นักเรียนผูท้ ่ไี ด้รับรางวัลดีเด่นเป็นพี่ชายของฉันเอง


ประโยคหลัก .....................................................................
ประโยคย่อย .....................................................................

๔. ตารวจจับผู้ร้ายซึ่งขายยาเสพติด
ประโยคหลัก .....................................................................
ประโยคย่อย .....................................................................

๕. ศักดิ์ชัยกินอิ่มจนพุงกาง
ประโยคหลัก .....................................................................
ประโยคย่อย .....................................................................

๑๕๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 153 7/17/18 10:27 AM


๑๕๓

 ทท๕/ผ.๓
๕/ผ.๓

ใบความรู้
ประโยคเพื่อการสื่อสาร

ประโยคที่ใช้ในการสื่อสาร มีหลายชนิด ต้องพิจารณาเลือกใช้ให้ตรงตามจุดประสงค์ เช่น


๑. ประโยคบอกเล่า ใช้บอกเล่าเรื่องราวต่าง ๆ ให้ผู้อื่นรู้เรื่อง เช่น

วันนี้คุณยายจะพาผมไปดูละคร
จุดรวมความสนใจอยู่ที่เวทีการแสดง
ผมจะฝึกตีกลองมโนราห์

๒. ประโยคปฏิเสธ ใช้บอกว่าเรื่องราวนั้น ๆ ไม่ใช่ ไม่ต้องการ หรือไม่จริง มักมีคําว่า ไม่ ไม่ใช่ ไม่ได้


อยูด่ ้วย เช่น

ฉันไม่ชอบชมการแสดง
นีไ่ ม่ใช่นิสัยของโอม
ผมไม่ได้ไปเที่ยวกับเพื่อนเพราะพาคุณยายไปชมละคร

๓. ประโยคคาถาม ใช้ถามผู้อื่นเมื่อต้องการคําตอบ มักมีคําแสดงคําถาม ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร


ทําไม ไหม ฯลฯ เช่น

ใครแสดงเป็นนางมโนราห์
โอมประทับใจอะไรจากการชมการแสดง
หิวไหม เข้าห้องน้ําไหม

๔. ประโยคขอร้อง ใช้ขอร้องให้ผู้อื่นทําอย่างหนึ่งอย่างใด มักมีคําว่า กรุณา โปรด ช่วย ฯลฯ


อยู่ด้วย เช่น

กรุณาปิดโทรศัพท์มือถือระหว่างชมการแสดง
โปรดร่วมมือกับโรงละครแห่งชาติในการรักษาความสะอาด
ช่วยรักษาสมบัติของชาติด้านนาฏศิลป์ด้วย

๑๕๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 154 7/17/18 10:27 AM


๑๕๔

 ท ท๕/ผ.๓
๕/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
๔. ประโยคแสดงความต้องการ ใช้บอกความต้องการของตนเองให้ผู้อื่นรับรู้ มักมีคําว่า อยาก
ต้องการ ประสงค์ อยูด่ ว้ ย เช่น

ฉันอยากไปขี่จักรยานร่วมรณรงค์ประหยัดพลังงาน
ผมต้องการไปโรงละครแห่งชาติเพื่อเป็นเพื่อนคุณยาย
เราทุกคนประสงค์จะมีคอนเสิร์ตทํานองกลองไทยที่มีชื่อเสียง

๕. ประโยคคาสั่ง ใช้สั่งให้ผู้อื่นทําอย่างใดอย่างหนึ่ง อาจให้ทาํ หรือห้ามมิให้ทําก็ได้ เช่น

ห้ามถ่ายภาพ
ห้ามนําอาหารเข้ามารับประทาน
จงปฏิบัติตามระเบียบการเข้าชมโรงละครแห่งชาติ
อย่าลืมไปเป็นเพื่อนคุณยายนะลูก

ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ กระทรวงศึกษาธิการ : ๒๕๕๖.

๑๕๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 155 7/17/18 10:27 AM


๑๕๕
 ท๕/ผ.๓-๐๗

ท ๕/ผ.๓-๐๗

ใบงานที่ ๐๗ ประโยคเพื่อการสื่อสาร

คาชี้แจง อ่านป้ายที่กาํ หนดให้ แล้วนําสาระสําคัญจากป้ายมาแต่งประโยคเพื่อการสื่อสาร ที่กาํ หนดให้


( ๑๐ คะแนน)

สาเหตุไข้เลือดออกระบาดหนักในฤดูฝน
ควรป้องกันและเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด

ปิด เปลี่ยน ปล่อย ปรับปรุง ปฏิบัติ ขัด


ฝาภาชนะ น้ําในภาชนะ ปลากินลูกน้ํา สภาพ จนเป็น ภาชนะ
ใส่น้ํา ทุก 7 วัน ในอ่างน้ํา แวดล้อม นิสัย กําจัดไข่ยุง

ประโยคบอกเลา่
เล่า ...........................................................................................................................
.
ประโยคปฏิเสธ
...........................................................................................................................
.
ประโยคคําถาม ...........................................................................................................................
.
ประโยคคําสั่ง ...........................................................................................................................
.
ประโยคขอร้อง ...........................................................................................................................
.

๑๕๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 156 7/17/18 10:27 AM


๑๕๖
ท ๕/ผ.๔
 ท๕/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
ใบความรู้
การอ่านและเขียนประกาศ
การอ่านข่าวสารของทางราชการ
การอ่านข่าวสารของทางราชการ เป็นการสื่อสารข้อความจากหน่วยงานราชการถึงประชาชน
บุคคลทั่วไป อาจจัดทําในรูปแบบต่าง ๆ
จุดมุ่งหมายของการอ่านข่าวสารของทางราชการ มีดังนี้
๑. อ่านเพื่อรับทราบ
๒. อ่านเพื่อนําไปปฏิบัติ
ประกาศ เป็นข้อความที่แจ้งเรื่องราวให้ผู้อื่นทราบ เช่น ประกาศทางราชการ ประกาศบริษัท
หางราน
การเขียนประกาศ เป็นการบอกความต้องการ หรือข้อเท็จจริงของหน่วยงานหรือบุคคล
เพื่อใหทราบทั่วกันอยางกวางขวาง มี ๒ ประเภท คือ ประกาศที่ไม่เป็นทางการ และประกาศที่เป็นทางการ
๑. ประกาศที่ไม่เป็นทางการ
เป็นการเขียนแจ้งเรื่องให้ผู้อื่นทราบและให้ปฏิบัติตามความต้องการของผูป้ ระกาศ โดยจะ
บอกความต้องการและหรือจุดประสงค์ และให้รายละเอียดประกอบตามความจําเป็น ภาพ หรือคุณลักษณะ
ที่เด่นชัด
ตัวอย่าง
การประกาศสัตว์เลี้ยงหาย

ใครพบมีรางวัล

แมวพันธุ์..........................อายุ.................ปี
ลักษณะพิเศษ.....................................................................................
............................................................................................................
ผู้พบเห็นกรุณาติดต่อที่
บ้านเลขที่...........................................................................................
โทรศัพท์.............................................................................................

๑๕๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 157 7/17/18 10:27 AM


๑๕๗
 ท๕/ผ.๔
ท ๕/ผ.๔

๒. ประกาศที่เป็นทางการ ส่วนใหญ่เป็นประกาศทางราชการ มีหลักการเขียนที่สําคัญคือ


๑. บอกใจความสําคัญให้ครบว่า ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ทําไม ตามจุดประสงค์
๒. ลําดับความจากบอกเหตุไปหาผล หรือบอกความต้องการ แล้วให้ผู้เกี่ยวข้องปฏิบัติตาม
๓. ใช้ถ้อยคําที่กระชับ ชัดเจน ภาษาที่เป็นแบบแผนหรือกึ่งแบบแผน ไม่ใช้ภาษาพูด
๔. การเขียนตามรูปแบบของประกาศ
ตัวอย่าง

ประกาศ...(ชื่อหน่วยงานราชการที่ออกประกาศ)

เรื่อง...(ชื่อเรื่องที่ประกาศ)

(ย่อหน้า)...........อ้างเรื่องที่ประกาศ................................................................................
.......................................................................................................................................................
(ย่อหน้า)............จุดประสงค์สําคัญ รายละเอียด เงื่อนไขต่าง ๆ และขั้นตอนการปฏิบัติ
.......................................................................................................................................................
จึงประกาศมาให้ทราบโดยทั่วกัน

ประกาศ ณ วันที่...........เดือน...................พ.ศ......

ลายมือชื่อผู้ประกาศ
(ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือ)
ตําแหน่งของผู้ออกประกาศ

๑๕๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 158 7/17/18 10:27 AM


๑๕๘
 ท๕/ผ.๔
ท ๕/ผ.๔

ตัวอย่าง

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
ประกาศสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

เรื่อง อนุญาตให้ใช้สื่อการเรียนรู้ในสถานศึกษา
____________________

ด้วยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จดั ทําหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน


ภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวติ ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐานพิจารณาแล้ว อนุญาตให้ใช้ในสถานศึกษาได้

ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

ชินภัทร ภูมริ ัตน์


(นายชินภัทร ภูมริ ัตน์)
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

๑๕๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 159 7/17/18 10:27 AM


๑๕๙
 ท๕/ผ.๔-๐๘

ท ๕/ผ.๔-๐๘

ใบงานที่ ๐๘ ประกาศน่ารู้

คาชี้แจง ตอนที่ ๑ อ่านประกาศที่กาํ หนดให้ แล้วตอบคําถาม ( ๑๕ คะแนน)

๑.

๑.๑ หน่วยงานใดน่าจะเป็นผู้ออกประกาศนี้
.…………………….................................………………...........................................................
๑.๒ จุดประสงค์สําคัญคือ
........................................................................................................................................

ประกาศอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
หากพบว่ามีฝนตกหนักในพื้นที่ ระดับน้ําในลําห้วยสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
และสีน้ําเริ่มขุ่นเป็นสีน้ําตาล หรือมีเสียงดังอย่างผิดปกติ ให้ท่านสันนิษฐาน
ก่อนว่าจะเกิดน้าํ ป่าไหลหลาก
คาเตือน น้ําตกเหวนรก เป็นน้ําตกที่มีความล่อแหลม อันตราย
โปรดระมัดระวังอย่าประมาท ห้ามเล่นน้ํา และอย่าเข้าใกล้หน้าผา
BE CAREFUL , NO SWIMMING
๒.

๒.๑ ใครเป็นผู้ออกประกาศ
.…………………….................................………………...........................................................
๒.๒ จุดประสงค์สําคัญคือ
........................................................................................................................................
........................................................................................................................................

๑๖๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 160 7/17/18 10:27 AM


๑๖๐

ท ๕/ผ.๔-๐๘
 ท๕/ผ.๔-๐๘

ชมรม

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
๓.

๓.๑ ใครเป็นผู้ออกประกาศ
.…………………….................................……………….........................................................................
๓.๒ จุดประสงค์สําคัญคือ
.....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
๓.๓ การนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงคือ
....................................................................................................................................................

๔. ๔.๑ ใครเป็นผู้ออกประกาศ
.............................................................................
.............................................................................
๔.๒ จุดประสงค์สําคัญคือ
.............................................................................
.............................................................................
๔.๓ คุณสมบัตพิ ิเศษของผู้สมัครตําแหน่งนี้คือ
.............................................................................
.............................................................................
๔.๔ นักเรียนคิดว่าประกาศนี้ควรจะระบุข้อมูล
สําคัญใดเพิ่มเติม
.............................................................................
........................................................................
.............................................................................

๑๖๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 161 7/17/18 10:27 AM


๑๖๑
 ท๕/ผ.๔-๐๘
ท ๕/ผ.๔-๐๘

๕.
ประกาศรับสมัครนักเรียนเข้าศึกษาต่อ กาหนดวันและเวลา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หลักสูตรปกติ ๑. นักเรียนในเขตพื้นที่บริการรับ ร้อยละ ๕๐ และ
คุณสมบัติ นักเรียนทั่วไปรับ ร้อยละ ๕๐ โดยคัดเลือกจากผล
๑. สําเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ตาม การสอบ ร้อยละ ๘๐ คะแนน O-NET ร้อยละ ๒๐
หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ หรือเทียบเท่า ๒. รับสมัครวันที่ ๑๔ - ๑๘ มีนาคม ๒๕๖....
หรือกําลังศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ปีการศึกษา ๒๕๖... หรือเทียบเท่า ๓. สอบคัดเลือก วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖.....
๒. ไม่จํากัดอายุ สอบเวลา ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น.
๓. เป็นโสด วิชาที่สอบ ไทย คณิต วิทย์ สังคม ภาษาอังกฤษ
๔. มีความประพฤติเรียบร้อย (วิชาภาษาไทยมีการสอบปฏิบัติทักษะการอ่าน)
เอกสารประกอบการรับสมัคร ๔. ประกาศผล วันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๖....
๑. สําเนาทะเบียนบ้าน ๑ ฉบับ (พร้อมฉบับจริง) ๕. รายงานตัว วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖....
๒. รูปถ่าย ๒ นิ้ว จํานวน ๒ รูป เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๓๐ น.
๓. สําเนา ปพ ๑ : ป พร้อมฉบับจริง ๖. มอบตัว วันที่ ๗ เมษายน ๒๕๖....
๔. หลักฐานแสดงผลการสอบ O-NET เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๓๐ น.

๑. นักเรียนคิดว่าตนเองเป็นผู้มีสิทธิ์ตามประกาศนี้หรือไม่ เพราะเหตุใด
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๒. หลักฐานใดบ้างที่ขาดไม่ได้ในการสมัคร
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๓. นักเรียนต้องเตรียมตัวอย่างไรก่อนสอบ
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
๔. ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาต่อชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินอย่างไร
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

๑๖๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 162 7/17/18 10:27 AM


๑๖๒
 ท๕/ผ.๔-๐๘
ท ๕/ผ.๔-๐๘

คาชี้แจง ตอนที่ ๒ อ่านประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา เรือ่ ง พายุมังคุด แล้วตอบคําถาม ( ๑๐ คะแนน)

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
ประกาศกรมอุตุนิยมวิทยา
พายุ “มังคุด”

ฉบับที่ ๑ ลงวันที่ ๐๗ สิงหาคม ๒๕๕๖


เมื่อเวลา ๐๔.๐๐ น. วันนี้ (๗ ส.ค. ๕๖) พายุโซนร้อน “มังคุด” (MANGKHUT) ได้ทวีกาํ ลังแรงขึ้น
จากพายุดีเปรสชันบริเวณทะเลจีนใต้ตอนกลาง มีศูนย์กลางอยู่ห่างประมาณ ๕๕๐ กม. ทางทิศตะวันออก
เฉียงใต้ของกรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม หรือที่ละติจูด ๑๗.๐ องศาเหนือ ลองจิจูด ๑๐๙.๕ องศา
ตะวันออก มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ ๖๕ กม./ช.ม. พายุนี้กําลังเคลื่อนตัวทางทิศตะวันตก
เฉียงเหนือ ด้วยความเร็วประมาณ ๒๕ กม./ช.ม. มีแนวโน้มเคลื่อนขึ้นฝั่งบริเวณประเทศเวียดนามตอนบน
ในวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๖ นี้ ลักษณะเช่นนี้ทําให้ในช่วงวันที่ ๗-๙ สิงหาคม ๒๕๕๖ จะมีฝนตกหนัก
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณจังหวัดเลย หนองคาย บึงกาฬ อุดรธานี หนองบัวลําภู สกลนคร
นครพนม และมุกดาหาร ส่วนภาคเหนือ บริเวณจังหวัดเชียงราย พะเยา น่าน แพร่ อุตรดิตถ์ และ
เพชรบูรณ์ ขอให้ประชาชนระวังอันตรายจากสภาวะอากาศดังกล่าวไว้ดว้ ย

อนึ่ง มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลอันดามัน ประเทศไทย และอ่าวไทย มีกาํ ลังแรงขึ้น


ทําให้บริเวณด้านตะวันตกของภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ฝั่งตะวันตก ยังคงมีฝนตกหนักได้
บางแห่ง ขอให้ประชาชนบริเวณจังหวัดจันทบุรี ตราด ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล
ระวังอันตรายจากฝนตกหนัก ส่วนคลื่นลมในทะเลอันดามันและอ่าวไทยตอนบนสูงประมาณ ๒ เมตร
ขอให้ ชาวเรือเพิ่มความระมัดระวังในการเดินเรือในระยะนี้ไว้ดว้ ย

ประกาศ ณ วันที่ ๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เวลา ๐๕.๐๐ น.

(ลงชื่อ) วรพัฒน์ ทิวถนอม

(นายวรพัฒน์ ทิวถนอม)

อธิบดีกรมอุตุนิยมวิทยา

๑๖๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 163 7/17/18 10:27 AM


๑๖๓
ท ๕/ผ.๔-๐๘
 ท๕/ผ.๔-๐๘

ตอบคาถามจากการอ่านประกาศ

๑. หน่วยงานที่ออกประกาศคือหน่วยงาน
ใด
.........................................................................................................................................
.
๒. เรื่องที่ออกประกาศคือเรื่องใด
...............................................
.........................................................................................................................................

๓. ทําไมต้องออกประกาศ

.........................................................................................................................................

๔. ผู้ได้รับผลกระทบตามข้
คือ อความในประกาศ

.........................................................................................................................................

๕. เงื่อนไขและขั้นตอนการปฏิบัติคืออยางไร

........................................................................................................................................

๖. ประกาศนี้น่าเชื่อถือหรือไม่ เพราะเหตุใด

.........................................................................................................................................
........................................................................................................................................

๑๖๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 164 7/17/18 10:27 AM


๑๖๔

 ท๕/ผ.๔-๐๘
ท ๕/ผ.๔-๐๘

คาชี้แจง ตอนที่ ๓ เลือกหัวข้อเรื่องตามความสนใจแล้วเขียนประกาศ ๑ ฉบับ

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
โดยออกแบบและเขียนรายละเอียดให้ชัดเจน (๒๐ คะแนน)
 ประกาศหาเสียงเลือกตั้งประธานสภานักเรียน
 เชิญชวนรณรงค์ป้องกันภัยไข้เลือดออก / โรคมือเท้าปาก หรือสิ่งเสพติด

____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________
____________________________________________________________________________

๑๖๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 165 7/17/18 10:27 AM


๑๖๕
 ท ๕/ผ.๔
ท๕/ผ.๔

แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ วรรณกรรมคาสอน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
.........................................................................................................................................................................
คาชี้แจง ตอบคําถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. อธิบายคําสอนที่กาํ หนดให้
“จงเตืออนตนด
“จงเตื นตนด้ววยตนเอง”
ยตนเอง” หมายความว่า..............................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๒. “จะนุ “จะน่งหุ่งหมมพอสมศั
พอสมศักกดิดิ์ส์สงวนงวน ให้สมควรรั
ใหสมควรรั บพักบตร์พัตกตร
ามศัตามศั
กดิ์ศกรีดิ์ศรี
จะแตงหน
จะแต่ หน้าทาแป
ทาแป้งงแต แต่งงอิอินนทรีทรียย ์ ดูฉวีผดูิวฉเนื
วีผ้อิวอย่
เนื้อาเหลื
อยาอเหลืเกินอ”เกิน”
คําประพันธ์นี้ต้องการสอนอะไร .............................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ เพราะอะไร ....................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๓. แต่งประโยค โดยให้มีคําอุทานในประโยคด้วย
๓.๑ ........................................................................................................................................................
๓.๒ ........................................................................................................................................................
๓.๓ ........................................................................................................................................................
๔. จัดกลุ่มคําที่กําหนดให้ ให้ถูกต้อง

เพื่อนๆ แม่น้ํา ใกล้ๆ ช่างไฟฟ้า เรือกสวน นักการเมือง


พ่อครัว บ้านเรือน ลูกๆ หลานๆ ทรัพย์สิน เช้าค่าํ ลมๆ แล้งๆ

คาซ้า คาซ้อน คาประสม

๑๖๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 166 7/17/18 10:27 AM


๑๖๖

 ท ท๕/ผ.๔
๕/ผ.๔

๕. เลือกคําที่นักเรียนชอบในข้อ ๔ แล้วแต่งประโยค

หนวยการเรียนรูที่ ๕ วรรณกรรมคําสอน
ประโยคคําสั่ง ..................................................................................................................................
ประโยคขอร้อง ..................................................................................................................................
ประโยคคําถาม ..................................................................................................................................
๖. อ่านประกาศตอไปนี่ ้ แล้วตอบคําถาม

ประกาศรับสมัครนักเรียนเข้าศึกษาต่อ กาหนดวันและเวลา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หลักสูตรปกติ ๑. นักเรียนในเขตพื้นที่บริการรับ ร้อยละ ๕๐ และ
คุณสมบัติ นักเรียนทั่วไปรับ ร้อยละ ๕๐ โดยคัดเลือกจากผล
๑. สําเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ตาม การสอบ ร้อยละ ๘๐ คะแนน O-NET ร้อยละ ๒๐
หลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ หรือเทียบเท่า ๒. รับสมัครวันที่ ๑๔ - ๑๘ มีนาคม ๒๕๖....
หรือกําลังศึกษาชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. ไม่เว้นวันหยุดราชการ
ปีการศึกษา ๒๕๖... หรือเทียบเท่า ๓. สอบคัดเลือก วันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๖....
๒. ไม่จํากัดอายุ สอบเวลา ๐๙.๐๐ - ๑๒.๐๐ น.
๓. เป็นโสด วิชาที่สอบ ไทย คณิต วิทย์ สังคม ภาษาอังกฤษ
๔. มีความประพฤติเรียบร้อย (วิชาภาษาไทยมีการสอบปฏิบัติทักษะการอ่าน)
เอกสารประกอบการรับสมัคร ๔. ประกาศผล วันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๖.....
๑. สําเนาทะเบียนบ้าน ๑ ฉบับ (พร้อมฉบับจริง) ๕. รายงานตัว วันที่ ๑ เมษายน ๒๕๖.....
๒. รูปถ่าย ๒ นิ้วจํานวน ๒ รูป เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๓๐ น.
๓. สําเนา ปพ ๑ : ป พร้อมฉบับจริง ๖. มอบตัว วันที่ ๗ เมษายน ๒๕๖.....
๔. หลักฐานแสดงผลการสอบ O-NET เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๓๐ น.

๖.๑ เรื่องที่ประกาศเกี่ยวกับเรื่องอะไร
...........................................................................................................................................................
๖.๒ ผู้ที่ประสงค์ยื่นใบสมัครตามประกาศดังกล่าว ต้องมีคุณสมบัตอิ ย่างไร
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
๖.๓ ผู้มีสิทธิ์เข้าศึกษาต่อชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ตามประกาศนี้ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินอย่างไร
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................

๑๖๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 167 7/17/18 10:27 AM


6102149L01e-�6 (��.).indd 168 7/17/18 10:27 AM

สรางสรรคงานเขียน

6102149L01e-�6 (��.).indd 169 7/17/18 10:28 AM


6102149L01e-�6 (��.).indd 170 7/17/18 10:28 AM
๑๖๙
 ท ๖/ผ.๑

 ท๖/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน
 แบบทดสอบก่อนเรียน

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ สร้างสรรค์งานเขียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

คาชี้แจง เขียนเครือ่ งหมาย × ทับอักษรหน้าคาตอบที่ถูกต้องที่สุด


๑. “ที่สนามหลวงมีคนเล่นว่าวปักเป้า และมีคนจับปลาปักเป้าได้ในคลองข้างบ้าน
ลุงรดน้าต้นไม้แทนที่จะขับรถไปเที่ยวนอกบ้าน ส่วนน้าไปซื้อยากาฬโรคที่เมืองกาญจน์”
จากข้อความข้างต้นคาใดเป็นคาพ้องรูป
ก. รถ ข. รด
ค. ปักเป้า ง. กาฬ กาญจน์
๒. คาคู่ใดคือคาพ้องรูป
ก. จอกแหน หวงแหน ข. พุด พุทธ
ค. รถ รส ง. ผึ้ง พึ่ง
๓. ข้อใดมีคาพ้องรูป
ก. ฉันรับประทานอาหารอยู่ริมธาร
ข. ต้นเสมาขึ้นอยู่บนยอดเสมา
ค. ยามวิกาลต้องคอยติดตามสถานการณ์บ้านเมือง
ง. นกเขาขันเสียงดังจึงถูกพระขรรค์แทง
๔. ประโยคต่อไปนี้มคี าพ้องรูปกี่คา
“คนแห่แหนมาที่บ่อน้าเพื่อมาดูจอกแหน ฉันเก็บดอกพุดไปบูชาพระในวันพุธ ส่วนอารี
มีความสุขเพราะรู้สึกว่าชีวิตมีความผาสุก”
ก. ๒ คา ข. ๓ คา
ค. ๔ คา ง. ๖ คา
๕. ข้อใดมีคาพ้องเสียง
ก. ฉันรับประทานอาหารอยู่ริมธาร
ข. ต้นเสมาขึ้นอยู่บนยอดเสมา
ค. คนแห่แหนมาที่บ่อน้าเพื่อมาดูจอกแหน
ง. ในเพลาเช้าฉันเห็นเพลารถหักลงมา

๑๗๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 171 7/17/18 10:28 AM


๑๗๐


ท ๖/ผ.๑
 ท๖/ผ.๑
๖. คาคู่ใดคือคาพ้องเสียง
ก. เขมา เขมา ข. เสมา เสมา
ค. ผึ้ง พึ่ง ง. จอกแหน หวงแหน
๗. ข้อใดเป็นประโยชน์ที่ได้รับจากการเขียนแผนภาพโครงเรื่อง
ก. ทาให้เรื่องมีรายละเอียดมากขึ้น
ข. จับใจความสาคัญของเรือ่ งได้
ค. สามารถแสดงความคิดเห็นได้
ง. ทาให้เนือ้ เรื่องมีความสมบูรณ์
๘. การเขียนเรียงความเรื่อง “ของดีที่บ้านฉัน” โครงเรื่องข้อใดที่จาเป็นน้อยที่สุด
ก. สถานที่ตั้ง
ข. การพัฒนาบ้านให้ทันสมัย
ค. สินค้าหัตถกรรมผลิตภัณฑ์ที่ร่วมกันผลิต
ง. วิถีชีวิตและความเป็นอยู่คนในท้องถิ่น
๙. ย่อหน้าแรกของเรียงความ เป็นส่วนใดของเรียงความ
ก. สรุป ข. เนือ้ เรือ่ ง
ค. ส่วนขยาย ง. คานา
๑๐. ข้อใดคือลักษณะของคานา
ก. คานามีความยาวหลายย่อหน้าได้
ข. คานาต้องขึ้นต้นคาคล้องจองเท่านัน้
ค. คานาต้องเร้าใจ ให้ติดตามอ่านเนื้อเรื่อง
ง. คานาจะกล่าวถึงสิ่งที่ไม่เกี่ยวกับเนื้อเรื่องก็ได้


ΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎ


๑๗๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 172 7/17/18 10:28 AM


๑๗๑


ท ๖/ผ.๑
 ท๖/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน
ใบความรู้
คาพ้อง

คาพ้อง หมายถึง คาที่มีลักษณะเหมือนกัน หรือซ้ากัน เช่น เขียนเหมือนกัน หรือ


ออกเสียงเหมือนกัน หรือเหมือนกันทั้งรูปและเสียง แต่มีความหมายต่างกัน ซึ่งจะพิจารณา
ตามเนื้อความของคาที่เกี่ยวข้องกับคาพ้อง หรือคาที่เขียนต่างกันแต่มีความหมายเหมือนกัน
คาพ้องรูป คือ คาที่เขียนเหมือนกัน ออกเสียงต่างกันและความหมายต่างกัน
การอ่านคาพ้องรูปให้ถูกต้องควรดูข้อความอื่นๆ ประกอบด้วยว่าคาพ้องรูปนั้นหมายถึงอะไร
เเล้วจึงอ่านให้ถูกต้อง
ตัวอย่าง ในเพลานี้ฉันว่าควรจะเพลาๆ เรื่องการทะเลาะกันได้แล้วประเทศชาติจะได้
สงบสุขเสียที
เพลา อ่านว่า เพ-ลา หมายถึง กาล , คราว
เพลา อ่านว่า เพลา หมายถึง เบาลง
ปักเป้า อ่านว่า ปัก-กะ-เป้า หมายถึง ชื่อปลาชนิดหนึ่ง
ปักเป้า อ่านว่า ปัก-เป้า หมายถึง ชื่อว่าวชนิดหนึ่ง
สมาธิ อ่านว่า สะ-มา-ทิ หมายถึง การสารวมใจให้เเน่วเเน่
สมาธิ อ่านว่า สะ-หมาด หมายถึง ทานั่งขัดสมาธิ
สระ อ่านว่า สะ หมายถึง แอ่งน้าขนาดใหญ่
สระ อ่านว่า สะ-หระ หมายถึง อักษรเเทนเสียงสระ
ปรับปรั
ปรุบงมาจาก
ปรุงจากwww.sahavicha.com
ww.sahavicha.com 

เพลงคาพ้องรูป
 คาร้อง ปิตนิ ันธ์ สุทธสาร ทานองเพลง ชวา
คาพ้องรูป เขียนรูปเหมือนกัน ความหมายมัน ผันเปลี่ยนเพี้ยนไป
มีหลายคา สาเนียงเสียงใด อ่านแล้วไม่เหมือนกัน ขันดี
เพลารถยนต์ พักเพลาเย็น เสลา เป็น เสลา ทันที
สระบัวใช่ สระอา สระอี จอกแหน มี แหน มาเร็วไว
ลา ลา ลา………..(ซ้า ๔ ครั้ง)

๑๗๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 173 7/17/18 10:28 AM


๑๗๒


ท ๖/ผ.๑
 ท๖/ผ.๑

ตัวอย่าง คาพ้องรูป

กระบวนหนึง่ ตัวเขียนไม่เปลีย่ นแปลก แต่อ่านแยกสองความตามวิถี


วัดเขมาโกศเขมาเพลาก็มี แต่ที่นี้ไปถึงป่าเพลาเย็น
ที่ริมเชิงเสลาภูผาใหญ่ ล้วนกอไผ่ลาสล้างเสลาเห็น
หัดโบกปูนใบเสมากว่าจะเป็น หน้าโฮเต็ลปลูกเสมาดูเพราตา
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูล)

ความหมายของคาพ้องรูป

เขมา อ่านว่า (เข-มา) หมายถึง เกษม ความสบายใจ ความพ้นภัย


เขมา อ่านว่า ขะ-เหมา หมายถึง ดา
เพลา อ่านว่า เพ-ลา หมายถึง กาล , คราว
เพลา อ่านว่า เพลา หมายถึง เบาลง
เสลา อ่านว่า เส-ลา หมายถึง ภูเขา
เสลา อ่านว่า สะ-เหลา หมายถึง สวยงาม
เสมา อ่านว่า เส-มา หมายถึง สีมา เครือ่ งหมายบอกเขตโบสถ์
เสมา สะ-เหมา หมายถึง หญ้า
ปรับปรุงมาจาก www.sahavicha.com

๑๗๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 174 7/17/18 10:28 AM


๑๗๓


ท ๖/ผ.๑-๐๑
ท๖/ผ.๑–๐๑


หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน
ใบงานที่ ๐๑

เรียนรู้คาพ้องรูป


คาชี้แจง เขียนคาอ่านของคาพ้องรูปต่อไปนี้ลงในวงเล็บ
๑. การแข่งขันว่าวระหว่างว่าวจุฬากับปักเป้า (…………………………..)
ปลาปักเป้า (…………………………..) เป็นปลาที่มีพิษ
๒. คนแขม (………………….) ปลูกต้น แขม (………………………) ไว้ หลายต้น
๓. อาวุธของกุ้ง คือ กรี (.................) อาวุธของกรี (...............................) คืองา
๔. คุ ณ แม่ รักและหวงแหน (...........................) ลูกสาวคนนี้มาก
คุณพ่อช้อนแหน (...........................) มาให้เป็ดกิน
๕. เพลา (......................) รถของลุงหัก
เพลา (........................) นี้มี ข้ าศึกมาประชิดเมืองแล้ว
๖. ต้นเสมา (.......................) ทีอ่ ยู่ ข้างโบสถ์สูงเกือบเท่าใบเสมา (........................) แล้ว
๗. น้องสระ (...........) ผมเสร็จแล้ว ก็มาฝึกอ่า นคาทีม่ ีสระ (............................) ไอ
๘. พี่นั่งขัดสมาธิ (.........................) เพื่อทาสมาธิ (...............................) อยู่ที่ห้ องพระ
๙. น้องๆ ทบทวนเรือ่ งสระ (....................) ต่ างๆ อยู่ที่ริมสระ (....................) ข้า งบ้ าน
๑๐. กาก (.....................................) ชอบกินกาก (.............................) ส้ม

๑๗๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 175 7/17/18 10:28 AM


๑๗๔


ท ๖/ผ.๑-๐๒
 ท๖/ผ.๑–๐๒

ใบงานที่ ๐๒
ค้นหาความหมายคาพ้องรูป

คาชี้แจง หาคาพ้องรูปที่นักเรียนสนใจ ๑๐ คา พร้อมทั้งบอกความหมาย

๑……………………..….. ความหมาย .......................................................................

๒……………….….…….. ความหมาย .......................................................................

๓…………………..…….. ความหมาย .......................................................................

๔………............…….... ความหมาย .......................................................................

๕………........…....…… ความหมาย .......................................................................

๖…………......……....… ความหมาย .......................................................................

๗…………….……...…… ความหมาย .......................................................................

๘……………....………… ความหมาย .......................................................................

๙……………....………… ความหมาย .......................................................................

๑๐………………...……. ความหมาย .......................................................................

๑๗๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 176 7/17/18 10:28 AM


๑๗๕

ท ๖/ผ.๑-๐๓
 ท๖/ผ.๑–๐๓

หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน
ใบงานที่ ๐๓
เรียนรู้คาอ่านและความหมาย

คาชี้แจง อ่านประโยคที่กาหนดให้ แล้วสังเกตคาพ้องรูป พร้อมทั้งเขียนคาอ่าน


และความหมาย
๑. ชาวนาพาโคลงเรือ เรือจึงโคลง
โคลง (๑) อ่านว่า ........................... ความหมาย .....................................................
โคลง (๒) อ่านว่า .......................... ความหมาย ......................................................
๒. จอกแหนในสระนีเ้ ขาหวงแหนจริงๆ
แหน (๑) อ่านว่า ........................... ความหมาย .....................................................
แหน (๒) อ่านว่า ........................... ความหมาย .....................................................
๓. เดินทางเพลาค่า ใจชอกช้าเพลารถหัก
เพลา (๑) อ่านว่า ........................... ความหมาย .....................................................
เพลา (๒) อ่านว่า ........................... ความหมาย .....................................................
๔. กาแพงใหญ่ใบเสมาไม่น่าเก่า มีเสมาขึ้นอยู่ดูไม่งาม
เสมา (๑) อ่านว่า ........................... ความหมาย .....................................................
เสมา (๒) อ่านว่า ........................... ความหมาย .....................................................
๕. แนวป่านี้มีเสลาน่าดูนัก เหมือนสลักเสลาไว้ให้คนเห็น
เสลา (๑) อ่านว่า ........................... ความหมาย .....................................................
เสลา (๒) อ่านว่า ........................... ความหมาย .....................................................

๑๗๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 177 7/17/18 10:28 AM


๑๗๖


ท ๖/ผ.๒
 ท๖/ผ.๒

 ใบความรู้
 คาพ้องเสียง


คาพ้องเสียง คือ คาที่ออกเสียงเหมือนกัน แต่เขียนต่างกันและความหมายก็ต่างกันด้วย


ตัวอย่าง เขาเอาน้าที่ใช้ล้างรถไปรดต้นไม้
รถ อ่านว่า รด หมายถึง ยานพาหนะ
รด อ่านว่า รด หมายถึง เท ราด หรือสาดน้า
เขี้ยวงู อ่านว่า เขี้ยว หมายถึง ฟันแหลมคมสาหรับฉีกเนื้อและอาหาร
เคี่ยวน้าแกง อ่านว่า เขี้ยว หมายถึง ต้มให้เดือดนาน ๆ เพื่อให้งวด ข้น
ซ่อมเเซม อ่านว่า ส้อม หมายถึง ทาสิ่งที่ชารุดให้คืนดี
ช้อนส้อม อ่านว่า ส้อม หมายถึง เครื่องใช้จิ้มอาหารการกิน
คุณค่า อ่านว่า ข้า หมายถึง คุณประโยชน์
ถูกฆ่า อ่านว่า ข้า หมายถึง ทาให้ตาย
ข้าทาส อ่านว่า ข้า หมายถึง คนรับใช้
สัตว์เลี้ยง อ่านว่า สัด หมายถึง สิ่งมีชีวิตซึ่งแตกต่างไปจากพรรณไม้
ซื่อสัตย์ อ่านว่า สัด หมายถึง ความจริง
กรรณ อ่านว่า กัน หมายถึง หู
กัณฐ์ อ่านว่า กัน หมายถึง คอ
กัน อ่านว่า กัน หมายถึง ตัด, โกน
ควาน อ่านว่า ควาน หมายถึง เอามือค้นหาของ
ควาญ อ่านว่า ควาน หมายถึง ผู้เลี้ยงและขี่ช้าง
สี อ่านว่า สี หมายถึง สิ่งที่ทาให้เป็นสีต่าง ๆ
ศรี อ่านว่า สี หมายถึง สิริมงคล

ปรับปรุงมาจาก www.sahavicha.com

๑๗๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 178 7/17/18 10:28 AM


๑๗๗


 ท๖/ผ.๒
ท ๖/ผ.๒


หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน

เพลงคาพ้องเสียง


คาร้อง : ปิตินันธ์ สุทธสาร ทานอง : พม่าแทงกบ


 เล เล เล เล เล เล เล เล (ซ้า)

สุขสันต์ สร้างสรรค์ เลือกสรร นั่นหนา
ออกเสียง สัน ทุกคา

เล เล เล เล เล เล เล เล (ซ้า)
 แต่ต่างความหมาย รูปร่างก็ต่างกัน
 ที่เปล่งเสียงมานั้น ช่างเหมือนกันนะเธอ

เรียกคาพ้องเสียง เพราะเป็นเสียงเดียวกัน (ซ้า)
เด็กเด็กนั้นใช้กันระวังเอย (ซ้า)



ตัวอย่างบทร้อยกรอง คาพ้องเสียง


ตัวอย่างบทร้อยกรอง “คาพ้องเสียง”
เมื่อคืนเข้าเวรดึก ใจจาตรึกลาดตระเวน
มืดค่าทั่วบริเวณ ที่สามเสนถูกเวนคืน
เดินดูหาลาดเลา บนทางเท้าเมื่อวานซืน
พบปะคนยิ้มชื่น หน้าระรื่นกินราดหน้า

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

๑๗๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 179 7/17/18 10:28 AM


๑๗๘


ท ๖/ผ.๒
 ท๖/ผ.๒

ตัวอย่างและความหมายของคาพ้องเสียง

กฎ หมายถึง ข้อกาหนด เช่น กฎของลูกเสือสามัญมี ๓ ข้อ


กด หมายถึง  บังคับลง, ข่ม เช่น เขาเอามือกดหัวฉันไว้
กรรณ หมายถึง  หู เช่น พระกรรณ หมายถึง หู
กัณฐ์ หมายถึง  คอ เช่น ทศกัณฐ์ มี ๑๐ คอ
กัน หมายถึง  กั้น, ห้าม, โกนให้เสมอกัน เช่น ช่างตัดผมกาลังกันผม
กัลป์ หมายถึง  ระยะเวลานานมาก เช่น จงรักกันชั่วกัปชั่วกัลป์
การ หมายถึง  งาน, สิ่งหรือเรื่องที่ทาขึ้น เช่น เวลาทาการของบริษัท
เริ่มตั้งแต่ ๘.๐๐ น.
การณ์ หมายถึง  เหตุ, เค้า, มูล เช่น วันนี้เกิดเหตุการณ์ที่น่าตื่นเต้นขึ้น
กาล หมายถึง  กาลเวลามีค่า เราจึงต้องตรงต่อเวลา
กาฬ หมายถึง  ดา เช่น เขาเป็นไข้กาฬ
กาน หมายถึง  ตัดเพื่อให้แตกใหม่ เช่น พ่อกานต้นมะม่วงในสวน
กานต์ หมายถึง  เป็นที่รัก เช่น จันทรกานต์ แปลว่าเป็นที่รกั ของพระจันทร์
กานท์ หมายถึง  บทกลอน เช่น นักเรียนควรหัดแต่งกลอนกานท์เข้าไว้บ้าง
กา หมายถึง  งอนิ้วมือทั้ง ๔ ให้จดอุ้งมือ
กา หมายถึง  ซี่ล้อรถหรือเกวียน
กาม หมายถึง  เป็นคาโบราณที่หมายถึง ไข้เจ็บหมอตั้งกาไว้ , ท่านว่าเป็น
กามของเขาเอง
กรรม หมายถึง  การกระทา

ปรับปรุงมาจาก www.sahavicha.com

๑๘๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 180 7/17/18 10:28 AM


๑๗๙


 ท๖/ผ.๒–๐๔
ท ๖/ผ.๒-๐๔

หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน
ใบงานที่ ๐๔
ค้นหาความหมายคาพ้องเสียง

คาชี้แจง หาคาพ้องเสียงที่นักเรียนสนใจ ๑๐ คา พร้อมทั้งบอกความหมาย

๑………………………ความหมาย ………………………………………………………………………………..

๒………………………ความหมาย ………………………………………………………………………………..

๓…………..………… ความหมาย ………………………………………………………………………………..

๔………………………ความหมาย ………………………………………………………………………………..

๕………………..…… ความหมาย ………………………………………………………………………………..

๖………………………ความหมาย ………………………………………………………………………………..

๗………………………ความหมาย ………………………………………………………………………………..

๘………….…………..ความหมาย ………………………………………………………………………………..

๙…………………..… ความหมาย ………………………………………………………………………………..

๑๐………..………….ความหมาย ……………………...………………………………………………………..

๑๘๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 181 7/17/18 10:28 AM


๑๘๐


ท ๖/ผ.๒-๐๕
ท๖/ผ.๒–๐๕



ใบงานที่ ๐๕
เรียนรู้คาพ้องเสียง

คาชี้แจง เติมคาพ้องเสียง (คาที่ขีดเส้นใต้) ให้ถูกต้อง


๑. ทาทาน ลา................. ต้าน......................
๒. ขันน้า เขต................ พระ......................
๓. ผูกพัน ประชาสัม............ เผ่า………………….
๔. เก่งกาจ อา…………………. โอ……………..……
๕. สงสาร มหา…………….. จัก…………..…….
๖. กานพลู ประสบ………….. เทศ.....................
๗. สีสัน จัด………………. สร้าง..................
๘. วันศุกร์ ความ................. ผา......................
๙. นักฆ่า .............ทาส คุณ...................
๑๐. สะพานพุทธ ดอก............. วัน......................

๑๘๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 182 7/17/18 10:28 AM


๑๘๑


ท ๖/ผ.๒-๐๖
 ท๖/ผ.๒–๐๖


หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน
 ใบงานที่ ๐๖
การใช้คาพ้องเสียง

คาชี้แจง เติมคาพ้องเสียง โดยใช้คาจากคาอ่านในวงเล็บ
๑. ณเดชไปทาบุญวัน.......................เขาจึงไม่ถูก …….............………. น้า (สาด)
๒. เด็ก ๆ ชาวเวียง......................จะเปิดเรียนวันแรกในวัน........................... (จัน)
๓. น้อย...................หาของที่หล่นในน้า ขณะที่ …........... ช้างกาลังพาช้างอาบน้า (ควาน)
๔. พระสงฆ์ออกบิณฑ................ทุกเช้า พวกเราชาวพุทธพากันมาใส่ .................. (บาด)
๕. เธอไม่ได้.......................ผ่อนเพราะคุยกับ ……...............พวกจนดึกดื่น (พัก)
๖. ................วัดน้าเสีย ทาให้ไตร................ที่แล้วบ้านฉันไม่ได้เสียค่าน้า (มาด)
๗. สุเมธเป็น …..........…………ทีไ่ ม่ชอบรับของ.............................จากใคร (กา-นัน)
๘. นางสาวไทยว่ามีผิว...................ดี และเธอยังมีความสัม.................. ที่ดีกับทุกคน (พัน)
๙. คนที่ยึดถือความ..........……. ย่อมต่างจาก...............…นานาชนิด (สัด)
๑๐. หมอก้อง...................ใจว่า อรปรียาคู่......................ของเขาเป็นคนดี (มั่น)




๑๘๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 183 7/17/18 10:28 AM


๑๘๒


 ทท๖/ผ.๓
๖/ผ.๓


ใบความรู้
การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง

การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง
เป็นการเขียนที่แสดงให้เห็นโครงเรือ่ งโดยรวมทั้งเรื่อง ทาให้จับใจความสาคัญของ
เรื่องที่อ่านได้ดียิ่งขึ้น การเขียนแผนภาพโครงเรือ่ ง ต้องอาศัยการตั้งคาถามและ
ตอบคาถามจากเรื่องที่อ่านว่าตัวละครในเรือ่ งมีใครบ้าง สถานที่เกิดเหตุการณ์คือที่ไหน
มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้น ผลของเหตุการณ์นนั้ คืออะไร
ขั้นตอนการสร้างแผนภาพโครงเรื่อง
๑. กาหนดชื่อเรื่อง หรือความคิดรวบยอด
๒. ระดมสมองคิดถึงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับชื่อเรื่อง หรือความคิดรวบยอดสาคัญนั้น
แล้วจดบันทึกไว้เป็นคาหรือกลุ่มคาสั้นๆ
๓. นาคาหรือกลุ่มคาที่จดบันทึกไว้ซึ่งมีความสัมพันธ์กันมาจัดกลุ่ม ตั้งชื่อกลุ่มคา
เป็นหัวข้อย่อย แล้วเรียงลาดับกลุ่มคาตามความสาคัญ
๔. เลือกรูปแบบแผนภาพความคิด ให้เหมาะสมกับการนาไปใช้ประโยชน์และเนื้อหา
ของเรื่อง

ปรับปรุงมาจาก http://dlit.ac.th

๑๘๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 184 7/17/18 10:28 AM


๑๘๓

ท ๖/ผ.๓
 ท๖/ผ.๓
ตัวอย่าง การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง

หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน
นิทานเรื่องหมากับเงา
หมาตัวหนึ่งขี้ขโมยโดยเชื้อชาติ เข้าตลาดลักเนื้อวัววิ่งถลา
ข้ามสะพานแลลงในคงคา เกิดแก่ตาตนเห็นเป็นเงาโต
ก้อนเนื้อในน้านั้นดูยิ่งใหญ่ จึงสู้ทิ้งชิ้นที่คาบด้วยยโส
หมายจะแย่งชิ้นใหญ่จากหมาโซ ด้วยความโง่จึงทิ้งก้อนเนือ้ ลง
ในน้าแล้วเนื้อเงาก็หายไป จมน้าใสทั้งสองสิ่งประสงค์
คือของตัวและที่หวังตั้งจานง ทาลายลงเพราะโลภหลงงมงาย
ปรับปรุงจาก http://dlit.ac.th

แผนภาพโครงเรื่องของนิทาน : เรื่อง หมากับเงา

ตัวละครในเรื่อง : หมาตัวหนึ่ง
สถานที่ : บนสะพานข้ามแม่น้า
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น : หมาขี้ขโมยตัวหนึ่งลักเนื้อวัวแล้ววิ่งข้ามสะพานเห็นเงาของเนื้อในน้า
ก้อนใหญ่กว่าชิ้นที่มันคาบอยู่จึงทิ้งเนื้อทีม่ ันคาบไว้ในปากลงไปในน้า

ผลของเหตุการณ์ : เนื้อชิ้นที่หมาคาบมาจมหายไปในแม่น้าและเงาของเนื้อก็จมหายไป
ข้อคิดเห็น/ข้อสรุป : โลภนัก มักลาภหาย

แผนภาพโครงเรือ่ ง นิทานอีสป

๑๘๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 185 7/17/18 10:28 AM


๑๘๔


ท ๖/ผ.๓-๐๗
 ท๖/ผ.๓–๐๗


ใบงานที่ ๐๗

เขียนแผนภาพโครงเรื่อง


คาชี้แจง อ่านนิทานส่งเสริมคุณธรรม เรื่องบัวลอยจอมโอ้อวดแล้วเขียนแผนภาพโครงเรื่อง





 เรื่อง บัวลอยจอมโอ้อวด



ทุ่งหญ้าเขียวขจีสีสดใส สัตว์น้อยใหญ่สาราญเบิกบานเหลือ
 ต่างช่วยกันแบ่งปันและจุนเจือ คอยเอือ้ เฟื้อสามัคคีดีต่อกัน
 เจ้าบัวลอยวัวน้อยจอมโอ้อวด วิ่งเร็วรวดชอบคุยโม้ไม่ขยัน

 รูปร่างดี สีลายขาว แดงเป็นมัน แต่ดื้อรั้นเกินกว่าจะพาที
 ผีเสื้อสวยบินรอบสวนดอกไม้ แสนชื่นใจรื่นรมย์เป็นสุขศรี


เจ้าบัวลอยผ่านมาไม่รอรี กล่าวย่ายีผีเสื้อจนเหลือทน
 ลวดลายเจ้าไม่เห็นสวยอย่างใครว่า ซ้าบินช้าอ่อนแรงไม่ฝึกฝน


ฝุายผีเสื้อน้อยใจและกังวล จิตสับสนเราไม่สวยหรืออย่างไร
 บัวลอยเดินต่อไปไม่ยั้งหยุด ในที่สุดเจอกระต่ายทนไม่ไหว
 ร้องบอกว่าเจ้าขาสั้นไม่เกรงใจ ร่างกายไซร้ไร้เรี่ยวแรงอย่าแข่งเรา

 กระต่ายโกรธบัวลอยเจ้าถ่อยนัก ไม่รู้จักเกรงใจและโง่เขลา
 วันหนึ่งเถิดจะไร้เพื่อนคอยบรรเทา ถ้ามัวเอาแต่เหยียดหยามขาดน้าใจ


เจ้าบัวลอยไม่ฟังคาเจ้ากระต่าย ยังปากร้ายเทีย่ วติเตียนด้วยหลงใหล
 ชื่นชมตัวว่าเยีย่ มเหนือกว่าใคร สัตว์ทั้งหลายแม้กบปูไม่สู้ตน

วันต่อมาสัตว์หลายตัวร่วมประชุม โดยรวมกลุ่มพูดคุยอย่างสับสน
 หาหนทางดัดนิสัยไม่วกวน จะฝึกฝนบัวลอยค่อยเป็นไป


๑๘๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 186 7/17/18 10:28 AM


๑๘๕


 ท๖/ผ.๓–๐๗
ท ๖/ผ.๓-๐๗



หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน


 ณ ทุ่งหญ้าแห่งเดิมที่เคยสุข ความสนุกวันนี้เหงาเป็นไฉน

ผ่านพวกพ้องหันหลังหนีเพราะเหตุใด ไม่ทักทายอย่างเคยเฉยเมยจัง
บัวลอยคิดเราทาผิดหรือไฉน ใจหวั่นไหวนึกทบทวนแต่หนหลัง

เคยกล่าวคาเหยียดหยามจนเซซัง ไม่เคยยั้งพูดพล่ามตามใจตน

ในที่สุดบัวลอยสานึกผิด เหตุได้คิดการไร้เพื่อนแสนสับสน

จึงขอโทษผีเสื้อน้อยอย่างร้อนรน ทุกทุกคนอภัยให้ใจรื่นรมย์
 บัวลอยรู้ว่าการพูดโอ้อวด มันเจ็บปวดจากหลงตัวมัวทับถม
 การอ่อนน้อมถ่อมตนคนชื่นชม จะสุขสมเพราะวาจาพาชื่นใจ



โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี


๑๘๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 187 7/17/18 10:28 AM


๑๘๖


 ทท๖/ผ.๓–๐๗
๖/ผ.๓-๐๗

 ใบงานที่ ๐๗
เขียนแผนภาพโครงเรื่อง


บัวลอยจอมโอ้อวด
ตัวละคร
...............................................................................................................................
สถานที่
……………………………………………………………………......………………………………………
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
…………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
ข้อคิดที่ได้
……………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………

๑๘๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 188 7/17/18 10:28 AM


๑๘๗

ท ๖/ผ.๓-๐๗
 ท๖/ผ.๓–๐๘

หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน

 ใบงานที่ ๐๘
เขียนแผนภาพความคิด

คาชี้แจง อ่านนิทาน เรื่องเจ้าชายกับตะเกียบจีน แล้วนาข้อคิดที่ได้ไปเขียน


แผนภาพความคิดจากนิทาน
ครัครั้ง้งหนึ
หนึ่ง่งนานมาแล้
นานมาแลววมีพมีพระเจ้ ระเจาแผ่ าแผนดินนดิจีนนจีอยู
นอยูอ่ งค์องคหนึห่งนึ่งบอกให้
บอกให โอรสเดิ
โอรสเดินทางไปเรี
นทางไปเรี ยนยกันกับอาจารย์
บอาจารย
ทีมี่มชีชื่อื่อเสีเสียยง ง ศึศึกกษาวิ
ษาวิชชาการเพื
าการเพื่อ่อเตรี เตรียยมตัมตัวเป็ วเปนพระเจ้
นพระเจาแผ่ าแผ นดินนดิต่นอตจากตน
อจากตนโดยให้ โดยให เด็เกด็รักบรัใช้บใช
ตดิ ตตามไปด้
ิดตามไปด วยวย
หนึ
หนึ่ง่งคนชื คนชื่อ่อนายหย่
นายหยววนน เมืเมื่อไปอยู ่อไปอยูท่ที่สําี่สนัานักของอาจารย
กของอาจารย์พระโอรสก็ พระโอรส มพระโอรสก็ ีความตั้งใจมีคและทีวามตั่ท้งใจรงสนพระทั
และที่ทรงยเปน
พิเพระทั
ศษคือยวิเป็ชายิ นพิงเธนู
ศษคืสามารถยิ
อวิชายิงธนู งไดสามารถยิ
รวดเร็วและแม งได้รวดเร็
นยํา วนายหยและแม่วนนติ ยาดนายหย่ ตามรับวใชนติพดระโอรสด
ตามรับใช้วยความซื พระโอรส่อสัตย
ความซื่อสัตย์จงรักภักดี เขาเป็นคนที่มีความกระตือรือร้นอยากเรียนวิชา แต่อาจารย์ไม่สอนให้
จงรักภักดี เขาเปนคนที่มีความกระตือรือรนอยากเรียนวิชา แตอาจารยไมสอนใหเขามีหนาที่หุงอาหาร
หน้าที่หุงอาหารและทาความสะอาดที่พกั ให้อาจารย์และพระโอรส เขาไม่รู้จะทาอะไร จึงหาไม้มาทา
และทําความสะอาดที่พักใหอาจารยและพระโอรส เขาไมรูจะทําอะไร จึงหาไมมาทําเปนตะเกียบ
เป็นตะเกียบหยิบข้าวทีละเม็ด ใส่หม้อหุงข้าวตอนแรกก็คีบได้ช้า เพราะไม่ชานาญ ต่อมาเขาก็พยายาม
ใช้หยิตะเกี
บขายวที ละเม็
บหยิ บข้ดาวใส่ ใสหหม้มออไปเรื
หุงขา่อวย ตอนแรกก็
ๆจนมีความช คีบานาญท
ไดชา เพราะไม
าได้รวดเร็ชําวนาญ ตอมาเขาก็
ขึ้น นายหย่ วนมีคพวามสุ ยายามใชข ตะเกียบ
กัหยิ บขาวใส
บการใช้ ตะเกี หมยอบคี ไปเรื
บสิ่อ่งยของอื
ๆ จนมี ่นๆ คเรืวามชํ
่อยไปาแม้ นาญทํกระทั าได่งใบไม้
รวดเร็ที่ปวขึลิ้นวหลุนายหย ดจากต้วนนมีก็สคามารถใช้
วามสุขกัตบะเกี การใช
ยบคีตบะเกี
ได้ยทบัน
คีบสิ่งของอื ่นๆ เรื่อยไปยแม
เมื่อพระโอรสเรี นวิกทระทั
ยาการจบ่งใบไมทก็ี่ปลลิาอาจารย์
วหลุดจากต กลับนมาหาพระราชบิ
ก็สามารถใชตะเกี ดายพระองค์
บคีบไดททันรงถามพระโอรส
ว่าเรียนอะไรมาบ้ เมื่อพระโอรสเรีาง พระโอรสก็ ยนวิทยาการจบ ทูลว่า ได้เล่ก็าลเรีาอาจารย กลับมาหาพระราชบิ
ยนวิชามากมายและมี ความสนใจพิ ดา พระองค
เศษในการยิทรงถามพระโอรส
งธนู
พระราชาก็
วาเรียนอะไรมาบ ดพี ระทัยาชืง่นพระโอรสก็
ชมในโอรสมาก ทูลวแล้ า วไดก็เหลันามาถามนายหย่
เรียนวิชามากมายและมี วนว่า เจ้าคได้วามสนใจพิ เล่าเรียนอะไรมาบ้ เศษในการยิ าง งธนู
หย่วนก็ทดูลีพว่าระทั
พระราชาก็ ไม่ได้ยเชืรี่นยนอะไรมาเลย
ชมในโอรสมาก พระราชาก็
แลวก็หกันริมาถามนายหย
ว้ มาก ตรัสว่า “วเจ้นวานีา่โง่เจมากมี าไดเโลอกาสอยู ่กับ
าเรียนอะไรมาบ าง
นายหยวนก็ทูลวาไมไดเรียนอะไรมาเลย พระราชาก็กริ้วมาก ตรัสวา “เจานี่โงมาก มีโอกาสอยูกับว่า
ๆ แล้ ว ไม่ ห าโอกาสศึ ก ษาเล่ า เรี ย นวิ ช าติ ด ตั ว มา จึ ง สั ง
่ ให้ ท หารเอาตั ว ไปฆ่ า นายหย่ ว น ก็ ท ล

จะตายแล้
อาจารยเกวงก็ขๆอตายด้ แลวไมวหยฝีาโอกาสศึมือโอรสกษาเล ที่ตนรัาเรีกมากยนวิชเพราะได้
าติดตัวมา เป็นจึคูง่ทสั่งุกใหข์คทู่ยหารเอาตั
ากกันมาตลอด วไปฆา นายหย และพระโอรสก็
วนก็ทูลวา
ได้มีโอกาสแสดงฝีมอื ยิงธนูให้พระองค์ได้ทอดพระเนตรด้วย” พระราชาก็ตกลงอนุญาตให้นายหย่วน
จะตายแลวก็ขอตายดวยฝมือโอรสที่ตนรักมาก เพราะไดเปนคูทุกขคูยากกันมาตลอด และพระโอรสก็
เลือกตายด้วยฝีมือของพระโอรส ทั้งสองก็ลงมาทีส่ นามหน้าพระที่นั่ง โอรสก็เข้ามาขออโหสิกรรม
ไดมีโอกาสแสดงฝ
นายหย่ วนก็ขอตะเกีมยือบยิงท่ธนู านก็ ใหปพระทานตะเกี
ระองคไดทยอดพระเนตรด บให้นายหย่วนมายื วย พระราชาก็ นที่เสาสาหรัตกลงอนุ
บประหาร ญาตใหนายหยวน
อีเลืกด้อากตายด
นหนึ่ง วยฝเมืม่อือโอรสยิ ของพระโอรส งธนูมาที่นทัายหย่ ้งสองก็ วน ลเขาก็
งมาทีเอาตะเกี
่สนามหน ยบจัาพระที บลูกธนู่นวั่งางได้โอรสก็ทเขาให้ ามาขออโหสิ
พระโอรสโมโห กรรม
นายหย
ธนูมาทีวนก็ ขอตะเกี
่นายหย่ วนทียบละท๓านก็ดอก ประทานตะเกี
เขาก็เอาตะเกี ยบใหยบจั นายหย
บทันทีวนมายื พระโอรสก็ นที่เสาสํ ยิงาอีหรั
กทีบเดีประหาร
ยว ๗ ดอกเขาก็ พระโอรสก็ จับอได้ยู
ทัอีนกหมดเช่
ดานหนึน่งกันเมืจนพระโอรสกริ
่อโอรสยิงธนูมาที ่นายหย
ว้ มาก เอาลูวกนธนูเขาก็
มาเป็เอาตะเกี
นเล่มเกวียบจั ยนแล้บลูกวยิธนูงอย่ วางได ทําใหวไปยั
างรวดเร็ พระโอรสโมโหยิ
งนายหย่วนดัง่ ธนู
สายฝน
มาทีน่ ายหย แต่วเขาก็
นทีลเะอาตะเกี
๓ ดอกยบคี เขาก็ บได้เอาตะเกี
ทันหมดจึ ยบจังไม่บทัตนายที พระโอรสก็
พระเจ้าแผ่ยงิ นอีดิกนทีเห็ เดีนยเช่
ว น๗นัดอก้นก็ทรงพอพระทั
เขาก็จบั ไดทยนั สัหมด่งให้
พระโอรสเลิ
เชนกัน จนพระโอรสกริ กยิง และทรงชมเชยว่ ้วมาก เอาลู าทัก้งสองคนมี
ธนูมาเปนคเล วามช
มเกวีานาญเป็ยน แลนวยิพิงเศษ จึงตั้งให้วนไปยั
อยางรวดเร็ ายหย่ วนเป็วนนดั
งนายหย นายอ าเภอ
่งสายฝน
ประชาชนก็
แตเขาก็เอาตะเกี โห่ร้องด้ยบคี วยความยิ
บไดทันนหมด ดี แสดงว่
จึงไมตาาย การพยายามท
พระเจาแผนาอะไรก็ ดินเห็นตเชามถึ นนัง้นจะไม่ มีผู้สอนแต่เยราสั่งพยายามฝึ
ก็ทรงพอพระทั ใหพระโอรส ก
และเอาชนะตนเองเรื
เลิกยิง และทรงชมเชยว ่อยๆาทัผลดี ก็จะอยูค่กวามชํ
ง้ สองคนมี ับตัวาเราเองโดยไม่
นาญเปนพิเศษ ต้องพึ จึง่งตัความช่
ง้ ใหนายหยวยเหลื อจากใคร
วนเป นนายอําเภอ ประชาชน
ก็โหรองดวยความยินดี แสดงวาการพยายามทําอะไรก็ตาม ถึงจะไมมีผูสอน แตเราพยายามฝกและ
เอาชนะตนเองเรื่อยๆ ผลดีก็จะอยูกับตัวเราเอง โดยไมตองพึ่งความชวยเหลือจากใคร นิทานชาดก
นิทานชาดก

๑๘๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 189 7/17/18 10:28 AM


๑๘๘


 ทท๖/ผ.๓–๐๘
๖/ผ.๓-๐๘


ใบงานที่ ๐๘
เขียนแผนภาพความคิด

...........................................................


..................................... ...............................................
 
 ข้อคิดที่ได้จากนิทาน

เรื่อง เจ้าชายกับตะเกียบจีน



....................................................................
……………………………………..……………………….




๑๙๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 190 7/17/18 10:29 AM


๑๘๙


 ทท๖/ผ.๓–๐๙
๖/ผ.๓-๐๙


หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน
ใบงานที่ ๐๙
ข้อคิดจากนิทานพัฒนางานเขียน

คาชี้แจง อ่านนิทาน เรื่อง สุนัขผู้ซอื่ สัตย์ แล้วเขียนแผนภาพโครงเรื่อง


สุนขั ผู้ซื่อสัตย์
บ้านหลังหนึ่งเลี้ยงสุนัขเอาไว้เฝูาบ้าน สุนัขตัวนัน้ ซื่อสัตย์มาก ในยามกลางคืน
ขณะที่มันนอนหลับ หากได้ยินเสียงผิดปกติมันก็จะลุกขึ้นมาเห่าเสมอ เพื่อเตือนภัย
แก่เจ้าของบ้าน คืนหนึ่งมันก็ได้ยินเสียงฝีเท้าคนย่าใบไม้ดังกรอบแกรบ แผ่วเบา
ที่ใกล้รั้วบ้าน
แม้จะไมเห็
่ นว่าเป็นใคร มันก็ส่งเสียงเห่าคารามขู่ไว้ก่อน เจ้าหัวขโมยจึงโยนเนื้อ
ชุบยาเบื่อชิ้นหนึ่งเข้ามาในรั้ว สุนัขเฝูาบ้านเดินเข้าไปดม ๆ แต่ก็ไม่กิน มันยังคงเห่าต่อไป
จนกระทั่งเจ้าของบ้านออกมาดู แล้วก็ช่วยกันจับขโมยได้ในที่สุด

นิทานอีสป



๑๙๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 191 7/17/18 10:29 AM


๑๙๐


ท ๖/ผ.๓-๐๙
 ท๖/ผ.๓–๐๙


 ใบงานที่ ๐๙
เขียนแผนภาพโครงเรื่อง


สุนัขผู้ซอื่ สัตย์
ตัวละคร
……………………………………………………………………………………………………………………….
สถานที่
……………………………………………………………………………………………………………………….
เหตุการณ์ที่ ๑
…………………………………………………………………………………………………………..………….
เหตุการณ์ที่ ๒
……………………………………………………………………………………………………………………….
เหตุการณ์ที่ ๓
……………………………………………………………………………………………………………………….
ผลของเหตุการณ์
……………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………….…………………………………………………………………











๑๙๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 192 7/17/18 10:29 AM


๑๙๑


ท ๖/ผ.๓-๑๐
 ท๖/ผ.๓–๑๐

หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน
ใบงานที่ ๑๐
ข้อคิดจากนิทานพัฒนางานเขียน

คาชี้แจง อ่านนิทานเรื่อง สุนัขผู้ซื่อสัตย์ แล้ววิเคราะห์นิทานโดยเขียนแผนภาพ


ของนิทาน ตามที่กาหนด

ใคร ………………….......…………………………………………………………………………………...……

ทำอะไร ………………….......…………………………………………………………………………..………

ที่ไหน ……………....…….......…………………………………………………………………………..………

เมื่อไหร่ ……………....…….......……………………………………………...………………………..………

อยางไร
่ ……………....…….......……………………………………………...………………………..………
……………....……......................……………………………………………...………………………..………
……………....……......................……………………………………………...………………………..………







๑๙๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 193 7/17/18 10:29 AM


๑๙๒


ท ๖/ผ.๓-๑๑
 ท๖/ผ.๓–๑๑

ใบงานที่ ๑๑
ข้อคิดจากนิทานพัฒนางานเขียน

คาชี้แจง อ่านนิทาน เรื่อง ขุมทรัพย์ในไร่องุ่น และเขียนข้อคิดที่ได้จากการอ่านนิทาน


ลงในแผนภาพความคิดที่กาหนดให้

ขุมทรัพย์ในไร่องุ่น
ที่ไร่องุ่นแห่งหนึง่ มีพ่อผู้สูงอายุกับลูกชายจอมขี้เกียจ ๓3 คนอาศัยอยู่ ต่อมาผู้เป็นพ่อ
ล้มปุวยลงและก่อนที่แกใกล้จะสิ้นลมหายใจ ได้เรียกลูกชายทั้ง ๓3 มาสั่งเสียว่า อย่าขายที่ดิน
เพราะพ่อได้ซ่อนขุมทรัพย์มหาศาลเอาไว้ ให้ขุดดินพรวนดิน ขุดหาให้ทั่วทุกตารางนิ้วของไร่
เมื่อพ่อได้สิ้นใจตายลงไปแล้ว ลูกชายทั้ง 3๓ ก็ลงมือและตั้งหน้าตั้งตาไถคราด
พรวนดิน พวกเขาไม่พบแม้แต่เศษเงินอย่างที่พ่อได้บอกไว้ หนึ่งปีผ่านไปไร่องุ่นที่พวกเขา
ตั้งหน้าตั้งตาขุดพรวนดิน เพื่อหาขุมทรัพย์นั้นก็กลับเกิดผล ออกดอกออกผล
ดังนัน้ ลูกชายทั้ง ๓3 จึงหันมาช่วยกันนาผลองุ่นเหล่านั้นออกขาย และพวกเขารู้ว่า
ขุมทรัพย์ที่พ่อพูดถึงนั้น หมายถึงการทางานหนัก ขยันขันแข็ง เอาหยาดเหงื่อแรงงานเข้าแลก
ในที่ดินที่พ่อของพวกเขาทีไ่ ด้ทิ้งไว้ให้มากกว่านั้นเอง

นิทานอีสป

๑๙๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 194 7/17/18 10:29 AM


๑๙๓


ท ๖/ผ.๓-๑๑
 ท๖/ผ.๓–๑๑

หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน

ใบงานที่ ๑๑
ข้อคิดจากนิทานพัฒนางานเขียน


.........................................................................


............................................. .............................................
............................................. .............................................






ข้อคิดที่ได้จากนิทาน
เรื่อง ขุมทรัพย์ในไร่องุ่น



............................................................................
...........................................................................



๑๙๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 195 7/17/18 10:29 AM


๑๙๔

ท ๖/ผ.๔-๑๒
 ท๖/ผ.๔

ใบความรู้
การหาข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน

การหาข้อคิดจากเรื่องที่อ่าน
การหาข้อคิดหรือคติสอนใจจากเรื่องทีอ่ ่านว่าเรือ่ งนั้นๆ ให้ขอ้ คิดที่เป็นประโยชน์
อะไรบ้าง แล้วจึงนาข้อคิดนั้นมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน การหาข้อคิดจากการอ่าน
หนังสือต่างๆ เช่น การอ่านนิทาน บทความ สารคดี ควรอ่านตั้งแต่ต้นจนจบเรื่อง แล้วทา
ความเข้าใจเนื้อเรื่อง และจับใจความสาคัญ หรือประเด็นสาคัญที่ผู้เขียนต้องการให้ข้อคิด
กับผู้อ่าน

ตัวอย่าง การหาข้อคิดจากการอ่านนิทาน
เรื่อง กาหลงฝูง
กาดาตัวหนึ่ง มีความไม่พอใจในตัวของตัวเอง มันจึงเที่ยวตามไปเก็บขน
ของนกยูงที่สลัดทิ้งไว้มาปักแซมใส่ขนของตนจนเต็มตัว ด้วยความหวังที่จะมีขนหลากหลาย
สีสันเหมือนดั่งนกยูงบ้าง “ข้ามีขนงามกว่าขนดา ๆ ของพวกเจ้า ข้าไม่อยู่กับพวกเจ้าดีกว่า”
กาดากล่าวกับเพื่อนในฝูง กาดารังเกียจพวกพ้องของตน มันตัดสินใจออกจากฝูง
เข้าไปปะปนอยู่กับฝูงนกยูง พวกนกยูงเห็นกาดาหลงเข้ามาก็พากันรุมจิกรุมทึ้งตี
จนขนนกยูงทีแ่ ซมอยู่ทั่วตัวนั้นหลุดกระจายเหลือแต่ขนจริงที่มีสีดาสนิท กาดาถูกนกยูงขับไล่
ออกจากฝูง ครั้นเมื่อกลับไปหาพวกของตนก็ไม่มีใครคบค้าสมาคมด้วย
นิทานอีสป

สรุปใจความสาคัญของเรื่อง
กาดาตัวหนึ่งไม่พอใจในขนสีดาของตัวเอง เพราะคิดว่าไม่มีความสวยงาม
ข้อคิดที่ได้จากการอ่าน
ถ้ารังเกียจเผ่าพันธุ์ดั้งเดิมของตนเอง ก็ย่อมจะถูกผู้อื่นรังเกียจด้วย
ปรับปรุงมาจาก www.trueplookpanya.com

๑๙๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 196 7/17/18 10:29 AM


๑๙๕


ท ๖/ผ.๔-๑๒
ท๖/ผ.๔–๑๒

หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน
ใบงานที่ ๑๒
ซึมทราบข้อคิดจากนิทาน

คาชี้แจง อ่านนิทาน เรื่องบัวลอยจอมโอ้อวด แล้วเขียนอธิบายข้อคิดจากการอ่าน

ทุ่งหญ้าเขียวขจีสีสดใส สัตว์น้อยใหญ่สาราญเบิกบานเหลือ
ต่างช่วยกันแบ่งปันและจุนเจือ คอยเอื้อเฟื้อสามัคคีดีต่อกัน
เจ้าบัวลอยวัวน้อยจอมโอ้อวด วิ่งเร็วรวดชอบคุยโม้ไม่ขยัน
รูปร่างดี สีลายขาว แดงเป็นมัน แต่ดื้อรั้นเกินกว่าจะพาที
ผีเสื้อสวยบินรอบสวนดอกไม้ แสนชื่นใจรืน่ รมย์เป็นสุขศรี
เจ้าบัวลอยผ่านมาไม่รอรี กล่าวย่ายีผีเสื้อจนเหลือทน
ลวดลายเจ้าไม่เห็นสวยอย่างใครว่า ซ้าบินช้าอ่อนแรงไม่ฝึกฝน
ฝุายผีเสือ้ น้อยใจและกังวล จิตสับสนเราไม่สวยหรืออย่างไร
บัวลอยเดินต่อไปไม่ยั้งหยุด ในที่สุดเจอกระต่ายทนไม่ไหว
ร้องบอกว่าเจ้าขาสั้นไม่เกรงใจ ร่างกายไซร้ไร้เรี่ยวแรงอย่าแข่งเรา
กระต่ายโกรธบัวลอยเจ้าถ่อยนัก ไม่รู้จักเกรงใจและโง่เขลา
วันหนึง่ เถิดจะไร้เพื่อนคอยบรรเทา ถ้ามัวเอาแต่เหยียดหยามขาดน้าใจ
เจ้าบัวลอยไม่ฟังคาเจ้ากระต่าย ยังปากร้ายเที่ยวติเตียนด้วยหลงใหล
ชื่นชมตัวว่าเยี่ยมเหนือกว่าใคร สัตว์ทั้งหลายแม้กบปูไม่สู้ตน
วันต่อมาสัตว์หลายตัวร่วมประชุม โดยรวมกลุ่มพูดคุยอย่างสับสน
หาหนทางดัดนิสัยไม่วกวน จะฝึกฝนบัวลอยค่อยเป็นไป

๑๙๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 197 7/17/18 10:29 AM


๑๙๖


 ท๖/ผ.๔–๑๒
ท ๖/ผ.๔-๑๒

ณ ทุ่งหญ้าแห่งเดิมที่เคยสุข ความสนุกวันนี้เหงาเป็นไฉน
ผ่านพวกพ้องหันหลังหนีเพราะเหตุใด ไม่ทักทายอย่างเคยเฉยเมยจัง
บัวลอยคิดเราทาผิดหรือไฉน ใจหวั่นไหวนึกทบทวนแต่หนหลัง
เคยกล่าวคาเหยียดหยามจนเซซัง ไม่เคยยั้งพูดพล่ามตามใจตน
ในที่สุดบัวลอยสานึกผิด เหตุได้คิดการไร้เพื่อนแสนสับสน
จึงขอโทษผีเสื้อน้อยอย่างร้อนรน ทุกทุกคนอภัยให้ใจรื่นรมย์
บัวลอยรู้ว่าการพูดโอ้อวด มันเจ็บปวดจากหลงตัวมัวทับถม
การอ่อนน้อมถ่อมตนคนชื่นชม จะสุขสมเพราะวาจาพาชื่นใจ

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี

๑๙๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 198 7/17/18 10:29 AM


๑๙๗


ท ๖/ผ.๔-๑๒
ท๖/ผ.๔–๑๒

หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน

 ใบงานที่ ๑๒

ซึมทราบข้อคิดจากนิทาน


 บัวลอยจอมโอ้อวด
 

สรุปใจความสาคัญของเรื่อง
………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
ข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่าน คือ
………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
ข้อคิดนี้จะนาไปใช้ในเรื่องใด
………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..


๑๙๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 199 7/17/18 10:29 AM


๑๙๘


ท ๖/ผ.๔-๑๓
ท๖/ผ.๔–๑๓

 ใบงานที่ ๑๓

ซึมทราบข้อคิดจากนิทาน


คาชี้แจง อ่านนิทาน เรื่อง ออมสินฟักทอง แล้วเขียนอธิบายข้อคิดจากการอ่าน


ออมสินฟักทอง
หนูดาและหนูขาวได้เก็บสตรอเบอรี่ไปขายที่ตลาด หนูดามักจะนาเงินที่ขาย
สตรอเบอรี่ไปซื้อของ เช่น รถขนของ อาหารราคาแพง หนูขาวเตือนก็ไม่ฟัง เพราะคิดว่า
จะขายสตรอเบอรี่ได้อกี ส่วนหนูขาวก็นาเงินมาหยอดกระปุกฟักทอง
แล้ววันหนึง่ ฝนก็ตกลงมาอย่างหนักจนไม่สามารถเก็บสตรอเบอรี่ไปขายได้
น้าท่วมทั้งไร่ ทั้งหนูดาและหนูขาวต่างร้องไห้ หนูขาวกลับมาแคะกระปุกออมสินฟักทอง
เพื่อนาเงินไปซื้อของทีจ่ าเป็น ในเวลาเดียวกันหนูดาก็ร้องไห้ หนูขาวได้ให้สตรอเบอรี่
และเอาเงินมาช่วยเหลืออย่างมีน้าใจ ทาให้หนูดาซาบซึ้งมาก

ทวีวฒ
ั น์ โพธิรัชต์ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

๒๐๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 200 7/17/18 10:29 AM


๑๙๙

ท ๖/ผ.๔-๑๓
 ท๖/ผ.๔–๑๓

หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน
ใบงานที่ ๑๓
ซึมทราบข้อคิดจากนิทาน

ออมสินฟักทอง

สรุปใจความสาคัญของเรื่อง
………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
ข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่าน คือ
………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
ข้อคิดนี้จะนาไปใช้ในเรื่องใด
………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..

๒๐๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 201 7/17/18 10:29 AM


๒๐๐
 ท ๖/ผ.๕
 ท๖/ผ.๕
ใบความรู้
 การเขียนเรียงความ

การเขียนเรียงความ
เป็นการนาความคิดเรื่องใดเรือ่ งหนึ่ง ที่ผู้เขียนสนใจนามาเรียบเรียงอย่างชัดเจน
ให้น่าสนใจโดยอาศัยข้อเท็จจริง ประกอบความคิดเห็นของผู้เขียน ให้ผู้อ่านได้เข้าใจตามที่
ผู้เขียนต้องการ
องค์ประกอบของเรียงความ เรียงความมีองค์ประกอบ ๓ ส่วนด้วยกัน คือ
๑. คานา (การเปิดเรื่อง)
๒. เนื้อเรื่อง หรือเนื้อความ
๓. บทลงท้าย (การปิดเรื่อง หรือ บทสรุป)
ขั้นตอนการเขียนเรียงความ
๑. กาหนดความมุ่งหมายของเรียงความเรือ่ งนั้น
๒. เลือกแบบการเขียน หรือโวหารการเขียนให้สอดคล้องกับความ
๓. หารายละเอียดประกอบ และขยายความประเด็นต่างๆ ของโครงเรื่อง
๔. กาหนดภาคคานา ภาคเนื้อเรื่อง และภาคสรุป
ภาคคานาควร มีลักษณะดังต่อไปนี้
๑. ทาให้ผู้อ่านสนใจ
๒. แนะหรือบอกความมุ่งหมายหรือแนวของเรื่อง
๓. ไม่ตั้งต้นไกลเกินไป และมีแนวนาเข้าสูเ่ รื่อง
๔. ไม่ยาวเกินไป
ภาคเนื้อเรื่อง เป็นภาคสาคัญประกอบด้วย
๑. ข้อมูลในโครงเรื่อง ซึ่งเรียงตามลาดับเวลา ตามพื้นที่ ตามเหตุผล หรือ
ตามความสาคัญ
๒. ประกอบด้วยย่อหน้าแต่ละย่อหน้า ที่สื่อความคิดอย่างมีประสิทธิผล เหมาะสม
ตามความสาคัญของเนื้อเรื่อง
๓. มีความสัมพันธ์ระหว่างแต่ละประโยค แต่ละย่อหน้า
๔. มีรายละเอียดที่ชัดเจน ขยายความ ประกอบความ และสนับสนุนข้อมูลสาคัญ
ให้ชัดเจนเหมาะสมสอดคล้องกัน
ปรับปรุงมาจาก general.in.th

๒๐๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 202 7/17/18 10:29 AM


๒๐๑


 ท๖/ผ.๕
ท ๖/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน
ใบความรู้
การเขียนเรียงความ

ภาคจบหรือภาคสรุป การจบมักใช้ ๒ วิธี คือ


๑. จบด้วยการย่อ คือ นาเอาใจความสาคัญ ที่เป็นสาระอย่างแท้จริงมากล่าว
ในตอนท้าย ให้ผู้อ่านประทับใจเป็นการทบทวนอีกครั้ง
๒. จบด้วยการสรุปให้ตรงความมุ่งหมายสาคัญของเรื่องใช้วิธีสรุปความเป็นประโยค
บอกเล่า หรือประโยคคาถาม เป็นภาษิต หรือเป็นคาประพันธ์ที่สอดคล้องกับเนื้อเรื่องก็ได้
ภาคจบนี้ควรแยกเป็นย่อหน้าหนึ่ง และต้องสรุปความหมายสาคัญเอาไว้ในหน้านี้

หลักการเขียนเรียงความที่ดี
๑. ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่จะเขียนจากแหล่งการเรียนรู้
๒. ลาดับความคิด กาหนดแนวทางที่จะเขียนจัดทาเป็น โครงเรือ่ งโดยทาเป็นหัวข้อ
๓. นาโครงเรื่องมาเขียนร่างเป็นย่อหน้า ๆ ให้มีความสัมพันธ์กันตามลาดับ
๔. นาสิ่งที่เขียนร่างมาปรับปรุงแก้ไขให้เป็นเรียงความที่สมบูรณ์
๕. ปรับปรุงแก้ไขถ้อยคาสานวนให้ถูกต้อง


ปรับปรุงมาจาก general.in.th


๒๐๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 203 7/17/18 10:29 AM


๒๐๒


ท ๖/ผ.๕
 ท๖/ผ.๕

ใบความรู
้
ข้อพึงระวังในการเขียนเรียงความ

ข้อพึงระวังในการเขียนเรียงความมีดังนี้
๑. เขียนหนังสือให้อ่านง่าย รักษาความสะอาด และเขียนตัวสะกดให้ถูกต้อง
๒. ต้องย่อหน้าใหม่ทกุ ครั้งที่จะเริ่มเขียนย่อหน้าใหม่ โดยจะต้องศึกษาเรื่องเอกภาพ
ที่กล่าวข้างต้นให้เข้าใจด้วย
๓. ไม่ต้องมีคารับเช่น ครับ จ๊ะ ค่ะ หรือเขียนแบบสนทนาปราศรัย เช่น คุณอ่าน
หนังสือเล่มนี้ไหมค่ะ ชอบครับ สนุกดีมาก
๔. อย่าเขียนแบบตอบคาถาม เช่น เขียนว่า ๑ ๒ ๓ จะกลายเป็นการตอบข้อสอบไป
ไม่ใช่การเขียนเรียงความ
๕. อย่าเขียนภาอังกฤษปนภาษาไทยโดยไม่จาเป็น
๖. อย่าเขียนข้อความลอยๆต้องมีตัวอย่างอ้างอิงให้เป็นหลักฐาน และถ้ามีสุภาษิต
ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อเรื่องประกอบบ้างก็จะทาให้ได้คะแนนดี
๗. ควรจดจาบนร้อยกรอง เช่น กาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ต่างๆที่ไพเราะ หรือมีคติ
สอนใจเพื่อใส่ประกอบในการเขียนเรียงความ
๘. อย่าใช้สานวนต่างประเทศ เช่น ฉันจับรถไฟไปเชียงใหม่ “จับ” มาจาก
ภาษาอังกฤษควรเปลีย่ นเป็น “โดยสาร”
๙. อย่าใช้สานวนพูด เช่น เก่ง ต้องใช้ว่า ฉลาด
๑๐. ควรเขียนเรียงความให้ขนาดความยาวมากพอสมควร คือประมาณที่ไม่ต่ากว่า
๒ หน้ากระดาษโดยต้องไม่เขียนเว้นบรรทัด
๑๑. ต้องเขียนแสดงความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนลงไปในเรียงความด้วย และต้อง
เป็นความคิดเห็นที่เป็นกลาง ไม่เอียงซ้ายหรือเอียงขวาใดๆ ความคิดเห็นนีค้ วรเป็นการ
สร้างสรรค์


ปรับปรุงมาจาก kruprasarnmasterthai.blogspot.com





๒๐๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 204 7/17/18 10:29 AM


๒๐๓


ท ๖/ผ.๕-๑๔
 ท๖/ผ.๕–๑๔


หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน

ใบงานที่ ๑๔
 เขียนเรียงความสร้างสรรค์




คาชี้แจง เขียนเรื่องเกี่ยวกับเพื่อนที่นักเรียนรัก พร้อมกับตั้งชื่อเรื่องให้น่าสนใจ




คาถามเพื่อเป็นแนวทางในการเขียน
- เพื่อนที่นักเรียนรักเป็นใคร ชื่ออะไร
 - อยู่ที่ไหน มีนิสัยอย่างไร
 - ลักษณะท่าทางรูปร่างเป็นอย่างไร

- ความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับเพื่อนเป็นอย่างไร
- มีความประทับใจเกี่ยวกับเพื่อนในเรื่องอะไร

- เสนอแนวคิดมีเพื่อนดีอย่างไร และการเป็นเพื่อนที่ดี
 ควรทาอย่างไร
 



เรื่อง ……………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..

๒๐๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 205 7/17/18 10:29 AM


๒๐๔


 ท ท๖/ผ.๕–๑๕
๖/ผ.๕-๑๕


 ใบงานที่ ๑๕
 เขียนเรียงความสร้างสรรค์



 คาชี้แจง เขียนเรียงความจากภาพที่กาหนดให้ พร้อมตั้งชื่อเรื่อง




 



เรื่อง …………………………………………………………..


………………………………………………………………………………...………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..



๒๐๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 206 7/17/18 10:29 AM


๒๐๕


ท ๖/ผ.๕-๑๖
 ท๖/ผ.๕–๑๖


หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน
 ใบงานที่ ๑๖
 เขียนเรียงความสร้างสรรค์


คาชี้แจง เขียนเรียงความ ๑ เรื่องเกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงของฉัน ด้วยภาษาของนักเรียนเอง

พร้อมตั้งชื่อเรื่อง โดยยึดหลักการเขียนเรียงความที่ถูกต้อง


 เรื่อง ……………………………………………..

……………………………………………………………………………………………………..…………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………..

๒๐๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 207 7/17/18 10:29 AM


๒๐๖


 ท๖/ผ.๕
ท ๖/ผ.๕


แบบทดสอบหลังเรียน

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ สร้างสรรค์งานเขียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖


คาชี้แจง เขียนเครือ่ งหมาย × ทับอักษรหน้าคาตอบที่ถูกต้องที่สุด
๑. คาคู่ใดคือคาพ้องรูป
ก. ผึ้ง พึ่ง ข. พุด พุทธ
ค. รถ รส ง. จอกแหน หวงแหน
๒. ประโยคนี้มีคาพ้องรูปกี่คา
“คนแห่แหนมาที่บ่อน้าเพื่อมาดูจอกแหน ฉันเก็บดอกพุดไปบูชาพระในวันพุธ ส่วนอารี
มีความสุขเพราะรู้สึกว่าชีวิตมีความผาสุก”
ก. ๒ คา ข. ๓ คา
ค. ๔ คา ง. ๖ คา
๓. คาพ้องรูปคือข้อใด
ก. ฉันรับประทานอาหารอยู่ริมธาร
ข. ต้นเสมาขึ้นอยู่บนยอดเสมา
ค. นกเขาขันเสียงดังจึงถูกพระขรรค์แทง
ง. ยามวิกาลต้องคอยติดตามสถานการณ์บ้านเมือง
๔. คาคู่ใดคือคาพ้องเสียง
ก. จอกแหน หวงแหน ข. เสมา เสมา
ค. เขมา เขมา ง. ผึ้ง พึ่ง
๕. “ที่สนามหลวงมีคนเล่นว่าวปักเป้า และมีคนจับปลาปักเป้าได้ในคลองข้างบ้าน
ลุงรดต้นไม้แทนที่จะขับรถไปเที่ยวนอกบ้าน ส่วนน้าไปซื้อสมุนไพรมหากาฬ
ที่เมืองกาญจน์” จากข้อความข้างต้นคาใดเป็นคาพ้องรูป
ก. รถ ข. รด
ค. ปักเป้า ง. กาฬ กาญจน์

๒๐๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 208 7/17/18 10:29 AM


๒๐๗


ท ๖/ผ.๕
 ท๖/ผ.๕

๖. คาพ้องเสียงคือข้อใด

หนวยการเรียนรูที่ ๖ สรางสรรคงานเขียน
ก. ต้นเสมาขึน้ อยู่บนยอดเสมา
ข. ฉันรับประทานอาหารอยู่ริมธาร
ค. ในเพลาเช้าฉันเห็นเพลารถหักลงมา
ง. คนแห่แหนมาที่บ่อน้าเพื่อมาดูจอกแหน
๗. ข้อใดคือลักษณะของคานา
ก. คานามีความยาวหลายย่อหน้าได้
ข. คานาต้องขึ้นต้นคาคล้องจองเท่านัน้
ค. คานาต้องเร้าใจ ให้ติดตามอ่านเนือ้
ง. คานาจะกล่าวถึงสิ่งที่ไม่เกี่ยวกับเนื้อเรื่องก็ได้
๘. ย่อหน้าแรกของเรียงความ เป็นส่วนใดของเรียงความ
ก. สรุป ข. เนื้อเรื่อง
ค. ส่วนขยาย ง. คานา
๙. การเขียนเรียงความเรื่อง “ของดีที่บ้านฉัน” โครงเรื่องข้อใดที่จาเป็นน้อยที่สุด
ก. สถานที่ตั้ง
ข. สินค้าหัตถกรรมผลิตภัณฑ์ที่ร่วมกันผลิต
ค. การพัฒนาบ้านให้ทันสมัย
ง. วิถีชีวิตและความเป็นอยู่คนในท้องถิน่
๑๐. ข้อใดเป็นประโยชน์ที่ได้รับจากการเขียนแผนภาพโครงเรื่อง
ก. ทาให้เรื่องมีรายละเอียดมากขึ้น
ข. ทาให้เนือ้ เรื่องมีความสมบูรณ์
ค. สามารถแสดงความคิดเห็นได้
ง. จับใจความสาคัญของเรือ่ งได้

ΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎΎ

๒๐๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 209 7/17/18 10:29 AM


6102149L01e-�6 (��.).indd 210 7/17/18 10:29 AM

งดงามสํานวน

6102149L01e-�6 (��.).indd 211 7/17/18 10:30 AM


6102149L01e-�6 (��.).indd 212 7/17/18 10:30 AM
๒๑๐


 ทท ๗/ผ.๑
๗/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน
แบบทดสอบก่อนเรียน

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ งดงามสานวน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖


คาชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับอักษรหน้าคาตอบที่ถูกต้องที่สุด


๑. ข้อใดมีความหมายว่า “เอาความลับไปให้ศัตรู”
ก. สาวไส้ให้กากิน ข. หน้าเนื้อใจเสือ
ค. ขี่ช้างจับตั๊กแตน ง. เข็นครกขึ้นภูเขา
๒. “ปั้นน้าเป็นตัว” หมายความว่าอย่างไร
ก. ทาสิ่งที่ทุกคนไม่กล้าทา ข. กลบเกลื่อนความชั่ว
ค. แสร้งทาเรื่องไม่จริงให้เป็นจริง ง. พยายามพูดให้เห็นจริง
๓. คาว่า “ขึ้น” ในข้อใดมีความหมายโดยนัย
ก. ฉันเห็นเห็ดโคนขึ้นอยู่ใต้ต้นมะขาม ข. ฝนตกหนักอย่างนี้ต้นไม้ขึ้นดีนัก
ค. แม่ให้น้องขึ้นไปอยู่บนบ้าน ง. พักนี้มือขึ้นดีทาอะไรก็สาเร็จ
๔. วันนี้ป้าทาขนมใส่น้าตาลมือหนักไปหน่อย คาที่ขีดเส้นใต้มีความหมายว่าอย่างไร
ก. มากกว่าปกติ ข. เท่าเดิม
ค. น้อยกว่าปกติ ง. ไม่มีข้อถูก
๕. ข้อใดใช้สานวนเปรียบเทียบได้ถูกต้อง
ก. เหตุการณ์ยังไม่เกิดอย่าวิตกกังวลทาเป็นกระดี่ได้นาไปได้

ข. เด็กคนนี้ทางานไม่เสร็จเหมือนเหยียบขี้ไก่ไม่ฝ่อ
ค. เขาเป็นคนพูดเก่งมากจนน้าไหลไฟดับ
ง. พี่น้องคู่นไี้ ม่มีใครยอมใครเหมือนสาวไส้ให้กากิน

๒๑๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 213 7/17/18 10:30 AM


๒๑๑


 ท ๗/ผ.๑
ท ๗/ผ.๑

๖. ข้อใดคล้องจองกับคาว่า “รูปไม่หล่อ”
ก. พ่อไม่รวย ข. สวยทั้งวัน
ค. ฉันกับเธอ ง. เสือลายสวย
๗. “อันดอกบัวมีมาก หลากหลายสี ล้วนมีผู้ชื่นชมนิยมหนอ”คาที่ขีดเส้นใต้สัมผัส
กับคาในข้อใด
ก. หลาก ข. หลาย
ค. ล้วน ง. ชื่น
๘. “ขับรถอย่า................ถ้าหากพลาดอาจถึงตาย” ควรเติมคาใดคาขวัญจึงจะสมบูรณ์
ก. นอนหลับ ข. ประมาท
ค. ขับเร็ว ง. ใจลอย
๙. “เด็กดี.............. รู้จักให้และแบ่งปัน” ควรเติมคาใดคาขวัญจึงจะสมบูรณ์
ก. สดใส ข. มีสติ
ค. มีวินัย ง. เสียสละ
๑๐. “อยู่บ้านท่านอย่านิ่งดูดาย ...............................” จงเติมประโยคคาคมให้สมบูรณ์
ก. ปั้นวัวปั้นควายให้ลูกท่านเล่น
ข. ช่วยทาความสะอาดบ้าน
ค. ล้างถ้วยล้างชามให้ท่านบ้าง
ง. ข้างขึ้นเดือนหงายสบายจริง



๒๑๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 214 7/17/18 10:30 AM


๒๑๒


 ท ๗/ผ.๑
ท ๗/ผ.๑


หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน
ใบความรู้
คาคล้องจอง


คำคลองจอง
้ คือ คาที่มีสระเดียวกันและมีคาในมาตราตัวสะกดเดียวกัน แต่พยัญชนะ
ต้นต่างกัน อาจมีเสียงวรรณยุกต์ต่างกันได้
คาคล้องจองสระ หมายถึง คาที่มีเสียงสระเดียวกัน เช่น
 สระอะ ได้แก่ กะ ขะ จะ ดะ ตะ ปะ อะ
 สระอา ได้แก่ กา ดา นา ยา ขา สา หา
 สระอี ได้แก่ ชี ดี ที ปี ผี มี รี วี สี
 สระอู ได้แก่ งู ดู ปู รู ชู สู้ หู ขู่ ตู้
 สระเอา ได้แก่ เก้า เข้า เรา เดา เสา เป่า
 สระไอ ได้แก่ ไอ ไป ได้ ไม่ ไว้ ไข่ ไทย ไร่
คาคล้องจองสระเดียวกันและมีตัวสะกดมาตราเดียวกัน เช่น
คาคล้องจองที่สะกดด้วยมาตราแม่ กง คือ คา พยางค์ที่มีตัวสะกด
ด้วย ง ได้แก่
 ลิง คล้องจองกับ ยิง วิ่ง กลิ้ง หญิง จริง
 ดัง คล้องจองกับ วัง นั่ง รัง ครั้ง หลัง
 เมือง คล้องจองกับ เรื่อง เปลือง เคือง เครื่อง เชื่อง
คาคล้องจองที่สะกดด้วยมาตราแม่ กน คือคา พยางค์ที่มีตัวสะกด
ด้วย น ได้แก่
 กลอน คล้องจองกับ ขอน ดอน ก้อน ถอน ช้อน
 กลิ่น คล้องจองกับ กิน ลิ้น อิน หิน ถิ่น ชิน

๒๑๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 215 7/17/18 10:30 AM


๒๑๓


 ท ๗/ผ.๑
ท ๗/ผ.๑

คาคล้องจอง ๑ พยางค์

คาคล้องจอง ๑ พยางค์ คือ คาที่ออกเสียงครั้งเดียว มีเสียงสระเดียวกัน มีมาตรา


ตัวสะกดเดียวกัน ส่วนรูปและเสียงวรรณยุกต์ต่างกันได้ เช่น กลอน ขอน รอน ช้อน งอน
ตัวอย่าง คาคล้องจอง ๑ พยางค์
นก กก หก
กิน บิน ดิน

คาคล้องจอง ๒ พยางค์

คาคล้องจอง ๒ พยางค์ คือ พยางค์ท้ายของกลุ่มคาหน้า มีเสียงคล้องจองกับพยางค์




แรกของคาหลังที่อยู่ถัดไป
ตัวอย่าง คาคล้องจอง ๒ พยางค์
ยินดี ปรีดา ปราโมทย์
ไปนา หาของ ลองดู
สวยงาม ยามเช้า เฝ้าดู


  แผนผังคาคล้องจอง ๒ พยางค์




๒๑๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 216 7/17/18 10:30 AM


๒๑๔


 ท ๗/ผ.๑


หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน
คาคล้องจอง ๓ พยางค์


คาคล้องจอง ๓ พยางค์ คือกลุ่มคา ๓ พยางค์ ตั้งแต่ ๒ กลุ่มขึ้นไป ที่พยางค์สุดท้าย


ของกลุ่มคาหน้า มีเสียงคาคล้องจองกับพยางค์แรกหรือพยางค์ที่ ๒ ของกลุ่มคาหลังที่อยู่ถัดไป
ตัวอย่าง คาคล้องจอง ๓ พยางค์
ดอกดาวเรือง เหลืองดูเด่น เห็นงามดี
เราสุขใจ ใฝ่เรียนรู้ คู่สัญญา

แผนผังคาคล้องจอง ๓ พยางค์







คาคล้องจอง ๔ พยางค์

คาคล้องจอง ๔ พยางค์ คือกลุ่มคา ๔ พยางค์ ตั้งแต่ ๒ กลุ่มขึ้นไป ที่พยางค์สุดท้าย


ของกลุ่มคาหน้า มีเสียงคาคล้องจองกับ พยางค์แรกหรือพยางค์ที่ ๒ หรือพยางค์ที่ ๓ ของ
กลุ่มคาหลังที่อยู่ถัดไป
ตัวอย่าง คาคล้องจอง ๔ พยางค์
พี่จากน้องไป อาลัยจริงจริง เหนือยิ่งสิง่ ใด หัวใจพักพิง

แผนผังคาคล้องจอง ๔ พยางค์


ปรับปรุงมาจาก http//kruntsara.wordpress.com

๒๑๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 217 7/17/18 10:30 AM


๒๑๕


ท ๗/ผ.๑-๐๑
ท๗/ผ.๑-๐๑


ใบงานที่ ๐๑
คาสัมผัส คาคล้องจอง

คาชี้แจง จับคู่คาคล้องจองแล้วเขียนลงใน

เกลือ
 ตะกล้า ..........................................

จูบ โล่ง ..........................................

ขวา เสื้อ ..........................................

กระโปรง ลูบ ..........................................

อย่า ไป ..........................................

เช้า ลอก ..........................................

ได้ หมา ..........................................

ดอก เมา ..........................................





๒๑๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 218 7/17/18 10:30 AM


๒๑๖


 ทท๗/ผ.๑-๐๒
๗/ผ.๑-๐๒


หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน
ใบงานที่ ๐๒
คาสัมผัส คาคล้องจอง

คาชี้แจง เติมคาให้คล้องจองกับคาที่กาหนดให้

การบ้าน ...................... ....................


..

ใจเย็น ...................... ......................




สู้ศึก ...................... ......................




ดินดา ...................... ......................




ถือของ ...................... ......................




สุขใจ ...................... ......................




๒๑๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 219 7/17/18 10:30 AM


๒๑๗


 ทท๗/ผ.๑-๐๓
๗/ผ.๑-๐๓



ใบงานที่ ๐๓
 คาสัมผัส คาคล้องจอง



คาชี้แจง โยงเส้นคาคล้องจองให้ถูกต้อง


ตัวอย่าง น้าพึ่งเรือ เสือพึ่งป่า





๑. เป็นนักเรียน เพียรศึกษา



๒. อยากก้าวหน้า อย่าท้อถอย



๓. ควรจดจา ทาสิ่งดี
คาชี้แจง นักเรียนเขียนคาคล้องจอง ๓ พยางค์ และโยงเส้นคาคล้องจองให้ถูกต้อง



 ๔................................................ ………................................................



๕................................................ .........................................................

...............................................................................................................
................................
๖................................................ .........................................................

๒๒๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 220 7/17/18 10:30 AM


๒๑๘

ท ๗/ผ.๒
 ท ๗/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน
ใบความรู้
คาขวัญ

คาขวัญ คือ ถ้อยคาที่แต่งขึ้นเพื่อเตือนใจ เพื่อชักจูงใจ มักเป็นคาปลอบขวัญ หรือปลุกใจ


ให้เชื่อมั่น ให้เห็นคุณค่า และความสาคัญของสิ่งที่กล่าวถึง มักเป็นถ้อยคาที่สัมผัสคล้องจอง

การแต่งคาขวัญ
คาขวัญ เป็นข้อความที่เรียบเรียงขึ้นด้วยสานวนภาษา ที่กะทัดรัด เพื่อเสริมสร้าง
กาลังใจหรือชี้แนะให้เห็นสิ่งที่ถูกต้อง ดีงาม เพื่อให้ผู้อ่านได้ปฏิบัติตามในคาเชิญชวนนั้นๆ เช่น
เด็กดีมีวินัย ใฝ่ศึกษา นาพาชาติเจริญ
เท่ห์อย่างมีคุณค่า ไม่พึ่งพายาเสพติด
น้าไฟมีคุณค่า ช่วยรักษาช่วยประหยัด

ลักษณะของคาขวัญ
๑. ใช้ข้อความสั้นๆ กะทัดรัด สละสลวย
๒. ให้ข้อคิด หรือคติเตือนใจเพื่อเป็นสิริมงคล
๓. เขียนเป็นคาคล้องจองกันเพื่อให้จดจาได้ง่าย
๔. เนื้อความมุ่งจูงใจให้นาไปปฏิบัติ หรือให้เห็นความสาคัญของสิ่งนั้น เช่น
เชิญชวนให้ประหยัด เชิญชวนให้อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

องค์ประกอบของคาขวัญ มี ๓ ส่วน คือ


 ความมุ่งหมายหรือแนวคิด
 ข้อความหรือเนื้อหา
 ศิลปะแห่งการใช้ถ้อยคา

๒๒๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 221 7/17/18 10:30 AM


๒๑๙


 ท๗/ผ.๒
ท ๗/ผ.๒

ลักษณะของคาขวัญที่ดี
 มีเจตนาที่ดี ต่อผู้ฟัง ผู้ปฏิบัติหรือผลประโยชน์ของส่วนรวม เช่น คาขวัญ
เชิญชวนงดการสูบบุหรี่ คาขวัญเชิญชวนให้ประหยัดน้า ประหยัดไฟ ฯลฯ
 มีเป้าหมายชัดเจนเพียงเป้าหมายเดียว เช่น เพื่อให้เคารพกฎจราจรหรือ
เพื่อให้ช่วยรักษาความสะอาดของถนน ฯลฯ
 มีเนื้อหาครอบคลุมเป้าหมาย
 ไพเราะ สัมผัสคล้องจอง มีพลังโน้มน้าวใจผู้ฟังให้จาและปฏิบัติตาม
ขั้นตอนในการเขียนคาขวัญ คาขวัญที่ดีต้องเป็นข้อความสั้นๆ ไพเราะมีพลัง
ในการโน้มน้าวใจผู้ฟัง เขียนครอบคลุมเป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างชัดเจน มีขั้นตอนดังนี้

ตัวอย่างคาขวัญ - ดื่มนมทุกวัน สุขภาพแข็งแรง


- หนังสือคือมิตร สื่อความคิดให้ก้าวไกล
- บ้านเมืองจะสะอาด ถ้าปราศจากคนมักง่าย
- เลิกสูบ เลิกเสพในวันนี้ เพื่อชีวิตที่ดีในวันหน้า

- ความรู้ คู่คุณธรรม นาสู่อนาคต


- รักษาเวลา รักษาหน้าที่ ชีวิตจะดีถ้าคุณมีวินัย
- ปลอดภัยเพื่อชีวิต ทุกขณะจิตอย่าประมาท
- ประเทศไทยจะรุ่งเรือง ถ้าพลเมืองไม่พึ่งยาเสพติด

- ไม่มีทา่ นเราอด ไม่มีรถท่านเดิน


- มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ คู่คุณธรรม
- สุรา ยาเสพติด เป็นภัยต่อชีวิต เป็นพิษต่อสังคม
- อดทน ขยัน ประหยัด คือ คุณสมบัติของเด็กไทย

- มีคุณธรรมนาใจ ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง หลีกเลี่ยงอบายมุข


- ยึดมั่นประชาธิปไตย ร่วมใจพัฒนา รักษาสิ่งแวดล้อม
- เรียนรู้ตลอดชีวิต คิดอย่างสร้างสรรค์ ก้าวทันเทคโนโลยี

๒๒๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 222 7/17/18 10:30 AM


๒๒๐

ท ๗/ผ.๒
 ท๗/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน
ใบความรู้
คาคม

คาคม หมายถึง ถ้อยคาที่คิดขึ้นมาในปัจจุบันทันด่วน เป็นถ้อยคาที่หลักแหลม


ซึ่งสามารถเข้ากับเหตุการณ์นั้นได้อย่างเหมาะเจาะ ทั้งยังชวนให้คิด ถ้าพูดติดปากกันต่อไป
ก็จะกลายเป็นสานวนไปได้ คาคมส่วนมากจะมีการร้อยเรียงด้วยคาที่คล้องจองกัน

หลักการเขียนคาคม
๑. ใช้ถ้อยคาสัมผัสคล้องจอง สละสลวย
๒. ใช้คาที่มีความหมายคมคาย
๓. มุ่งให้เกิดความคิดที่ดีและอยากปฏิบัติตาม
๔. มีความลึกซึ้งกินใจ

ลักษณะของคาคม คาคมมีหลายลักษณะดังนี้
 คาคมที่เป็นคาพูดธรรมดาไม่มีสัมผัส โดยมากใช้คาง่าย ๆ ไม่ต้องแปล อ่านแล้วเข้าใจได้
ทันที เช่น “ความรักทาให้คนตาบอด” “เวลาและกระแสน้าไม่คอยใคร”
“ไม่มีใครรักเราเท่าพ่อแม่” “เบื้องหลังก้อนเมฆยังมีพระอาทิตย์ส่องแสงอยู่”
“ความโกรธไม่เคยทาร้ายใคร นอกจากตัวผู้โกรธเพียงคนเดียว”
 คาคมที่เป็นสัมผัสคล้องจองกันสั้น ๆ ส่วนมากมี 2 วรรค เพื่อจดจาได้ง่าย เช่น
“เสียเหงื่อเพราะกีฬา ดีกว่าเสียน้าตาเพราะยาเสพติด”
“สร้างพระเดชมีแต่ขาดทุน สร้างพระคุณมีแต่กาไร”
“ความสาเร็จของลูก คือความสุขของพ่อแม่”
“อยู่อย่างสงบ ดีกว่ารบด้วยปาก”
“ความงามไม่คงที่ ความดีซิคงทน”

๒๒๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 223 7/17/18 10:30 AM


๒๒๑


 ท๗/ผ.๒
ท ๗/ผ.๒

 คาคมที่แต่งด้วยคาประพันธ์ ส่วนใหญ่มักแต่งด้วยกลอนสุภาพ เช่น


ใครลืมลืมใครใจรู้ ใครจะอยู่ใครจะไปใจเห็น
ใครสุขใครเศร้าเช้าเย็น ใจเป็นที่แจ้งแห่งเรา
ใครชอบใครชังช่างเถิด ใครเชิดใครชูช่างเขา
ใครเบื่อใครบ่นทนเอา ใจเราร่มเย็นเป็นพอ

คาคม ความหมาย
อย่าไปติดปีกให้แมว อย่าไปฝืนธรรมชาติ ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ
ถ้าสติไม่มา ปัญญาก็ไม่มี คนเราต้องมีสติก่อน จึงจะเกิดความคิดที่รอบคอบ
สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม ใครทาอย่างไรได้อย่างนั้น ไม่ช้าก็เร็ว
พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตาลึงทอง บางครั้งการอยู่เฉยๆ ก็ได้ประโยชน์มากกว่า
ศัตรูที่ร้ายเหลือ ไม่เท่ากับเกลือที่เป็น ศัตรูเรารู้ได้ชัดเจน แต่เกลือที่เป็นหนอน คือ คนใกล้
หนอน ตัวที่ทาร้ายเราไม่รู้ว่าเป็นใคร มันร้ายแรงกว่า
อยู่บ้านท่านอย่านิ่งดูดาย ปั้นวัวปั้นควาย ถ้าไปอยู่บ้านคนอื่นอย่ามัวแต่นั่งเฉยๆ ต้องช่วย
ให้ลูกท่านเล่น เจ้าของบ้านทางานบ้าง
ไม้คดใช้ทาขอ เหล็กงอใช้ทาเคียว ไม้คด เหล็กงอ ก็ยังทาประโยชน์ได้ แต่คนคดหรือคน
คนคดเคี้ยวใช้ทาอะไรไม่ได้เลย ที่ไม่ซื่อสัตย์ ทาประโยชน์อะไรไม่ได้เลย
ความพยายามครั้งที่หนึ่งร้อย ดีกว่า ถึงแม้จะต้องพยายามหลายครั้งเพื่อที่จะพบกับ
ท้อถอยก่อนที่จะทา ความสาเร็จ ก็ดีกว่าไม่ได้ลงมือทาเลย
หากเดินตามรอยเท้าคนอื่น ก็ไม่มีวันคืน การทาตามคนอื่นตลอดเวลา ก็ไม่มีโอกาสได้แสดง
ที่จะมีรอยเท้าเป็นของตนเอง ผลงานของตนเอง หรือเป็นคนที่ไม่มีความสามารถ
คนโง่ย่อมเป็นเหยื่อของคนฉลาด แต่ อย่าอวดฉลาด เพราะอาจจะมีคนที่ฉลาดกว่า แต่ไม่
คนฉลาดก็พลาดให้กับคนที่ฉลาดแล้ว แสดงออกให้เราเห็น
แกล้งโง่

๒๒๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 224 7/17/18 10:30 AM


๒๒๒


 ท ท๗/ผ.๒-๐๔
๗/ผ.๒-๐๔

หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน
ใบงานที่ ๐๔
คาขวัญ คาคม

คาชี้แจง เลือกข้อความที่กาหนดให้ นาไปใส่ลงในช่องตารางให้ถูกต้อง

- ความรู้ คู่คุณธรรม นาสู่อนาคต


- ศัตรูที่ร้ายเหลือ ไม่เท่ากับเกลือที่เป็นหนอน
- สุรา ยาเสพติด เป็นภัยต่อชีวิต เป็นพิษต่อสังคม
- เสียเหงื่อเพราะกีฬา ดีกว่าเสียน้าตาเพราะยาเสพติด
- ความพยายามครั้งที่หนึ่งร้อย ดีกว่าท้อถอยก่อนที่จะทา
- เรียนรู้ตลอดชีวิต คิดอย่างสร้างสรรค์ ก้าวทันเทคโนโลยี
- ความงามไม่คงที่ ความดีซิคงทน
- รักษาเวลา รักษาหน้าที่ ชีวิตจะดีถ้าคุณมีวินัย

คาขวัญ คาคม

๒๒๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 225 7/17/18 10:30 AM


๒๒๓


 ท ๗/ผ.๒-๐๕
ท๗/ผ.๒-๐๕


ใบงานที่ ๐๕
คาคม

คาชี้แจง เลือกข้อความที่มีคาคมทางซ้ายมือ มาเขียนทางด้านขวามือ

๑. พ่อทางานหนักเพื่ออนาคตของลูก ..............................................................................................................................

๒. เกิดมาไม่เท่า แต่ถ้าเราทา ก็ก้าวทัน ..............................................................................................................................

๓. ใช้สติ ใช้ปัญญา ไตร่ตรองดู แล้วจะรู้เอง ..............................................................................................................................

๔. นักสารวจเดินทางไปยังเขาเขียว ..............................................................................................................................

๕. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ โปรดหยุดก่อน ..............................................................................................................................

๖. ชีวิตจะสิ้นสุด เมื่อเราหยุดฝัน ..............................................................................................................................

๗. ผู้คนจะเคารพนบนอบคนมีเงิน ..............................................................................................................................

๘. อนาคตไม่แน่นอน อย่ามัวซ่อนความดีไว้ ..............................................................................................................................

๙. ทุกครั้งที่เราให้ สิ่งที่ได้ก็คือเรา ..............................................................................................................................

๑๐. สมองของคนเรามีพื้นที่จากัด ..............................................................................................................................

โปรดจัดสรรแต่สิ่งที่ดๆี ไว้


๒๒๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 226 7/17/18 10:30 AM


๒๒๔


ท ๗/ผ.๒-๐๖
ท๗/ผ.๒-๐๖

หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน
ใบงานที่ ๐๖
การแต่งคาขวัญ

คำชี้แจง แต่งคาขวัญ ในประเด็นที่เกี่ยวกับวันพ่อ อย่างน้อย ๕ คาขวัญ
ความยาวคาขวัญละไม่เกิน ๑๖ พยางค์

…………………………………………………………

…………………………………………………………

…………………………………………………………

…………………………………………………………

…………………………………………………………

๒๒๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 227 7/17/18 10:30 AM


๒๒๕


ท ๗/ผ.๓
 ท๗/ผ.๓

ใบความรู้
ความหมายโดยนัย

ความหมายโดยนัย หมายถึง ความหมายของคา หรือข้อความในแง่มุมอื่นๆ ที่มิใช่


ความหมายหลักหรือความหมายที่รู้กันโดยทั่วไป เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "ความหมายแฝง"
อนึ่ง คาว่า "นัย" หมายถึง ข้อสาคัญ, ความ, ความหมาย, แนว, ทาง หรือ แง่

ตัวอย่างคาที่มีความหมายโดยนัย
- ดาว หมายถึง บุคคลที่เด่นในทางใดทางหนึ่ง
- เก้าอี้ หมายถึง ตาแหน่ง
- เพชร หมายถึง บุคคลที่มีค่า
- กา หมายถึง ความต่าต้อย
- หงส์ หมายถึง ความสูงส่ง ผู้ดี ผู้มีศักดิ์ศรี
- ดวงใจ หมายถึง สิ่งสาคัญที่สุด
- ทะเล หมายถึง ความอ้างว้าง
- สีดา หมายถึง ความชั่วร้าย สิ่งไม่ดี อัปมงคล
- สีขาว หมายถึง บริสุทธิ์
- ภาษาดอกไม้ หมายถึง พูดจาสุภาพ พูดไพเราะอ่อนหวาน
- แกะดา หมายถึง แปลกแตกต่างจากคนอื่นๆ
- ไฟเขียว หมายถึง เห็นชอบ อนุมัติ
- หิน หมายถึง ยาก
- ยื่นซองขาว หมายถึง ไล่ออกจากงาน
- หนอนหนังสือ หมายถึง คนที่ชอบอ่านหนังสือ
- แพะรับบาป หมายถึง ผู้ที่ตกเป็นผู้ต้องหาหรือได้รับโทษแทนผู้ที่ทาผิดจริง

ปรับปรุงจาก วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

๒๒๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 228 7/17/18 10:30 AM


๒๒๖


ท ๗/ผ.๓-๐๗
 ท๗/ผ.๓-๐๗

หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน
ใบงานที่ ๐๗
ความหมายโดยนัย

คาชี้แจง ขีดเส้นใต้คาที่มีความหมายโดยนัยจากประโยคที่กาหนดให้ แล้วนา


คานั้นไปแต่งประโยคใหม่ให้ถูกต้องและสละสลวย

ตัวอย่าง สมหญิงเป็นคนเค็มที่สุดในบ้าน
คา เค็ม
ประโยค : คนเค็มมักไม่มีใครชอบ เพราะไม่เอื้อเฟื้อต่อผู้อื่น

๑. เธอเป็นดาวตั้งแต่ยังเด็ก
คา .................................................................................................................................
ประโยค : ……………………………………………………………………………………………………….

๒. เธอเป็นเพชรน้าเอกของวงการเพลง
คา....................................................................................................................................
ประโยค : .....................................................................................................................

๓. ใบเตยแต่งตัวเปรี้ยวมาก
คา ..................................................................................................................................
ประโยค : .....................................................................................................................

๔. ส.ส. เมืองไทยไม่เคยแย่งเก้าอี้กัน
คา ..................................................................................................................................
ประโยค : .....................................................................................................................

๒๒๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 229 7/17/18 10:30 AM


๒๒๗


 ท ท๗/ผ.๓-๐๗
๗/ผ.๓-๐๗

๕. เสื้อของเธอเป็นเสื้อโหลหรือเปล่า
คา ..........................................................................................................................
ประโยค : .............................................................................................................

๖. สมชายมีชีวิตเหมือนนกขมิ้น
คา ..........................................................................................................................
ประโยค : .............................................................................................................

๗. ข้อสอบวิชาภาษาไทยหินมาก
คา ..........................................................................................................................
ประโยค : .............................................................................................................

๘. การทากับข้าวเป็นเรื่องกล้วย ๆ
คา ..........................................................................................................................
ประโยค : .............................................................................................................

๙. หนังสือเล่มนี้เด็ดมาก
คา ..........................................................................................................................
ประโยค : .............................................................................................................

๑๐. พี่อาบน้าร้อนมาก่อนเธอนะ
คา ..........................................................................................................................
ประโยค : .............................................................................................................

๒๓๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 230 7/17/18 10:30 AM


๒๒๘


ท ๗/ผ.๓-๐๘
 ท๗/ผ.๓-๐๘

หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน
ใบงานที่ ๐๘
ความหมายโดยนัย

คาชี้แจง เลือกประโยคที่มีความหมายโดยนัย จากใบความรู้ จานวน ๑๐ ประโยค


และคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด

 ....................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................


.................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................
 .................................................................................................................................................................
 .............................................................................................................................................. ......................
 ....................................................................................................................................................................
 .................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................

๒๓๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 231 7/17/18 10:30 AM


๒๒๙

ท ๗/ผ.๔
 ท๗/ผ.๔


ใบความรู้
สุภาษิต คาพังเพย สานวนไทย

สุภาษิต หมายถึง ถ้อยคาที่กล่าวเป็นทานองให้ข้อคิด คติ สั่งสอนเพื่อให้กระทาความดี


และละเว้นความชั่ว เช่น ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสาเร็จอยู่ที่นั่น ฝนทั่งให้เป็นเข็ม
ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว อย่าชิงสุกก่อนห่าม อย่าเห็นกงจักรเป็นดอกบัว กงเกวียนกงกรรม
รักวัวให้ผูกรักลูกให้ตี
คาพังเพย หมายถึง ถ้อยคาที่แสดงความจริง ไม่ได้สอนโดยตรง จะเป็นคาที่กล่าวไว้
ให้ตีความหมายเข้ากับเรื่อง มีความหมายทานองติชม การเปรียบเทียบ และให้ข้อคิด
ในการปฏิบัติ เช่น คางคกขึ้นวอ กระต่ายตื่นตูม เห็นช้างขี้ อย่าขี้ตามช้าง ไก่งามเพราะขน
คนงามเพราะแต่ง น้าพึ่งเรือเสือพึ่งป่า
สานวน หมายถึง ถ้อยคาที่เรียบเรียงด้วยความคมคาย สละสลวย ใช้พูดสื่อสารกัน
มีความหมายเป็นนัย กินความลึกซึ้ง มักเป็นคาเปรียบเทียบ เช่น หัวหกก้นขวิด หมูไปไก่มา
ตีนเท่าฝาหอย อ้อยเข้าปากช้าง ขวานผ่าซาก คว้าน้าเหลว ปั้นน้าเป็นตัว น้าร้อนปลาเป็น
น้าเย็นปลาตาย ฯลฯ
ข้อสังเกต โดยทั่วไปสานวนจะมีความหมายครอบคลุมถึงสุภาษิต คาพังเพยด้วย
จึงยากที่จะแยกกันได้เด็ดขาด

ตัวอย่าง สานวน สุภาษิต คาพังเพย

 กว่าถั่วจะสุก งาก็ไหม้ (ทาอะไรไม่ทันท่วงที)


 กินบนเรือนแล้วขี้รดหลังคา (เนรคุณ)
 กินปูนร้อนท้อง (ทาผิดแล้วมักออกตัว แสดงพิรุธ)
 เก็บเบี้ยใต้ถุนราน
้ (ทางานได้เงินเล็ก ๆ น้อย ๆ ก็เอา)

๒๓๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 232 7/17/18 10:31 AM


๒๓๐


 ท๗/ผ.๔
ท ๗/ผ.๔

หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน
ตัวอย่าง สานวน สุภาษิต คาพังเพย

 ขายผ้า เอาหน้ารอด (ยอมเสียทุกอย่างเพื่อรักษาชื่อเสียง)


 ขิงก็รา ข่าก็แรง
(ต่างคนต่างแรง ไม่ยอมกัน เรื่องเล็กก็เลยกลายเป็นเรื่องใหญ่ไป เพราะทิฐิมานะ)
 ขี่ช้างจับตั๊กแตน (ทาเรื่องเล็กให้กลายเป็นเรื่องใหญ่ ได้ผลไม่คุ้มกับที่ต้องเสียไป)
 เข้าตามตรอก ออกตามประตู (ทาอะไรให้ถูกต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณี)
 เข้าเถื่อนอย่าลืมพร้า ได้หน้าอย่าลืมหลัง
(อย่าประมาทต้องเตรียมให้พร้อม และให้มีสติกาหนดจดจาให้ดี)
 เข้าเมืองตาหลิ่ว ต้องหลิ่วตาตาม
(ประพฤติให้ถูกต้องตามกาลเทศะ เมื่อไปอยู่ในพวกเขาแล้ว ก็ต้องประพฤติ
คล้อยตามเขา)
 เขียนเสือให้วัวกลัว (ขู่ให้กลัว)
 คนดีตกน้าไม่ไหล ตกไฟไม่ไหม้
(คนดีไปที่ไหนก็มีคนอยากคบหาสมาคมด้วย ไม่ลาบาก)
 คนเดียวหัวหาย สองคนเพื่อนตาย สามคนกลับมาได้
(มีเพื่อนหลายคน ย่อมดีกว่า เพื่อว่าจะได้ช่วยเหลือกันและกัน)
 คนรักเท่าผืนหนัง คนชังเท่าผืนเสื่อ
(คนที่รักเรามีน้อยคล้ายผืนหนัง คนชังมีมาก อย่างกับเสื่อลาแพน)
 คบคนให้ดูหน้า ซื้อผ้าให้ดูเนื้อ (การคบเพื่อนให้ดูนิสัยใจคอให้ลึกซึ้งก่อน)
 คบคนพาล พาลพาไปหาผิด คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล
(คบเพื่อนไม่ดีย่อมนาความเดือดร้อนมาให้ คบเพื่อนดีย่อมดีตาม)
 คบคนดีมีศรีแก่ตัว คบคนชั่วอัปราชัย
(อัปราชัย (อับ-ปะ-รา-ชัย) ในที่นี้มีความหมายเท่ากับ ปราชัย (ปะ-รา-ชัย)
คือ พ่ายแพ้ หมายถึง ไม่เป็นมงคลแก่ตัว)

ปรับปรุงมาจาก www.เกร็ดความรู้.net

๒๓๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 233 7/17/18 10:31 AM


๒๓๑


ท ๗/ผ.๔-๐๙
 ท๗/ผ.๔-๐๙



ใบงานที่ ๐๙
สานวนไทย คาพังเพย สุภาษิต

คาชี้แจง เลือกคาสุภาษิตที่กาหนดให้เติมลงในช่องว่างให้เหมาะสม

 เกลือเป็นหนอน
 ความประมาทเป็นหนทางสู่ความตาย
 ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน
 เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
 ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสาเร็จอยู่ที่นั่น
 กว่าถั่วจะสุก งาก็ไหม้

๑. ผู้จัดการบอกว่าความลับของบริษัทเราถูกเปิดเผยเพราะ………………………………….....……..

๒. “เราเกิดมาทั้งทีชีวิตหนึ่ง อย่าหมายพึ่งผู้ใดให้เขาหยัน
ควรคะนึงพึ่งตนทนกัดฟัน คิดบากบั่นตั้งหน้ามานะทา”
บทร้อยกรองนี้ให้ข้อคิดใด…………………………………..………………………...................………..

๓. “ในการศึกษาเล่าเรียนหรือการทางานใด ๆ ถ้าทุกคนมีความมุ่งมั่นย่อมประสบผลสาเร็จ”
คากล่าวนี้ตรงกับสุภาษิตว่า ……………………………………………………………..............………….

๔. เราไม่ควรอาฆาตพยาบาทผู้ใด ควรอภัยให้เขาเพราะ
……………………………………………………………………………………………………………................. 


 ๕. สุริวิภา เธอไม่ควรขับรถด้วยความเร็วนะ เพราะ………………………………………………...…….



๒๓๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 234 7/17/18 10:31 AM


๒๓๒
 ทท๗/ผ.๔-๑๐
๗/ผ.๔-๑๐


หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน
ใบงานที่ ๑๐
สานวน คาพังเพย สุภาษิต


คาชี้แจง เติมสุภาษิตสานวนไทยให้ตรงกับภาพ พร้อมบอกความหมายให้ถูกต้อง 

ตัวอย่าง

“ยื่นหมูยนื่ แมว”
หมายถึง แลกกันโดยต่างฝ่ายต่างให้และรับในเวลาเดียวกัน

“ …………………………………………………………… ”
หมายถึง ………………………………………………………………………..

“ …………………………………………………………… ”
หมายถึง ………………………………………………………………………..

“ …………………………………………………………… ”
หมายถึง ………………………………………………………………………..


“ …………………………………………………………… ”
หมายถึง ………………………………………………………………………..




 “ …………………………………………………………… ”


หมายถึง ………………………………………………………………………..


๒๓๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 235 7/17/18 10:31 AM


๒๓๓


 ท ๗/ผ.๔-๑๑
ท๗/ผ.๔-๑๑


 ใบงานที่ ๑๑
สานวน คาพังเพย สุภาษิต


คาชี้แจง นักเรียนวาดภาพสุภาษิตหรือสานวนไทย คนละ ๑ สานวน พร้อมระบายสีให้สวยงาม


 ....................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................. ..................

..................................................................................................................................................................
 ....................................................................................................................................................................

 ..................................................................................................................................................................


....................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................

....................................................................................................................................................................
 ..................................................................................................................................................................

อยู่ในดุลยพินิจของครูผสู้ อน
 ....................................................................................................................................................................

 ..................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

........................................................................................................................................... .......................

....................................................................................................................................................................
 ..................................................................................................................................................................

๒๓๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 236 7/17/18 10:31 AM


๒๓๔
 ท ๗/ผ.๔-๑๒
๒๓๔  ท๗/ผ.๔-๑๒


หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน
ใบงานที่ ๑๒  ท๗/ผ.๔-๑๒
วิเคราะห์สุภาษิตสานวนไทย
ใบงานที่ ๑๒
วิสเคราะห์
คาชี้แจง เขียนข้อความที่กาหนดให้ านวนสุสุภาษิ
ภาษิ
ใส่ในตาราง ตส“คุ
ตานวนไทย
ณธรรมนาสุข” ให้สอดคล้องกัน
สานวนสุ
คาชี้แจง เขียนข้อความที่กาหนดให้ ภาษิ“คุ
ใส่ในตาราง ต ณธรรมนาสุข” ให้สอดคล้องกัน
เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน ทางานตัวเป็นเกลียว ร่วมแรงร่วมใจ
หนักเก็เอาเบาสู
บเบี้ยใต้ถ้ ุนร้าน เก็ทบางานตั
หอมรอมริ บ ยว
วเป็นเกลี ร่วน้มแรงร่
าหนึ่งวใจเดี
มใจ ยว
เก็บหนั
เล็กกผสมน้
เอาเบาสู อย้ หลัเก็งบสูหอมรอมริ
้ฟ้าหน้าสูบ้ดิน น้มีาหนึ
สลึ่งงใจเดี
พึงบรรจบให้
ยว ครบบาท
 ร่วมใจไมตรี
เก็บเล็กผสมน้อย ไปด้
หลังวสูยกั ้ฟ้านหน้
มาด้
าสูว้ดยกั
ิน น มีสายตั
สลึงพึงวบรรจบให้
แทบขาดครบบาท

 ร่วมใจไมตรี ไปด้วยกันมาด้วยกัน สายตัวแทบขาด

คุณธรรมนำสุข
คุณธรรมนำสุข
คุณธรรม ข้อความ ความหมาย
คุณธรรม ข้อความ ความหมาย

ความประหยั ดด
ความประหยั

ความขยั
ความขยั นหมันหมั
่นเพี่นยเพีรยร

ความสามัคคี
ความสามัคคี

๒๓๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 237 7/17/18 10:31 AM


๒๓๕


ท ๗/ผ.๔-๑๓
 ท๗/ผ.๔-๑๓

ใบงานที่ ๑๓
วิเคราะห์ข้อความ

คาชี้แจง แยกข้อความที่กาหนดให้ ลงในช่องตาราง

มีรายได้น้อยกว่ารายจ่าย แบ่งหน้าทีไทย
่กันรับผิดชอบ ไม่ไว้ใจกัน
การแตกความสามัคคีกัน  ยึดมั่นในหลักประชาธิปไตย มีลูกมากเกิน ๓ คน
วางแผนการใช้จ่าย ขายสิทธ์ ขายเสียง สมานฉันท์ ปรองดองกัน
ราคาข้าวตกต่า หัวหน้าครอบครัวรับผิดชอบผู้เดียว สามัคคีคือพลัง
ทุกคนช่วยกันทางาน เคารพสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

ครอบครัวมีความสุข ครอบครัวไม่ดีมีทุกข์

ประเทศดีมีความสุข ประเทศมีความทุกข์

๒๓๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 238 7/17/18 10:31 AM


๒๓๖
 ท ๗/ผ.๕
 ท๗/ผ.๕

หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน
ใบความรู้
การท่องบทอาขยาน


กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายกาหนดให้มีการท่องอาขยานอย่างจริงจังในสถานศึกษา
ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๔๒ เป็นต้นไป โดยมีวัตถุประสงค์ของการท่องอาขยาน ดังนี้
๑. เพื่อให้นักเรียนตระหนักในคุณค่าของภาษาไทย และให้ซาบซึ้งในความไพเราะของ
บทร้อยกรอง
๒. เพื่อเป็นพื้นฐานในการแต่งคาประพันธ์
๓. เพื่อเป็นการสื่อในการถ่ายทอดคุณธรรม คติธรรมและข้อคิดที่เป็นประโยชน์แก่เยาวชน
๔. เพื่อส่งเสริมให้มีจิตสานึกทางวัฒนธรรมของคนในชาติ

บทอาขยานที่กาหนดให้ท่องจา
บทอาขยายที่ให้นักเรียนท่องจานั้น แบ่งเป็น ๓ ประเภท คือ บทอาขยานที่เป็นบทหลัก
บทรอง และบทเลือกอิสระ
บทหลัก หมายถึง บทอาขยานที่กระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้กาหนดให้นักเรียนนาไป
ท่องจาเพื่อความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันทั่วประเทศ
บทรอง หมายถึง บทอาขยานที่ครูผู้สอนหรือสถานศึกษาเป็นผู้กาหนดให้นักเรียน
ท่องจาเสริมจากบทอาขยานที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด (บทหลัก) เป็นบทร้อยกรองที่มี
ลักษณะตรงตามหลักเกณฑ์การคัดเลือกบทอาขยาน อาจเป็นบทร้อยกรองที่แสดงภูมิปัญญา
ท้องถิ่น เช่น เพลงพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ค่าวชอ ผญา เพลงชาน้อง เพลงเรือ บทกวีร่วมสมัย
ที่มีคุณค่า ฯลฯ โดยกาหนดให้ท่องจาภาคเรียนละ ๑ บท เป็นอย่างน้อย
บทเลือกอิสระ หมายถึง บทอาขยานที่นักเรียนแต่ละคนเลือกสรรมาท่องเองด้วยความ
สมัครใจ หรือด้วยความชื่นชอบ อาจเป็นบทร้อยกรองที่มีผู้แต่งไว้ หรือเป็นบทร้อยกรองที่
นักเรียนแต่งขึ้นเอง หรือผู้ปกครองเป็นผู้แต่งขึ้นก็ได้ แต่ต้องบอกได้ว่ามีเหตุผลอย่างไรจึงเลือก
บทร้อยกรองนั้น ๆ มาท่องจาเป็นบทอาขยานของตนเอง โดยความเห็นชอบของครูผู้สอนหรือ
สถานศึกษา

๒๓๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 239 7/17/18 10:31 AM


๒๓๗


 ทท๗/ผ.๕
๗/ผ.๕

บทร้อยกรองที่จะคัดเลือกให้เป็นบทรองและบทเลือกอิสระ ควรมีลักษณะ ดังนี้


๑. มีเนื้อหา ความยากง่ายเหมาะสมกับวัย
๒. มีความยาวพอเหมาะพอควร
๓. มีคุณธรรม คติธรรม ให้แนวทางการดาเนินชีวิตที่ดีงาม
๔. มีสุนทรียรสทางภาษา
๕. มีความถูกต้องตามฉันทลักษณ์
๖. มีรูปแบบที่หลากหลาย
การอ่านบทอาขยานตามหลักการทั่วไป
การอ่านบทอาขยานส่วนใหญ่เป็นการอ่านออกเสียง คือ ผู้อ่านเปล่งเสียงออกมาดังๆ
ในขณะที่ใช้สายตากวาดไปตามตัวอักษร ยึดหลักการอ่านออกเสียงเหมือนหลักการอ่านทั่วไป
เพื่อให้การอ่านออกเสียงมีประสิทธิภาพ ควรฝึกฝนดังนี้
๑. กวาดสายตาจากคาต้นวรรคไปยังท้ายวรรค และเคลื่อนสายตาไปยังวรรคถัดไป
อย่างรวดเร็ว โดยไม่ต้องส่ายหน้าตามไป เพือ่ เป็นการอ่านล่วงหน้า ทาให้การอ่านออกเสียง
ต่อเนื่องกันไปโดยไม่สะดุด
๒. ฝึกเปล่งเสียงให้ดังพอประมาณโดยพิจารณาถึงกลุ่มผู้ฟังและสถานที่ แต่ไม่ตะโกน
ควรบังคับเสียง เน้นเสียง ปรับระดับเสียงสูง - ต่า ให้สอดคล้องกับจังหวะลีลา ท่วงทานอง และ
ความหมายของเนื้อหาที่อ่าน
๓. อ่านด้วยเสียงที่ชัดเจน แจ่มใส ไพเราะ มีกระแสเสียงเดียว ไม่แตกพร่า เปล่งเสียง
จากลาคอโดยตรงด้วยความมั่นใจ
๔. ควรทรงตัวและรักษาอากัปกิริยาให้ถูกวิธี จะช่วยให้ระบบกล้ามเนื้อต่าง ๆ ทางาน
ประสานกัน ทาให้เปล่งเสียงได้ดี มีท่วงท่าน่าเชื่อถือ ลักษณะการทรงตัวที่ถูกวิธีคือ ไม่ว่าจะยืน
หรือนั่งอ่าน ลาตัวต้องตั้งตรง และอยู่ในอาการสมดุล ควรถือบทหรือหนังสือห่างจากสายตา
ประมาณหนึ่งฟุต ขณะอ่านพยายามให้ลาคอตั้งตรง เงยหน้าเล็กน้อย สบตากับคนฟังเป็นระยะ ๆ
๕. อ่านออกเสียงให้ถูกอักขรวิธีหรือความนิยม และต้องเข้าใจเนือ้ หาของบทอาขยาน
๖. อ่านออกเสียง ร ล คาควบกล้า ให้ถูกต้องชัดเจน
๗. อ่านให้ถูกจังหวะและวรรคตอน
๘. พยายามอ่านให้ได้อารมณ์และความรู้สึกตามเนื้อหา

๒๔๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 240 7/17/18 10:31 AM


๒๓๘


ท ท๗/ผ.๕
๗/ผ.๕

การอ่านบทอาขยานเป็นทานองเสนาะ

หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน
การอ่านบทอาขยานเป็นทานองเสนาะช่วยให้บทอาขยานนั้นมีความไพเราะ นักเรียน
เกิดความสนใจจดจาบทอาขยานได้ดี และสนุกสนานยิ่งขึ้น การฝึกอ่านทานองเสนาะมีขั้นตอน
ดังนี้
๑. อ่านเป็นร้อยแก้วธรรมดาให้ถูกต้องชัดเจนตามอักขรวิธีก่อน ทั้ง ร , ล ตัวควบกล้า
อ่านออกเสียงให้ตรงตามเสียงวรรณยุกต์
๒. อ่านให้ถูกจังหวะวรรคตอน การอ่านผิดวรรคตอน ทาให้เสียความ
๓. อ่านให้สัมผัสคล้องจองกันเพื่อความไพเราะ
๔. อ่านให้ถูกทานองและลีลาของคาประพันธ์แต่ละชนิด คาประพันธ์แต่ละชนิด
จะมีบังคับจานวนคาสัมผัส หรือคาเอก คาโท แตกต่างกัน การอ่านทานองเสนาะจึงต้องอ่าน
ให้ถูกท่วงทานองและลีลาของคาประพันธ์แต่ละชนิด
๕. อ่านโดยใช้น้าเสียงให้เหมาะสมกับเนื้อหาและอ่านพยางค์สุดท้ายของวรรค
ด้วยการทอดเสียง แล้วปล่อยให้หางเสียงผวนขึ้นจมูก
ประโยชน์ของการท่องบทอาขยาน
การท่องจาบทอาขยาน เปรียบเสมือนเป็นบันไดขั้นแรกที่นาไปสูก่ ารคิด เมื่อมีข้อมูล
มีตัวอย่างที่ดีซึ่งเป็นคลังความรู้ที่เราเก็บไว้กับตัว ต้องการใช้เมื่อใดเราก็สามารถนาออกมาใช้
ได้ทันที การท่องจาบทอาขยานเป็นพื้นฐานที่นาไปสู่การเลือกจาบทประพันธ์ที่ดีและมีคุณค่า
ทั้งในเชิงภาษาและเนือ้ หาที่เราได้พบในชีวิตประจาวันต่อไป
การท่องจาบทอาขยานมีประโยชน์ สรุปได้ดังนี้
๑. ช่วยให้เกิดความซาบซึ้งในเรื่องที่อ่าน
๒. ฝึกการคิดวิเคราะห์ประเมินค่าเรือ่ งที่อ่าน
๓. เป็นตัวอย่างการใช้ภาษาที่ไพเราะ
๔. ช่วยให้มีคติประจาตัว สอนใจให้ระลึกถึงคุณธรรมที่ได้จดจา
๕. ช่วยกล่อมเกลาและจรรโลงใจให้ประณีตมากขึน้
๖. เป็นตัวอย่างการแต่งคาประพันธ์ตามรูปแบบที่ได้ท่องจา
๗. ได้รับความเพลิดเพลิน สนุกสนาน
๘. สามารถนาไปใช้อ้างอิงในงานต่าง ๆ ได้

ปรับปรุงมาจาก www.thaigoodview.com

๒๔๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 241 7/17/18 10:31 AM


๒๓๙


 ท๗/ผ.๕
ท ๗/ผ.๕

บทอาขยาน
ผู้ชนะ

ผู้ชนะ
เมื่อทาการสิ่งใดด้วยใจรัก ถึงงานหนักก็เบาลงแล้วครึ่งหนึ่ง
ด้วยใจรักเป็นแรงที่เร้ารึง ให้มุ่งมั่นฝันถึงซึ่งปลายทาง
เมื่อทาการสิ่งใดใจบากบั่น ไม่ไหวหวั่นอุปสรรคเป็นขวากขวาง
ถึงเหนื่อยยากพากเพียรไม่ละวาง งานทุกอย่างเสร็จเพราะกล้าพยายาม
เมื่อทาการสิ่งใดใจจดจ่อ คอยเติมต่อตั้งจิตไม่คิดขาม
ทาด้วยใจเป็นชีวิตคอยติดตาม บังเกิดผลงอกงามตามต้องการ
เมื่อทาการสิ่งใดใคร่ครวญคิด เห็นถูกผิดแก้ไขให้พ้นผ่าน
ใช้สมองตรองตริคิดพิจารณ์ ปรากฏงานก้าวไกลไม่ลาเค็ญ
ความสาเร็จจะว่าใกล้ก็ใช่ที่ จะว่าไกลฤาก็มีอยู่ให้เห็น
ถ้าจริงจังตั้งใจไม่ยากเย็น แล้วจะเป็นผู้ชนะตลอดกาล
บุญเสริม แก้วพรหม

๒๔๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 242 7/17/18 10:31 AM


๒๔๐


ท ๗/ผ.๕-๑๔
 ท๗/ผ.๕-๑๕

หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน
ใบงานที่ ๑๔
ท่องจาอาขยาน

คาชี้แจง เติมบทอาขยานที่ขาดหายไปให้สมบูรณ์

 ผู้ชนะ

เมื่อทาการสิ่งใดด้วยใจรัก .....................................................
ด้วยใจรักเป็นแรงที่เร้ารึง ให้มุ่งมั่นฝันถึงซึ่งปลายทาง
.......................................... ไม่ไหวหวั่นอุปสรรคเป็นขวากขวาง
ถึงเหนื่อยยากพากเพียรไม่ละวาง งานทุกอย่างเสร็จเพราะกล้าพยายาม
............................................... คอยเติมต่อตั้งจิตไม่คิดขาม
ทาด้วยใจเป็นชีวิตคอยติดตาม บังเกิดผลงอกงามตามต้องการ
................................................. เห็นถูกผิดแก้ไขให้พ้นผ่าน
ใช้สมองตรองตริคิดพิจารณ์ ...............................................
ความสาเร็จจะว่าใกล้ก็ใช่ที่ จะว่าไกลฤาก็มีอยู่ให้เห็น
......................................... แล้วจะเป็นผู้ชนะตลอดกาล




๒๔๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 243 7/17/18 10:31 AM


๒๔๑


ท ๗/ผ.๕-๑๕
 ท๗/ผ.๕-๑๖


 ใบงานที่ ๑๕
 ท่องจาอาขยาน
คาชี้แจง อ่านบทอาขยาน “ผู้ชนะ” และบอกข้อคิดที่ได้


 ผู้ชนะ
 เมื่อทาการสิ่งใดด้วยใจรัก ถึงงานหนักก็เบาลงแล้วครึ่งหนึ่ง
 ด้วยใจรักเป็นแรงที่เร้ารึง ให้มุ่งมั่นฝันถึงซึ่งปลายทาง

เมื่อทาการสิ่งใดใจบากบั่น ไม่ไหวหวั่นอุปสรรคเป็นขวากขวาง
ถึงเหนือ่ ยยากพากเพียรไม่ละวาง งานทุกอย่างเสร็จเพราะกล้าพยายาม

เมื่อทาการสิ่งใดใจจดจ่อ คอยเติมต่อตั้งจิตไม่คิดขาม
 ทาด้วยใจเป็นชีวิตคอยติดตาม บังเกิดผลงอกงามตามต้องการ
 เมื่อทาการสิ่งใดใคร่ครวญคิด เห็นถูกผิดแก้ไขให้พ้นผ่าน

ใช้สมองตรองตริคิดพิจารณ์ ปรากฏงานก้าวไกลไม่ลาเค็ญ
ความสาเร็จจะว่าใกล้ก็ใช่ที่ จะว่าไกลฤาก็มีอยู่ให้เห็น

ถ้าจริงจังตั้งใจไม่ยากเย็น แล้วจะเป็นผู้ชนะตลอดกาล



บุญเสริม แก้วพรม



สรุปขอคิ
้ ดที่ได้
 ............................................................................................................................
 ............................................................................................................................


 

๒๔๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 244 7/17/18 10:31 AM


๒๔๒


ท ๗/ผ.๕
 ท๗/ผ.๕



หนวยการเรียนรูที่ ๗ งดงามสํานวน

 แบบทดสอบหลังเรียน

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ งดงามสานวน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

คาชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับอักษรหน้าคาตอบที่ถูกต้องที่สุด


๑. คาว่า “ขึ้น” ในข้อใดมีความหมายโดยนัย
ก. ฉันเห็นเห็ดโคนขึ้นอยู่ใต้ต้นมะขาม ข. ฝนตกหนักอย่างนี้ต้นไม้ขึ้นดีนัก
ค. แม่ให้นอ้ งขึน้ ไปอยู่บนบ้าน ง. พักนี้มือขึ้นดีทาอะไรก็สาเร็จ
๒. ข้อใดมีความหมายว่า “เอาความลับไปให้ศัตรู”
ก. สาวไส้ให้กากิน ข. หน้าเนื้อใจเสือ
ค. ขี่ชา้ งจับตั๊กแตน ง. เข็นครกขึ้นภูเขา
๓. “ปั้นน้าเป็นตัว” หมายความว่าอย่างไร
ก. ทาสิ่งที่คนอื่นไม่ทา ข. กลบเกลื่อนความชั่ว
ค. แสร้งทาเรื่องไม่จริงให้เป็นจริง ง. พยายามพูดให้เห็นจริง
๔. ข้อใดใช้สานวนเปรียบเทียบได้ถูกต้อง
ก. เหตุการณ์ยังไม่เกิดอย่าวิตกกังวลทาเป็นกระดี่ได้น้าไปได้
ข. เด็กคนนี้ทางานไม่เสร็จเหมือนเหยียบขี้ไก่ไม่ฝ่อ
ค. เขาเป็นคนพูดเก่งมากจนน้าไหลไฟดับ
ง. พี่น้องคู่นี้ไม่มใี ครยอมใครเหมือนสาวไส้ให้กากิน
๕. วันนี้ป้าทาขนมใส่น้าตาลมือหนักไปหน่อย คาที่ขีดเส้นใต้มีความหมายว่าอย่างไร
ก. มากกว่าปกติ ข. เท่าเดิม
ค. น้อยกว่าปกติ ง. ไม่มีข้อถูก

๒๔๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 245 7/17/18 10:31 AM


๒๔๓


 ท๗/ผ.๕
ท ๗/ผ.๕

๖. ข้อใดคล้องจองกับคาว่า “รูปไม่หล่อ”
ก. พ่อไม่รวย ข. สวยทั้งวัน
ค. ฉันกับเธอ ง. เสือลายสวย
๗.“ขับรถอย่า................ถ้าหากพลาดอาจถึงตาย” ควรเติมคาใดคาขวัญจึงจะสมบูรณ์
ก. นอนหลับ ข. ประมาท
ค. ขับเร็ว ง. ใจลอย
๘. “อันดอกบัวมีมาก หลากหลายสี ล้วนมีผู้ชื่นชมนิยมหนอ” คาที่ขีดเส้นใต้สัมผัส
กับคาในข้อใด
ก. หลาก ข. หลาย
ค. ล้วน ง. ชื่น
๙. “อยู่บ้านท่านอย่านิ่งดูดาย ...............................” จงเติมประโยคคาคมให้สมบูรณ์
ก. ปั้นวัวปั้นควายให้ลูกท่านเล่น ข. ช่วยทาความสะอาดบ้าน
ค. ล้างถ้วยล้างชามให้ท่านบ้าง ง. ข้างขึ้นเดือนหงายสบายจริง
๑๐. “เด็กดี.............. รู้จักให้และแบ่งปัน” ควรเติมคาใดคาขวัญจึงจะสมบูรณ์
ก. สดใส ข. มีสติ
ค. มีวินัย ง. เสียสละ



๒๔๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 246 7/17/18 10:31 AM


อานจับใจความ ยอตามคิด

6102149L01e-�6 (��.).indd 247 7/17/18 10:31 AM


6102149L01e-�6 (��.).indd 248 7/17/18 10:31 AM
๒๔๖

 ทท๘/ผ.๑
๘/ผ.๑
ท๘ /ผ.๑
แบบทดสอบก่อนเรียน

หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด


หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ อ่านจับใจความ ย่อตามคิด ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
..........................................................................................................................................
คาชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับอักษรหน้าคําตอบที่ถูกต้องที่สุด

๑. วิธีจับผิดโฆษณาที่โอ้อวดสรรพคุณเกินจริง คือ ถ้าเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น


หนังสือพิมพ์ แผ่นพับ ใบปลิว ฯลฯ จะต้องมีเลขที่อนุญาตโฆษณา ถ้าเป็นสื่อ
ทางโทรทัศน์ วิทยุ หรือเครื่องกระจายเสียงที่โอ้อวดว่าสามารถรักษาโรคมะเร็ง
เบาหวาน อัมพาต วัณโรค โรคทางสมอง หัวใจ ตับ ม้าม ไต หรือระบุว่าช่วยเสริม
สุขภาพของร่างกาย ตลอดจนมีการลด แลก แจก แถม จูงใจให้ซื้อหรือรับรอง
สรรพคุณในรูปแบบของบทสัมภาษณ์ผู้มีประสบการณ์การใช้ยา ก็สันนิษฐาน
ได้เลยว่าไม่จริง ต้องระวังอย่าไปหลงเชื่อ

ข้อใดสรุปใจความสําคัญได้ดีที่สุด
ก. โรคหายได้ของ ต้องอ่านสรรพคุณ ข. เชื่อโฆษณาทางทีวี โรคไม่มีแน่นอน
ค. สัมภาษณ์ผู้ใช้ยา ปรารถนาพ้นโรคภัย ง. สรรพคุณยามากมาย อันตรายอย่างมหันต์

๒. ความรู้ดูยิ่งล้ํา สินทรัพย์
คิดค่าควรเมืองนับ ยิ่งไซร้
เพราะเหตุจักอยู่กับ กายอาต – มานา
โจรจักเบียนบ่ได้ เร่งรู้เรียนเอา

บทร้อยกรองนี้ ใจความสําคัญตรงกับข้อใดมากที่สุด
ก. ความรู้คือทรัพย์สิน รู้ใช้กินพ้นภัยพาล
ข. วิชานํามาใช้ ผลที่ได้คือเงินตรา
ค. หนังสือคือสมบัติ หมั่นฝึกหัดจะสุขใจ
ง. ความคิดผลิตเงิน ใช้ให้เพลินไม่มีภัย

๒๔๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 249 7/17/18 10:31 AM


๒๔๗

 ท๘/ผ.๑
ท ๘/ผ.๑
ท๘ /ผ.๑

๓. คําศัพท์ในข้อใด ควรมาก่อนคําศัพท์อื่น
ก. คลินิก ข. ครองแครง ค. คริสต์มาส ง. คละคลุ้ง
๔. ข้อใดเรียงลําดับคําศัพท์ได้ถูกต้องตามพจนานุกรม
ก. ตะกร้า ถวัลย์ ทโมน น้ําเงี้ยว
ข. ภิกษุ ประเคน ถวาย นิมนต์
ค. เมขลา เนรมิต ราชบัลลังก์ ทอดกฐิน
ง. ยิมนาสติก จินตนาการ ชมดชม้อย ขะมักเขม้น

๕. ข้อตกลงในการอยู่ร่วมกัน คือ
๑. การตรงต่อเวลา
๒. การมีสัมมาคารวะ
๓. การรักษาความสะอาด
๔. การแต่งกายที่ถูกต้องและเรียบร้อย

จากข้อตกลง ปฏิบัติตามข้อใดแสดงความเป็นไทยได้ชัดเจนที่สุด
ก. การตรงต่อเวลา
ข. การมีสัมมาคารวะ
ค. การรักษาความสะอาด
ง. การแต่งกายที่ถูกต้องและเรียบร้อย
๖. การขาดคุณธรรมข้อใด ที่จะทําให้สังคมไม่สงบสุข
ก. ความประหยัด ข. ความรับผิดชอบ
ค. ความมีวินัย ง. ความสะอาด
๗. การเขียนรูปแบบคํานําย่อความมีประโยชน์อย่างไร
ก. ทําให้ทราบที่มาของเรื่อง
ข. ทําให้ทราบรายละเอียดของเรื่อง
ค. ทําให้ทราบจุดประสงค์ของผู้เขียน
ง. ทําให้เขียนย่อความได้สะดวกยิ่งขึ้น

๒๕๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 250 7/17/18 10:31 AM


๒๔๘

 ท๘/ผ.๑
ท๘ /ผ.๑ ท ๘/ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด


๘. หลายคนเชื่อว่ายาชุดเป็นยาที่แรงดี และราคาถูก ซึ่งความจริงแล้วอันตรายมาก
เพราะมักมีตัวยาซ้ําซ้อนกัน เช่น ยาชุดแก้ปวดเมื่อย ก็จะมียาแก้ปวดอยู่ ๒ – ๓ เม็ด
ซึ่งหนึ่งในนั้นอาจผสมสารสเตียรอยด์ที่เป็นอันตรายอยู่ก็ได้ ทําให้บางคนถึงกับกระเพาะ
ทะลุ อีกทั้งบางชุดอาจมีตัวยาเกินความจําเป็น เช่น ยาชุดลดไข้อาจจะมียาแก้ไอ
รวมอยู่ด้วย ทําให้ผู้ป่วยที่ไม่ได้ไอก็ต้องรับยาแก้ไอไปด้วย หรือในบางชุดอาจมี
ยาปฏิชีวนะทําให้เสี่ยงต่อการดื้อยาของเชื้อโรค เนื่องจากได้รับยาไม่ครบขนาด หรือ
ได้รับยาที่ไม่ตรงกับเชื้อโรคที่เป็นสาเหตุของอาการป่วย รวมถึงอาจมียาเสื่อมคุณภาพ
หรือยาปลอมปะปนอยู่ กินแล้วอาจมีอันตรายถึงชีวิตได้

จากบทความข้างต้น ข้อใดย่อความได้ตรงประเด็น และกระชับที่สุด


ก. ไม่ควรรับประทานยาชุดเพราะไม่มีคุณภาพ
ข. ไม่ควรรับประทานยาชุดเพราะไม่มีความจําเป็น
ค. ไม่ควรรับประทานยาชุดเพราะเป็นอันตรายต่อร่างกาย
ง. ไม่ควรรับประทานยาชุดเพราะมีตัวยามากเกินความจําเป็น
๙. “วันนีแ้ ม่ทําแกงอะไรมาใส่บาตรให้ผม” พระลูกชายถามผู้เป็นแม่
ข้อใด ใช้คําสรรพนามแทนคําที่ขีดเส้นใต้ได้ถูกต้อง
ก. คุณ................ฉัน
ข. โยม..............อาตมา
ค. คุณแม่...........กระผม
ง. ท่าน .............ข้าพเจ้า
๑๐. “ขอพระองค์ทรงพระเจริญ”
คําที่ขีดเส้นใต้ ทําหน้าที่ตามข้อใด
ก. สรรพนามบุรุษที่ ๑ ข. สรรพนามบุรุษที่ ๑ และ ๒
ค. สรรพนามบุรุษที่ ๒ ง. สรรพนามบุรุษที่ ๓

๒๕๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 251 7/17/18 10:32 AM


๒๔๙

 ท๘/ผ.๑
ท ๘/ผ.๑

ใบความรู้
การอ่านจับใจความสาคัญ
ท๘

ใจความสาคัญ คือ ข้อความสําคัญของเรื่อง จะตัดออกไปไม่ได้ ถ้าตัดออกไปจะทําให้


เนื้อความเปลี่ยนแปลงไปหรือได้ความไม่ครบถ้วน การอ่านเพื่อจับใจความสําคัญ ผู้อ่านต้องมี
สมาธิในการอ่าน และผู้อ่านจะต้องเข้าใจเรื่องที่อ่าน แล้วตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านว่า ใคร
ทําอะไร ที่ไหน เมื่อใด อย่างไร แล้วตอบคําถามเหล่านั้นแต่เพียงสั้นๆ แต่ให้ได้ใจความชัดเจน
จากนั้นนํามาเรียบเรียงให้เป็นประโยคหรือข้อความสั้นๆ
การอ่านจับใจความสาคัญ คือ การอ่านเพื่อค้นหาสาระสําคัญของเรื่องที่อ่าน ในหนึ่ง
ย่อหน้าจะมีใจความสําคัญที่สุดเพียงใจความเดียว นอกนั้นจะเป็นใจความรอง ซึ่งใจความสําคัญ
จะปรากฏ อยู่ตามย่อหน้าต่างๆ ของเรื่องที่อ่าน อาจอยู่ส่วนต้น ส่วนกลาง หรือส่วนท้าย
หลักการอ่านจับใจความสาคัญ มีดังต่อไปนี้
๑. อ่าน เพื่อทําความเข้าใจเนื้อหาในแต่ละย่อหน้า
๒. คิด โดยตั้งคําถามว่า ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างใด
๓. เขียน ร่างข้อความหรือคําตอบที่ได้ไว้เป็นตอนๆ
๔. เรียบเรียง นําข้อความที่สรุปไว้มาเรียบเรียงให้เป็นข้อความ โดยใช้คําสันธานเชื่อม
และเป็นสํานวนภาษาของตนเอง
ตัวอย่างข้อความ
การที่เรามาอยู่วัด มานุ่งขาวห่มขาว ไม่ใช่ถือแต่ศีลแปดข้อเท่านั้น แต่เราต้องนึกว่าศีล
นั้นคือความมีระเบียบ มีวินัย เราเดินอย่างมีระเบียบมีวินัย นั่งอย่างมีระเบียบ กินอย่างมีระเบียบ
ทําอะไรก็ทําอย่างมีระเบียบ ดังนั้นการรักษาศีลจึงเป็นการบังคับตนเองให้มีระเบียบวินัยในการ
กระทําสิ่งต่างๆ
ใจความสาคัญ คือ การรักษาศีลจึงเป็นการบังคับตนเองให้มีระเบียบวินัยในการ
กระทาสิ่งต่างๆ

๒๕๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 252 7/17/18 10:32 AM


๒๕๐

ท ๘/ผ.๑
 ท๘/ผ.๑
ท๘/ผ.๑-๐๑

หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด


ใบงานขั้นนา
การอ่านจับใจความสาคัญ

คาชี้แจง อ่านนิทานเรื่อง “ธรรมะโอสถ” แล้วตอบคําถามในแผนภาพความคิด


ท๘/ผ.๑ – ๐๑
ธรรมะโอสถ ๐๑๐๑๐๑

ชายหนุ่มคนหนึ่งคิดว่า พระพุทธศาสนาต้องมีดีอะไรแน่นอน ไม่อย่างนั้น


ผู้เฒ่าผู้แก่ทั้งหลายคงจะไม่ทําบุญให้ทานใส่บาตรพระสงฆ์ได้ทุกวัน จึงอยากได้อะไรดี ๆ
จากพระพุทธศาสนาบ้าง เขาขอสมัครเข้าไปบวชเป็นพระอยู่ที่วัดแห่งหนึ่ง
หลังจากบวชแล้ว เขาก็ตั้งใจศึกษาเล่าเรียนธรรมะและสอบได้ถึงนักธรรม
ชั้นเอกซึ่งเป็นชั้นสูงสุด หลังจากนั้นได้พยายามท่องพระปาติโมกข์จนจําได้คล่องแคล่ว และ
อ่านพระไตรปิฎกจนจบ ๔๕ เล่ม บางเล่มอ่านหลายเที่ยว เพราะเป็นคนขยันเอาจริงเอาจัง
เขาบวชได้ ๘ พรรษาก็ขอลาสึก
หลังจากสึกแล้วก็ไปมีครอบครัวทํามาหากินเหมือนคนทั่วไป แต่ไม่ประสบ
ความสําเร็จในหน้าที่การงาน ยังตั้งตัวไม่ได้
หลายปีผ่านไปก็ไม่ทําให้เขาดีขึ้น เขาจึงคิดว่าธรรมะที่เขาได้เรียนมาไม่ได้
ช่วยอะไรเขาเลย วันหนึ่งเขาไปหาหลวงพ่อที่วัด แล้วบอกท่านว่า “หลวงพ่อครับ ธรรมะ
ในพระพุทธศาสนานี่ ผมเห็นว่าไม่มีประโยชน์อะไร ผมศึกษาเล่าเรียนจนรู้เรื่องตลอด แต่ก็
ไม่ช่วยให้ผมดีขึ้นได้เลย ผมยังตั้งตัวไม่ได้จนเดี๋ยวนี้”
หลวงพ่อฟังแล้วได้แต่ยิ้ม ๆ ไม่ต่อความอะไร และไม่ได้อธิบายไขข้อข้องใจ
ให้เขาด้วยเห็นว่าเขาเรียนมามากแล้ว เขาเห็นว่าหลวงพ่อนิ่งเฉยอยู่จึงลากลับบ้าน
ต่อมาไม่กี่วัน หลวงพ่อไม่สบาย เป็นหวัด ไอ และเจ็บคอมาก จึงให้เด็กวัดไปตาม
ทิดคนนั้นมา และเล่าอาการให้ฟัง ทั้งขอให้ไปซื้อยาแก้ไอให้หน่อย
เขาจึงรีบไปตลาดซื้อยาแก้ไอมาถวายหลวงพ่อ หลังจากนั้นอีก ๒ - ๓ วัน
เขาเข้าไปหาหลวงพ่ออีกเพื่อถามอาการ “เป็นไงบ้างครับหลวงพ่อ หายดีแล้วหรือยัง”

๒๕๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 253 7/17/18 10:32 AM


๒๕๑

ท ๘/ผ.๑
 ท๘/ผ.๑
ท๘/ผ.๑-๐๑

“ยังไม่หายเลย ดูเหมือนจะหนักกว่าเก่าเสียด้วย” หลวงพ่อตอบเสียงแหบ ๆ


และไอโขลก ๆ แล้วเสริมว่า “สงสัยจะซื้อยาผิดมา จึงไม่ได้ผล”
เขาหยิบขวดยามาดูให้แน่ใจ มันก็เป็นยาแก้ไอ ฉลากยาก็บอกว่ท๘/ผ.๑
ายาแก้–ไอ๐๑
แก้เจ็บคอ ขับเสมหะ เขาจึงถามหลวงพ่อว่า “หลวงพ่อไม่๐๑๐๑๐๑ ได้อ่านฉลากยาหรือครับ”
“อ่านสิ อ่านหลายครั้ง อ่านจนท่องจําได้ว่าแก้ไอ แก้เจ็บคอ ขับเสมหะ”
“อ้าว แล้วทําไมหลวงพ่อยังไม่หายล่ะครับ” “ฉันไม่ได้กินมัน ฉันเพียงอ่าน
ฉลากอย่างเดียว” หลวงพ่อตอบหน้าตาเฉย
เขาชักฉุนหลวงพ่อ เลยต่อว่าไปว่า “โธ่หลวงพ่อ ยานี่แค่อ่านฉลากอย่างเดียว
แต่ไม่ได้กิน มันจะรักษาโรคให้หายอย่างไรกันหลวงพ่อก็”
“เออจริงของเอ็ง ไหนส่งยามาให้ซิ” หลวงพ่อตอบ แล้วเปิดขวดยาที่เขาส่งให้
ยกขึ้นจิบนิดหนึ่ง แล้วพูดว่า “ธรรมะของพระพุทธเจ้าก็เหมือนยาแก้ไอขวดนี้นั่นแหละ
ไอ้ทิดเอ๊ย อ่านแต่ธรรมะที่อยู่ในตาราพระไตรปิฎก แต่ไม่ได้เอามาปฏิบัตติ าม ก็แก้ทุกข์
แก้จนให้ไม่ได้หรอก เหมือนอ่านแค่ฉลากยาจะทาให้หายโรคได้อย่างไรกัน จริงไหมเล่า”
เขาไม่ตอบหลวงพ่อ แต่ตาสว่างขึ้นมาทันที

นิทานชาดก

๒๕๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 254 7/17/18 10:32 AM


๒๕๒

ท ๘/ผ.๑
ท๘/ผ.๑
ท๘/ผ.๑-๐๑

หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด


แผนภาพความคิด
การจับใจความสาคัญจากเรื่องที่อ่าน
นิทานเรื่อง “ธรรมะโอสถ”
ท๘/ผ.๑ – ๐๑
๐๑๐๑๐๑

ใจความสาคัญของเรื่องที่อ่าน ข้อคิดที่ได้จากนิทานที่อ่าน
……………………………………………………………………..
…………………………………………………
………………………………………………………………………
…………………………………………………
…………………………………………………………………….. …………………………………………………
……………………………………………………………………… …………………………………………………
.
…………………………………………………………………….. …………………………………………………
……………………………………………………………………… …………………………………………………
…………………………………………………………………….. …………………………………………………
……………………………………………………………………… …………………………………………………
…………………………………………………………………….. …………………………………………………
……………………………………………………………………… …………………………………………………

นิทาน
ธรรมะโอสถ

การนาข้อคิดที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………..……………

๒๕๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 255 7/17/18 10:32 AM


๒๕๓

ท ๘/ผ.๑-๐๑
 ท๘/ผ.๑-๐๑

.
ใบงานที่ ๐๑
การอ่านจับใจความสาคัญ


 าถามในแผนภาพความคิด
คาชี้แจง อ่านบทร้อยกรองเรื่อง “สี่ศิษย์พระดาบส” แล้วตอบคํ

ท๘/ผ.๑ – ๐๒ ๐๒๐๑
บทร้อยกรอง กลอนสุภาพ
เรื่อง สี่ศิษย์พระดาบส

ศิษย์ทั้งสี่เรืองฤทธิ์น่าพิศวง อีกดํารงเอกลักษณ์แห่งถิ่นฐาน
แต่ถือตัวอวดอ้างอหังการ แบ่งแยกงานศิลป์สยามอันงามงด
มอบของขวัญวันทนาพาให้คิด ว่าน้อมจิตบูชาพระดาบส
หรือแข่งคูณมูลค่ามาแทนทด สิ่งกําหนดอํานาจอันอาจอง
แต่ละคนคิดแคบแบบตนเอง ด้วยหวั่นเกรงชิงชัยจนใหลหลง
พระฤๅษีรู้แจ้งแห่งใจจง ศิษย์ประสงค์เป็นเอกเฉกยอดชาย
ทุกคนมีฝีมืออันลือเลื่อง กลับหมกมุ่นขุ่นเคืองก็เสื่อมสลาย
จึงสั่งสอนเตือนสติอธิบาย บ้านเมืองหมายอยู่สุขทุกหมู่ชน
มือที่ส่งสอดประสานสมานฉันท์ ย่อมปกป้องครองกันทุกแห่งหน
มิตรไมตรีมีไว้ในกมล ก่อเกิดผลสร้างสรรค์ทุกวันคืน
เหมือนบ้านซึ่งพึ่งเสาเข้าคอยค้ํา ถ้าเสาหนึ่งล้มคว่ําแล้วเสาอื่น
ก็ซวดเซทรุดส่งลงพังครืน ยากจะยืนอยู่เห็นเป็นบทเรียน
ศิษย์ทั้งสี่มีวิชาพาผูกมิตร พลังจิตเผื่อแผ่มิแปรเปลี่ยน
รวมแสงรักส่องสว่างดังดวงเทียน เพิ่มพากเพียรผดุงธรรมล้ําเลิศคุณ
อยู่แผ่นดินเดียวกันฉันน้องพี่ เย็นด้วยพระบารมีที่เกื้อหนุน
ทุกภาคส่วนสัมพันธ์บันดาลบุญ ช่วยค้ําจุนชีวาสถาพร

หนังสือเรียนภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

๒๕๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 256 7/17/18 10:32 AM


๒๕๔

 ทท๘/ผ.๑-๐๑
๘/ผ.๑-๐๑

หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด


แผนภาพความคิด
การจับใจความสาคัญจากเรื่องที่อ่าน
บทร้อยกรองเรื่อง “สี่ศิษย์พระดาบส”

ท๘/ผ.๑ – ๐๒ ๐๒๐๑
ใจความสาคัญของบทร้อยกรอง ข้อคิดที่ได้จากนิทานที่อ่าน

…………………………………………………………………….. …………………………………………………
. .
……………………………………………………………………… …………………………………………………
…………………………………………………………………….. …………………………………………………
……………………………………………………………………… …………………………………………………
…………………………………………………
……………………………………………………………………..
…………………………………………………
……………………………………………………………………… …………………………………………………
…………………………………………………………………….. …………………………………………………
……………………………………………………………………… …………………………………………………
……………………………………………………………………..
………………………………………………………………………

บทร้อยกรอง
สี่ศิษย์พระดาบส

การนาข้อคิดที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
…………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………..…………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………….

๒๕๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 257 7/17/18 10:32 AM


๒๕๕

ท ๘/ผ.๑-๐๒
 ท๘/ผ.๑-๐๒

ใบงานที่ ๐๒
การอ่านจับใจความสาคัญ
.

คาชี้แจง อ่านบทความเรื่อง “เรือนไทยในภาคกลาง” แล้วตอบคําถามในแผนภาพความคิด

เรือนไทยในภาคกลาง

เรือนไทยในภาคกลางนิยมยกพื้นเรือนให้สูงขึ้นจากพื้นด้วย
สาเหตุหลายประการเหตุผลทีส่ ําคัญ คือ เพือ่ ให้ปลอดภัยจากสัตว์รา้ ยหรือ
คนร้ายในเวลาค่ําคืน และเพื่อป้องกันน้ําท่วมถึงตัวบ้าน นอกจากนี้คนไทย
สมัยก่อนยังใช้ใต้ถุนเป็นที่เก็บของและเครือ่ งใช้เกี่ยวกับการเกษตร ใช้เป็นที่
ประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรือน เช่น สานกระบุง ตะกร้า ตําข้าว รับแขก
ใช้เป็นที่นั่งพักผ่อน และใช้เป็นที่จัดงานประเพณีต่างๆ บางแห่งยังแบ่งส่วน
ใต้ถุนไว้ใช้เลี้ยงสัตว์ เช่น เป็ด ไก่ หมู วัว ควาย ด้วยเช่นกัน

๑๕๙ ภูมิปัญญาไทย

๒๕๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 258 7/17/18 10:32 AM


๒๕๖

 ท๘/ผ.๑-๐๒
ท ๘/ผ.๑-๐๒

คาชี้แจง อ่านบทความเรื่อง “เรือนไทยในภาคกลาง” แล้วตอบคําถาม

หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด


เรื่อง
“เรือนไทยในภาคกลาง”

ใจความสาคัญ

………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………

ข้อคิดที่ได้จากเรื่องที่อ่าน เครื่องมือการเกษตรที่รู้จัก

…………………………………………………… ………………………………….………………
…………………………………………………… ………………………………………..…………
…………………………………………………… ………………………………….………………
…………………………………………………… ………………………………….………………
………………………………….……………… ………………………………….………………

๒๕๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 259 7/17/18 10:32 AM


๒๕๗

ท ๘/ผ.๒
  ท๘ /ผ.๒

ใบความรู้
การใช้พจนานุกรม

พจนานุกรม เป็นหนังสือสาหรับค้นคว้าหาความหมายของคา ช่วยให้อ่าน เขียน


และใช้ภาษาไทยได้ถูกต้อง ทั้งคาที่เป็นไทยแท้ คาที่ยืมมาจากต่างประเทศ คาที่เกิดขึ้นใหม่
ความรู้ทางวิชาการ
วิธีเรียงลาดับคาในพจนานุกรม
๑. เรียงลาดับตามรูปพยัญชนะดังนี้
ก ข ข ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ
น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ฤ ฤๅ ล ฦ ฦๅ ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ
๒. คาในพจนานุกรมไม่เรียงตามเสียง แต่เรียงตามรูปพยัญชนะ เช่น หญิง หนัง
หมวด ก็ต้องไปค้นในหมวดตัวอักษร ห หรือคาว่า ทราบ ก็ไปค้นหาในหมวด ท
๓. คาในหมวดเดียวกันจะเรียงลาดับตามรูปพยัญชนะตัวถัดไป เช่น
กง (ง เป็นตัวสะกด) มาก่อน กฎ เพราะ ง มาก่อน ฎ
กฎ มาก่อน กรด (ร เป็นตัวควบกล้า) เพราะ ฎ มาก่อน ร
๔. คาที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะและตามด้วยสระ จะมาหลังคาที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะ
และตามด้วยพยัญชนะ เช่น กร่อย มาก่อน กระ, คม มาก่อน คะ
๕. การเรียงคาที่ขึ้นต้นด้วยพยัญชนะและตามด้วยสระ จะเรียงรูปสระดังนี้
-ะ -ั -ัะ -า -ำ -ิ -ี -ึ -ื -ุ -ู เ- เ-ะ เ-า เ-าะ เ-ิ เ-ี
เ-ีะ เ-ื เ-ืะ แ- แ-ะ โ- โ-ะ ใ- ไ-
๖. คาที่ไม่มีรูปวรรณยุกต์จะมาก่อนคาที่มีวรรณยุกต์ คาที่มีวรรณยุกต์จะเรียงจาก
เอก โท ตรี จัตวา
หมายเหตุ ถ้าต้องการทราบที่มาของคา ให้ดูจากอักษรย่อท้ายคา เช่น
ข. หมายถึง เขมร, จ. หมายถึง จีน, ส. หมายถึง สันสกฤต, อ. หมายถึง อังกฤษ

เรียบเรียงจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔




๒๖๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 260 7/17/18 10:32 AM


๒๕๘


 ท๘ /ผ.๒
ท ๘/ผ.๒

หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด


ใบความรู้

รู้ความหมายของคา อ่านคาได้ถูกต้อง

คา

รู้ชนิดของคา ประโยชน์ของพจนานุกรม เขียนคาได้ถูกต้อง

รู้ลักษณะการใช้คา
รู้ที่มาของคา

๒๖๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 261 7/17/18 10:32 AM


๒๕๙
  ท๘/ผ.๒-๐๓
ท ๘/ผ.๒-๐๓

ใบงานที่ ๐๓
การใช้พจนานุกรม

คาชี้แจง จัดลาดับคาที่เป็นสานวน สุภาษิต ให้ถูกต้องตามหลักการใช้พจนานุกรม

๑. ตี ปลา หน้า ไซ
…………………………………..

๕. ตา บอด ได้ แว่น ๒. จับ เสือ มือ เปล่า

……………………………… สานวนสุภาษิต …………………………………

๔. ฆ่า ช้าง เอา งา ๓. น้า ผึ้ง หยด เดียว

………………………………….. …………………………………..

๒๖๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 262 7/17/18 10:32 AM


๒๖๐
 ท ๘/ผ.๒-๐๔
 ท๘/ผ.๒-๐๔


หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด


ใบงานที่ ๐๔
การใช้พจนานุกรม

คาชี้แจง เรียงลาดับคาแต่ละข้อตามพจนานุกรม แล้วเขียนความหมายของคา


พร้อมทั้งนาคามาแต่งประโยค

๑. ครื้นเครง เกรงใจ ใฝ่ดี สีกา


เรียงลาดับคาที่ ...................... หมายถึง ...........................................................................
ประโยค : ...........................................................................................................
เรียงลาดับคาที่ ...................... หมายถึง ...........................................................................
ประโยค : ...........................................................................................................
เรียงลาดับคาที่ ...................... หมายถึง ...........................................................................
ประโยค : ...........................................................................................................
เรียงลาดับคาที่ ...................... หมายถึง ...........................................................................
ประโยค : ...........................................................................................................

๒. มัธยัสถ์ หัตถกรรม อามฤต มิตรภาพ


เรียงลาดับคาที่ ...................... หมายถึง ...........................................................................
ประโยค : ...........................................................................................................
เรียงลาดับคาที่ ...................... หมายถึง ...........................................................................
ประโยค : ...........................................................................................................
เรียงลาดับคาที่ ...................... หมายถึง ...........................................................................
ประโยค : ...........................................................................................................
เรียงลาดับคาที่ ...................... หมายถึง ...........................................................................
ประโยค : ...........................................................................................................

๒๖๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 263 7/17/18 10:32 AM


๒๖๑


ท ๘/ผ.๓
ท ๘/ผ.๓


ใบความรู้
การปฏิบัติตนในการอยู่ร่วมกันในสังคม

การอยู่ร่วมกันในสังคม
การอยู่ร่วมกันในชุมชนดั้งเดิมนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นญาติพี่น้องไม่กี่ตระกูล ซึ่งได้
อพยพย้ายถิ่นฐานมาอยู่ หรือสืบทอดบรรพบุรุษจนนับญาติกันได้ทั้งชุมชน มีคนเฒ่าคนแก่
ที่ชาวบ้านเคารพนับถือเป็นผู้นา หน้าที่ของผู้นาไม่ใช่การสั่ง แต่เป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษา
มีความแม่นยาในกฎระเบียบประเพณีการดาเนินชีวิต ตัดสินไกล่เกลี่ยหากเกิดความ
ขัดแย้ง ช่วยกันแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ชาวบ้านอยู่อย่างพึ่งพาอาศัยกัน ยามเจ็บไข้
ได้ป่วยก็จะช่วยเหลือกันทั้งแรงกายแรงใจ มีการแบ่งปันช่วยเหลือเอื้ออาทรกันในชุมชน
ต่าง ๆ จะมีผู้มีความรู้ ความสามารถหลากหลาย เช่น เก่งทางด้านการรักษาโรค ทางการ
เพาะปลูกพืช ทางการเลี้ยงสัตว์ ทางด้านดนตรีการละเล่น และทางด้านพิธีกรรม คน
เหล่านี้ต่างก็ใช้ความสามารถเพื่อประโยชน์ของชุมชน โดยไม่ถือเป็นอาชีพที่มีค่าตอบแทน
อย่างมากก็มี "ค่าครู" แต่เพียงเล็กน้อย ซึ่งปกติแล้ว เงินจานวนนั้น ก็ใช้สาหรับเครื่องมือ
ประกอบพิธีกรรม หรือเพื่อทาบุญที่วัดมากกว่าจะเก็บไว้ใช้เอง เพราะแท้ที่จริงแล้ว "วิชา"
ที่ครูถ่ายทอดมาให้ลูกศิษย์จะต้องนาไปใช้เพื่อประโยชน์ทางสังคม ไม่ใช่เพื่อผลประโยชน์
ส่วนตัว การตอบแทนจึงไม่ใช่เงินหรือสิ่งของเสมอไป แต่เป็นการช่วยเหลือเกื้อกูลกันโดย
วิธีการต่าง ๆ ด้วยวิถีชีวิตเช่นนี้ จึงมีคาถามเพื่อเป็นการสอนคนรุน่ หลังว่า ถ้าหากคนหนึ่ง
จับปลาช่อนตัวใหญ่ได้หนึ่งตัว ทาอย่างไรจึงจะกินได้ทั้งปี คนสมัยนี้อาจจะบอกว่า
ทาปลาเค็ม ปลาร้า หรือเก็บรักษาด้วยวิธีการต่างๆ แต่คาตอบที่ถูกต้องคือ แบ่งปันให้
พี่น้องเพื่อนบ้าน เพราะเมื่อเขาได้ปลา เขาก็จะทากับเราเช่นเดียวกัน
ชีวิตทางสังคมของหมู่บ้านมีศูนย์กลางอยู่ที่วัด กิจกรรมของส่วนรวมจะทากันที่วัด
งานบุญประเพณีต่าง ๆ ตลอดจนการละเล่นมหรสพ พระสงฆ์เป็นผู้นาทางจิตใจ เป็นครู
ที่สอนลูกหลานผู้ชายซึ่งไปรับใช้พระสงฆ์ หรือ "บวชเรียน" ทั้งนี้เพราะก่อนนี้ยังไม่มี
โรงเรียน วัดจึงเป็นทั้งโรงเรียนและหอประชุมเพื่อกิจกรรมต่าง ๆ แต่เมื่อโรงเรียนมีขึ้น
และแยกออกจากวัด บทบาทของวัดและของพระสงฆ์จึงเปลี่ยนไป สิ่งที่กล่าวมาแล้ว
เป็นการอยู่ร่วมกันในสังคมที่ต้องมีกฎระเบียบเป็นแนวปฏิบัติ เพื่อให้การอยู่ร่วมกัน
ในสังคมนั้นๆ มีวินัยและสงบสุข


๒๖๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 264 7/17/18 10:32 AM


๒๖๒


ท๘/ผ.๓-๐๕
ท ๘/ผ.๓

หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด


ใบงานที่ ๐๕
การปฏิบัติตนในการอยู่ร่วมกันในสังคม


คาชี้แจง อานการปฏิ
่ บัติตนในหองเรี
้ ยน แลวเขี
้ ยนแสดงความคิดเห็น

การปฏิบัติตนในห้องเรียน (ข้อตกลง)
๑. ตั้งใจเรียน
๒. พูดจาสุภาพ
๓. มีระเบียบวินัย
๔. รักษาความสะอาด

๑. การปฏิบัติตนในห้องเรียนข้อใดมีผลให้ข้ออืน่ ๆ ประสบผลสาเร็จ คือ .....................


เหตุผล ....................................................................................................................
................................................................................................................................
๒. การปฏิบัติตนในห้องเรียนตามข้อใดสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ดีที่สุด คือ
.........................................เหตุผล ...........................................................................
................................................................................................................................
๓. เขียนการปฏิบัติตนในห้องเรียนตามความคิดเชิงสร้างสรรค์เพิ่ม ๑ ข้อ
การปฏิบัติตนในห้องเรียนข้อที่ ๕ คือ ……………………………………………………………
เหตุผล……………………………………………………………………………………………………..…
................................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................

๒๖๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 265 7/17/18 10:32 AM


๒๖๓


ท ๘/ผ.๓-๐๖
 ท๘/ผ.๓-๐๕

ใบงานที่ ๐๖
การปฏิบัติตนในการอยู่ร่วมกันในสังคม

คาชี้แจง เขียนกฎการปฏิบัติตนในการอยู่ร่วมกันในหมู่บ้าน ไม่น้อยกว่า ๔ ข้อ


พร้อมทั้งบอกเหตุผลของแต่ละข้อพอเข้าใจ

การปฏิบัติตนในการอยู่ร่วมกันในหมู่บ้าน
๑. สามัคคี
เหตุผล .....................................................................................................
๒. มีน้าใจ
เหตุผล .......................................................................................................
.....................................................................................................................
๓. ใช้จ่ายอย่างประหยัด
เหตุผล .......................................................................................................
๔. ปฏิบัติตามกฎของหมู่บ้าน
เหตุผล ........................................................................................................
๕. สืบสานประเพณี
เหตุผล .......................................................................................................
....................................................................................................................
๖. ยึดวิถแี บบไทย
เหตุผล .......................................................................................................
....................................................................................................................
....................................................................................................................

๒๖๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 266 7/17/18 10:32 AM


๒๖๔

ท ๘/ผ.๔
 ท๘/ผ.๔-๐๗

หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด


ใบความรู้
การเขียนย่อความ


ย่อความ หมายถึง การจับใจความสาคัญของเรื่องที่ได้อ่าน ได้ฟังหรือได้ดูมาอย่างย่อๆ

แล้วนามาเรียบเรียงใหม่ให้ได้ใจความครบถ้วน สั้น กระชั บ ด้วยสานวนภาษาของตนเอง
หลักการเขียนย่อความ มีดังนี้ 

๑. อ่านหรือฟังเรื่องที่จะย่อตั้งแต่ต้นจนจบอย่างน้อย ๒ ครั้ง เพื่อจับใจความสาคัญ


๒. เปลี่ยนการใช้คาสรรพนามบุรุษที่ ๑ หรือบุรุษที่ ๒ เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๓
๓. การย่อคาพูด คาสนทนาของบุคคล ให้ย่อสรุปความโดยไม่ต้องใส่เครื่องหมาย
(“---”)
๔. ใช้สานวนภาษาของผู้ย่อเองในการเขียนเรียบเรียงโดยไม่ให้ใจความสาคัญเปลี่ยนไป
๕. ถ้าเรื่องเดิมมีการใช้คาราชาศัพท์ เมื่อย่อแล้วก็ต้องใช้คาราชาศัพท์ให้ถูกต้อง
เหมือนเดิม
๖. ถ้าเรื่องเดิมมีหลายย่อหน้า ใจความที่ย่อแล้วให้เขียนรวมเป็นย่อหน้าเดียว
๗. ถ้าเป็นบทร้อยกรองต้องถอดความเป็นร้อยแก้วก่อน แล้วจึงจับใจความสาคัญต่อไป
๘. การย่อความไม่ควรมีความยาวมากกว่าครึ่งหนึ่งของเนื้อความเดิม
ตัวอย่างรูปแบบการเขียนย่อความ
๑. การย่อนิทาน นิยาย พงศาวดาร ให้บอกประเภท ชื่อเรื่อง ผู้แต่ง ที่มาของเรื่อง เช่น
ย่อนิทานเรื่อง............................ของ.............................จาก......................................
ความว่า……………………………………………………………………………………………………..
๒. ย่อบทความทางวิชาการ ให้บอกประเภท ชื่อเรื่อง เจ้าของเรื่อง ที่มาของเรื่อง เช่น
ย่อบทความเรื่อง...............ของ..............จาก...............ฉบับที่...................หน้า...........
ความว่า……………………………………………………………………………………………………..
๓. ย่อคาสอน ให้บอกประเภท ชื่อเรื่อง เจ้าของเรื่อง ที่มาของเรื่อง เช่น
ย่อคาสอนเรื่อง........................ของ.......................จาก........................หน้า................
ความว่า......................................................................................................................

ฯลฯ

๒๖๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 267 7/17/18 10:32 AM


๒๖๕


ท ๘/ผ.๔
 ท๘/ผ.๔-๐๗

ตัวอย่าง การเขียนย่อความประเภทคาสอน

เรื่อง คิดก่อนพูด
ลูกรัก.....
ปากคนนั้นนาสุขมาให้ก็ได้ นาทุกข์มาให้ก็ ได้ มีคาเตือนมากมายเกี่ยวกับปาก
เช่น “พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตาลึงทอง” เมื่อลูกคบหากับใคร ทางานที่ไหนก็ตาม
สิ่งที่ต้องระวังให้มากคือปาก ท่านกล่าวว่า “จงเก็บปากไว้ที่ใจ อย่าเก็บใจไว้ที่ปาก”
คืออยากพูดอะไรก็เก็บไว้ในใจ อย่าพูดทุกอย่างตามที่ใจคิด พูดมากโอกาสพลาดก็มีมาก
พูดน้อยก็พลาดน้อย เมื่อจาเป็นต้องพูดก็ควรพูดอย่างมีสติ พูดพอประมาณ พูดอย่าง
สร้างสรรค์ ถูกต้องและมีประโยชน์ ท่านบอกไว้ว่า “คาพูดที่ดังเกินไป คาพูดที่แรง
เกินไป คาพูดที่เกินความจริง ล้วนฆ่าคนพูดผู้โง่เขลาได้ทั้งสิ้น”
คนสมัยนี้ พูดเก่ง และพูด ได้มาก แต่มีสั กกี่คนที่ พูดแบบสร้างสรรค์ ทาให้เกิ ด
ความสามัคคี ทาให้ทุกฝ่ายเกิดความสบายใจ แต่เราจะไปห้ามเขาไม่ให้พูดก็ไม่ได้ เขาจะ
พูดดี ไม่ดีอ ย่างไร พูดก้ าวร้าวเสีย ดสีใ ครเป็นสิ ทธิส่ วนตัวของเขา เขาพูดเขาก็ ต้อ ง
รับผิดชอบเอง สาคัญลูกอย่าไปพูดอย่างเขาก็แล้วกัน คิดให้ ดีก่อนพูดเสมอ ยิ่งพูดถึง
บุคคลอื่นด้วยแล้วยิ่งต้องระวัง เพราะเราไม่รู้จักเขาดีพอ ไม่รู้ถึงความรู้สึกนึกคิดของเขา
ดีเท่ากับตัวเขาหรอก เราจะไปคาดเอาเองว่าเขาเป็นอย่างนั้นเป็นอย่างนี้แล้วไปพูดทาให้
เขาเสียหาย ดูจะไม่ยุติธรรมนัก ดีที่สุดคือไม่พูดถึงคนอื่นโดยไม่รู้ข้อเท็จจริงดีพอ แม้จะรู้
จริงก็ไม่ควรพูด ถ้าจาเป็นต้องพูดก็ควรพูดอย่างมีสติ พูดด้วยความระมัดระวัง เพราะ
การพูดถึงคนอื่นนั้นเสี่ยงต่อการเป็นศัตรูกัน และจะเป็นบาปกรรมด้วย ระวังไว้เป็นดี
ที่สุด
คาพ่อคาแม่ : พระธรรมกิตติวงศ์ ราชบัณฑิต

ย่อคาสอนเรื่อง คิดก่อนพูด ของพระธรรมกิตติวงศ์ ราชบัณฑิต จากหนังสือ


คาพ่อคาแม่ หน้า ๙๔ – ๙๕ ความว่า
ลูกรักปากคนนั้นนาทุกข์ นาสุขมาให้ได้มีคาเตือนที่เกี่ยวกับปาก เรื่องการพูดมาก
พูดน้อยก็ทาให้เสียโอกาส ควรพูดเมื่อจาเป็น และพูดอย่างมีสติ สร้างสรรค์ ถูกต้องและ
มีประโยชน์ คาพูดที่ดังเกินไปเกินจริงล้วนทาร้ายคนพูดได้ทั้งสิ้น คนสมัยนี้พูดเก่งและ
พูดได้มากแต่ควรพูดด้วยความระมัดระวัง เพราะการพูดถึงคนอื่นนั้นเสี่ยงต่อการเป็น
ศัตรูกัน และจะเป็นบาปกรรมด้วย ระวังไว้เป็นดีที่สุด
๒๖๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 268 7/17/18 10:32 AM


๒๖๖


ท ๘/ผ.๔-๐๗
 ท๘/ผ.๔-๐๗

หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด


ใบงานที่ ๐๗
การเขียนย่อความ

คาชี้แจง อ่านนิทานเรื่อง “แกงลิ้น” แล้วเขียนย่อความ

แกงลิ้น
ชายคนหนึ่งเข้าไปหาหลวงพ่อที่ตนเคารพนับถือ แจ้งความประสงค์ขอคาถาที่จะ
บันดาลให้เกิดโชคลาภสักบทหนึ่ง “หลวงพ่อครับ ผมยากจนเหลือเกิน ทาอะไรก็ไม่ดีขึ้น
อยากได้คาถาไปภาวนา ให้โชคลาภสักบทหนึ่ง ขอหลวงพ่อได้โปรดอนุเคราะห์ด้วย”
หลวงพ่อมองเขาแล้วนั่งนึกอยู่พักหนึ่งแล้วตอบเขาไปว่า “คุณเอ๋ย คาถา
อย่างนั้นน่ะดีอยู่หรอกนะ แต่ถ้าจะให้ดีต้องทาตามด้วยช่วยคาถา จะทาได้ไหมล่ะ”
“ได้ซิครับหลวงพ่อ บอกมาเถิดครับว่าจะให้ทาอย่างไร” เขารีบตอบรับ
เมื่อหลวงพ่อบอกคาถา เขารับปากว่าจะทาตามให้ได้ แล้วกราบลาหลวงพ่อกลับบ้าน
ก่อนนอนคืนนั้น เขาเริ่มภาวนาคาถาหลายเที่ยว ตอนเช้าก็ภาวนาอีกเสร็จแล้วก็ไป
ทางาน เขาเริ่มทาตามข้อปฏิบัติทคี่ าถาบอกตั้งแต่วันนั้น โดยเริ่มเก็บหอมรอบริบ
เงินทองไว้ ต่อมาไม่นานก็สามารถตั้งตัวได้ในที่สุด เมื่อมีเงินทุนมากแล้วก็ไปค้าขาย
ในต่างถิ่นขยายสาขา ขยายกิจการ ธรรมดาคนรวยนั้นย่อมจะมีคนมาห้อมล้อม
แสดงตนว่าเป็นญาติเป็นมิตร โดยหวังจะอาศัยทรัพย์ของเขา เศรษฐีใหม่นั้นก็เช่นกัน
เพื่อนฝูงญาติมิตรที่ตีจากสมัย ยากจนเริ่มแวะเวียนไปมา เมื่อมาถึงต่างก็สรรเสริญ
เยินยอเศรษฐีมากมาย แล้วก็ขออยู่อาศัยบ้าง ขอกู้ยืมเงินไปใช้หนี้บ้าง ไปเป็นทุนบ้าง
ไปรักษาโรคภัยไข้เจ็บบ้าง สุดแต่จะอ้างกัน เศรษฐีก็ใจดีให้ไปทุกราย ยิ่งเขามาสรรเสริญ
เยินยอว่า เป็นคนใจดีใจบุญ เศรษฐีก็ยิ่งปลื้มใจให้กู้ให้ยืมเงินทองอย่างไม่คิดหน้าคิดหลัง
จนเงินทองเริ่มร่อยหรอลง ฐานะเริ่มย่าแย่ลง แต่เศรษฐีมีคนใช้เก่าแก่อยู่คนหนึ่งซึ่งเป็น
คนซื่อสัตย์ ทางานกับเศรษฐีมานานจึงรู้เรื่องของเศรษฐีได้ดี แต่ไม่กล้าเตือนเศรษฐี
เรื่องใช้จ่ายฟุ่มเฟือยหมดเปลือง ไปกับคาสรรเสริญป้อยอ ได้แต่รอโอกาสอยู่

๒๖๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 269 7/17/18 10:32 AM


๒๖๗


ท ๘/ผ.๔-๐๗
 ท๘/ผ.๔-๐๗

คราวหนึ่งเศรษฐีนัดญาติมิตรเพื่อนฝูงจานวนมากมากินเลี้ยงกันที่บ้านเป็นเวลา
๒ วัน แล้วก็สั่งให้คนใช้คนนั้นจัดการเรื่องอาหารสาหรับเลี้ยงแขกโดยกาชับว่าให้จัด
อาหารที่ดีที่สุด คนใช้เห็นเป็นโอกาสที่จะเตือนเศรษฐีจึงจัดเตรียมอาหารพิเศษสาหรับ
เลี้ยงแขก
ก่อนเวลาเลี้ยง เขาสั่งให้คนลาเลียงอาหารมาตั้งไว้บนโต๊ะแล้วใช้ฝาชีปิดไว้
เมื่อถึงเวลาแขกเหรื่อก็พากันมาจานวนมาก พร้อมกันดีแล้ว เศรษฐีก็เริ่มเชิญให้ทุกคน
เริ่มรับประทานอาหารกัน พอแขกเปิดฝาชีเห็นอาหารเข้าเท่านั้นก็พากันฮาครืน
เพราะปรากฏว่าอาหารทุกอย่างปรุงมาจากลิ้นทั้งสิ้น ไม่ว่า แกง ซุป ต้ม ผัด ปิ้ง
ล้วนเป็นลิ้นวัว ลิ้นแพะ ลิ้นแกะ และลิ้นสัตว์อื่นที่พอหาได้ในท้องตลาดเศรษฐีถึงกับ
สะดุ้ง อายก็อาย แต่ก็ลุกไปต่อว่าคนใช้ขณะนั้นไม่ได้ จาใจต้องเชิญแขกรับประทานไป
พอส่งแขกกลับไปหมดแล้วเศรษฐีก็เรียกคนใช้ตัวแสบเข้ามาพบ แล้วถามว่า “บอกมาซิ
พ่อตัวดี ฉันสั่งให้ทาอาหารที่ดีที่สุดมาเลี้ยงแขก ทาไมมันมีแต่ลิ้นทั้งนั้น” “ลิ้นนี่แหละ
ครับที่ดีที่สุด” คนใช้ตอบหน้าตาย
“ดียังไงวะ ว่ามาซิ” เศรษฐีชักฉุน “ท่านเป็นเศรษฐีขึ้นมาได้ก็เพราะลิ้น
หลวงพ่อใช่ไหมครับ ถ้าหลวงพ่อไม่พูดสอนท่าน ท่านจะได้เป็นเศรษฐีหรือ แสดงว่าลิ้นนี่
ดีที่สุดใช่ไหมครับ” เศรษฐีต้องจานนด้วยเหตุผลของเขา แต่เพื่อเป็นการแก้มือเศรษฐี
จึงสั่งเขาอีก “พรุ่งนี้จะมีเลี้ยงอีกวัน คราวนี้ขอให้จัดอาหารที่เลวที่สุดมาเลี้ยงแขก”
เขารับคาแล้วก็ไปจัดเตรียมอาหารตามที่เศรษฐีสั่ง พอถึงเวลาแขกก็พากันมาเหมือน
เมื่อวาน และพอเปิดฝาชีดูก็พบอาหารแบบเดิม คือ มีแต่ลิ้นล้วน ๆทาเอาฮาครืนกันอีก
เศรษฐีอายก็อาย ฉุนคนใช้ก็ฉุน แต่ก็อดทนรอจนส่งแขกกลับหมดแล้วก็รีบไปไล่เบี้ย
คนใช้ “พ่อตัวดี ทาฉันขายหน้าอีกจนได้ ไหนแกบอกว่าลิ้นเป็นสิ่งที่ดีที่สุด แต่วันนี้ฉันสั่ง
อาหารที่เลวที่สุดมาเลี้ยงแขก ทาไมแกจึงปรุงลิ้นมาเลี้ยงแขกอีก” “ท่านครับ ลิ้นนี่
แหละเป็นสิ่งที่ดที ี่สุด และเป็นสิ่งที่เลวที่สดุ ละครับ” คนใช้ตอบอย่างฉะฉาน เพราะ
เป็นโอกาสได้เตือนเศรษฐีแล้ว “ไหนว่ามาซิ ลิ้นดีที่สุดอย่างไร เลวที่สุดอย่างไร”
“ท่านครับ ท่านได้ดีเพราะลิ้นของหลวงพ่อ แต่วันนี้ท่านกาลังวิบัติล่มจม เพราะลิ้น
ของญาติมิตรเพื่อนฝูงซึ่งต่างก็มาเยินยอท่าน ท่านเองก็หลงลิ้นประจบของคนเหล่านั้น

๒๗๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 270 7/17/18 10:32 AM


๒๖๘


ท ๘/ผ.๔-๐๗
 ท๘/ผ.๔-๐๗

หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด


จึงหว่านเงินทองให้พวกเขาอย่างไม่เสียดาย ลิ้นของพวกเขากาลังทาให้ท่านหมดตัว
ท่านเห็นว่าลิ้นไม่เลวที่สุดอย่างที่ผมว่าหรือครับ” คนใช้ร่ายยาวแล้วย้อนถาม เศรษฐี
ยืนฟังนิ่งจนเขาพูดจบ ตัวแข็งทื่อได้สติ หูตาสว่างขึ้นมาถึงกับทรุดตัวลงไปกอดคนใช้
แล้วร้องไห้โฮออกมาอย่างไม่อาย เศรษฐีรอดตัว พ้นจากความล่มจมหมดเนื้อหมดตัว
ไปได้ด้วยลิ้นของคนใช้ชั้นสูงทีเดียว
เรื่องนี้สื่อความได้ว่า ....ยามมั่งมีเงินทอง คนที่แสดงตัวว่าเป็นพวกพ้องเป็น
เพื่อนย่อมมีมาก ในยามจนคนเหล่านั้นก็จะตีจากไม่ยอมรับความเป็นพวกเป็นเพื่อน
นี่เป็นธรรมดาของโลก
ผู้มั่งมีจึงต้องระวังตัวไว้ ตั้งสติให้ดี คาประจบ คาเยินยอ คาสรรเสริญ ส่วนใหญ่
มักเคลือบด้วยยาพิษทั้งสิ้น ต้องหนักแน่น ฟังหูไว้หู ดูให้แน่ใจ ใคร่ครวญจนแน่ใจว่า
ผู้พูดนั้นเป็นมิตรแท้ เป็นผู้ไม่เคยทอดทิ้งตนมาในยามจนและในยามมั่งมี จึงค่อยคบหา
สนิทสนมไว้วางใจ นอกนั้นควรคบหาแค่ผิวเผิน แต่ไม่ควรตัดไมตรีเสียทีเดียว พูดจา
พาทีด้วยช่วยเหลือกันตามอัตภาพ
ลิ้นคนนั้น เชื่อได้บ้าง ไม่ได้บ้าง คนที่เชื่อลิ้นของคนอื่นโดยง่ายนั้น เสียใจ
เสียตัว หมดตัว และหมดพวก มาเสียมากต่อมากแล้ว

หนังสือธรรมะเพื่อชีวิต

๒๗๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 271 7/17/18 10:32 AM


๒๖๙


 ทท๘/ผ.๔-๐๗
๘/ผ.๔-๐๗

ใบงานที่ ๐๗
การเขียนย่อความ

คาชี้แจง เขียนย่อความจากเรื่อง “แกงลิ้น”

ย่อนิทานเรื่อง …………………………… ของ …………………………………….….


จาก ................................................................ความว่า

……………………………………………..…………………………………………………………
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................

๒๗๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 272 7/17/18 10:33 AM


๒๗๐


ท ๘/ผ.๔-๐๘
ท๘/ผ.๔-๐๘

หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด


ใบงานที่ ๐๘
การเขียนย่อความ

คาชี้แจง อ่านสุนทรพจน์เรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” แล้วเขียนย่อความ


“เศรษฐกิจพอเพียง”
เศรษฐกิจพอเพียงเพียงพออยู่ เพียงพอรู้พออุ้มชูตวั เองไหว
ดุจดารัสเอกบดินทร์ปิ่นชาติไทย ธ ตรัสไว้เป็นแนวทางสร้างสุขตน
รู้ประมาณ รู้จักออม รู้จักอด และละลดสิ่งฟุ่มเฟือยไม่เกิดผล
กินของไทยใช้ของไทยไทยทุกคน ความยากจนจะห่างไกลไทยยั่งยืน
ตลอดระยะเวลาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงครองสิริราชสมบัติเป็นเวลานาน
กว่า ๖๐ ปี พระองค์ทรงทุ่มเทพระวรกาย พระสติปัญญา ปฏิบัติพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่
นานัปการ และทรงริเริ่มโครงการใหม่ๆ นับพันๆ โครงการ เพื่อมุ่งช่วยเหลือแก้ไขปัญหาทีร่ าษฎร
ประสบอยู่ โดยให้ประชาชนมีความแข็งแรง สามารถพึง่ ตนเองได้ ซึ่งโครงการต่างๆ ล้วนประสบ
ความสาเร็จอย่างงดงามเป็นรูปธรรม และในวันนี้จะขอยกตัวอย่างเฉพาะพระปรีชาสามารถของ
พระองค์ในด้านเศรษฐกิจพอเพียงเท่านัน้
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงพระราชทานแก่พสกนิกร
ชาวไทย ตัง้ แต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไข
เพื่อให้รอดพ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคง ยั่งยืน ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และความ
เปลี่ยนแปลง การที่พระองค์ได้ทรงคิดและตระหนักมาช้านานว่า หากเราไม่ไปพึ่งพายึดติดอยู่กับกระแส
จากภายนอกมากเกินไป จนได้ครอบงาความคิดในลักษณะดั้งเดิมแบบไทย ๆ ไปหมด มีแต่ความ
ทะเยอทะยานบนรากฐานทีไ่ ม่มนั่ คงเหมือนลักษณะฟองสบู่ วิกฤตเศรษฐกิจเช่นนี้อาจไม่เกิดขึ้น หรือไม่
หนักหนาสาหัสจนเกิดความเดือดร้อนกันถ้วนทั่วเช่นนี้ ดังนัน้ “เศรษฐกิจพอเพียง” จึงได้สอื่ ความหมาย
ความสาคัญในฐานะเป็นหลักการสังคมที่พึงยึดถือ โดยมีแนวคิดที่แบ่งทีด่ ินออกเป็นส่วน ๆ เพื่อทา
กิจการต่าง ๆ คือ สระน้า ๓๐% นาข้าว ๓๐% พืชสวน พืชไร่ ๓๐% และทีอ่ ยู่อาศัยอีก ๑๐% แนวคิดนี้
มุ่งหวังให้ราษฎรสามารถพึ่งพาตนเองได้ ฉะนัน้ ความพอมี พอกินจะสามารถอุ้มชูตัวได้ ทาให้เกิดความ
เข้มแข็ง และความพอเพียงนั้นไม่ได้หมายความว่า ทุกครอบครัวต้องผลิตอาหารของตัวเอง จะต้อง
ทอผ้าใส่เอง แต่มีการแลกเปลี่ยนกันระหว่างหมูบ่ ้าน เมือง และแม้กระทัง่ ระหว่างประเทศ ที่สาคัญคือ
การบริโภคนั้นจะทาให้เกิดความรูท้ ี่จะอยู่รว่ มกับระบบรักธรรมชาติ ครอบครัวอบอุน่ ชุมชนเข้มแข็ง
เพราะไม่ต้องทิ้งถิ่นไปหางานทา เพื่อหารายได้มาเพื่อการบริโภคที่ไม่พอเพียง

๒๗๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 273 7/17/18 10:33 AM


๒๗๑


ท๘/ผ.๔-๐๘
ท๘/ผ.๔-๐๘

ส่วนคานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน ดังนี้


๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่
เบียดเบียนตนเองและผู้อนื่ เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ
๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไป
อย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึน้ จาก
การกระทานั้น ๆ อย่างรอบคอบ
๓. การมีภูมิคุ้มกันทีด่ ีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการ
เปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึน้ โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ตา่ ง ๆ ที่คาดว่าจะ
เกิดขึ้นในอนาคตทัง้ ใกล้และไกล
เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนัน้ ต้องอาศัย
ทั้งความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กล่าวคือ
๑. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรูเ้ กี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน
ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและ
ความระมัดระวังในขั้นปฏิบตั ิ
๒. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรมมีความ
ชื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวติ
เศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นแนวคิดและแนวปฏิบัติทมี่ ีความลุ่มลึก และมีความเป็นองค์รวม
รอบด้านทุกมิติ ตลอดจนมีความเป็นสากลสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้จริงในสังคมทุกระดับทุกภาค
ส่วน และเกิดประโยชน์สุขอย่างแท้จริง
เศรษฐกิจพอเพียงเสียงจากพ่อ อย่ารีรอขอให้จาทาให้เห็น
กินพอดีมีพออยู่รู้ประเด็น หายลาเค็ญเป็นเศรษฐีมีสุขพลัน
อยู่พอเพียงเลี้ยงตัวได้ไม่อายอด เพราะต้องจดจ่ายและรับดับกระสัน
รับเท่าใดไม่จา่ ยหมดทดไว้กนั รวยนิรันดร์มนั่ สายกลางทางสมดุล

หนังสือพ่อหลวงของปวงราษฎร์

๒๗๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 274 7/17/18 10:33 AM


๒๗๒


ท ๘/ผ.๔-๐๘
 ท๘/ผ.๔-๐๘

หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด


ใบงานที่ ๐๘
การเขียนย่อความ

คาชี้แจง เขียนย่อความจากสุนทรพจน์เรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง”

ย่อสุนทรพจน์เรื่อง …………………………… ของ …………………………………….….


จาก ................................................................ความว่า

……………………………………………..…………………………………………………………
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................
...........................................................................................................................


๒๗๕
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 275 7/17/18 10:33 AM


๒๗๓


ท ๘/ผ.๕
 ท๘/ผ.๕
ท๘ /ผ.๑
ใบความรู้
คาสรรพนาม


คาสรรพนาม คือ คาที่ใช้แทนนามที่ผู้พูดหรือผู้เขียนได้กล่าวแล้ว หรือเป็นที่เข้าใจกัน


ระหว่างผู้พูดกับผู้ฟัง เพื่อไม่ต้องกล่าวคานามซ้า คาสรรพนามที่นักเรียนควรรู้จัก คือ คาสรรพนาม
ใช้แทนบุคคล
สรรพนามใช้แทนบุคคล แบ่งเป็น ๓ ชนิด (เรียกว่าบุรุษสรรพนาม) ได้แก่
๑. สรรพนามบุรุษที่ ๑ หมายถึง คาที่ใช้แทนผู้พูด เช่น ฉัน ดิฉัน ผม กระผม ข้า
ข้าพเจ้า เรา เกล้ากระผม เกล้ากระหม่อม เป็นต้น
ตัวอย่างประโยค
- ฉันอ่านหนังสือทุกวัน
- ผมไปทาบุญที่วัด
- เรารักในหลวง
๒. สรรพนามบุรุษที่ ๒ หมายถึง คาที่ใช้แทนผู้ฟัง เช่น คุณ เธอ ท่าน เจ้า เอ็ง แก ใต้เท้า
ฝ่าพระบาท พระคุณเจ้า เป็นต้น
ตัวอย่างประโยค
- คุณชอบเรียนวิชาอะไร
- เธอเป็นเพื่อนที่น่ารักมาก
- ท่านสบายดีใช่ไหมคะ
๓. สรรพนามบุรุษที่ ๓ หมายถึง คาที่ใช้แทนผู้ที่ถูกกล่าวถึง เช่น เขา ท่าน แก มัน เป็นต้น
ตัวอย่างประโยค
- คุณครูภูมิใจมากที่ลูกศิษย์ของท่านได้รับรางวัลเด็กดีศรีสังคม
- แยมสอบได้ที่ ๑ เพราะเขาขยันอ่านหนังสือ
- เจ้าตูบเดินไม่ได้เพราะขามันเจ็บ


๒๗๖
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 276 7/17/18 10:33 AM


๒๗๔


ท ๘/ผ.๕-๐๙
 ท๘/ผ.๕
ท๘ /ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด


ใบงานที่ ๐๙
การใช้คาสรรพนาม

คาชี้แจง ขีดเส้นใต้คาสรรพนาม จากนิทานเรื่อง “หนูเมืองกับหนูนา” แล้วนาคาเหล่านั้น
แต่งประโยคตามจินตนาการ (คาที่ซ้ากันใช้เพียง ๑ คาเท่านั้น)

หนูเมืองกับหนูนา
กาลครั้งหนึ่ง หนูเมืองได้ไปเยี่ยมลูกพี่ลูกน้องที่ชนบท ลูกพี่ลูกน้องของมันเป็น
หนูที่เป็นกันเองและมันรักมิตรเช่นหนูเมืองมาก ดังนั้นมันจึงให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น
“เชิญท่านกินทั้งถั่ว เนยแข็ง และขนมปังอย่างไม่อั้นจ้ะ” หนูเมืองประหลาดใจกับ
อาหารพวกนี้ จึงพูดว่า “ญาติที่รัก ข้าไม่เข้าใจเลย เจ้าทนกินอาหารกระจอก ๆ อย่างนี้
ได้อย่างไร เอาเถอะข้าคิดว่านั่นเป็นเพราะเจ้าคงไม่อาจหวังอะไรที่ดีกว่านี้ได้ มากับข้าสิ
แล้วข้าจะแสดงให้เห็นวิธีการใช้ชีวิต ถ้าเจ้าได้อยู่ในเมืองสักอาทิตย์ เจ้าจะแปลกใจว่า
ฉันเคยทนกับสภาพชีวิตในชนบทได้อย่างไร” ไม่นานนักหนูสองตัวก็เดินทางเข้าเมือง
และสุดท้าย ทั้งคู่มาถึงบ้านพักของหนูเมืองในตอนดึก “เจ้าคงอยากได้เครื่องดื่มช่วยให้
สดชื่นกระปรี้กระเปร่าหลังจากที่เดินทางมาแสนไกล” เจ้าหนูเมืองพูดอย่างสุภาพ และ
พาเพื่อนหนูไปยังห้องอาหารที่ใหญ่โต ที่นั่นพวกมันได้พบเศษอาหารที่เหลืออยู่จาก
งานเลี้ยงชั้นเลิศ เจ้าหนูสองตัวไม่รอช้า รีบกินเค้กเยลลี่ รวมถึงของอร่อยอื่นๆ อีกมากมาย
ทันใดนั้นเอง ทั้งสองก็ได้ยินเสียงเห่าหอน “อะไรน่ะ” หนูนาถาม “ก็แค่พวกหมา
เท่านั้น” หนูเมืองตอบ “เท่านั้นหรือ !” หนูนาร้อง “ข้าไม่ชอบเสียงดนตรีแบบนี้ใน
ระหว่างอาหารเย็นเลย” แล้วประตูก็เปิดออก สุนัขตัวใหญ่สองตัววิ่งเข้ามา เจ้าหนู
สองตัวจึงต้องรีบกระโดดลงมา แล้ววิ่งหนี ไป “ลาก่อนญาติที่รัก” เจ้าหนูนาเอ่ย “เฮ้ย
ทาไมรีบกลับนักล่ะ” “อืมม์” เจ้าหนูนาตอบ “ข้ายอมกินถั่วในความสงบ ดีกว่ากิน
เค้กในความหวาดกลัว”

นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า “คับที่อยู่ได้ คับใจอยู่ยาก”


bkkseek.com


๒๗๗
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 277 7/17/18 10:33 AM


๒๗๕


ท ๘/ผ.๕-๐๙
 ท๘/ผ.๕
ท๘ /ผ.๑

๑. คาสรรพนามจากนิทานเรื่อง “หนูเมืองกับหนูนา” คือ ……………………………………….


………………………………………………………………………………………………………………..
๒. นาคาสรรพนามจากข้อ ๑ ทุกคามาแต่งประโยคตามจินตนาการ (โดยเขียนเป็นข้อๆ)

ประโยคที่ ๑ ..........................................................................................

ประโยคที่ ๒ ..........................................................................................

ประโยคที่ ๓ ..........................................................................................

ประโยคที่ ๔ ..........................................................................................

ประโยคที่ ๕ ..........................................................................................

๒๗๘
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 278 7/17/18 10:33 AM


๒๗๖


 ท๘/ผ.๕
ท ๘/ผ.๕-๑๐
ท๘ /ผ.๑

หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด


ใบงานที่ ๑๐
การใช้คาสรรพนาม

คาชี้แจง นาคาสรรพนามที่ชอบจานวน ๗ คา มาแต่งเป็นนิทานตามจินตนาการ


โดยตั้งชื่อเรื่อง พร้อมทั้งวาดภาพประกอบ และตกแต่งชิ้นงานให้สวยงาม

คาสรรพนามที่ชอบ
๑. ……………… ๒. …………….. ๓. ………………… ๔. …………………. ๕. ………………….
๖. …………………. ๗. ..........................

เรื่อง ......................................

.....................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................


๒๗๙
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 279 7/17/18 10:33 AM


๒๗๗


ท ๘/ผ.๕
 ท๘/ผ.๕
 ท๘ /ผ.๑
แบบทดสอบหลังเรียน

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๘ อ่านจับใจความ ย่อตามคิด ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖


.....................................................................................................................................................
คาชี้แจง เขียนเครื่องหมาย × ทับตัวอักษรหน้าคาตอบที่ถูกต้องที่สุด
๑. วิธีจับผิดโฆษณาที่โอ้อวดสรรพคุณเกินจริง คือ ถ้าเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น
หนังสือพิมพ์ แผ่นพับ ใบปลิว ฯลฯ จะต้องมีเลขที่อนุญาตโฆษณา ถ้าเป็นสื่อ
ทางโทรทัศน์ วิทยุ หรือเครื่องกระจายเสียงที่โอ้อวดว่าสามารถรักษาโรคมะเร็ง
เบาหวาน อัมพาต วัณโรค โรคทางสมอง หัวใจ ตับ ม้าม ไต หรือระบุว่าช่วยเสริม
สุขภาพของร่างกาย ตลอดจนมีการลด แลก แจก แถม จูงใจให้ซื้อหรือรับรอง
สรรพคุณในรูปแบบของบทสัมภาษณ์ผู้มีประสบการณ์การใช้ยา ก็สันนิษฐาน
ได้เลยว่าไม่จริง ต้องระวังอย่าไปหลงเชื่อ

ข้อใดสรุปใจความสาคัญได้ดีที่สุด
ก. โรคหายได้ของ ต้องอ่านสรรพคุณ
ข. เชื่อโฆษณาทางทีวี โรคไม่มีแน่นอน
ค. สัมภาษณ์ผู้ใช้ยา ปรารถนาพ้นโรคภัย
ง. สรรพคุณยามากมาย อันตรายอย่างมหันต์

๒. ความรู้ดูยิ่งล้า สินทรัพย์
คิดค่าควรเมืองนับ ยิ่งไซร้
เพราะเหตุจักอยู่กับ กายอาต – มานา
โจรจักเบียนบ่ได้ เร่งรู้เรียนเอา

บทร้อยกรองนี้ ใจความสาคัญตรงกับข้อใดมากที่สุด
ก. ความรู้คือทรัพย์สิน รู้ใช้กินพ้นภัยพาล
ข. วิชานามาใช้ ผลที่ได้คือเงินตรา
ค. หนังสือคือสมบัติ หมั่นฝึกหัดจะสุขใจ
ง. ความคิดผลิตเงิน ใช้ให้เพลินไม่มีภัย


๒๘๐
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 280 7/17/18 10:33 AM


๒๗๘


ท ๘/ผ.๕
ท๘/ผ.๕
ท๘ /ผ.๑
๓. คาศัพท์ในข้อใด ควรมาก่อนคาศัพท์อื่น

หนวยการเรียนรูที่ ๘ อานจับใจความ ยอตามคิด


ก. คลินิก ข. ครองแครง
ค. คริสต์มาส ง. คละคลุ้ง
๔. ข้อใดเรียงลาดับคาศัพท์ได้ถูกต้องตามพจนานุกรม
ก. ตะกร้า ถวัลย์ ทโมน น้าเงี้ยว
ข. ภิกษุ ประเคน ถวาย นิมนต์
ค. เมขลา เนรมิต ราชบัลลังก์ ทอดกฐิน
ง. ยิมนาสติก จินตนาการ ชมดชม้อย ขะมักเขม้น

๕. ข้อตกลงในการอยู่ร่วมกัน คือ
๑. การตรงต่อเวลา
๒. การมีสัมมาคารวะ
๓. การรักษาความสะอาด
๔. การแต่งกายที่ถูกต้องและเรียบร้อย

จากข้อตกลง ปฏิบัติตามข้อใดแสดงความเป็นไทยได้ชัดเจนที่สุด
ก. การตรงต่อเวลา
ข. การมีสัมมาคารวะ
ค. การรักษาความสะอาด
ง. การแต่งกายที่ถูกต้องและเรียบร้อย
๖. การขาดคุณธรรมข้อใด ที่จะทาให้สังคมไม่สงบสุข
ก. ความประหยัด ข. ความรับผิดชอบ
ค. ความมีวินัย ง. ความสะอาด
๗. การเขียนรูปแบบคานาย่อความมีประโยชน์อย่างไร
ก. ทาให้ทราบที่มาของเรื่อง
ข. ทาให้ทราบรายละเอียดของเรื่อง
ค. ทาให้ทราบจุดประสงค์ของผู้เขียน
ง. ทาให้เขียนย่อความได้สะดวกยิ่งขึ้น


๒๘๑
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 281 7/17/18 10:33 AM


๒๗๙


 ท๘/ผ.๕
ท ๘/ผ.๕
ท๘ /ผ.๑

๘. หลายคนเชื่อว่ายาชุดเป็นยาที่แรง ดี และราคาถูก ซึ่งความจริงแล้วอันตรายมาก


เพราะมักมีตัวยาซ้าซ้อนกัน เช่น ยาชุดแก้ปวดเมื่อย ก็จะมียาแก้ปวดอยู่ ๒ – ๓ เม็ด
ซึ่งหนึ่งในนั้นอาจผสมสารสเตียรอยด์ที่เป็นอันตรายอยู่ก็ได้ ทาให้บางคนถึงกับกระเพาะ
ทะลุ อีกทั้งบางชุดอาจมีตัวยาเกินความจาเป็น เช่น ยาชุดลดไข้อาจจะมียาแก้ไอรวม
อยู่ด้วย ทาให้ผู้ป่วยที่ไม่ได้ไอก็ต้องรับยาแก้ไอไปด้วย หรือในบางชุดอาจมียาปฏิชีวนะ
ทาให้เสี่ยงต่อการดื้อยาของเชื้อโรค เนื่องจากได้รับยาไม่ครบขนาด หรือได้รับยา
ที่ไม่ตรงกับเชื้อโรคที่เป็นสาเหตุของอาการป่วย รวมถึงอาจมียาเสื่อมคุณภาพ หรือ
ยาปลอมปะปนอยู่ กินแล้วอาจมีอันตรายถึงชีวิตได้

จากบทความ ข้อใดย่อความได้ตรงประเด็น และกระชับที่สุด


ก. ไม่ควรรับประทานยาชุดเพราะไม่มีคุณภาพ
ข. ไม่ควรรับประทานยาชุดเพราะไม่มีความจาเป็น
ค. ไม่ควรรับประทานยาชุดเพราะเป็นอันตรายต่อร่างกาย
ง. ไม่ควรรับประทานยาชุดเพราะมีตัวยามากเกินความจาเป็น
๙. “วันนีแ้ ม่ทาแกงอะไรมาใส่บาตรให้ผม” พระลูกชายถามผู้เป็นแม่
ข้อใด ใช้คาสรรพนามแทนคาที่ขีดเส้นใต้ได้ถูกต้อง
ก. คุณ................ฉัน
ข. โยม..............อาตมา
ค. คุณแม่...........กระผม
ง. ท่าน .............ข้าพเจ้า
๑๐. “ขอพระองค์ทรงพระเจริญ” คาที่ขีดเส้นใต้ ทาหน้าที่ตามข้อใด
ก. สรรพนามบุรุษที่ ๑ ข. สรรพนามบุรุษที่ ๑ และ ๒
ค. สรรพนามบุรุษที่ ๒ ง. สรรพนามบุรุษที่ ๓

๒๘๒
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 282 7/17/18 10:33 AM


คณะผู้จัดทํา
ที่ปรึกษามูลนิธกิ ารศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์
พลเอกดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ ประธานกรรมการบริหารมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
ในพระบรมราชูปถัมภ์
รศ.นราพร จันทร์โอชา รองประธานกรรมการบริหารมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
ในพระบรมราชูปถัมภ์
นายอนุสรณ์ ฟูเจริญ ผู้ช่วยเลขาธิการมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
ในพระบรมราชูปถัมภ์
ที่ปรึกษาสํานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
นายสมเกียรติ ชอบผล ที่ปรึกษาสํานักงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
นายสุชาติ วงศ์สุวรรณ ข้าราชการบํานาญ อดีตผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
ที่ปรึกษาสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
นายบุญรักษ์ ยอดเพชร เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นายณรงค์ แผ้วพลสง รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นางสาวอุษณีย์ ธโนศวรรย์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นางสุกัญญา งามบรรจง รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นายอัมพร พินะสา ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นายสนิท แย้มเกษร ผู้ช่วยเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่ปรึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
นางปราณี ปราบริปู ข้าราชการบํานาญ
นางสาวละเอียด สดคมขํา ข้าราชการบํานาญ
นางภารดี พรขจรกิจกุล ข้าราชการบํานาญ
นายสมบูรณ์ ศรีวิชาสร้อย ผู้อํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
นครสวรรค์ เขต ๑
นายพิเชษฐ์ นนท์พละ ผู้อํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก
นายมโน ชุนดี ผู้อํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง
ผู้รับผิดชอบโครงการ
นางนิรมล ตู้จนิ ดา ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้

๒๘๓
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 283 7/17/18 10:33 AM


-๒-
คณะทํางาน
๑. นางนิรมล ตู้จินดา ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรู้ ประธาน
๒. นางสุรีรัตน์ ฤกษ์หร่าย ข้าราชการบํานาญ สพป.นครสวรรค์
๓. นางมาลิน พันธุเทพ ข้าราชการบํานาญ สพป.นครสวรรค์
๔. นางสมพร ขัดขจร ครูโรงเรียนวัดนิเทศวุฒาราม สพป.นครสวรรค์
๕. นางสาวญาณิศา เบ้าเงิน ครูโรงเรียนวัดบ้านมะเกลือ สพป.นครสวรรค์
๖. นางรุ่งทิวา เรือนไทย ครูโรงเรียนวัดบางมะฝ่อ สพป.นครสวรรค์
๗. นายสมพร เรือนไทย ครูโรงเรียนบ้านเนินเวียง สพป.นครสวรรค์
๘. นายเชต บุญมี ข้าราชการบํานาญ สพป.อ่างทอง
๙. นางวันเพ็ญ จันทร์ทอง ข้าราชการบํานาญ สพป.อ่างทอง
๑๐. นางชะเอม ปรากฏผล ครูโรงเรียนวัดหลักแก้ว สพป.อ่างทอง
๑๑. นางนิตยา จันทร ครูโรงเรียนอนุบาลแสวงหา สพป.อ่างทอง
๑๒. นางสมจิตร์ เพชรสุวรรณ ครูโรงเรียนวัดห้วยคันแหลน สพป.อ่างทอง
๑๓. นางสาวสุภาวดี รอตเสียงล้ํา ครูโรงเรียนบ้านดอนตาวง สพป.อ่างทอง
๑๔. นางศรีนวล ศรีอ่ํา ครูโรงเรียนอนุบาลวัดนางใน สพป.อ่างทอง
๑๕. นางวชิราภรณ์ ธรรมลี ครูโรงเรียนอนุบาลวัดนางใน สพป.อ่างทอง
๑๖. นายบัญชา รัตนมาลี ศึกษานิเทศก์ สพป.นครนายก
๑๗. นางธัณติยา พรหมประเสริฐ ข้าราชการบํานาญ สพป.นครนายก
๑๘. นางสาวศิวิรัตน์ หน่ายมี ครู โรงเรียนวัดวังปลาจืด สพป.นครนายก
๑๙. นางมัณฑนา บํารุงจิตต์ ครูโรงเรียนอนุบาลนครนายก สพป.นครนายก
๒๐. นางอรัญญา สุธาสิโนบล ครูโรงเรียนวัดสันตยาราม สพป.นครนายก
๒๑. นางวลาวัลย์ อุดมศิลป์ ครูโรงเรียนชุมชนวัดเชี่ยวโอสถ สพป.นครนายก
๒๒. นางเปรมจิตต์ วงศ์วชั รานนท์ นักวิชาการเงินและบัญชีชํานาญการพิเศษ สพป.นครสวรรค์
๒๓. นางสาวปุณญิสา แสงอุทัย นักวิชาการพัสดุชํานาญการพิเศษ สพป.นครสวรรค์
๒๔. นางเบญจา คุรุธรรมานนท์ นักวิชาการศึกษาชํานาญการ สพป.นครสวรรค์
๒๕. นางประจวบ กล่ําชัย นักวิชาการเงินและบัญชีชาํ นาญการ สพป.นครสวรรค์
๒๖. นางปรีดา สุขเสวี เจ้าพนักงานพัสดุชํานาญงาน สพป.นครสวรรค์
๒๗. นางสาวธัญญพัทธ์ ศรีประพรรณ์ ข้าราชการบํานาญ สพป.นครสวรรค์
๒๘. นางสาวธิดา ทองแฉล้ม เจ้าหน้าที่ธุรการ สพป.นครสวรรค์
๒๙. นางจรรยา เรืองมาลัย ข้าราชการบํานาญ สพป.นครสวรรค์ เขต ๑ เลขานุการ
๓๐. นางจารุณี ปานแดง ศึกษานิเทศก์ สพป.อ่างทอง ผู้ช่วยเลขานุการ
๓๑. นางวาสิรินทร์ รัตนมาลี ศึกษานิเทศก์ สพป.นครนายก ผู้ช่วยเลขานุการ

๒๘๔
ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน) กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ ๑ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๖ (ฉบับปรับปรุง)

6102149L01e-�6 (��.).indd 284 7/17/18 10:33 AM


บันทึก

6102149L01e-�6 (��.).indd 285 7/17/18 10:33 AM


บันทึก

6102149L01e-�6 (��.).indd 286 7/17/18 10:33 AM

You might also like