You are on page 1of 2

แนวปฏิบัติการจัดการทางการพยาบาลระยะก่ อนผ่ าตัดนิ่วถุงน้ำดีผ่านกล้ อง สำหรับผู้ป่วย

ที่เข้ ารับการรักษาในโรงพยาบาลสกลนคร
Guide line of Periopertive Nursing Management for Patient admited at Sakon
Nakon Hospital
วิชชุ ดา กิตติวราฤทธิ์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ ห้องผ่ าตัด โรงพยาบาลกลนคร
ความเป็ นมาและความสำคัญของปัญหา
โรงพยาบาลสกลนครมีนโยบายการร่ วมจ่ายในการผ่าตัดนิ่วถุงน้ำดีทางกล้อง ทำให้ผปู ้ ่ วยเข้ารับ
บริ การมากขึ้น ห้องผ่าตัดมีหอ้ งผ่าตัด 12 ห้อง และจัดให้มีพยาบาลวิชาชีพประจำแผนกทุกแผนก แผนกละ 1
คน ซึ่ งทำหน้าที่เป็ นหัวหน้าทีมและผูช้ ่วยแพทย์ผา่ ตัด ในแผนกศัลยกรรมทัว่ ไปเป็ นแผนกที่ให้บริ การผ่าตัด
ศัลยกรรมทัว่ ไป และครอบคลุม การผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีผา่ นกล้องซึ่ งเป็ นบริ การผ่าตัดประเภทนัดล่วงหน้า
ทำให้บางครั้งเกิดปัญหาเมื่อขาดอัตรากำลัง พยาบาลวิชาชีพประจำแผนกไม่สามารถปฏิบตั ิงานได้ตามภาระ
งานปกติ มักทำให้เกิดอุปสรรคในการผ่าตัด เช่น การเตรี ยมเครื่ องมือไม่พร้อม การใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ไม่
คล่องแคล่ว ส่ งผลทำให้ใช้เวลาในการผ่าตัดมากขึ้น ห้องผ่าตัดบริ หารอัตรากำลังโดยบริ หารอัตรากำลังแบบ
หมุนเวียน โดยจัดพยาบาลส่ งเครื่ องมือผ่าตัดแบบหมุนเวียนเดือนละ 1 ครั้ง ใช้เวลาถึง 12 เดือนจึงกลับมา
ห้องผ่าตัดศัลยกรรมทัว่ ไป ปัญหาเชิงกระบวนการได้แก่ การเตรี ยมเครื่ องมือไม่พร้อม การขออุปกรณ์ในการ
ผ่าตัดเพิ่ม ปัญหาด้านบุคลากรที่ไม่มนั่ ใจในการช่วย และส่ งเครื่ องมือผ่าตัด และการเตรี ยมอุปกรณ์ทาง
กล้องก่อนใช้งานไม่ครบถ้วนและไม่เพียงพอ
ผลการวิเคราะห์อุปสรรคในการพยาบาลระยะก่อนผ่าตัดถุงน้ำดีผา่ นกล้องด้วยการใช้ SWOT
Analysis โดยใช้กรอบมาตรฐานการพยาบาลก่อนผ่าตัดของสำนักการพยาบาล และวิธีการเชิงระบบ (System
Approach) ดังนี้ 1) ปัจจัยนำเข้า ได้แก่ ด้านบริ หารบุคลากร อุปกรณ์เครื่ องมือ สถานที่ 2) ปั จจัยเชิง
กระบวนการ ได้แก่ การประสานงาน การประเมินปัญหาความต้องการของผูป้ ่ วย 3) ปั จจัยเชิงผลลัพธ์ ได้แก่
ผูป้ ่ วยพร้อมรับการผ่าตัด ผูป้ ่ วยปลอดภัยจากอันตรายที่ป้องกันได้ และบันทึกทางการพยาบาลที่สามารถ
สื่ อสารได้
วัตถุประสงค์ การวิจัย
1. เพื่อสร้างและศึกษาความพึงพอใจของแนวปฏิบตั ิการจัดการทางการพยาบาลสำหรับผูป้ ่ วย
ระยะก่อนผ่าตัดนิ่วถุงน้ำดีผา่ นกล้อง
วิธีการวิจัย
การวิจยั ครั้งนี้เป็ นการวิจยั เชิงปฏิบตั ิการ กลุ่มผูร้ ่ วมวิจยั คือ พยาบาลวิชาชีพที่ในห้องผ่าตัดโรง
พยาบาลสกลนคร จำนวน 27 คน ในเดือนมิถุนายน – ธันวาคม พ.ศ. 2555 โดยทำการศึกษาปัญหาจากการ
สนนทนากลุ่ม และร่ างแนวปฏิบตั ิการจัดการทางการพยาบาล จากนั้นให้ผทู ้ รงคุณวุฒิ 3 ท่าน ตรวจสอบ
แล้วนำแนวปฏิบตั ิมาทดลองใช้ และทำการประเมินผลความพึงพอใจของพยาบาลวิชาชีพ และอัตราการงด
เลื่อนผ่าตัดเนื่องจากเครื่ องมือไม่พร้อม
ผลการศึกษา
1. ห้องผ่าตัดมีแนวปฏิบตั ิการจัดการทางการพยาบาลระยะก่อนผ่าตัดนิ่วถุงน้ำดีผา่ นกล้องสำหรับ
ผูป้ ่ วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลสกลนคร
2. ระดับความพึงพอใจในภาพรวมของพยาบาลผูใ้ ช้ในปฏิบตั ิ อยูใ่ นระดับมาก
2
3. อัตราการงดเลื่อนเนื่องจากเครื่ องมือไม่พร้อม เท่ากับ 0
ข้ อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาไปใช้
1. ด้านบริ หาร หน่วยบริ การเฉพาะทาง ในสถานบริ การทั้งรัฐ และเอกชน ที่จะสร้างแนว
ปฏิบตั ิดา้ นการจัดการทางการพยาบาล ควรสร้างมาจากปั ญหาของผูม้ ีส่วนร่ วมในการใช้แนวปฏิบตั ิ และผูม้ ี
ส่ วนร่ วมใช้แนวปฏิบตั ิได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็น เพื่อใช้พฒั นาแนวทางปฏิบตั ิร่ วมกัน จะทำให้มีการ
พัฒนาแนวปฏิบตั ิน ำไปใช้ได้จริ ง ข้อมูลสนับสนุนคือความพึงพอใจภายหลังการใช้แนวปฏิบตั ิอยูใ่ นระดับ
มาก แสดงได้ถึงมีความเป็ นไปได้ที่แนวปฏิบตั ิที่สร้างขึ้นจะถูกนำไปใช้ในการปฏิบตั ิงานอย่างแท้จริ ง
2. ด้านการวิจยั ทางบริ หารการพยาบาล สถาบันการศึกษาทางการพยาบาล โรงพยาบาลที่มี
หน่วยบริ การพิเศษ สามารถใช้เป็ นแนวทางในการสร้างแนวปฏิบตั ิการจัดการทางการพยาบาล โดยประยุกต์
เพื่อให้เหมาะสมกับบริ บท
ข้ อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาครั้งต่ อไป
1. การศึกษาครั้งต่อไป ควรศึกษาผลลัพธ์ที่เกิดต่อผูร้ ับบริ การ เช่น ความพึงพอใจของผูร้ ับบริ การ
2. พัฒนาในการจัดการทางการพยาบาลระยะผ่าตัด และหลังผ่าตัด เพื่อให้ครอบคลุมตาม
มาตรฐานการพยาบาลห้องผ่าตัด
วิจารณ์ และสรุ ป
แนวปฏิบตั ิการจัดการทางการพยาบาลจัดทำจากการมีส่วนร่ วมของผูป้ ฏิบตั ิงานจริ ง จากการนำ
แนวปฏิบตั ิไปใช้พบว่าสามารถช่วยในการให้การพยาบาลที่มีมาตรฐานตามที่ก ำหนด พยาบาลมีระดับความ
พึงพอใจในภาพรวมระดับมาก แต่ยงั พบว่าหากปฏิบตั ิงานด้วยความคุน้ ชิน ไม่ท ำตามแนวปฏิบตั ิมกั ทำให้
การพยาบาลระยะก่อนผ่าตัดไม่ราบรื่ น เตรี ยมอุปกรณ์ไม่ครบถ้วน และใช้อุปกรณ์ทางกล้องอื่น ๆ ไม่ช ำนาญ
ดังนั้นการสร้างความตระหนักในงาน และหน้าที่ซ่ ึ งต้องปฏิบตั ิตามแนวปฏิบตั ิเป็ นสิ ่ งที่ผบู ้ ริ หารทางการ
พยาบาลห้องผ่าตัด ต้องให้การสนับสนุน และพัฒนาไปยังการผ่าตัดที่ตอ้ งใช้เทคโนโลยีในการผ่าตัดแผนก
ต่าง ๆ ต่อไป ในการวิจยั ครั้งนี้ผวู้ ิจยั และผูร้ ่ วมวิจยั ได้ร่วมมือกันในการสร้างแนวปฏิบตั ิ ซึ่ งได้รับการ
สนับสนุนด้วยดีท้ งั ภายในหน่วยงาน ผูบ้ ริ หารระดับสู งของฝ่ ายการพยาบาล และผูอ้ ำนวยการโรงพยาบาล ที่
เปิ ดโอกาสในการวิจยั ในครั้งนี้ ทำให้ผวู้ ิจยั และผูร้ ่ วมวิจยั มีก ำลังใจในการวิจยั เพื่อพัฒนางานประจำต่อไป

You might also like