You are on page 1of 16

Nursing Journal of the Ministry of Public Health 93

การสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวกับรูปแบบการเรียน
การสอนทางการพยาบาล*
สุทธานันท์ กัลกะ**
รุ่งนภา จันทรา***
อติญาณ์ ศรเกษตริน***
อังสินี กันสุขเจริญ ****

บทคัดย่อ
การศึกษาครัง้ นีม้ วี ตั ถุประสงค์เพือ่ 1) ศึกษาคุณลักษณะของงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วกับรูปแบบการเรียนการสอน
ทางการพยาบาล และ 2) สังเคราะห์และสรุปองค์ความรู้จากผลการวิจัยที่เกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอน
ทางการพยาบาล โดยรวบรวมข้อมูลงานวิจยั จากฐานข้อมูลต่างๆ ทางอิเล็กทรอนิกส์และการสืบค้นด้วยตนเอง
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 ถึงปี พ.ศ. 2557 มีงานวิจัยที่ตรงตามเกณฑ์ที่ก�ำหนดจ�ำนวน 14 เรื่อง ผลการสังเคราะห์
พบว่า 1) งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วกับการรูปแบบการเรียนการสอนทางการพยาบาลส่วนใหญ่เป็นงานวิจยั ของกระทรวง
สาธารณสุข มีการระบุปัญหา วัตถุประสงค์การวิจัย และกรอบแนวคิด แบบแผนการวิจัยเป็นการวิจัยพัฒนา
ประชากรและกลุม่ ตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาล ไม่มกี ารค�ำนวณขนาดกลุม่ ตัวอย่าง ใช้กลุม่ ตัวอย่าง 1 กลุม่
ในการวิจยั วิธกี ารได้มาซึง่ กลุ่มตัวอย่างใช้วธิ กี ารเฉพาะเจาะจง และสถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ทงั้ สถิติ
บรรยายและสถิติอ้างอิง ซึ่งสถิตริ ้อยละและสถิติ t-test เป็นสถิติท่พี บว่ามีการใช้มากที่สุด 2) รูปแบบ การ
เรียนการสอนทางการพยาบาลที่ศึกษามี 4 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นพุทธิพิสัย จิตพิสัย
ทักษะพิสัย และเน้นบูรณาการ ซึ่งทั้ง 4 รูปแบบสามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ จากการสังเคราะห์
สามารถน�ำไปใช้ในการเรียนการสอนทางการพยาบาลได้ อย่างไรก็ตามควรสนับสนุนให้มีการศึกษาในกลุ่ม
ตัวอย่าง 2 กลุ่ม มีการวัดผลลัพธ์ระยะติดตามผลให้มากขึ้น

ค�ำส�ำคัญ : การเรียนการสอน; การสังเคราะห์งานวิจัย; การพยาบาล

*การวิจัยครัง้ นี้ได้รับทุนจากสมาคมศิษย์เก่าพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข
**วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ; อีเมล์ติดต่อ : suthanan_pop@hotmail.com
***วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี
**** วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า เพชรบุรี
94 วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข

A Synthesis of Research on Nursing Instruction*


Suthanan Kunlaka**
Rungnapa Chantra***
Atiya Sornkasatrin***
Angsinee Kansukcharean****

Abstract
The present study aimed 1) to identify the characteristics of instructional models and 2) to summarize
and synthesize the knowledge of instructional models in nursing education. The research reports
regarding nursing pedagogic models that were published in the year 2004 to 2014 were recruited.
A manual search and database search were performed. A total of 240 research studies were collected
and 14 research studies were accepted based on the research criteria. Results showed that: 1) the
majority of research studies conducted were within the organizations under the Ministry of Public
Health; the characteristics of instructional models were identified through research objectives and
conceptual framework, research development, research conducted by student nurses, research with no
specific sample size calculation, research conducted as one group, research using purposive sampling
and research using t-test statistics for data analyses. 2) The instructional model was divided into
four domains which were based on Cognitive, Affective, Psycho- Motor and Integration. Therefore, all
the four domains could increase the learning achievement of student nurses. The results from the
synthesis of these studies can be used to guide nursing instruction. However, we suggest to conduct
future research study using two groups and a longitudinal design.
Keywords : Instruction; Synthesis of research; Nursing

*This study was funded by The Nurse Alumi Association of the Ministry of Public Health
**Boromarajonnani College of Nursing Bangkok, E-mail : suthanan_pop@hotmail.com
***Boromarajonnani College of Nursing Suratthani,
****Prachomklao College of Nursing, Phetchaburi
Nursing Journal of the Ministry of Public Health 95

ความเป็นมาและความส�ำคัญ และรูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้ผังกราฟิก 2) รูป


การจัดการศึกษาของประเทศไทยยึดถือปฏิบัติ แบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านจิตพิสัย
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 (affective domain) ได้แก่ รูปแบบการเรียนการสอนตาม
หมวด 4 มาตรา 22 กล่าวว่า การจัดการศึกษาต้องยึด แนวคิดการพัฒนาด้านจิตพิสัยของบลูม รูปแบบการ
หลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา เรียนการสอนโดยการซักค้าน และรูปแบบการเรียนการ
ตนเองได้ และถื อ ว่ า ผู ้ เ รี ย นมี ค วามส� ำ คั ญ ที่ สุ ด สอนโดยใช้บทบาทสมมติ 3) รูปแบบการเรียนการสอน
กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผเู้ รียนสามารถ ที่ เ น้ น การพั ฒ นาด้ า นทั ก ษะพิ สั ย (psycho-motor
พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มความสามารถ รวมทั้ง domain) ได้แก่ รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิด
สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา การพัฒนาทักษะปฏิบตั ขิ องซิมพ์ซนั (Simpson) รูปแบบ
แห่งชาติ พ.ศ. 2552 ให้ผู้เรียนมีการพัฒนาการอย่าง การเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ (Harrow)
บูรณาการทัง้ ทางด้านวิชาการและวิชาชีพครอบคลุมใน และรูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์
ด้านความสามารถทางสติปัญญา การใช้กระบวนการ (Davies) 4) รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนา
คิดขั้นสูง การใช้เหตุผลและความสามารถในการแสดง ทักษะกระบวนการ (process skill) ได้แก่ รูปแบบการ
พฤติกรรมซึ่งรวมถึงทัศนคติและอัตมโนทัศน์ส่งผลให้ เรียนการสอนกระบวนการสืบสอบและแสวงหาความรู้
ผู้เรียนแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ1 สอดคล้องกับเป้าหมาย เป็นกลุ่ม รูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการคิด
ของการจั ด การเรี ย นการสอนทางการพยาบาลที่ อุ ป นั ย รู ป แบบการเรี ย นการสอนกระบวนการคิ ด
ต้องการให้ผู้เรียนสามารถน�ำความรู้ไปใช้ ในการดูแล สร้างสรรค์ และรูปแบบการเรียนการสอนกระบวนการ
ผู้รับบริการแบบองค์รวม กระบวนการจัดการเรียนรู้จึง คิดแก้ปัญหาอนาคตตามแนวคิดของ ทอร์แรนซ์ 5) รูป
ต้องประกอบด้วยการสอนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ แบบการเรียนการสอนทีเ่ น้นการบูรณาการ (integration)
จึงมีความส�ำคัญอย่างยิง่ ทีจ่ ะสร้างบัณฑิตให้มคี ณ ุ ภาพ2 รูปแบบการเรียนการสอนทางตรง รูปแบบการเรียนการ
รูปแบบการจัดการเรียนการสอนจึงมีความส�ำคัญต่อ สอนโดยการสร้างเรื่อง รูปแบบการเรียนการสอนตาม
การพัฒนาความสามารถของผู้เรียน วัฏจักรการเรียนรู้ 4 MAT และรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนมีหลากหลายรูปแบบซึง่ ของการเรียนรูแ้ บบร่วมมือ3 จากการทบทวนวรรณกรรม
รูปแบบการเรียนการสอนที่เป็นสากลนั้นเป็นรูปแบบได้ เกี่ยวกับการสังเคราะห์รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้น
รับการพิสูจน์ทดสอบประสิทธิภาพมาแล้วและมีผู้นิยม ผู ้ เ รี ย นเป็ น ส� ำ คั ญ พบว่ า รู ป แบบการสอนสามารถ
น�ำไปใช้ในการเรียนการสอนโดยทัว่ ไป แต่เนือ่ งจากมีรปู จ�ำแนกได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ รูปแบบการสอนที่เน้น
แบบการเรียนการสอนมากจึงสามารถจัดหมวดหมูข่ อง กระบวนการคิด รูปแบบการสอนที่เน้นการมีส่วนร่วม
รูปแบบเหล่านั้นตามลักษณะของวัตถุประสงค์เฉพาะ และรูปแบบการสอนทีเ่ น้นการพัฒนาพฤติกรรมและค่า
หรือเจตนารมณ์ของรูปแบบ ได้เป็น 5 หมวด ดังนี้ 1) รูป นิยม4
แบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านพุทธิพิสัย จากการทบทวนวรรณกรรมรูปแบบการเรียนการ
(cognitive domain) ได้แก่ รูปแบบการเรียนการสอนมโน สอนทางการพยาบาลของประเทศไทยพบว่า มีรูปแบบ
ทัศน์ รูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดของกานเย การเรียนการสอนทางการพยาบาลจ�ำนวนมากและมี
รูปแบบการเรียนการสอนโดยการน�ำเสนอมโนทัศน์ ความแตกต่างหลากหลายเช่น การสะท้อนคิดการเรียน
กว้างล่วงหน้า รูปแบบการเรียนการสอนเน้นความจ�ำ การสอนที่เน้นผู้เรียนส�ำคัญ การใช้ปัญหาเป็นฐาน
96 วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข

การเรียนรู้ที่ใช้สมองเป็นฐาน การใช้แผนผังความคิด รู ป แบบการเรี ย นการสอนทางการพยาบาลได้ แ ก่


การเรียนรู้ตามสภาพจริง เป็นต้น ซึ่งความหลากหลาย ประเภทการวิจัย ปัญหาการวิจัย วัตถุประสงค์ของการ
ของรูปแบบการเรียนการสอนอาจเนื่องจากการปฏิรูป วิจัย แบบแผนการวิจัย ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ระบบการศึกษาทีม่ งุ่ เน้นมาตรการพัฒนารูปแบบและวิธี เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการวิจยั สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
การสอนให้ มี ค วามหลากหลาย และเหมาะสมกั บ 2. เพื่อสังเคราะห์และสรุปความรู้องค์ความรู้
ธรรมชาติของผู้เรียน ประกอบกับความเชี่ยวชาญใน จากผลการวิจัยที่เกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอน
แต่ละรูปแบบของผู้สอน คุณลักษณะของผู้เรียนและ ทางการพยาบาลในประเด็น รูปแบบการเรียนการสอน
ปัจจัยเกือ้ หนุนทางการเรียนการสอน ดังนัน้ จึงท�ำให้เกิด ทางการพยาบาลและผลลั พ ธ์ ข องรู ป แบบการเรี ย น
งานวิจั ย เกี่ย วกั บ รู ป แบบการเรีย นการสอนทางการ การสอนทางการพยาบาล
พยาบาลจ�ำนวนมากขึ้นที่มีการศึกษาในประเด็นปัญหา
การวิจัยเดียวกันโดยใช้รูปแบบวิธีวิจัยคล้ายกันแต่ใช้ กรอบแนวคิดในการวิจัย
กลุม่ ตัวอย่างต่างกัน ซึง่ ท�ำให้ผลการวิจยั มีทงั้ สอดคล้อง การวิจยั ครัง้ นีใ้ ช้กรอบแนวคิดทีผ่ วู้ จิ ยั พัฒนาขึน้ เอง
กันและขัดแย้งกันส่งผลให้ผตู้ อ้ งการใช้ประโยชน์จากผล จากการทบทวนวรรณกรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ
งานวิจยั เกิดความสับสนและไม่สามารถหาข้อสรุปได้วา่ สังเคราะห์งานวิจัยมาเป็นแนวทางในการอธิบายได้ว่า
รูปแบบการเรียนการสอนทางการพยาบาลรูปแบบใดที่ การสังเคราะห์คณ ุ ลักษณะงานวิจยั ได้แก่ ปี พ.ศ. ทีพ่ มิ พ์
มีประสิทธิภาพที่สุด งานวิจัย แหล่งผลิตงานวิจัย ประเภทการวิจัย ปัญหา
ผู้วิจัยในฐานะที่เป็นบุคลากรที่ท�ำหน้าที่การเรียน การวิจยั และวัตถุประสงค์ของการวิจยั แบบแผนการวิจยั
การสอนพยาบาลได้เห็นความส�ำคัญของการวิจัยรูป ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
แบบการเรียนการสอนทางการพยาบาลที่มีต่อผลลัพธ์ สถิตทิ ใี่ ช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล และผลการวิจยั จะท�ำให้
ของการเรียนการสอน แต่พบว่าการวิจยั เหล่านีม้ รี ปู แบบ สามารถระบุองค์ความรูท้ เี่ กีย่ วกับรูปแบบการเรียนการ
ที่หลากหลาย กระจัดกระจาย ท�ำให้เกิดปัญหาและ สอนทางการพยาบาลในประเทศไทยตลอดจนระบุช่อง
สับสนในการน�ำผลการวิจัยไปใช้ ปัญหาในลักษณะ ว่างขององค์ความรูท้ เี่ กีย่ วกับรูปแบบการเรียนการสอน
ดังกล่าวจึงเป็นปัญหาที่เหมาะสมต่อการสังเคราะห์ ทางการพยาบาลในประเทศไทย ซึ่งจะน�ำไปสู่ข้อเสนอ
งานวิจัยด้านการเรียนการสอน ผลการวิจัยที่ได้จะเป็น แนะและทิศทางการวิจยั ทีเ่ กีย่ วกับรูปแบบการเรียนการ
หลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อใช้ในการพัฒนาปรับปรุงรูป สอนทางการพยาบาลต่อไป
แบบการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเกิดผลลัพธ์การเรียนรู้
ที่ดี ทั้งเป็นข้อมูลให้กับสถาบันทางการศึกษาทางการ วิธีด�ำเนินการวิจัย
พยาบาลต่างๆ ใช้เป็นแนวทางการจัดระบบการเรียนการ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
สอนรวมถึ ง สามารถใช้ เ ป็ น แนวทางการท� ำ วิ จั ย ใน ประชากรคือ งานวิจัยที่เกี่ยวกับรูปแบบการเรียน
ประเด็นทีเ่ กีย่ วกับการพัฒนาการเรียนการสอนทางการ การสอนทางการพยาบาล ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 – 2557
พยาบาลต่อไป ทั้งที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาจัดท�ำโดยนักศึกษา
ระดับมหาบัณฑิตและ/หรือดุษฎีบณ ั ฑิต และไม่เป็นส่วน
วัตถุประสงค์การวิจัย หนึง่ ของการศึกษา ซึง่ ปรากฏในฐานข้อมูลออนไลน์ของ
1. เพือ่ ศึกษาคุณลักษณะของงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วกับ ห้องสมุดมหาวิทยาลัย และฐานข้อมูลออนไลน์ของ
Nursing Journal of the Ministry of Public Health 97

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทางด้านการศึกษา จ�ำนวน 240 ผู ้ วิ จั ย น� ำ ไปตรวจสอบความตรงเชิ ง เนื้ อ หาโดย


เรื่อง ผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวน 3 ท่าน ซึ่งเป็นพยาบาลวิชาชีพ
กลุ่มตัวอย่างคือ งานวิจัยที่เกี่ยวกับรูปแบบการ ผู้เชี่ยวชาญด้านการเรียนการสอนทางการพยาบาล
เรียนการสอนทางการพยาบาลจ�ำนวน 14 เรื่อง ซึ่ง จ�ำนวน 1 ท่าน และผู้ทรงคุณวุฒิด้านการวิจัยจ�ำนวน 2
ปรากฏในฐานข้อมูลออนไลน์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัย ท่าน เพื่อตรวจสอบความชัดเจน ความเหมาะสมของ
และฐานข้อมูลออนไลน์ของหน่วยงานทีเกี่ยวข้องทาง ภาษาและความครอบคลุมของเนื้อหา น�ำมาปรับปรุง
ด้านการศึกษา โดยก�ำหนดเกณฑ์การคัดเลือกงานวิจัย แก้ไขตามค�ำแนะน�ำ และน�ำไปตรวจสอบความเทีย่ ง ด้วย
(inclusion criteria) ในการศึกษา คือ วิธีใช้ผู้ประเมินร่วมกัน โดยไปเก็บข้อมูลร่วมบันทึกกับ
1) เป็นงานวิจยั ทีศ่ กึ ษาเกีย่ วกับรูปแบบการเรียน ผูบ้ นั ทึก 2 คน และผูว้ จิ ยั รวมเป็นจ�ำนวน 3 คน เพือ่ ตรวจ
การสอนทางการพยาบาลโดยใช้เกณฑ์การประเมิน สอบความสอดคล้องของการบันทึกพบว่า ทุกข้อมีค่า
คุ ณ ภาพงานวิ จั ย ของราชวิ ท ยาลั ย อายุ ร แพทย์ ความสอดคล้องในระดับดีมาก
แห่งประเทศไทย5 เฉพาะระดับ A หมายถึง หลักฐานที่
ได้จากงานวิจยั ทีเ่ ป็น meta-analysis ของงานวิจยั ทีเ่ ป็น การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยรวบรวมข้อมูล
randomized controlled trials หรืองานวิจัยเดี่ยวที่เป็น โดยมีขั้นตอนดังนี้
randomized controlled trials และระดับ B หมายถึง 1. สืบค้นรายชือ่ งานวิจยั ทีศ่ กึ ษาเกีย่ วกับรูปแบบ
หลักฐานทีไ่ ด้จากงานวิจยั ทีเ่ ป็น meta-analysis ของงาน การเรียนการสอนทางการพยาบาล ระหว่างปี พ.ศ.
วิจัยที่ออกแบบเป็น randomized controlled trials อย่าง 2547 - 2557 โดยก�ำหนดค�ำส�ำคัญในการสืบค้น ดังนี้
น้อย 1 เรื่อง หรือหลักฐานที่ได้จากงานวิจัยที่มีการ “การสังเคราะห์งานวิจัยการเรียนการสอน” “รูปแบบ
ออกแบบรัดกุม แต่เป็นงานวิจัยกึ่งทดลองหรืองานวิจัย การเรียนการสอนทางการพยาบาล” “การเรียนการ
เชิงทดลองที่ไม่มีการสุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่ม สอนทางการพยาบาล” “Instructional Model in Nursing”
2) เป็นงานวิจัยที่มีการศึกษาตีพิมพ์ระหว่างปี และจากฐานข้อมูลออนไลน์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2547-2557 จ�ำนวน 7 ฐานข้อมูล และฐานข้อมูลออนไลน์ของหน่วย
3) เป็ น งานวิ จั ย ที่ มี ก ารวั ด ตั ว แปรตามที่ งานที่เกี่ยวข้องทางการศึกษาจ�ำนวน 3 ฐานข้อมูล รวม
ประสิทธิผลการเรียนการสอน กรณีที่พบรายชื่อจาก ถึงการสืบค้นด้วยตนเองโดยสืบค้นวิจัยจากวารสาร
ฐานข้อมูลออนไลน์มากกว่า 1 ฐานข้อมูล ผู้วิจัยเลือก วิชาการต่างๆ พบงานวิจัยจ�ำนวน 240 เรื่อง
ศึกษาจากแหล่งใดแหล่งหนึ่ง 2. พิจารณาคัดเลือกงานวิจัยที่มีคุณสมบัติตรง
หากพบว่ า งานวิ จั ย ใดที่ ไ ม่ เ ป็ น ไปตามเกณฑ์ ที่ ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด พบว่า มีงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับ
ก�ำหนด ผู้วิจัยจะท�ำการคัดเลือกออกจากกลุ่มตัวอย่าง รูปแบบการเรียนการสอนทางการพยาบาลที่ตรงตาม
จากการสืบค้นฐานข้อมูลดังที่ได้กล่าวมาแล้ว พบว่า มี เกณฑ์จ�ำนวน 14 เรื่อง
งานวิจยั ทีส่ อดคล้องกับเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดจ�ำนวน 14 เรือ่ ง 3. อ่านงานวิจัยฉบับสมบูรณ์และบันทึกข้อมูล
จากงานวิจัยโดยใช้แบบสรุปรายละเอียดงานวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ประกอบด้วย แบบสรุปรายละเอียดงานวิจัยรูป
แบบการเรียนการสอนทางการพยาบาล ซึ่งพัฒนาโดย
98 วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข

การวิเคราะห์ข้อมูล ตามวัตถุประสงค์การวิจัย 63.63 ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 30-157 คน ในการเลือกลุ่ม


มีดังนี้ ตัวอย่างใช้วิธีเฉพาะเจาะจงคิดเป็น ร้อยละ 63.63 การ
1. วิเคราะห์ขอ้ มูลทีเ่ กีย่ วกับคุณลักษณะของงาน หาค่าความเที่ยงของเครื่องมือ คิดเป็นร้อยละ 100.00
วิจัย ได้แก่ ปี พ.ศ. ที่พิมพ์งานวิจัยแหล่งผลิตงานวิจัย และใช้ทั้งสถิติบรรยายและสถิติอ้างอิงในการวิเคราะห์
ประเภทการวิจัย ปัญหาการวิจัย วัตถุประสงค์ของ ข้อมูล คิดเป็นร้อยละ 54.51 ซึง่ ส่วนใหญ่ใช้ สถิตริ ้อยละ
การวิจัย แบบแผนการวิจัย ลักษณะรูปแบบการเรียน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติการทดสอบ
การสอน รายวิชาที่ศึกษา ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง t-test และการวิเคราะห์เนื้อหา
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ 2. ผลการสังเคราะห์รูปแบบการการเรียน
ข้อมูลด้วยโปรแกรมส�ำเร็จรูป และใช้สถิติบรรยาย การสอนทางการพยาบาล พบว่า งานวิจัยทั้งหมด
ซึ่งได้แก่ การแจกแจงความถี่และร้อยละ บรรยาย สามารถสรุ ป เป็ น รู ป แบบการเรี ย นการสอนทาง
คุณลักษณะของงานวิจัย การพยาบาลแบ่งเป็น 4 รูปแบบ ดังนี้
2. วิเคราะห์รูปแบบการเรียนการสอนทางการ 2.1 รูปแบบการเรียนการสอนทีเ่ น้นพุทธิพสิ ยั
พยาบาลด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหาตามลักษณะของ จากการวิเคราะห์พบว่า มีรปู แบบการเรียนการสอนและ
รูปแบบการจัดการเรียนการสอน ผลลัพธ์การเรียนการสอน มี 4 รูปแบบ ดังตารางที่ 1

ผลการวิจัย
1. คุณลักษณะงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วกับรูปแบบการ
เรียนการสอนทางการพยาบาล พบว่า ส่วนใหญ่เป็น
งานวิจัยที่ไม่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา คิดเป็นร้อยละ
100.0 มี ก ารระบุ ป ั ญ หาและวั ต ถุ ป ระสงค์ ก ารวิ จั ย
คิดเป็นร้อยละ 100.0 มีการระบุกรอบแนวคิด คิดเป็น
ร้อยละ 63.63 แบบแผนการวิจัยเป็นการวิจัยพัฒนา
และทดลอง คิดเป็นร้อยละ 63.63 ประชากรและกลุ่ม
ตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาล คิดเป็นร้อยละ 100.0
ไม่มีการค�ำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ
2. ผลการสังเคราะห์รูปแบบการการเรียนการสอนทางการพยาบาล พบว่า งานวิจัยทั้งหมด
สามารถสรุปเป็นรูปแบบการเรียนการสอนทางการพยาบาลแบ่
Nursing Journal of theงเป็Ministryน 4 รูปแบบof ดัPublic
งนี้ Health 99
2.1 รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นพุทธิพสิ ัย จากการวิเคราะห์พบว่า มีรูปแบบ
การเรียนการสอนและผลลั
ตารางที พธ์การเรียนการสอน
่ 1 รูปแบบการเรียนการสอนที ่เน้นพุทธิพมีิสัย4 รูปแบบ ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นพุทธิพสิ ัย
ลักษณะรูปแบบ ชื่องานวิจัย (ผู้แต่ง, ปีพิมพ์) ผลลัพธ์
การเรียนการสอน การเรียนการสอน
การเรียนรูท้ ี่ใช้สมองเป็นฐานประกอบด้วย 5 การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ 1. ความรู้ในรายวิชาการ
ขั้นตอน ที่ใช้สมองเป็นฐานของนักเรียนพยาบาล วิทยาลัย วิจัยทางการพยาบาล
ขั้นที่ 1 วิธีเพื่อการผ่อนคลาย พยาบาลกองทัพบก 2.เจตคติ
ขั้นที่ 2 การใช้ผังมโนทัศน์ (ปราณี อ่อนศรี, 2555) 3.ความพึงพอใจ
ขั้นที่ 3 การถ่ายโยงการเรียนรู้
ขั้นที่ 4 การบริหารสมอง
ขั้นที่ 5 การคิดไตร่ตรอง
การเรียนการสอนโดยการถ่ายโยงความรู้ ผลของการใช้รูปแบบการเรียนการสอนต่อความสามารถ 1. ความสามารถในการ
ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ในการถ่ายโยงความรู้และความสามารถในการ ถ่ายโยงความรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ ปฏิบัติงานของนักศึกษาพยาบาล (ทองปาน บุญกุศล 2. ความสามารถในการ
ขั้นที่ 2 ขั้นการฝึกปฏิบัติการใช้ความรู้ และคณะ, 2555) ปฏิบัติงาน
ขั้นที่ 3 ขั้นการถ่ายโยงความรู้
ขั้นที่ 4 ขั้นการสร้างความใฝ่เรียนรู้
การพัฒนารูปแบบโค้ชพีพีซีอี ประกอบด้วย การพัฒนารูปแบบการโค้ช เพื่อพัฒนาสมรรถนะการ 1.ทักษะการคิดอย่างมี
องค์ประกอบ 3 ส่วน คือ จัดการเรียนรูข้ องอาจารย์พยาบาล ที่ส่งเสริมทักษะการ วิจารณญาณของนักศึกษา
1) หลักการและวัตถุประสงค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาพยาบาล ในสังกัด พยาบาล
2) กระบวนการ คือการเตรียมการ การ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข 2.ความพึงพอใจ
วางแผน การปฏิบัติการโค้ช และการประเมิน (ธัญพร ชื่นกลิ่น และวัชรา เล่าเรียนดี, 2555)
ผลการโค้ช
3) เงื่อนไขการนารูปแบบไปใช้
การเรียนการสอนตามสภาพจริงประกอบด้วย การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดการ 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การเรียนการสอน 5 ขั้น ได้แก่ เรียนรูต้ ามสภาพจริงเพื่อเสริมสร้างผลสัมฤทธิ์ทางการ 2.ความสามารถในการคิด
1) ขั้นกระตุ้นความรู้เดิม เรียนและความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ อย่างมีวิจารณญาณ
2) ขั้นเสนอปัญหา ของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี
3) ขั้นเสนอการแก้ปัญหา สุพรรณบุรี
4) ขั้นสรุปความคิดรวบยอด (ลัดดาวัลย์ ไวยสุระสิงห์ และสุภาวดี นพรุจจินดา,
5) ขั้นประยุกต์ใช้ 2554)

2.2 รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นจิตพิสัย ผลลัพธ์การเรียนการสอน มี 3 รูปแบบ ดังตารางที่ 2


2.2 รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นจิตพิสัย จากการวิเคราะห์พบว่า มีรูปแบบการเรียนการสอน
จากการวิเคราะห์พบว่า มีรปู แบบการเรียนการสอนและ ตารางที่ 2 รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นจิตพิสัย
และผลลัพธ์การเรียนการสอน มี 3 รูปแบบ ดังตารางที่ 2
100 วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข
7

ตารางที
ตารางที่ 2่ 2 รูรูปปแบบการเรี
ยนการสอนที
แบบการเรี ่เน้น่เจิน้ตนพิจิสตัยพิสัย
ยนการสอนที
ลักษณะรูปแบบ ชื่องานวิจัย (ผู้แต่ง, ปีพิมพ์) ผลลัพธ์
การเรียนการสอน การเรียนการสอน
การเรียนรูต้ ามแนวจิตปัญญาประกอบด้วย 5 ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูต้ ามแนวจิตปัญญาศึกษา 1.ความคิดเห็นของ
ขั้นตอน คือ 1) เตรียมความพร้อมในการเรียน ต่อผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ นักศึกษาต่อผลการเรียนรู้
2) เรียนรูผ้ ่านประสบการณ์ตรง 3) ใช้สุนทรีย ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ตามกรอบมาตรฐานใน
สนทนา ในรายวิชา สม 1102 ทักษะชีวิต. รายวิชาทักษะชีวิต
4) สะท้อนการเรียนรู้ (สมใจ เจียระพงษ์ และคณะ, 2556) 2.ความสุขในการเรียน
5) บันทึกการเรียนรู้

การเรียนรูต้ ามแนวจิตปัญญาประกอบด้วย 8 ผลของรูปแบบการพัฒนานักศึกษาด้วยกระบวนการจิต ความพร้อมในการเรียนรู้


ขั้นตอน คือ ปัญญาศึกษาต่อความพร้อมในการเรียนรูแ้ บบนาตนเอง แบบนาตนเอง
1) การตัง้ เป้าหมายในชีวิต (วิบูลย์ลักษณ์ ปรียาวงศากุล, 2555)
2) การทาความรู้จักกับตนเอง
3) การวางแผนบริหารเวลา
4) การฝึกทักษะการอ่าน
5) การฝึกทักษะการฟัง
6) การพัฒนาทักษะทางอารมณ์
7) ฝึกทักษะแก้ปัญหาแบบบูรณาการ
8) การฝึกบทบาทผู้อานวยความสะดวกใน
การเรียนรู้
การเรียนรูแ้ บบสะท้อนคิดประกอบด้วย 7 การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรูแ้ บบการสะท้อนคิด 1.ความรู้เกี่ยวกับวิชาจริย
ขั้นตอน คือ เพื่อสร้างเสริมความ สามารถในการตัดสินใจเชิง ศาสตร์ และกฎหมาย
1) อธิบายสถานการณ์และปัญหาที่เกิดขึ้น จริยธรรมทางการพยาบาลสาหรับนักศึกษาพยาบาล วิชาชีพพยาบาล
2) อธิบายความรู้สึกต่อสถานการณ์ (ดุจเดือน เขียวเหลือง และคณะ, 2556) 2.ความสามารถในการ
3) บอกแนวคิด/หลักการ/ความเชื่อที่สนับสนุน ตัดสินใจเชิงจริยธรรม
การกระทา ทางการพยาบาล
4) เปิดใจรับฟังความคิดเห็น/ทางเลือกที่ 3.พฤติกรรมการสะท้อน
หลากหลาย คิด
5) จัดลาดับความคิด/หาข้อสรุป ร่วมอย่าง
เป็นเหตุเป็นผล
6) นาข้อสรุปไปปฏิบัติ
7) สะท้อนคิดการเรียนรู้/ประสบการณ์ใหม่ที่
แตกต่างจากเดิม
การเรียนการสอนที่เน้นสมรรถนะ การพัฒนาและประเมินผลรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อ สมรรถนะทางวัฒนธรรม
ทางวัฒนธรรม ส่งเสริมสมรรถนะทางวัฒนธรรมของนักศึกษาพยาบาล
(ศิริพันธุ์ ศิริพันธุ์ และคณะ, 2555)
8
Nursing Journal of the Ministry of Public Health 101
2.3 รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นทักษะพิสัย จากการวิเคราะห์พบว่า มีรูปแบบการเรียนการสอน
และผลลั
2.3 พรูปธ์กแบบการเรี
ารเรียนการสอน มี 2 รูปแบบ
ยนการสอนที ่เน้นทัดักงษะพิ
ตารางที
สัย่ 3 ผลลัพธ์การเรียนการสอน มี 2 รูปแบบ ดังตารางที่ 3

ตารางที่ 3 รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นทักษะพิสัย
ตารางที่ 3 รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นทักษะพิสัย
ลักษณะรูปแบบ ชื่องานวิจัย (ผู้แต่ง, ปีพิมพ์) ผลลัพธ์
การเรียนการสอน การเรียนการสอน
การเรียนการสอนโดยใช้วิจัยเป็นฐาน ประสิทธิผลของการเรียนการสอนโดยใช้การวิจัยเป็น 1.ความรู้ความเข้าใจ
ฐานต่อการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการปฏิบัติการสร้าง การเรียนการสอนโดยใช้
เสริมสุขภาพ: การศึกษาในนิสิตพยาบาลศาสตร์ การวิจัยเป็นฐาน
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ยุวลี วิทยพันธ์, 2553) 2.การรับรู้สมรรถนะด้าน
การปฏิบัติการสร้างเสริม
สุขภาพ
การใช้กรณีศึกษา โดยให้นักศึกษาศึกษา ผลของการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กรณีศึกษาต่อ 1.ความสามารถการใช้
กรณีศึกษาที่เป็นสถานการณ์จาลอง ก่อนฝึก ความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลของ กระบวนการพยาบาล
ปฏิบัติและศึกษาจากกรณีศึกษาจริง นักศึกษาพยาบาลรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลบุคคลที่มี 2.ความพึงพอใจ
ปัญหาสุขภาพ (มารศรี จันทร์ดี และคณะ, 2557)

2.4 2.4 รูปแบบการเรี


รูปแบบการเรี ยนการสอนที
ยนการสอนที เ่ น้น่เบูน้รนณาการ
บูรณาการเรียจากการวิ
นการสอนทีเคราะห์
่เน้นพจิตบว่พิาสัมียกัรูปบแบบการเรี
ทักษะพิสัยย น และการ
การสอนทีเคราะห์
จากการวิ ่บูรณาการวิ
พบว่า ธีกมีารสอนต่ าง ๆ เช่
รูปแบบการเรี น บูรณาการรู
ยนการสอนที ่ ปบูแบบการเรี
รณาการเนืยอ้ นการสอนที
หาของรายวิ่เน้ชนา ดั จิตงพิตารางที
สัยกับทั่ ก4ษะ
บูพิรสณาการวิ
ัย และการ บูรณาการเนื
ธกี ารสอนต่ าง ๆ เช่้อนหาของรายวิ
บูรณาการรูชปาแบบการ ดังตารางที่ 4
102 วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข
9
ตารางที่ 4 รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นทักษะพิสัยลักษณะรูปแบบ
ตารางที่ 4 รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการบูรณาการ
ลักษณะรูปแบบ ชื่องานวิจัย (ผู้แต่ง, ปีพิมพ์) ผลลัพธ์
การเรียนการสอน การเรียนการสอน
การเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นหลักและ การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็น 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การกากับตนเอง หลักและการกากับตนเองเพื่อส่งเสริมการคิด 2.การรับรู้อัตสมรรถนะ
วิจารณญาณและการรับรูอ้ ัตสมรรถนะของนักศึกษา 3.การคิดวิจารณญาณ
พยาบาล (สุระพรรณ พนมฤทธิ์ และคณะ, 2554)
การสอนแบบบูรณาการโดยใช้กระบวนการ ผลการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้ ความรู้และทักษะในการ
สะท้อนคิด ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ กระบวนการสะท้อนคิดต่อสมรรถนะการส่งเสริมการ ส่งเสริมการเลิกบุหรี่
1)การบรรยายความรู้สึก เลิกบุหรี่ของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรม
2) การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ 3) การ ราชชนนี กรุงเทพ (ชุตมิ า ปัญญาพินิจนุกูร และคณะ,
วิเคราะห์ประสบการณ์ 2555)
4)การสรุปแนวคิด
5) การทดลองนาไปใช้

การสอนแบบบูรณาการประกอบด้วย 2 ผลการบูรณาการการจัดการเรียนการสอนวิชาการ 1.ความรู้เกี่ยวกับการ


กิจกรรมคือ การใช้ส่ือประกอบเกี่ยวกับการ ควบคุมยาสูบกับวิชาปฏิบัติการพยาบาลครอบครัวและ ควบคุมยาสูบ
ควบคุมยาสูบจานวน 8 ชุด และการเยี่ยมบ้าน ชุมชน 2 สาหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับ
วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม การใช้ส่ือ
(เรณุวัฒน์ โคตรพัฒน์ และคณะ, 2554)
การสอนแบบบูรณาการโดยเป็นกิจกรรมที่ให้ ผลของการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานเพื่อ 1.สมรรถนะด้านความรู้
นั ก ศึ ก ษาสื บ ค้ น ข้ อ มู ล เพื่ อ ผลิ ต สื่ อ การสอน เสริมสร้างสมรรถนะการใช้เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการ และสมรรถนะด้านทักษะ
ทางการพยาบาลแบบมัลติมีเดีย ฝึกปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 2.สมรรถนะด้านทัศนคติ
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(ปิยะนุช ชูโต และคณะ 2557)

อภิปรายผล ผูว้ ิจัยพบประเด็นที่นา่ สนใจตามวัตถุประสงค์การวิจัย ดังนี้


1. คุณลักผูษณะงานวิ
อภิปรายผล จัยทีน่เทีกี่น่ย่าวกั
้วิจัยพบประเด็ บรูปแบบการเรีซั บยนการสอนทางการพยาบาล
สนใจตาม พบว่ง รุากส่วรวมทั
ซ้ อ นและต้ อ งการการดู แ ลในเชิ น ้ง ต้ อ ง
ใหญ่เป็นงานวิจัยของกระทรวงสาธารณสุข แหล่งผลิตมาจากสถาบั นการศึกษากระทรวงสาธารณสุ
ให้การดูแลแบบองค์ รวมบนพื้นฐานข้อมูลขที่มีความน่า
วัตถุประสงค์การวิจัย ดังนี้
แบบแผนการวิจัยที่สว่ นใหญ่พบว่าเป็นการวิจัยพัฒนา ทั้งเชื นีอ้ ่อาจเนื
ถือหรื่องมาจากวิ
อข้อมูลเชิชงาชี พยาบาลเป็
ประจั กษ์ที่เพียนงพอจากการวิ
การดูแลผู้ จัย6
1. คุณลักษณะงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วกับรูปแบบการ
ที่มปี ัญหาสุขภาพที่ซับซ้อนและต้องการการดูแลในเชิงรุก รวมทั้งต้องให้การดูแลแบบองค์ จัยที่มุ่งรผลลั
วมบนพื
พธ์ทน้ างการเรียน
เรียนการสอนทางการพยาบาล พบว่า ส่วนใหญ่เป็น ดังนั้นลักษณะของการวิ 6
ฐานข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือหรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่เพียงพอจากการวิจัย ดังนั้นลักษณะของการวิจัย
งานวิจัยของกระทรวงสาธารณสุข แหล่งผลิตมาจาก การสอนพยาบาลจึงเป็นลักษณะการวิจยั และพัฒนาทาง
ที่มงุ่ ผลลัพธ์ทางการเรียนการสอนพยาบาลจึงเป็นลักษณะการวิจัยและพัฒนาทางด้านการศึกษา
สถาบันการศึกษากระทรวงสาธารณสุขแบบแผนการ ด้านการศึกษาพยาบาล อันเป็นผลให้ผ้เู รียนสามารถน�ำ
พยาบาล อันเป็นผลให้ผเู้ รียนสามารถนาความรูไ้ ปใช้ในการแก้ปัญหาผูร้ ับบริการได้ สามารถถ่ายโยง
วิจยั ทีส่ ่วนใหญ่พบว่าเป็นการวิจยั พัฒนา ทัง้ นีอ้ าจเนือ่ ง ความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาผู้รับบริการได้ สามารถ
ความรูจ้ ากทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจนการสอบใบประกอบวิชาชีพทางการพยาบาล รวมถึงการ
มาจากวิชาชีพยาบาลเป็นการดูแลผูท้ มี่ ปี ญ ั หาสุขภาพที่ ถ่ายโยงความรู้จากทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติ ตลอดจน
Nursing Journal of the Ministry of Public Health 103

การสอบใบประกอบวิชาชีพทางการพยาบาล รวมถึง จากการทบทวนวรรณกรรมมาเป็ น กรอบแนวคิ ด


การจั ด การเรี ย นการสอนทางการพยาบาลที่ เ ป็ น ในกรณี ที่ ไ ม่ มี ท ฤษฎี ที่ ส อดคล้ อ งกั บ งานวิ จั ย ของ
การเรียนระดับอุดมศึกษาจึงต้องท�ำให้ผู้เรียนมีการ ตนเอง กรอบแนวคิดเป็นการแสดงความสัมพันธ์ของ
พัฒนากระบวนการคิดขั้นสูง และอาจรวมถึงประเด็น ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติและน�ำไปตรวจสอบ
ความสอดคล้อง ระหว่างงานวิจัยกับนโยบายการจัด ว่ามีความสอดคล้องกับกับข้อมูลเชิงประจักษ์หรือไม่
การศึกษา ซึ่งการเรียนการสอนในวิชาชีพพยาบาลมี เพียงใด7 ซึ่งกรอบแนวคิดในการวิจัยที่ดี จะต้องชัดเจน
เป้าหมายคือ การพัฒนาผูเ้ รียนให้สามารถดูแลพยาบาล แสดงทิศทางของความสัมพันธ์ ของสิ่งที่ต้องการศึกษา
แก่มนุษย์ทุกเพศ ทุกวัย โดยเน้นการดูแลแบบองค์รวม หรือตัวแปรที่จะศึกษา สามารถใช้เป็นกรอบในการ
เพื่อตอบสนองความต้องการของสังคมด้านสุขภาพ ก�ำหนดขอบเขตของการวิจยั การพัฒนาเครือ่ งมือในการ
อนามัย7 รวมถึงการก�ำหนดหมวด 4 มาตรา 22 ของ วิจยั รูปแบบการวิจยั ตลอดจนวิธกี ารรวบรวมข้อมูลและ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ 2542 ว่า “การ วิเคราะห์ข้อมูล9
จัดการศึกษาต้อง ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคน มีความ งานวิ จั ย ส่ ว นใหญ่ ไ ม่ มี ก ารค� ำ นวณขนาดกลุ ่ ม
สามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียน ตัวอย่าง การเลือกลุม่ ตัวอย่างใช้วธิ เี ฉพาะเจาะจง ขนาด
มี ค วามส� ำ คั ญ ที่ สุ ด กระบวนการจั ด การศึ ก ษาต้ อ ง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ 1 กลุ่ม ทั้งนี้เนื่องจากเป็นข้อจ�ำกัด
ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ ของการวิจัยในชั้นเรียนเกี่ยวกับขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
เต็มศักยภาพ” ตลอดจนการประกาศของกระทรวง ในแต่ละชั้นเรียน แต่ถึงอย่างไรก็ตามผลลัพธ์ทางการ
ศึ ก ษาธิ ก ารเรื่ อ ง กรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ เรียนการสอนก็ยงั คงเกิดขึน้ ในทางบวก เช่น การเพิม่ ผล
อุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ สัมฤทธิ์ทางการเรียน การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ
พั ฒ นาคุ ณ ภาพการจั ด การศึ ก ษา จึ ง ท� ำ ให้ ง านวิ จั ย เพิม่ สมรรถนะต่างๆ ทีต่ ้องการ รวมทัง้ ผู้เรียนมีความพึง
ส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยพัฒนาและทดลอง พอใจในการเรียนและเพิม่ ความสุขในการเรียนรู้มากขึน้
งานวิจยั ส่วนใหญ่ระบุกรอบแนวคิด สะท้อนให้เห็น 2. รูปแบบการเรียนการสอนทางการพยาบาล
ว่ า งานวิ จั ย เกี่ ย วกั บ รู ป แบบการเรี ย นการสอนทาง และผลลัพธ์ของรูปแบบการเรียนการสอนทางการ
การพยาบาลมีทศิ ทางของการท�ำวิจัยที่ชัดเจน เพราะ พยาบาล จากการสรุปงานวิจัยจ�ำนวน 14 เรื่อง พบ
การระบุกรอบแนวคิดช่วยให้นกั วิจยั อืน่ หรือผู้ทสี่ นใจใน การเรียนการสอนทางการพยาบาล 4 รูปแบบ คือ 1)
งานวิจัยเรื่องนั้นเกิดความเข้าใจในแนวความคิดหรือ การเรียนการสอนทีเ่ น้นพุทธิพสิ ยั 2) การเรียนการสอน
ความคิดรวบยอดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เนื่องจากกรอบแนวคิด ที่เน้นจิตพิสัย 3) การเรียนการสอนที่เน้นทักษะพิสัย
ท�ำให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์ ปรากฏการณ์ และ 4) การเรียนการสอนที่เน้นบูรณาการ ซึ่งงานวิจัย
หรือตัวแปรต่างๆ ที่ผู้วิจัยต้องการศึกษาได้อย่างชัดเจน ทั้ง 4 รูปแบบสามารถน�ำไปใช้การเรียนการสอนทาง
นอกจากนี้ ก ่ อ นท� ำ วิ จั ย นั ก วิ จั ย จ� ำ เป็ น ต้ อ งท� ำ การ การพยาบาลได้ เนือ่ งจากการจัดการศึกษาพยาบาลเป็น
ทบทวนวรรณกรรมเพือ่ ศึกษาองค์ความรูท้ ำ� ให้ทราบว่า ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอน ผู้เรียน บุคคล ครอบครัวและ
งานวิจัยที่ผ่านมามีองค์ความรู้ นอกจากนี้การทบทวน ชุมชนด้วยวิธีการที่หลากหลายเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ
วรรณกรรมช่วยให้นักวิจัยได้มีการน�ำองค์ความรู้ที่ได้ ภายใต้บรรยากาศของความเอื้ออาทรเพื่อให้ผู้เรียน
104 วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข

เกิดการเรียนรูร้ ว่ มกัน สามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนือ่ ง ต้องใช้การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ16- 17 สอดคล้องกับผล


เกิดทักษะในการปฏิบตั กิ ารพยาบาลตามมาตรฐานของ การวิจัยที่ได้สรุปดังกล่าว
วิ ช าชี พ 10 ส� ำ หรั บ รู ป แบบการเรี ย นการสอนที่ พ บใน 2.2 รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นจิต
การศึกษาเป็นการเรียนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็นส�ำคัญ พิสัย พบว่า มี 3 รูปแบบ คือ การเรียนรู้ตามแนว
แต่มีความแตกต่างกันตรงจุดเน้นของด้านที่ต้องการ จิตตปัญญา18 การเรียนรูแ้ บบสะท้อนคิด19 และการเรียน
พัฒนาให้เกิดในตัวผู้เรียนและปริมาณการมีส่วนร่วมใน การสอนทีเ่ น้นสมรรถนะทางวัฒนธรรม20 เป็นรูปแบบที่
ตัวกิจกรรม ซึ่งสามารถอภิปรายได้ดังนี้ มุ่งช่วยพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความรู้สึก เจตคติ ทัศนคติ
2.1 รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นพุทธิ ค่านิยม คุณธรรม และจริยธรรมที่พึงประสงค์ เป็นรูป
พิสัย พบว่า มี 4 รูปแบบคือ การเรียนรู้ที่ใช้สมองเป็น แบบการเรียนการสอนทีม่ คี วามเหมาะสมกับการศึกษา
ฐาน11 การเรียนการสอนโดยการถ่ายโยงความรู้12 การ พยาบาล เนื่องจากความรู้สึก เจตคติหรือทัศนคติมี
พัฒนารูปแบบโค้ชพีพีซีอ13ี และการเรียนการสอนตาม อิทธิพลในการทีบ่ คุ คลจะเลือกจะท�ำสิง่ ต่างๆ คือบุคคล
สภาพจริง14 นับว่าเป็นรูปแบบที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิด จะเลือกเรียนและกระท�ำในสิ่งที่ตนเองชอบ21 ดังนั้น
ความเข้าใจในเนือ้ หา สาระ ความคิดรวบยอดของเนือ้ หา การที่นักศึกษาพยาบาลจะมีความพร้อมในการเรียนรู้
หรือรายวิชาด้วยตัวเอง โดยเนือ้ หาสาระอาจจะอยูใ่ นรูป ได้ดีมากน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับทัศนคติต่อวิชาชีพ
ของข้อมูล ข้อเท็จจริง มโนทัศน์ หรือความคิดรวบยอด การเรี ย นรู ้ ต ามแนวจิ ต ปั ญ ญาจะท� ำ ให้ ผู ้ เ รี ย นเกิ ด
เมื่อผู้เรียนมีความเข้าใจในเนื้อหาสาระแล้วจะสามารถ ความตระหนักรูใ้ นตนเอง มีสติรคู้ ดิ มีการเคารพศักดิศ์ รี
เชือ่ มโยงไปสูก่ ารปฏิบตั ไิ ด้ เนือ่ งจากการศึกษาทางการ ความเป็นมนุษย์ และสามารถให้การพยาบาลบุคคล
พยาบาลมีการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง แบบองค์รวม ดังนั้นการน�ำหลักสูตรจิตตปัญญามาใช้
หลั ก สู ต รเพื่ อ ต้ อ งการให้ ก ารผลิ ต บั ณ ฑิ ต ทางการ กับนักศึกษาพยาบาลจะท�ำให้ผู้เรียนตระหนักในคุณค่า
พยาบาลมีคณ ุ ภาพและสามารถให้การดูแลผู้รบั บริการ ความเป็นมนุษย์ และสามารถปฏิบัติการพยาบาลแบบ
ได้ครอบคลุมทุกมิติและผู้รับบริการที่มีปัญหาสุขภาพ องค์รวมได้ โดยนักศึกษาพยาบาลเกิดการตระหนักรู้
ซับซ้อน ดังนัน้ การน�ำความรูจ้ ากเนือ้ หา สาระ ความคิด คุณค่าความเป็นมนุษย์22 ดังนั้นการศึกษาดังกล่าวเป็น
รวบยอดจากห้องเรียน ห้องปฏิบัติการพยาบาลสู่การ สิ่งสะท้อนให้เห็นว่าแนวคิดจิตตปัญญาสามารถใช้ใน
ปฏิ บั ติ จ ริ ง จึ ง มี ค วามส� ำ คั ญ ในการแก้ ไ ขปั ญ หาทาง การเรียนการสอนทางการพยาบาลได้ ในขณะที่การ
สุขภาพ รวมทั้งผลลัพธ์ของการเรียนการสอนเน้นพุทธิ เรียนการสอนที่เน้นสมรรถนะทางวัฒนธรรม เป็นรูป
พิสัยนอกจากความสามารถในการถ่ายโยงความรู้แล้ว แบบการเรียนการสอนทีต่ อ้ งการให้นกั ศึกษาพยาบาลมี
ยังได้พัฒนาความคิดวิจารณญาณที่เกิดกับผู้เรียน เป็น ความเข้าใจทางศาสนา สังคม และความหลากหลาย
ความคิดที่มีการเชื่อมโยงข้อมูลความเป็นเหตุเป็นผล มี ทางวัฒนธรรม เพื่อให้นักศึกษาพยาบาลมีความพร้อม
การตรวจสอบวิเคราะห์ เปรียบเทียบกับสถานการณ์ ในการเรียนรู้กับการท�ำงานกับคนในชุมชนที่มีความ
เหตุการณ์ และบริบทที่เกี่ยวข้องอย่างรอบคอบ สิ่งใด หลากหลายทางวัฒนธรรม 23 ซึ่งแนวคิดการเน้นให้
ถู ก ต้ อ ง ซึ่ ง จะน� ำ ไปสู ่ ก ารตั ด สิ น ใจที่ ถู ก ต้ อ งที่ มี นักศึกษาพยาบาลเข้าใจ เห็นคุณค่า ในวัฒนธรรมของ
ประสิทธิภาพ15 ดังนัน้ การให้บริการทางการพยาบาลจึง ผู้รับบริการ ดังนั้นจึงมีการปรับหลักสูตรเพื่อพัฒนา
Nursing Journal of the Ministry of Public Health 105

ศักยภาพนักศึกษาพยาบาลให้มีสมรรถนะในการดูแล ทักษะพิสัย อย่างสอดคล้องกัน ท�ำให้ผู้เรียนสนุกที่จะ


ผู้รับบริการต่างวัฒนธรรม เป็นการเพิ่มความรู้ ทักษะ เรียนรูแ้ ละสามารถทีจ่ ะจดจ�ำเรือ่ งราว เนือ้ หาสาระและ
ทัศนคติ และการรับรู้ความสามารถของตนเองของ น�ำไปใช้ได้มากขึ้น การเชื่อมโยงการเรียนรู้ในเนื้อหากับ
นักศึกษา21 ชีวติ จริงหรือที่เรียกว่าการบูรณาการนัน้ จึงควรจัดให้มี
2.3 รูปแบบการเรียนการสอนทีเ่ น้นทักษะ การเรียนการสอนแบบบูรณาการและด�ำเนินการให้เกิด
พิสัย พบว่า มี 2 รูปแบบ คือ การเรียนการสอนโดยใช้ การ บูรณาการอย่างจริงจัง เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้เรียน
วิจยั เป็นฐาน24 และการเรียนการสอนโดยใช้กรณีศกึ ษา25 รู้ได้ อย่างครอบคลุม สมบูรณ์และมีคุณภาพ
โดยการเรียนที่เน้นทักษะพิสัยเป็นรูปแบบที่เน้นการ มากขึ้น25 สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง
พั ฒ นาความสามารถของผู ้ เ รี ย นในด้ า นการปฏิ บั ติ ชาติพุทธศักราช 254229 ที่ระบุว่าครูต้องมีการพัฒนา
การกระท�ำ และการแสดงออก หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึง่ หลักสูตรบูรณาการ จัดการศึกษาแบบองค์รวม มีการ
ว่า เป็นพฤติกรรมที่สามารถเกิดขึ้นภายในร่างกายก็ได้ เชื่อมโยงความรู้อย่างหลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม
เช่น สมอง ความคิดหรือการฝึกฝนความคิดและสติ ในการจั ด องค์ ค วามรู ้ แ ละที่ ส� ำ คั ญ คื อ ต้ อ งจั ด ท� ำ
ปัญญา ที่เรียกว่า ทักษะทางปัญญา หรือทักษะทาง แผนการจัดการเรียนรูแ้ บบบูรณาการทัง้ การบูรณาการ
ความคิ ด เป็ น พฤติ ก รรมการเรี ย นรู ้ ที่ บ อกถึ ง ความ วิธีการเรียนการสอนและบูรณาการเนื้อหา โดยผู้ที่ท�ำ
สามารถในการปฏิบัติงานอย่างคล่องแคลว ชํานาญ วิจยั ได้มกี ารทบทวนแนวคิดและทฤษฎีการจัดการเรียน
ซึ่งพฤติกรรมในดานนี้จะสามารถสังเกตเห็นได้จาก รู้อย่างเป็นระบบเพื่อสร้างกรอบแนวคิดให้มีการบูรณาการ
พฤติกรรมที่แสดงออกมา26 การจัดการเรียนการสอน ตามวัตถุประสงค์การวิจัยที่ชัดเจน ดังที่เห็นได้จากงาน
ทีเ่ น้นทักษะพิสยั จึงต้องการผูเ้ รียนได้มกี ารแสดงออกใน วิจัยของ สุระพรรณ พนมฤทธิ์ และคณะ30 งานวิจัยของ
ลักษณะของการปฏิบัติการได้จริง เช่น การใช้งานวิจัย ชุ ติ ม า ปั ญ ญาพิ นิ จ นุ กู ร และคณะ 31 เรณุ วั ฒ น์
เป็นฐานในการเรียนรู้ เนื่องจากผู้เรียนได้มีการลงมือ โคตรพัฒน์และคณะ32 ปิยะนุช ชูโตและคณะ33
ปฏิบตั ิ โดยผู้เรียนมีอสิ ระเลือกเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียน
ต้องมีการสร้างความรูข้ น้ึ มาด้วยตัวเองบนหลักฐานการ ข้อจ�ำกัดการวิจัย
เรียนจากบริบทที่แวดล้อม ซึ่งวิธีการเรียนแบบวิจัยเป็น 1. การวิจยั ในครัง้ นีเ้ ป็นการสืบค้นจากฐานข้อมูล
ฐานท�ำให้ผเู้ รียนเกิดสมรรถนะด้านการปฏิบตั กิ ารสร้าง ออนไลน์ ร่วมกับการสืบค้นด้วยมืออาจท�ำให้ได้ข้อมูล
เสริมสุขภาพ ไม่ครบถ้วนในการสืบค้น
2.4 รู ป แบบการเรี ย นการสอนที่ เ น้ น 2. การวิจัยในครั้งนี้เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล
บู ร ณาการ พบว่ า มี รู ป แบบการเรี ย นการสอนที่ ระหว่างเดือนสิงหาคม 2557 – เดือน มกราคม 2558
บูรณาการวิธีการสอนต่างๆ เป็นการบูรณาการเรื่อง จึงอาจท�ำให้ได้ข้อมูลที่ไม่เป็นปัจจุบันของรูปแบบการ
ราวต่างๆ ที่มีความเชื่อมโยง สัมพันธ์กัน ไม่แยกส่วน เรียนการสอนทางการพยาบาล
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เกิดการเรียนรู้และสามารถน�ำ
ข้อเสนอแนะในการท�ำการศึกษาครั้ง
ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริงได้หลายๆ ด้าน
ต่อไป
เพื่อให้เกิดพัฒนาการทั้งด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และ
1. ข้อค้นพบทีไ่ ด้จากการสังเคราะห์งานวิจยั ครัง้ นี้
106 วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข

พบว่ามีรูปแบบการเรียนการสอนทางการพยาบาลที่มี 6. ประณีต ส่งวัฒนา สุดสิริ หิรัญชุณหะ หทัยรัตน์


ความหลากหลาย ซึง่ จะเป็นประโยชน์สำ� หรับผูส้ อนทีจ่ ะ แสงจันทร์ วงจันทร์ เพชรพิเชษเชียร และ ศิริพร
น�ำไปพัฒนาในกระบวนการเรียนการสอน โดยต้อง ขั ม ภลิ ขิ ต . การพั ฒ นาหลั ก สู ต รเพื่ อ ส่ ง เสริ ม
ประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน และ สมรรถนะทางวัฒนธรรมของนักศึกษาพยาบาล.
ลักษณะของรายวิชาที่จัดการเรียนการสอน สงขลา: คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลา
2. การสังเคราะห์งานวิจัยที่ใช้ในการวิจัยนี้ ผู้ นครินทร์. รายงานวิจัย. 2552.
วิจัยได้ด�ำเนินการสังเคราะห์ตามเนื้อหา ฉะนั้นในการ 7. วั ล ลภา บุ ญ รอด. กระบวนการพยาบาลพี่เ ลี้ย ง
วิจัยในครั้งต่อไป ควรใช้การสังเคราะห์งานวิจัยด้วยวิธี เครื่อ งมื อ ส� ำ คั ญ ในการเพิ่ ม พู น ทั ก ษะพยาบาลที่
ที่ต่างกันตามการพัฒนาของนักวิชาการด้านการศึกษา ส�ำเร็จใหม่. วารสารพยาบาลทหารบก 2547;3(1):18.
เพื่อน�ำ ผลมาการวิจัยมาเปรียบเทียบว่าสอดคล้องกัน 8. สุ วิ ม ล ว่ อ งวาณิ ช , อรอุ ม า เจริ ญ สุ ข , อั จ ศรา
หรือไม่อย่างไร ประเสริฐสิน. สังเคราะห์งานวิจัยด้านการพัฒนา
นวั ต กรรมทางการศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาครู ต าม
เอกสารอ้างอิง แนวทางการปฏิ รู ป การศึ ก ษา. [อิ น เตอร์ เ น็ ต ]
1. Astin, A.W. What matter in College?. Sanfrancisco 2554. [เข้าถึงเมื่อ 25 เมษายน 2557] เข้าถึงได้
: Jossy-Bass: 4-7. 1993. จาก, ttp://reed.onecapps.org/ReEDFile/
2. ราชกิจจานุเบกษา. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ S1400009.pdf.
เรื่ อ ง มาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ ปริ ญ ญาตรี 9. พั ช รา สิ น ลอยมา. กรอบแนวคิ ด และการตั้ ง
สาขาพยาบาลศาสตร์. [อินเตอร์เน็ต] 2553. [เข้า สมมติฐานการวิจัย. [อินเตอร์เน็ต] 2551. [เข้าถึง
ถึงเมื่อ 25 เมษายน 2557] เข้าถึงได้จาก, http:// เมื่อ 25 เมษายน 2557] เข้าถึงได้จาก, ajarnpat.com/
acad.tni.ac.th/images/k-m/07.pdf. data/document_study02.doc
3. ทิศนา แขมมณี. รูปแบบการเรียนการสอน: ทาง 10. สถาบันพระบรมราชชนก ส�ำนักงานปลัดกระทรวง
เลื อ กที่ ห ลากหลาย. พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 4. กรุ ง เทพ: กระทรวงสาธารณสุข. หลักสูตรพยาบาล ศาสตร
ส�ำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2550. บัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555. วิทยาลัย
4. ส�ำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน. คู่มือการ พยาบาลบรมราชชนนี สุ ร าษฎร์ ธ านี . ม.ป.ท.
จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ. มหาวิทยาลัย 2555.
เทคโนโลยีร าชมงคลสุว รรณภูมิ. [อิน เตอร์เ น็ต ] 11. ปราณี อ่อนศรี. การพัฒนารูปแบบการเรียนการ
2552. [เข้าถึงเมื่อ 25 เมษายน 2557] เข้าถึงได้ สอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ที่ใช้สมองเป็นฐานของ
จาก, http: qas.rmutsb.ac.th/qa52/indexphp?act นักเรียนพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก.
=download&subdir. เวชสารแพทย์ทหารบก 2555; 65(4):249-57.
5. ราชวิ ท ยาลั ย อายุ ร แพทย์ . ค� ำ แนะน� ำ การสร้ า ง 12. ทองปาน บุญกุศล, ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, สมใจ
“แนวทางเวชปฏิบัติ” (Clinical Practice Guidelines). พุ ท ธา พิ ทั ก ษ์ ผ ล, วิ จิ ต ร์ พ ร หล่ อ สุ ว รรณกุ ล .
สารราชวิ ท ยาลั ย อายุ ร แพทย์ แ ห่ ง ประเทศไทย. ผลของการใช้รูปแบบการเรียนการสอนต่อความ
2544. สามารถในการถ่ายโยงความรู้และความสามารถ
Nursing Journal of the Ministry of Public Health 107

ในการปฏิบัติงานของนักศึกษาพยาบาล. วารสาร ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวจิตปัญญา


พยาบาลทหารบก 2555;13(2 ): 28-37. ศึ ก ษาต่ อ ผลการเรี ย นรู ้ ต ามกรอบมาตรฐาน
13. ธัญพร ชื่นกลิ่น, วัชราพร เหล่าเรียนดี. การพัฒนา คุ ณ วุ ฒิ ร ะดั บ อุ ด มศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ข องนั ก ศึ ก ษา
รู ป แบบการโค้ ช เพื่ อ การพั ฒ นาสมรรถนะการ พยาบาลศาสตร์ ในรายวิชา สม 1102 ทักษะชีวิต.
จัดการเรียนรู้ของอาจารย์พยาบาลทีส่ ่งเสริมทักษะ วารสารการพยาบาลและการศึกษา 2556;6(2):
การคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาพยาบาล 00-112.
ในสั ง กั ด สถาบั น พระบรมราชชนก กระทรวง 19. วิบูลย์ลักษณ์ ปรียาวงศากุล. ผลของรูปแบบการ
สาธารณสุข. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย พั ฒ นานั ก ศึ ก ษาด้ ว ยกระบวนการจิ ต ตปั ญ ญา
2555;4(1): 112-129. ศึกษาต่อความพร้อมในการเรียนรู้แบบน�ำตนเอง.
14. ลัดดาวัลย์ ไวยสุระสิงห์, สุภาวดี นพรุจจินดา. วารสารการพยาบาลและการศึกษา 2555; 5(2):
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิด 104-113.
การเรี ย นรู ้ ต ามสภาพจริ ง เพื่ อ เสริ ม สร้ า งผล 20. ดุจเดือน เขียวเหลือง, วารีรัตน์ แก้วอุไร, พูลสุข
สัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิด หิงคานนท์, สายฝน วิบูลรังสรรค์. การพัฒนารูป
อย่ า งมี วิ จ ารณญาณของนั ก ศึ ก ษาพยาบาล แบบการจั ด การเรี ย นรู ้ แ บบการสะท้ อ นคิ ด เพื่ อ
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุร.ี วารสาร สร้ า งเสริ ม ความสามารถในการตั ด สิ น ใจเชิ ง
การพยาบาลและการศึก ษา 2554;4(3): 63-77. จริยธรรมทางการพยาบาลส�ำหรับนักศึกษาพยาบาล.
15. พิริยลักษณ์ ศิริศุภลักษณ์. การสอนนักศึกษาเพื่อ วารสารศึ ก ษาศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร
พัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ. วารสาร 2556;15(4): 9 –21.
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีนครราชสีมา2556;19 21. ศิริพันธุ์ ศิริพันธุ์ และคณะ. การพัฒนาและประเมิน
(2):5-19. ผลรูปแบบการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมสมรรถนะ
16. ธนพร แย้ ม สุ ด า. การพั ฒ นาการคิ ด อย่ า งมี ทางวัฒนธรรมของนักศึกษาพยาบาล. พยาบาลสาร
วิจารณญาณทางพยาบาลศาสตร์. วารสารวิทยาลัย 2555;39(3): 78-92.
พยาบาลกองทัพเรือ 2551;7(3):8-17. 22. Gagne, F. From giftedness to Talent: A
17. ธัญพร ชื่นกลิ่น และวัชราพร เหล่าเรียนดี. การ development model and its impact on the
พัฒนารูปแบบการโค้ชเพื่อการพัฒนาสมรรถนะ language of the field. Roeper Review 1995 ;
การจัดการเรียนรู้ของอาจารย์พยาบาลที่ส่งเสริม 18(2):103-111.
ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษา 23. นฤมล อเนกวิ ท ย์ . หลั ก สู ต รจิ ต ตปั ญ ญาศึ ก ษา
พยาบาลในสั ง กั ด สถาบั น พระบรมราชชนก ส� ำ หรั บ นั ก ศึ ก ษาพยาบาล. [วิ ท ยานิ พ นธ์ ศึ ก ษา
กระทรวงสาธารณสุ ข . วารสารศิ ล ปากรศึ ก ษา ศาสตรดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต ] ขอนแก่ น : มหาวิ ท ยาลั ย
ศาสตร์วิจัย 2555;4(1): 112-129. ขอนแก่น; 2552.
18. สมใจ เจียระพงษ์, พรรณภา ทองณรงค์, สุจินดา 24. Amerson, R. The impact of service-learning on
ศี สุ ว รรณ, ปราณี แสดคง, กุ สุ ม าลี ไชยเมือ ง. cultural competence. Nursing Education
Research 2010;13(1):18-22.
108 วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข

25. ยุวดี วิทยาพันธ์. ประสิทธิผลของการเรียนการ แบบบูรณาการโดยใช้กระบวนการสะท้อนคิดต่อ


สอนโดยใช้การวิจัยเป็นฐานต่อการเสริมสร้าง สมรรถนะการส่งเสริมการเลิกบุหรี่ของนักศึกษา
สมรรถนะด้านการปฏิบัติการสร้างเสริมสุขภาพ: พยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ.
การศึกษาในนิสิตพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย วารสารการพยาบาลและการศึกษา 2555;5(2),
ศรีนครินทรวิโรฒ. ไทยเภสัชศาสตร์และวิทยาการ 130-42.
สุขภาพ 2553;5(2): 154-61. 32. เรณุวัฒน์ โคตรพัฒน์, ณฐพร ค�ำศิริรักษ์, วีระชัย
26. มารศรี จันทร์ด,ี พนิดา พาลี, พิมลพรรณ เนียมหอม, อิ่ ม น�้ ำ ขาว, ชาติ ไทยเจริ ญ และกิ ต ติ ศั ก ดิ์
ภัทรานิษฐ์ จองแก, ทิพย์สุด เส็งพานิช. ผลของ ไกรจันทร์. ผลการบูรณาการการจัดการเรียนการ
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้กรณีศึกษาต่อ สอนวิ ช าการควบคุ ม ยาสู บ กั บ วิ ช าปฏิ บั ติ ก าร
ความสามารถในการใช้กระบวนการพยาบาลของ พยาบาลครอบครัวและชุมชน 2 ส�ำหรับนักศึกษา
นั ก ศึก ษาพยาบาลรายวิช าปฏิบั ติก ารพยาบาล พยาบาลศาสตร์ ชั้ น ปี ท่ี 4 วิ ท ยาลั ย พยาบาล
บุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ 1. วารสารการพยาบาล ศรีมหาสารคาม. วารสารการพยาบาลและการ
และการศึกษา 2557;7(4): 134-155. ศึกษา 2554;4(2): 53-65.
27. กรองได อุณหสูต. การประเมินผลตามพฤติกรรม 33. ปิยะนุช ชูโต, ศรีมนา นิยมค้า และ จันทร์ฉาย โยธา
การเรียนรู้. [เข้าถึงเมื่อ 25 เมษายน 2557] เข้าถึง ใหญ่ . ผลของการจั ด การเรี ย นการสอนแบบ
ได้จาก, http://www.ns.mahidol.ac.th/english/th/ ผสมผสานเพื่ อ เสริ ม สร้ า งสมรรถนะการใช้
degree_bns/doc/cop/doc_ A2.pdf. เทคโนโลยีเพือ่ สนับสนุนการฝึกปฏิบตั กิ ารพยาบาล
28. ส� ำ นั ก งานเลขาธิก ารสภาการศึก ษา. ข้ อ เสนอ ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 คณะพยาบาล
ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552- ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสารการพยาบาล
2561). กรุงเทพ: บริษทั พริกหวานกราฟฟิก จ�ำกัด. และการศึกษา 2557;7(4): 156-67.
2552.
29. กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพ: โรงพิมพ์คุรุสภา
ลาดพร้าว. ม.ป.ท.
30. สุระพรรณ พนมฤทธิ์ และคณะ. การพัฒนารูปแบบ
การเรี ย นการสอนโดยใช้ ป ั ญ หาเป็ น หลั ก และ
การก�ำกับตนเองเพือ่ ส่งเสริมการคิดวิจารณญาณ
และการรับรู้อัตสมรรถนะของนักศึกษาพยาบาล.
วารสารการพยาบาลและการศึกษา 2554;4(2)
:108-23.
31. ชุตมิ า ปัญญาพินจิ นุกรู , จินดามาศ โกศลชืน่ วิจติ ร
และเกสร สุวทิ ยะศิร.ิ ผลการจัดการเรียนการสอน

You might also like