You are on page 1of 11

ศศ1641508 การเขียนเพื่อการสือ่ สารในองค์การ

บทที่ 1
ธรรมชาติของภาษาไทย
อาจารย์ศักดิธัช ฉมามหัทธนา
1. ภาษาไทยเป็นภาษาคาโดด (isolating language)
• ใช้คาแบบโดด ๆ เป็นอิสระ โดยไม่มีการผันคา เช่นเดียวกันกับภาษาจีน ภาษาเขมร เป็นต้น
• แตกต่างจาก ภาษาวิภัตติปัจจัย (inflected language) เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาบาลี-สันสกฤต
• ลาดับคาในประโยคมักเป็นแบบ ประธาน +กริยา (+กรรม) หรือ S +V (+O)
เช่น ฉันรักเธอ 我爱你 ខ្ញុំ​ស្រលាញ់អ្ ​ នក
• ลาดับคาในประโยคมีผลต่อความหมาย
เช่น ฉันกินข้าว ≠ ข้าวกินฉัน 我吃饭 ≠ 饭吃我 ខ្ញុំញុំបាយ ≠ បាយញុំខ្ញុំ
เมื่อเปรียบเทียบกับภาษาอังกฤษ เช่น Normally, I sleep late. I normally sleep late.
และ I sleep late normally.

2
2. ส่วนขยายตามหลังคาที่ถูกขยาย
เช่น เขาชอบคนฉลาด គេចូ លចិត្តមនុរសឆ្លាត្
เมื่อเปรียบเทียบกับภาษาอื่น ๆ เช่น He likes a smart person. 他喜欢聪明的人

3. ภาษาไทยมีระดับภาษา
ขึ้นอยู่กับกาลเทศะ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เนื้อหา และสื่อที่ใช้ส่งสาร
ภาษาระดับแบบแผน ภาษาระดับไม่เป็นแบบแผน
ระดับพิธีการ (ภาษาแบบแผน) ระดับกึ่งพิธีการ (ภาษากึ่งแบบแผน) ระดับไม่เป็นพิธีการ (ภาษาปาก)
พิธีการ ทางการ กึ่งทางการ ไม่เป็นทางการ กันเอง/เฉพาะกลุ่ม
(ภาษาพิธีการ) (ภาษาราชการ) (ภาษากึ่งราชการ) (ภาษาพูดสุภาพ) (ภาษาพูดทั่วไป)

3
4. ภาษาไทยสะกดยากและซับซ้อน
ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการได้รับ อิทธิพล
ภาษาต่างประเทศ ส่งผลให้เกิดระบบการเขียน
และการอ่านที่ซับซ้อน เช่น
• ทัณฑฆาตและการันต์
• ตัวสะกด ตัวตาม
• อักษรควบ
• อักษรนา
• ประวิสรรชนีย์หรือไม่ประวิสรรชนีย์
• ใส่วรรณยุกต์หรือไม่ใส่วรรณยุกต์

4
5
ฝึกเป็นนักภาษาไทยวัยเฟี้ยว !
1. ข้อความต่อไปนี้เป็นภาษาอะไร
2. ข้อความต่อไปนี้อ่านว่าอะไร
3. หากภาษาไทยในอนาคตปรับรูปแบบการเขียนและ
การสะกดให้เป็นไปในลักษณะเดียวกันกับข้อความต่อไปนี้
จะเกิดผลกระทบต่อภาษาไทยอย่างไร
4. รู้จักคาว่า “อย่า อยู่ อย่าง อยาก” หรือไม่ หากปรับ
การเขียนคาเหล่านี้เป็น “หย่า หยู่ หย่าง หยาก” จะเกิดผล
กระทบอย่างไร

6
5. ภาษาไทยมีหลักการอ่านที่ไม่ค่อยแน่นอน
• ซอมซ่อ [ซ็อม-มะ-ซ่อ] อ่านผิดเป็น [ซอม-ซ่อ]
• ประวัติศาสตร์ [ประ-หวัด-ติ-สาด] อ่านผิดเป็น [ประ-หวัด-สาด]
• กลวิธี [กน-ละ-วิ-ที] อ่านผิดเป็น [กน-วิ-ที]
• สัปดาห์ [สับ-ดา] อ่านผิดเป็น [สับ-ปะ-ดา]
• เมรุ [เมน] น่าจะอ่าน [เม-รุ] เทียบกับ “อายุ”
• คุณวุฒิ [คุน-นะ-วุด-ทิ] น่าจะอ่าน [คุน-นะ-วุด] เทียบกับ “ชาติ”
• น้า [น้าม] น่าจะอ่าน [น้า] เทียบกับ “ถ้า”
• สิริ [สิ-หริ] น่าจะอ่าน [สิ-ริ] เทียบกับ “ริเริ่ม”

7
6. ภาษาไทยมีคายืมภาษาต่างประเทศ
ปะปนอยู่จานวนมาก
ภาษาไทยมีคายืมภาษาต่างประเทศปะปน
อยู่ เ กิ น ร้ อ ยละ 50 ส่ ง ผลให้ ก ารบัญ ญั ติ ศัพ ท์
หรือการใช้คาทับศัพท์มีระเบียบที่ซับซ้อนและ
ต้องอาศัยการท่องจาเป็นหลัก
อย่างไรก็ตาม การยืมคาภาษาต่างประเทศ
ก็เป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้ในทุก ๆ ภาษา
และช่วยให้คาในภาษานั้น ๆ มีจานวนมากขึ้น
เช่น คาว่า restaurant ในภาษาอังกฤษ

8
7. ภาษาไทยมีคาลงท้าย (particle)
ภาษาไทยมีคาลงท้าย (particle) เพื่อใช้สื่ออารมณ์ ความรู้สึก หรือแสดงความสุภาพในสถานการณ์ที่
แตกต่างกัน เช่น
• รักอะ รักนะ รักนา รักน้า รักสิ รักสินะ รักน่ะสิ
• สวยจังครับ สวยเลยค่ะ สวยจังเลย
• คาลงท้ายบางคาไม่สามารถใช้ร่วมกันได้ เช่น อร่อยจังสิ
8. ภาษาไทยมักมีการละคาหรือตัดคา
• การละคา เช่น ผมอยู่(ที)่ บ้าน ผมไม่ถนัดกิน(ด้วย)ตะเกียบ
• การตัดคา เช่น ราช’รี มหา’ลัย สุพรรณ’

9
9. ภาษาไทยมักมีลักษณนาม (classifier)
เช่น โจร 2 คนบุกปล้นธนาคาร 2 หนุ่มพาเที่ยวกรุงเทพฯ
10. ภาษาไทยมักมีคาที่มักเกิดคู่กันแต่ก็มีการละเมิดการเกิดคู่กัน (incongruity) ด้วย
เช่น เหลืองอ๋อย แดงแป๊ด สาวสวย สาวหล่อ กินดุ เครื่องฟิตสตาร์ทติดง่าย
11. ภาษาไทยมีคาหลายหน้าที่ (polyfunctional word)
เช่น ช่วยเปิดไลน์ให้หน่อย เดี๋ยวเธอไลน์หาฉันด้วยนะ
12. ภาษาไทยมีความหมายใกล้เคียงกัน แต่ให้ความรู้สึกต่างกัน
เช่น ฉลาด แสนรู้ สู่รู้ ตระหนี่ มัธยัสถ์ อดออม ประหยัด ขี้เหนียว ขี้งก

10
13. ภาษาไทยมีการปรากฏใช้ คาฟุ่มเฟือย (redundancy) ซึ่งควรหลีกเลี่ยง
เช่น ตารวจพบศพผู้เสียชีวิตแล้ว รางวัลชนะเลิศอันดับหนึ่ง
14. ภาษาไทยมักมีความกากวม (ambiguity)
เช่น ผมไปงานแต่งเพื่อนกับพี่สาว คนขับรถออกไปแล้ว เรื่องหนังสือเรียน เดี๋ยวไปเอากับพี่ที่บ้านนะ
15. ภาษาไทยมีภาษาไทยมีเครื่องหมายวรรคตอน (punctuation) ซึ่งมีผลต่อการตีความ
เช่น กลับไม่ได้_มีเรียน กลับ_ไม่ได้มีเรียน
16. ภาษาไทยมักมีการใช้รูปประโยคไม่ตรงตามเจตนา
เช่น ไม่ได้เป็นอะไร แล้วแต่ ไม่ได้อยากจะว่านะ บอกหน่อยได้ไหม

11

You might also like