You are on page 1of 151

ประสบการณ์ทางาน

 ผู้อานวยการฝ่ายจัดการเลือกตั้ง 3 สานักบริหารการ
เลือกตั้ง
 รองผู้อานวยการการเลือกตั้งประจาจังหวัด
สุพรรณบุรี
 รกน.ผู้อานวยการการเลือกตั้งประจาจังหวัด
สุพรรณบุรี
 รองผู้อานวยการสานักงานคณะกรรมการการ
เลือกตั้งประจาจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
 รองผู้อานวยการสานักงานคณะกรรมการการ
เลือกตั้งประจาจังหวัดเพชรบูรณ์
 ผู้อานวยการสานักงานคณะกรรมการการเลือกตัง้
ประจาจังหวัดภูเก็ต

ว่าที่ ร.ต.ภาสกร สิริภคยาพร


ผู้อานวยการสานักบริหารการเลือกตั้งและการออกเสียงประชามติ 1
การอบรมคณะกรรมการประจา
ที่เลือกตั้งกลางในเขตเลือกตั้ง
ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ภารกิจนี้ทุ่มหมดตัว
“ความผิดพลาดต้องเป็น 0”
สิ่งที่เปลี่ยนแปลงในการเลือกตั้งครั้งนี้

จานวน ส.ส.
กรรมการประจาหน่วย(กปน.)
จานวนบัตรเลือกตั้ง
การคานวณส.ส.แบบ
บัญชีรายชื่อ
หมายเลขประจาตัวผู้สมัคร

กรณีจานวนผู้มาใช้สิทธิฯกับบัตรไม่ตรงกัน
เดิม

ระยะเวลาในการ
ลงคะแนนเลือกตั้ง
๐๘.๐๐-๑๗.๐๐น.
ใหม่
400
ระยะเวลาในการ
ลงคะแนนเลือกตั้ง

บัตร ๐๘.๐๐-๑๗.๐๐น.

สองใบ 100
การกาหนดจานวน ส.ส. แต่ละจังหวัดพึงมี
จังหวัดที่มีราษฎรเกิน
• เขตเลือกตั้งแต่ละเขตให้
จานวนราษฎรต่อสมาชิก 1 คน ให้มี ส.ส.
ติดต่อกัน
เพิ่มขึ้นอีก 1 คน ทุกจานวนราษฎรที่ถึง • จานวนราษฎรใกล้เคียงกัน
เกณฑ์จานวนราษฎรต่อสมาชิก 1 คน
ประกาศแบ่งเขต หากยังได้จานวน ส.ส.ไม่ครบ 400 คน
ในราชกิจจานุเบกษา
ให้จังหวัดที่มีเศษเหลือจากการคานวณมาก
ที่สุด และในลาดับรองลงไป ให้มีจานวน
ส.ส.เพิ่มขึ้นอีก จนครบ 400 คน
การกาหนดจานวน ส.ส. แต่ละจังหวัดพึงมี
165,226 คน/ ส.ส. 1 คน

จานวนราษฎร = 66,090,475 คน
400
จังหวัดที่จานวนราษฎรไม่ถึงเกณฑ์
จานวนราษฎรต่อสมาชิก 1 คน
ให้มี ส.ส.ได้ 1 คน
ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง
ผู้สมัครแบบรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ

ส.ส. แบบแบ่งบัญชีรายชื่อ
• พรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัครแบบแบ่งเขตเลือกตั้งมีสิทธิส่ง
ผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ
• จัดทาบัญชีรายชื่อพรรคละ 1 บัญชี ไม่เกิน 100 รายชื่อ
ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ
ตัวอย่าง
20,000,000 (ผลคะแนนรวมที่ทุกพรรคได้รับจาก
200,000
การเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ) = (คะแนนเฉลี่ยต่อ ส.ส. แบบ
100 (จานวน ส.ส.แบบบัญชีรายชื่อ) บัญชีรายชื่อ 1 คน)

4,000,000 (คะแนนรวมจากการเลือกตั้ง
แบบบัญชีรายชื่อของ "พรรค 00") = 20 (จานวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ
200,000 (คะแนนเฉลี่ยต่อ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ 1 คน) ของ "พรรค 00")
การเสนอชื่อนายกรัฐมนตรี

• พรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัคร แจ้งรายชื่อบุคคลซึ่งพรรคนั้นมี
มติว่าจะเสนอให้สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาให้ความ
เห็นชอบแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ไม่เกิน 3 รายชื่อต่อ
กกต. ก่อนปิดการรับสมัครรับเลือกตั้ง
• กกต.ประกาศรายชื่อบุคคลดังกล่าวพร้อมกับชื่อของพรรค
การเมืองนั้นให้ประชาชนทราบ
พรป.สส.ม.13
คุณสมบัติของผู้สมัครเป็น ส.ส.
• มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
• มีอายุไม่ต่ากว่า 25 ปีนับถึงวันเลือกตั้ง
คุณสมบัติของผู้สมัครเป็น ส.ส.
• เป็นสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรค
การเมืองหนึ่งแต่เพียงพรรคเดียวเป็น
เวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 90 วันนับถึง
วันเลือกตั้ง เว้นแต่กรณียุบสภาให้ลดลง
เหลือ 30 วัน
ผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ต้องมีลักษณะ
อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ด้วย
• มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้ง
มาแล้วเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปีนับถึงวัน
สมัครรับเลือกตั้ง
• เป็นบุคคลซึ่งเกิดในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้ง
• เคยศึกษาในจังหวัดที่สมัครรับเลือกตั้งเป็นเวลา
ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปีการศึกษา
ผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ต้องมีลักษณะ
อย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ด้วย
• เคยรับราชการหรือปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานของรัฐ
หรือเคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในจังหวัดที่สมัคร
• รับเลือกตั้ง แล้วแต่กรณี เป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า
5 ปี
คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
• มี สั ญ ชาติ ไ ทย ถ้ า แปลงสั ญ ชาติ ต้ อ งได้ สั ญ ชาติ ไ ทย
มาแล้ ว ไม่ น้ อ ยกว่ า 5 ปี
• มี อ ายุ ไ ม่ ต่ากว่ า 18 ปี ใ นวั น เลื อ กตั้ ง
• มี ชื่ อ อยู่ ใ นทะเบี ย นบ้ า นในเขตเลื อ กตั้ ง มาแล้ ว ไม่ น้ อ ย
กว่ า 90วั น นั บ ถึ ง วั น เลื อ กตั้ ง
เจ้าพนักงาน
ตามประมวล กม.อาญา (ม.24)
หากได้ปฏิบัติหน้าตามที่ พรป.ลต.สส.
พ.ศ.2561 และแก้ไขเพิ่มเติม
ระเบียบ/ประกาศ หรือคาสั่งของ มั่นใจและสบายใจได้
คณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือปฎิบัติ
ตามคาสั่งศาลอันเกี่ยวกับการเลือกตั้ง
ตาม พรป. นี้ หากได้กระทาโดยสุจริต
ย่อมได้รับความคุ้มครองและไม่ต้องรับ
ผิดทั้งทางอาญา และทางแพ่ง และ
ทางปกครอง (ม.23) วรรคสอง
กกต. สุจริต โปร่งใส และเที่ยงธรรม
โครงสร้างของคณะกรรมการประจาที่เลือกตั้งกลางในเขต

ผู้ลงทะเบียน 800 คน/1 ชุดเป็นประมาณ

ประธาน กปน.
(1 คน)
กปน. รปภ.
(8 คน) (2 คน)
 ดาเนินการ
หน้าที่และอานาจ กปน. กล่าวโทษ
กรณีเห็นว่า
 ดาเนินการ
 สอบสวนและ มีการกระทา
ลงคะแนนและ
วินิจฉัยชี้ขาดการ ความผิด
การนับคะแนน  ช่วยเหลือ
อานวยความ ขอใช้สิทธิเลือกตั้ง เกี่ยวกับการ
ในที่เลือกตั้ง
สะดวกแก่ผู้มี หรือการทักท้วง เลือกตั้งใน
ของแต่ละหน่วย
สิทธิเลือกตั้ง เกี่ยวกับการ หน่วย
เลือกตั้งและ
โดยเฉพาะคน ลงคะแนนเลือกตั้ง เลือกตั้งนั้น
การรายงานผล
พิการหรือ หรือการคัดค้าน
การนับคะแนน  ปฏิบัติ
ทุพพลภาพ การนับคะแนน
หน้าที่อื่น
หรือผู้สูงอายุ เลือกตั้งหรือการ
ตามที่ได้รับ
รวมคะแนน
มอบหมาย
หน้าที่และอานาจ
จนท.รปภ.
 สนับสนุนการปฏิบัติ
 รักษาความปลอดภัยและ หน้าทีข่ อง
ความสงบเรียบร้อย คณะกรรมการประจา  รักษาความปลอดภัย
บริเวณทีเ่ ลือกตั้ง ที่ หน่วยเลือกตั้ง บัตรเลือกตั้ง หีบ
เลือกตั้งกลาง สถานที่นับ คณะกรรมการประจา บัตรเลือกตั้ง
คะแนนบัตรเลือกตั้งใน ที่เลือกตั้งกลาง หรือ เอกสาร และอุปกรณ์
เขตเลือกตั้ง หรือสถานที่ คณะกรรมการนับ ที่เกี่ยวข้อง
นับคะแนนบัตรเลือกตั้ง คะแนนบัตรเลือกตั้ง ตลอดระยะเวลาจน
นอกเขตเลือกตั้ง เสร็จสิ้นภารกิจ
และนอกราชอาณาจักร
ขั้นตอนการปฏิบัติหน้าที่
ของ จพง.ปน.
การรับวัสดุ/อุปกรณ์ให้ปฏิบัติดังนี้

1. ให้ กปน.ไม่น้อยกว่า 5 คน และ รปภ. ไปรับวัสดุ/อุปกรณ์ตามวันเวลา


และสถานทีท่ ี่ อนุฯเขตหรือผู้ที่อนุฯเขตมอบหมาย กาหนด
2. ตรวจเช็ควัสดุอุปกรณ์ตามรายการ
ที่ กกต.เขต/อนุเขตแจกให้ โดยละเอียด
ให้ครบถ้วนถูกต้องทุกรายการ
(ตัวอย่าง)บัตรเลือกตั้ง
3. ให้นับ บัตรเลือกตั้ง ทุกใบว่าถูกต้องครบถ้วนหรือไม่..
หากไม่ครบถ้วนให้แจ้งให้ อนุฯเขตหรือผู้ที่อนุฯเขตมอบหมาย
ทราบเพื่อดาเนินการแก้ไขให้ถูกต้องโดยทันที (บัตรเลือกตั้ง 1 เล่ม
มี 20 ฉบับ) พร้อมบันทึกไว้เป็นหลักฐาน
ให้ผู้รับมอบ ลงชื่อบนปกบัตร(ด้านหน้า)
การรับวัสดุ/อุปกรณ์ให้ปฏิบัติดังนี้
3. บรรจุบัตรเลือกตั้ง ในถุงวัสดุใส (แยกประเภท) แล้วนาถุงที่บรรจุบัตร
ทั้ง 2 ประเภท บรรจุลงในหีบบัตรใบเดียวกัน (ห้ามมิให้บรรจุวัสดุอื่นใด
ลงไปนอกเหนือจากบัตรเลือกตั้ง)/ ปิดฝาพร้อมใส่สายรัด
เฉพาะบัตรเท่านั้นนะเธอ
(อย่าได้ใส่อะไรลงไปอีกล่ะ)

ถุงบัตรแบบ ถุงบัตร
แบ่งเขต แบบบัญชี
เลือกตั้ง รายชื่อ
การรับวัสดุ/อุปกรณ์ให้ปฏิบัติดังนี้
4. จัดทาแบบปิดช่องใส่บัตร (ส.ส. 5/1) ลงลายมือชื่อกปน. พร้อมใช้
เทปกาวซีนและลงลายมือชื่อคร่อมรอยต่อเทปกาวกับฝาหีบ
หีบพลาสติก ไม่ต้องใช้เทปกาวซีนรอยต่อรอบหีบบัตร

4
ตัวอย่างการปิดหีบแบบกล่องกระดาษ

31
การรับวัสดุ/อุปกรณ์ให้ปฏิบัติดังนี้
5. ตรวจสอบดูว่าได้รับบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง (ส.ส. 1/3)
ครบทั้ง 2 ชุดหรือไม่ ให้นับให้ครบทุกแผ่น

หมายเหตุ “ใช้สิทธิก่อนวันเลือกตั้งในเขต”
“ก่อนในเขต”
การตรวจรับวัสดุอุปกรณ์การเลือกตั้งและแบบพิมพ์ (ต่อ)
บัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตัง้ (ส.ส. 1/3) ที่รับมอบ

• มี 2 ชุด
 ชุดหมายเหตุ การออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง
มีเลขประจาตัวประชาชน 13 หลัก (มีปก)
 ชุดปิดประกาศหน้าที่เลือกตั้งในวันลงคะแนน
ไม่มี เลขประจาตัวประชาชน 13 หลัก (ไม่ใส่ปก)
ตรวจกระดาษจดลาดับที่

ลาดับที่ .......
ช ญ
การรับวัสดุ/อุปกรณ์ให้ปฏิบัติดังนี้
วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ บรรจุลงในหีบอีกหนึ่งใบ โดยมิต้องใส่สายรัด
การใช้สายรัด กรณีหีบพลาสติกของหีบแต่ละประเภท
หีบละ 14 เส้น
เส้นที่ 1-4 เส้นที่ 5-8 เส้นที่ 9 เส้นที่ 10-13

ใช้สาหรับ ใช้สาหรับ ใช้สาหรับคล้อง ใช้สาหรับ


คล้องหีบที่ คล้องหีบบัตร ถุง(ชั้นนอก)ที่ คล้องหีบบัตร
บรรจุบัตร ก่อนเปิดการ บรรจุบัตร ที่บรรจุถุง
เลือกตั้ง ใน ลงคะแนน เลือกตั้งที่ผ่าน
บัตรที่ผ่าน
วันส่งมอบหีบ การนับคะแนน
การนับ
บัตร แล้ว
คะแนนแล้ว

เส้นที่ 14 ใช้สารองกรณีเส้นที่ 1-13 ชารุด


การใช้สายรัด กรณีหีบกระดาษ
หีบละ 6 เส้น
เส้นที่ 1-2 เส้นที่ 3 เส้นที่ 4 เส้นที่ 5

ใช้รัดบริเวณ ใช้รัดปากถุงวัสดุ ใช้รัดฝาหีบบัตร


ใช้รัดฝาหีบบัตร
ด้านล่างของหีบ ใส (ชั้นนอก) ซึ่ง เลือกตั้งกับตัวหีบ
หลังจากนาบัตร
บัตรเลือกตั้ง 1 บรรจุบัตรเลือกตั้ง บัตรเลือกตั้ง
เลือกตั้งออกมา
เส้น เฉพาะหีบ ที่ได้นับคะแนน หลังจากที่นาถุง
นับจานวน
บัตรเลือกตั้งที่ แล้ว ก่อนที่จะนา วัสดุใส (ชั้นนอก)
ก่อนที่จะเปิดการ
บรรจุบัตร ลงใส่ในหีบบัตร ใส่ลงในหีบบัตร
ลงคะแนน
เลือกตั้งเท่านั้น เลือกตั้ง เลือกตั้งแล้ว

เส้นที่ 6 ใช้สารองกรณีเส้นที่ 1-5 ชารุด


การใช้สายรัด กรณีหีบเหล็ก
หีบละ 5 เส้น
เส้นที่ 1 เส้นที่ 2 เส้นที่ 3 เส้นที่ 4

ใช้คล้องฝาหีบ ใช้คล้องฝาหีบ ใช้รัดปากถุงวัสดุ ใช้คล้องฝาหีบ


บัตรเลือกตั้งกับ บัตร หลังจากนา ใส (ชั้นนอก) ซึ่ง บัตรเลือกตั้งกับ
ตัวหีบบัตร บัตรเลือกตั้ง บรรจุบัตรเลือกตั้ง ตัวหีบบัตร
เลือกตั้ง เฉพาะ ออกมานับ ที่ได้นับคะแนน เลือกตั้งหลังจาก
หีบบัตรเลือกตั้ง จานวน ก่อนที่ แล้ว ก่อนที่จะนา ที่นาถุงวัสดุใส
ที่บรรจุบัตร จะเปิดการ ลงใส่ในหีบบัตร (ชั้นนอก) ใส่ลง
เลือกตั้งเท่านั้น ลงคะแนน เลือกตั้ง ในหีบบัตร
เลือกตั้งแล้ว

เส้นที่ 5 ใช้สารองกรณีเส้นที่ 1 - 4 ชารุด


การรับวัสดุ/อุปกรณ์ให้ปฏิบัติดังนี้
7. นาหีบบัตรเลือกตั้งทั้งสองใบ/วัสดุอุปกรณ์ไปเก็บรักษาไว้ ณ ที่ปลอดภัย
จบภารกิจแรก
รับวัสดุอุปกรณ์
การปฏิบัติงานของเจ้าพนักงาน
ผู้ดาเนินการเลือกตั้งประจาหน่วยเลือกตั้ง
ในวันเลือกตั้ง
ก่อนเวลาเปิดลงคะแนนเลือกตั้ง
การดาเนินการก่อนการเปิดการลงคะแนน
เวลาประมาณ 06.00 น.
1. นาหีบบัตรเลือกตั้งทั้งสองใบ/วัสดุอุปกรณ์ไปยังหน่วยเลือกตั้ง
(2) จัดที่เลือกตั้งพร้อมตรวจความเรียบร้อย ภายในที่เลือกตั้ง
ให้ใช้แถบพลาสติกกั้นแสดงขอบเขตบริเวณที่เลือกตั้ง
(หากไม่พอใช้เชือกฟางก็ได้)
อธิบายประกอบแผนผัง
1. กปน.ผูม้ ีหน้าที่อานวยความสะดวกหน้าหน่วยเลือกตัง้
2. กปน.ผูม้ ีหน้าที่ตรวจบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งและรับ
การแสดงตน
3. กปน.ผูม้ ีหน้าที่มอบบัตรเลือกตัง้ ส.ส.แบ่งเขตเลือกตั้ง
4. กปน.ผูม้ ีหน้าที่มอบบัตรเลือกตัง้ ส.ส.บัญชีรายชื่อ
5. กปน.ผูม้ ีหน้าที่ควบคุมคูหาออกเสียงลงคะแนน
6. กปน.ผูม้ ีหน้าที่ควบคุมหีบบัตรเลือกตั้ง
7. ปธ.กปน.
8. กปน.
9. กปน.
10. รปภ. ประจาที่เลือกตั้ง
11. ผู้แทนพรรคการเมือง
12. คูหาออกเสียงลงคะแนนอย่างน้อย 3 คูหา วางห่างกัน
ตามความเหมาะสม (อย่างน้อย 0.50 ม.) และควรวางห่าง
จากฝาผนัง หรือฉากทึบ ไม่น้อยกว่า 1 ม. ระหว่างคูหาให้ใช้
เชือกกั้นเพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้มกี ารเดินอ้อมหลังผู้อื่น
13. ที่วางหีบบัตรเลือกตั้ง
หมายเหตุ : กปน. ที่เหลืออยู่ให้คอยสับเปลี่ยนช่วยเหลือ กปน. ที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ 14. ป้ายปิดประกาศ
และอานวยความสะดวกให้กับประชาชน 15. ป้ายบอกที่เลือกตั้ง
16. ฝาผนังหรือฉากทึบกั้น สูงไม่น้อยกว่า 1.5 ม.
อธิบายประกอบแผนผัง
1. กปน. ผู้มีหน้าที่อานวยความสะดวกหน้าหน่วย เลือกตั้ง
2. กปน. ผู้มีหน้าที่ตรวจบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งและรับการ
แสดงตน
3. กปน. ผูม้ ีหน้าที่มอบบัตรเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขตเลือกตั้ง
4.กปน. ผู้มีหน้าที่มอบบัตรเลือกตั้ง ส.ส.บัญชีรายชื่อ
5.กปน. ผู้มีหน้าที่ควบคุมคูหาออกเสียงลงคะแนน
6.กปน. ผู้มีหน้าที่ควบคุมหีบบัตรเลือกตั้ง
7. ปธ.กปน.
8. กปน.
9. กปน.
10. รปภ. ประจาที่เลือกตั้ง
11. ผู้แทนพรรคการเมือง
12. คูหาออกเสียงลงคะแนนอย่างน้อย 3 คูหา วางห่างกัน
ตามความเหมาะสม (อย่างน้อย 0.50 ม.) และควรวางห่างจาก
ฝาผนัง หรือฉากทึบ ไม่น้อยกว่า1 ม. ระหว่างคูหาให้ใช้เชือกกั้น
เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้มีการเดินอ้อมหลังผู้อื่น
13. ที่วางหีบบัตรเลือกตั้ง
14. ป้ายปิดประกาศ
15. ป้ายบอกที่เลือกตั้ง
หมายเหตุ : กปน. ที่เหลืออยู่ให้คอยสับเปลี่ยนช่วยเหลือ กปน. ที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่ 16. ฝาผนังหรือฉากทึบกั้น สูงไม่น้อยกว่า 1.5 ม.
และอานวยความสะดวกให้กับประชาชน
อธิบายประกอบแผนผัง
1. กปน. ผู้มีหน้าที่อานวยความสะดวกหน้าหน่วย
เลือกตั้ง
2. กปน.ผูม้ ีหน้าที่ตรวจสอบบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิ
เลือกตั้ง
3. กปน.ผูม้ ีหน้าที่มอบบัตรเลือกตัง้ ส.ส. แบบแบ่งเขต
เลือกตั้ง
4. กปน.ผูม้ ีหน้าที่มอบบัตรเลือกตัง้ ส.ส. แบบบัญชี
รายชื่อ
5. กปน.ผูม้ ีหน้าที่ควบคุมคูหาออกเสียงลงคะแนน
6. กปน. ผูม้ ีหน้าที่ควบคุมหีบบัตรเลือกตั้ง
7. ปธ.กปน.
8. กปน.
9. คูหาออกเสียงลงคะแนน (คนพิการ/ทุพพลภาพ/
ผู้สูงอายุ) วางห่างกันจากคูหาออกเสียงลงคะแนน
อย่างน้อย 1.50 ม. (ระเบียบฯ ข้อ 50)
12. คูหาออกเสียงลงคะแนนอย่างน้อย 3 คูหา วางห่างกันตามความเหมาะสม 9.1 โต๊ะวางคูหาออกเสียงลงคะแนนควรมีความสูง
(อย่างน้อย 0.50 ม.) และควรวางห่างจากฝาผนัง หรือฉากทึบ ไม่น้อยกว่า 1 ไม่เกิน 0.75 ม.
ม. ระหว่างคูหาให้ใช้เชือกกั้นเพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้มีการเดินอ้อมหลังผู้อื่น 9.2 ควรจัดเก้าอี้ไว้ในคูหาออกเสียงลงคะแนน
13. ที่วางหีบบัตรเลือกตั้ง 10. รปภ. ประจาที่เลือกตั้ง
14. ป้ายปิดประกาศ 11. ผู้แทนพรรคการเมือง
15. ป้ายบอกที่เลือกตั้ง
หมายเหตุ : กปน. ที่เหลืออยู่ให้คอยสับเปลี่ยนช่วยเหลือ กปน.
16. ฝาผนังหรือฉากทึบกั้น สูงไม่น้อยกว่า 1.5 ม.
ทีป่ ฏิบัติหน้าที่อยู่ และอานวยความสะดวกให้กับประชาชน 50
(3) ตรวจป้ายปิดประกาศที่หน้าหน่วยเลือกตั้ง/ที่เลือกตั้ง
สิ่งที่ต้องตรวจสอบให้ครบถ้วน

 กรณีประกาศรายชื่อผู้สมัครแบบบัญชีรายชื่อเพิ่มเติม (ส.ส.4/25)
(ถ้ามี)
 กรณีประกาศรายชื่อผู้สมัครแบบแบ่งเขตเลือกตั้งเพิ่มเติม
(ส.ส.4/15) (ถ้ามี)
 ประกาศถอนชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (ส.ส.4/27)
(ถ้ามี)
 ประกาศถอนชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง
(ส.ส.4/17) (ถ้ามี)
(4) นาบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
(ส.ส. 1/3) ชุดไม่มีเลข 13 หลัก (ไม่มีปก) ไปเปลี่ยนที่ป้าย
ปิดประกาศ (จาไว้ต้องเอาไปเปลี่ยน เพราะบัญชีรายชื่อฯ
(ส.ส. 1/3) ที่ปิดประกาศไว้ไม่เป็นปัจจุบัน เนื่องจากอาจมี
การเพิ่มชื่อ/ถอนชื่อ
ชุดที่ไม่มีเลขประจาตัวประชาชน
(4) ตรวจความเรียบร้อย ป้ายโฆษณาหาเสียงภายในที่
เลือกตั้ง
(5) เวลา 07.30 น. เปิดหีบที่บรรจุบัตร นาบัตรเลือกตั้ง
ออกมานับอีกครั้งว่าถูกต้องตรงกับทีไ่ ด้รับมาหรือไม่
เพื่อเตรียมจัดทาประกาศจานวนบัตรเลือกตั้งก่อนการ
ลงคะแนน (ส.ส. 5/5)
(6) จัดทาประกาศจานวนบัตรเลือกตั้งก่อน
ลงคะแนน (ส.ส. 5/5)
จานวน 3 ชุด ดังนี้
- ปิดประกาศ 1 ชุด
- เก็บไว้เป็นหลักฐาน (ในเล่ม) 1 ชุด
- นาส่ง กกต.เขต 1 ชุด
(7) เตรียมหาผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 2 คนมาเป็นพยานใน
การเปิดหีบแสดงหีบบัตรเปล่า เว้นแต่ไม่มีผู้มีสิทธิอยู่ ณ ที่
เลือกตั้งนั้น
(8) ตรวจสอบดูว่ากรรมการประจาหน่วย
(กปน.) มาปฏิบัติหน้าที่ครบทั้ง 9 คน
หรือไม่ หากไม่ครบให้รีบรายงาน กกต.เขต หรือผู้ที่ได้รับ
มอบหมายทราบโดยทันที เพื่อแต่งตั้ง กปน.มาปฏิบัติหน้าที่แทน
กรณี กปน. มาไม่ครบ

กกต.
เขต/
อนุ
เขต

ให้พิจารณาแต่งตั้งจากกปน.สารองก่อน
(9) ประชุมแบ่งหน้าที/่ ซักซ้อมการปฏิบัติ
โดยแบ่งออกเป็น
ฉากกั้น/ผนังทึบ 1. อานวยความสะดวกบริเวณที่เลือกตั้ง
2. หน้าที่ตรวจสอบบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
คูหาลงคะแนน 3. หน้าที่มอบบัตรเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบ่งเขต
5 4. หน้าที่มอบบัตรเลือกตั้ง ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ
6 5. หน้าที่ควบคุมคูหาลงคะแนน
6. หน้าที่ควบคุมหีบบัตรเลือกตั้ง
หีบบัตรเลือกตั้ง
4
3 กปน.ที่เหลือคอยสลับสับเปลี่ยน
2 การปฏิบัติหน้าที่
ป้ายปิดประกาศ

ทางออก 1 ทางเข้า
( ผู้แทนพรรคการเมือง
 ขอดูหนังสือรับรองการเป็นผู้แทนพรรคการเมืองโดย
ตรวจสอบกับสาเนาหนังสือที่ขอแต่งตั้งกับ กกต.เขต
 จัดที่นั่งที่เหมาะสมโดยมิให้เกิดความไม่สะดวกหรือ
รบกวนต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ กปน.
 ห้ามมิให้ผู้แทนพรรคการเมืองจับต้องบัตรเลือกตั้ง หรือ
กล่าวโต้ตอบกับกปน.หรือระหว่างกันเอง
ให้ผู้แทนพรรคการเมืองติดบัตรแสดงตนด้วย
เวลาเปิดลงคะแนนเลือกตั้ง
(เวลา 08.00 น.)
เปิดฝาหีบบัตรโดยเปิดเผยให้เห็นชัดเจนว่าเป็น หีบเปล่าทั้งสองหีบ

ตัวอย่างหีบกระดาษ
เปิดฝาหีบบัตรโดยเปิดเผยให้เห็นชัดเจนว่าเป็น หีบเปล่าทั้งสองหีบ

ตัวอย่างหีบพลาสติก
หีบบัตรก่อนเปิดการลงคะแนน

เปิดช่องใส่บัตร

คล้องสายรัด

หีบพลาสติก ไม่ต้อง
ใช้เทปกาวซีนรอยต่อ
ระหว่างตัวหีบกับฝาหีบ
(ตัวอย่าง)หีบบัตรกระดาษก่อนเปิดการลงคะแนน
(ตัวอย่าง)หีบบัตรพลาสติกก่อนเปิดการลงคะแนน

หีบบัตรเลือกตั้ง
แบบแบ่งเขต หีบบัตรเลือกตั้ง
เลือกตั้ง แบบบัญชีรายชื่อ
 บันทึกการแสดงหีบบัตรเลือกตั้ง
ก่อนการออกเสียงลงคะแนน
ลงในสมุดรายงานเหตุการณ์ประจาที่
เลือกตั้ง (ส.ส. 5/6) พร้อมให้ผู้มี
สิทธิฯ ไม่น้อยกว่า 2 คน และ กปน.
ไม่น้อยกว่า 5 คน ลงลายมือชื่อ
เชิญธงชาติ
ปัก/เสียบธงชาติ

เชิญธงชาติขึ้นสู่ยอดเสา
ประธาน กปน.
ประกาศเปิดการลงคะแนนเลือกตั้ง

“บัดนี้ถึงเวลาออกเสียงลงคะแนนแล้ว
ขอเปิดการออกเสียงลงคะแนน”
รายงานการเปิดลงคะแนน
แก่ศูนย์ประสานงานการเลือกตั้ง
ของเขต/อนุเขตฯ
ของเทศบาล/อบต.
ทางโทรศัพท์หรือวิทยุสื่อสาร
ขั้นตอนการใช้สิทธิลงคะแนน
1. หน้าที่อานวยความสะดวกบริเวณที่เลือกตั้ง

 แนะนาการตรวจบัญชีรายชื่อ
 แนะนาให้ผู้มาใช้สิทธิจาลาดับที่และจาหมายเลขผู้สมัครที่จะเลือก
1. หน้าที่อานวยความสะดวกบริเวณที่เลือกตั้ง (ต่อ)

 แนะนาให้เตรียมหลักฐานแสดงตน
 ให้ผู้มาใช้สิทธิฯเข้าแถวใช้สิทธิ
 ดูแลอานวยความสะดวกแก่ผู้พิการ/ผู้สงู อายุ
การจัดที่นั่งของ กปน.ในที่เลือกตั้ง
หน้าที่มอบบัตรแบบแบ่งเขต หน้าที่มอบบัตรแบบ
หน้าที่ตรวจบัญชีรายชื่อ เลือกตั้ง บัญชีรายชื่อ
อานวยความสะดวกผู้สูงอายุ/ผู้พิการ/ผู้ป่วย
2. หน้าที่ตรวจบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
 รับหลักฐานแสดงตน/จาก
ผู้มาใช้สิทธิ และตรวจหลักฐานการแสดงตน
 กรณีผู้มาใช้สิทธิสวมหน้ากากอนามัย
ให้ เปิดหน้ากาก เพื่อดูว่าใช่บุคคลตาม
หลักฐานแสดงตนหรือไม่
 ตรวจชื่อและที่อยู่ตามลาดับที่ในบัญชี
รายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง เมื่อพบให้ใช้ไม้
บรรทัดทาบให้ตรงกับรายชื่อ
 ให้ผู้มาใช้สิทธิลงลายมือชื่อ
 จดลาดับที่จากบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิลง
ใช้บัญชีฯชุดมีเลข
ในกระดาษจดลาดับ
ประจาตัว 13 หลัก  ส่งมอบหลักฐานการแสดงตนพร้อม
กระดาษจดลาดับ ให้ กปน. ผู้มีหน้าที่
ผู้มีสิทธิลงคะแนน ในช่องหมายเหตุจะต้องระบุว่า มอบบัตรเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
“ใช้สิทธิก่อนวันเลือกตั้งในเขต” หรือ “ก่อนในเขต”
หลักฐานการแสดงตน

1. บั ต รประจ าตั ว ประชาชนหรื อ บั ต ร


ประจาตัวประชาชนที่หมดอายุ

หลักฐานอื่นของทางราชการหรือ
2. หน่วยงานของรัฐที่มีรูปถ่าย
และหมายเลขประจาตัวประชาชนของผู้ถือบัตร
บัตรประจาตัวประชาชน
หลักฐานการแสดงตน

๓..
หลั ก ฐานภาพอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ท เ
่ ี ปิ ด ผ่ า นแอปพลิ เ คชั น

ของหน่วยงานของรัฐ ตามกฎหมายว่าด้วยการปฏิบัติราชการ
ทางอิเล็กทรอนิกส์
หมายเหตุ :หลักฐานภาพอิเล็กทรอนิกส์ที่
เปิดผ่านแอปพลิเคชันของหน่วยงานของ
รัฐปัจจุบันสามารถใช้ได้ ๒ แอปพลิเคชัน
(D.DOPA และ DLT QRLICENCE)
ได้โปรด..จาให้ขึ้นใจนะคร๊า..!!!!!!
1. หลักฐานการแสดงตนทุกชนิดต้องเป็นตัวจริงเสียงจริง
ถ่ายส(ถ่าเนามา..ใช้ ไม่ไไม่ด้ไทด้)ุกกรณี
ายสาเนามาใช้

2. หลักฐานการแสดงตนชนิดอื่นๆ หมดอายุแล้วใช้ไม่ได้
(ยกเว้นบัตรประจาตัวประชาชน..หมดอายุแล้วยังใช้ได้)
ได้โปรด...หันไปสบตากับผู้มาใช้สิทธิฯ ทีย่ ืนอยู่ตรงหน้า

ว่าเป็นบุคคลลักษณะต่อไปนี้หรือไม่
บุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้ง

1. เป็นภิกษุ สามเณร
นักพรต หรือนักบวช
แบบนี้ใช้สิทธิฯไม่ได้นะจ๊ะ แบบนี้ใช้สิทธิฯได้จ้า....
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม

2. อยู่ในระหว่างถูก
เพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม

3. ต้องคุมขังอยู่โดย
หมายของศาลหรือ
โดยคาสั่งที่ชอบด้วย
กฎหมาย
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม

4. วิกลจริตหรือจิตฟั่น
เฟือนไม่สมประกอบ
พึงระวัง ให้ผู้มาใช้สิทธิฯลงลายมือชื่อ (ให้ตรงช่อง)

เขียนก่อน..หากเขียนไม่ได้จริงๆ ค่อยให้ปั๊มให้แม่มือข้างขวา
พึงระวังให้ตรงกับรายชื่อของผูม้ าใช้สิทธิฯ (ตรงช่อง)
ส่งกระดาษจดลาดับพร้อมหลักฐานแสดงตนให้แก่ กปน. ผู้ทาหน้าที่มอบบัตร
หน้าที่มอบบัตรแบบแบ่ง หน้าที่มอบบัตรแบบ
หน้าที่ตรวจบัญชีรายชื่อ
เขตเลือกตั้ง บัญชีรายชื่อ
(3) หน้าทีม่ อบบัตรเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
 รับหลักฐานการแสดงตนพร้อมกระดาษจด
ลาดับที่จาก กปน. หน้าที่ตรวจบัญชี ฯ
 นาลาดับที่ในกระดาษจดลาดับทีก่ รอกลง
ในช่องลาดับที่บนต้นขั้วบัตร
o ให้ผู้มาใช้สิทธิลงลายมือชื่อบนต้นขั้วบัตร
o ลงลายมือชื่อของตนเองในช่องกรรมการ
บนต้นขั้วบัตร
 ใช้ไม้บรรทัดทาบพร้อมฉีกบัตรออกจาก
ต้นขั้ว/พับบัตรเลือกตัง้ ตามรอยปรุ/พร้อม
ส่งหลักฐานแสดงตนและกระดาษจดลาดับ
ที่ให้กับกปน.หน้าที่มอบบัตรแบบบัญชี
รายชื่อ (อย่าส่งบัตรให้กับผู้มาใช้สิทธิ
โดยตรง) @@@@
ให้ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งลงลายมือชื่อ
เขียนก่อน..หากไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ ให้พิมพ์ลายนิ้วหัวแม่มือข้างขวา หากไม่มี
นิ้วหัวแม่มือขวาให้พิมพ์ลายนิ้วหัวแม่มือซ้าย ถ้าไม่มีนิ้วหัวแม่มือทั้งสองข้างให้พิมพ์
ลายนิ้วมือใดนิ้วมือหนึ่งแทน หากไม่มี นิ้วมืออยู่เลย ให้ได้รับการยกเว้น
บัตรเลือกตั้ง
15

ตัวอย่างการกรอกต้นขั้วบัตรเลือกตั้ง
หรือพิมพ์ลายนิ้วมือที่ต้นขัว้ บัตรเลือกตั้ง
การฉีกบัตรออกจากต้นขั้ว/พับบัตร
(4) หน้าทีม่ อบบัตรแบบบัญชีรายชื่อ
 รับหลักฐานการแสดงตนพร้อมกระดาษ
จดลาดับและบัตรเลือกตั้งแบบแบ่งเขต
จาก กปน. หน้าทีม่ อบบัตรแบบแบ่งเขต
นาลาดับที่ในกระดาษจดลาดับกรอกลง
ในช่องลาดับที่ในต้นขั้วบัตร/ลงลายมือ
ชื่อของตนเองในช่องกรรมการในต้นขั้ว
บัตร/ให้ผู้มาใช้สิทธิลงลายมือชื่อในต้นขั้ว
บัตรใช้ไม้บรรทัดทาบพร้อมฉีกบัตรออก
จากต้นขั้ว/พับบัตรเลือกตั้งตามรอยปรุ/
พร้อมส่งหลักฐานแสดงตนและบัตร
เลือกตั้งทั้งสองใบให้กับผู้มาใช้สิทธิฯ
 เก็บกระดาษจดลาดับไว้ที่เหล็กเสียบ
ให้ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งลงลายมือชื่อ
เขียนก่อน..หากไม่สามารถลงลายมือชื่อได้ ให้พิมพ์ลายนิ้วหัวแม่มือข้างขวา หากไม่มี
นิ้วหัวแม่มือขวาให้พิมพ์ลายนิ้วหัวแม่มือซ้าย ถ้าไม่มีนิ้วหัวแม่มือทั้งสองข้างให้พิมพ์
ลายนิ้วมือใดนิ้วมือหนึ่งแทน หากไม่มี นิ้วมืออยู่เลย ให้ได้รับการยกเว้น
หรือพิมพ์ลายนิ้วมือที่ต้นขัว้ บัตรเลือกตั้ง
ส่งบัตรเลือกตั้งทั้งสองใบพร้อมหลักฐานแสดงตนให้แก่ผู้มาใช้สิทธิฯ
เก็บให้ดีดี...มันจะช่วยชีวียามคับขัน

ทีเ่ สียบกระดาษ
ที่เสียบกระดาษ ชาย
หญิง
 (5) หน้าที่ควบคุมคูหาลงคะแนน
-อย่าลืม..บริเวณหลังคูหาต้องมีฉากกั้นหรือผนังทึบ

 ปิดประกาศคาเตือนในคูหา
 จัดระเบียบการเข้าออกคูหา
 พึงระวังมิให้มีการถ่ายภาพบัตรเลือกตั้งที่ทาเครื่องหมายลงคะแนนแล้ว โดยเด็ดขาด
 แนะนาให้พับบัตรก่อนออกจากคูหา
 ตรวจสอบว่าผู้มาใช้สิทธินาบัตรออกมาหย่อนใส่หีบหรือไม่
 ช่วยเหลือและอานวยความสะดวกแก่คนพิการ หรือผู้ทุพพลภาพ หรือผู้สูงอายุ
หากมีกรณี ผู้พิการหรือทุพพลภาพ หรือผู้สูงอายุ ที่มี
ลักษณะทางกายภาพไม่สามารถทาเครื่องหมายลงใน
บัตรเลือกตั้ง มีความประสงค์จะให้ญาติ หรือผู้ที่
ไว้วางใจ เป็นผู้ทาเครือ่ งหมายลงคะแนนแทน โดย
ความยินยอม และเป็นไปตามเจตนารมณ์ของผูพ้ กิ าร
(ร.158)

 สามารถกระทาได้ แต่จะต้องบันทึกการกระทา
ดังกล่าวลงในสมุดรายงานเหตุการณ์ประจาที่
เลือกตั้ง (ส.ส. 5/6)
กรณีนี้ให้ดูให้ดีๆ พึงระมัดระวังการชีน้ าของผู้
ลงคะแนนแทนด้วย!!!!!!
ห้ามมิให้อานวยความสะดวกด้วยการ
นาบัญชีรายชื่อ
นาบัตรเลือกตั้ง นาคูหาลงคะแนน หรือ
หีบบัตรเลือกตั้ง ออกไปอานวยความ
สะดวกนอกที่เลือกตั้งโดยเด็ดขาด
กรณีที่อาจเกิดขึ้น
หากมีกรณี ผู้มาใช้สิทธิลืมบัตรทิ้ง
ไว้ที่คูหา ห้ามมิให้ กปน. นาบัตร
มาหย่อนใส่หีบโดยเด็ดขาด..ให้นา
บัตรใบนั้นมาเย็บติดกับสมุด
รายงานเหตุการณ์ประจาที่
เลือกตั้งพร้อมบันทึกเก็บไว้เป็น
หลักฐาน และห้ามมิให้นามาขาน
คะแนน
(6.) หน้าที่ควบคุมหีบบัตรเลือกตั้ง

 ควบคุมดูแลหีบบัตรเลือกตั้ง
 อานวยความสะดวกให้ผู้มีสิทธินาบัตรใส่ลงในหีบด้วยตนเอง
 ควบคุมดูแลให้ผู้มีสิทธินาบัตรใส่ในหีบเลือกตั้งแต่ละประเภทให้ถูกต้อง ครบถ้วน
 ควบคุมดูแลไม่ให้ผู้มีสิทธินาบัตรออกจากที่เลือกตั้ง
(7) เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยประจาหน่วยเลือกตั้ง
อาจเป็นจนท.ตารวจทั้ง 2 นาย
หรือเป็นจนท.ฝ่ายปกครอง/
จนท.ของรัฐร่วมด้วย

 เฝ้าระวังมิให้ผู้มาใช้สิทธิฯนาบัตรออกไปจากทีเ่ ลือกตั้ง
 ควบคุมดูแลความเรียบร้อยและความปลอดภัยในการลงคะแนนและนับคะแนน
ต้องระวัง
ระหว่างเวลาการลงคะแนนเลือกตั้ง

ห้ามมิให้ผู้ใดเข้าไปที่ หากมีผู้พิการ คนชรา เข้าไป


ลงคะแนน ให้ กปน.เป็นผู้
คูหาลงคะแนน ช่วยเหลือนาเข้าไปยังคูหา
เลือกตั้ง ยกเว้น ลงคะแนน..แต่ต้องบันทึกในสมุด
รายงานเหตุการณ์ประจาที่
ผู้มาใช้สิทธิฯ เลือกตั้ง (ส.ส. 5/6) ด้วย
ระหว่างเวลาการลงคะแนน
ห้ามมิให้ผู้ใดเข้าไปในที่เลือกตั้ง..ยกเว้น ผู้มาใช้สิทธิฯและตัวแทนผู้สมัคร
และบุคคลดังต่อไปนี้ (ระเบียบฯ ข้อ 162)
1. ประธาน กกต. /กกต. /เลขาธิการ กกต.
2. ผอ.กต.จว.
3. กกต.เขต /ผอ.กต.เขต / คณะอนุฯ เขต
4. ผู้ที่ได้รับแต่งตัง้ เป็นลายลักษณ์อักษรจากคณะกรรมการการเลือกตั้ง
5. ผู้ตรวจการเลือกตั้งประจาจังหวัด
6. พนง.ของสนง.กกต.จว.ที่ผอ.กต.จว.มอบหมายเป็นลายลักษณ์อักษร
กรณีข้างต้นอย่าลืมว่าต้องบันทึกในสมุดรายงานเหตุการณ์ประจาหน่วย(ส.ส. 5/6 ด้วย)
ห้ามเพิ่มชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ลงในบัญชีรายชื่อฯ โดยเด็ดขาด
ยกเว้น..กรณีดังนี้
(1.) กรณีผู้มาใช้สิทธิแจ้งว่า ได้ยื่นคาร้องต่อนายทะเบียนอาเภอหรือนายทะเบียนท้องถิ่น
และนายทะเบียนฯ ได้สั่งให้เพิ่มชื่อในบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งแล้ว แต่นายทะเบียนฯ
ยังมิได้เพิ่มชื่อในบัญชีรายชื่อ
กรณีนี้ ให้ กปน. ตรวจสอบหลักฐาน และวินิจฉัยชี้ขาด หากวินิจฉัยว่าให้ผู้นั้นลงคะแนนได้
ให้เพิ่มชื่อต่อท้ายในลาดับสุดท้ายของบัญชีรายชื่อ พร้อมบันทึกถ้อยคาผู้แสดงตนลงในรายงาน
เหตุการณ์ฯ (ส.ส. 5/6) ด้วย

กรณีนี้ให้นับเพิ่มเป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้งในหน่วยนี้ด้วย
การดาเนินการเมื่อใกล้เวลา
ปิดการลงคะแนน (เวลา 17.00 น.)
การดาเนินการเมื่อใกล้เวลา 17.00 น.

 ควรจัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์และกรอกแบบพิมพ์
เกี่ยวกับการลงคะแนนเลือกตั้งไว้ล่วงหน้าเมื่อ
สิ้นสุดเวลาลงคะแนนจะได้ไม่สับสนหลงลืม
 เมื่อเวลา 16.50 น. โดยประมาณ ให้ประธานฯ
ประกาศว่า “บัดนี้เหลือเวลาประมาณ 10 นาที
ขอให้ผู้ที่มีสิทธิเลือกตั้งที่ยังไม่มาแสดงตนใช้สทิ ธิ
ลงคะแนนเลือกตั้งให้รีบมาแสดงตนเพื่อใช้สิทธิ”
การดาเนินการเมื่อถึงเวลา 17.00 น.
 เมื่อเวลา 17.00 น. ให้ประธานประกาศว่า
“บัดนี้ เวลา 17.00 น. แล้วให้ปิดการลงคะแนนและ
งดจ่ายบัตร” ผู้มาแสดงตนขอใช้สิทธิเลือกตั้งต่อกรรมการ
ประจาหน่วยเลือกตั้งภายในเวลา 17.00 น. แล้วยังไม่ได้
รับบัตรเลือกตั้งและยังอยู่ในที่เลือกตั้งให้รอรับบัตรเลือกตั้ง
จากกรรมการประจาหน่วยเลือกตั้งเพื่อทาการลงคะแนนได้
จนเสร็จสิ้น แต่ต้องบันทึกในรายงานเหตุการณ์ประจาที่
เลือกตั้งด้วย (ส.ส. 5/6)
การบันทึกในรายงานเหตุการณ์ประจาหน่วย (ส.ส. 5/6)
 กรณีการเปิดแสดงหีบบัตรเปล่าก่อนเปิดการลงคะแนน
 กรณีเพศ สระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ ผิดพลาด
 กรณีแจ้งเหตุฯ แต่มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
 กรณีใช้หลักฐานมาขอเพิ่มชื่อ/ถอนชือ่
 กรณีจับกุมผู้กระทาผิดกฎหมายเลือกตั้ง
 กรณีมีผู้ที่มิใช่เป็นผู้มีสทิ ธิเลือกตั้งเข้าไปในคูหา
 กรณีการเกิดเหตุการณ์ใดๆในระหว่างการลงคะแนน
 กรณีไม่สามารถดาเนินการลงคะแนนเลือกตั้งต่อไปได้
 กรณีมีผู้มาแสดงตนภายใน 17.oo น. แต่ยังมิได้รับบัตรเลือกตั้ง
(ต่อ)
(หลักการบันทึกให้ยึดหลักดังนี้)
ให้กรรมการประจาหน่วยประชุมวินิจฉัยมีมติโดยยึดหลักเสียงข้างมาก

การบันทึกให้ใช้หลัก
เมื่อเวลาใด ใคร ทาอะไร ที่ไหน อย่างไร
ตัวอย่างการกรอก ส.ส.5/6
(สมุดรายงานเหตุการณ์ประจาหน่วย)
• ครั้งที่ ……..เมื่อเวลา 09.00 น. ได้มีนางสาวสวย รวย
ทรัพย์ อยู่บ้านเลขที่ 111/1 หมู่ 1 ต.เขาจ้าว มาแสดงตน
ใช้สิทธิ ฯ แต่ปรากฏว่าชื่อ-สกุลตามหลักฐานแสดงตนกับ
ในบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิฯไม่ตรงกัน แต่ได้ตรวจสอบจาก
หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ-สกุลของผู้มาใช้สิทธิที่นามาแสดง
กปน. เห็นว่าเป็นบุคคลเดียวกัน จึงได้อนุญาตให้ใช้สิทธิ....
ตัวอย่างการกรอก ส.ส.5/6

• ครั้ ง ที่ …….. เมื่ อ เวลา 13.00 น. ได้ มี น าย……………………………….


ผู้อานวยการการเลือกตั้งประจาจังหวัด ………………… ได้มาตรวจเยี่ยม
และให้คาแนะนาในการปฏิบัติหน้าที่แก่ กปน. พร้อมทั้งได้กาชับให้ปฏิบัติ
หน้าที่ด้วยความรอบคอบ ให้ถูกต้องตามระเบียบ กฎหมายอย่างเคร่งครัด
• ครั้ ง ที่ ………เมื่ อ เวลา 17.00 น.ประธาน กปน.ได้ ป ระกาศปิ ด การ
ลงคะแนน แต่มีผู้มาแสดงตนภายใน 17.00 น.จานวน 10 คน ที่ยังไม่ได้
รับบัตรเลื อกตั้ง กปน.พิจารณาแล้วเห็น ว่าได้มาแสดงตนภายในเวลา
17.00 น.จริงจึงได้อนุญาตให้ใช้สิทธิ ฯจนเสร็จสิ้นในเวลา 17.10 น.
• ให้บันทึกในแบบทักท้วงการปฏิบัติหน้าที่
ของ กปน.(ส.ส. 5/10) พร้อมให้ผู้ที่ทักท้วง
ลงลายมือชื่อไว้เป็นหลักฐานด้วย
• ฉีก เอกสารส าเนาการทัก ท้วงให้ผู้ทักท้วง
เป็นหลักฐาน 1 ฉบับด้วย
หลังปิดการลงคะแนน
(เวลา 17.00 น.)
กล่าวปิดการลงคะแนน “บัดนี้ ถึงเวลาปิดการ
ลงคะแนนแล้ว ให้ปิดการออกเสียงลงคะแนน”

ปิดช่องใส่บัตรเลือกตั้ง

เมื่อปิดการลงคะแนน ให้ กปน. ใช้แบบ ส.ส. 5/1


ปิดช่องใส่บัตรเลือกตั้งทั้ง 2 หีบ
รายงานการปิดลงคะแนน
แก่ศูนย์ประสานงานการเลือกตั้ง ส.ส.ของ
เขต/อนุเขตฯ
สูตรสาเร็จ
หลังปิดการลงคะแนน

3 ทา 1 ปิด 7 ไป
3 ทา
 1.ทาบัตรเลือกตั้ง
 2.ทาประกาศ
 3.ทาบัญชีรายชื่อ
1.ทาบัตร
เลือกตั้ง
สรุปยอดที่ใช้ไปของเล่ม
ที่ใช้ไม่เต็มเล่ม
หลังปิดการออกเสียงลงคะแนน (ระเบียบฯ ข้อ 168)
1. นับจานวนต้นขั้วบัตรเลือกตั้ง (เพื่อตรวจสอบว่าบัตรเลือกตั ดูร้งะเบี
ที่ใยช้บหน้ า 33
ไปตรง
กับจานวนผู้มาแสดงตนขอรับบัตรเลือกตั้ง)
2. นับจานวนบัตรเลือกตั้งที่เหลือ (เพื่อตรวจสอบว่าจานวนบัตรเลือกตั้งที่
เหลือกับจานวนบัตรเลือกตั้งที่รับมาถูกต้องตรงกับจานวนบัตรเลือกตั้งที่ใช้
ไปตามข้อ (1) )
3. บันทึกจานวนบัตรเลือกตั้งที่ใช้ไปและต้นขั้วบัตรที่เหลือลงที่ปกหลังของ
บัตรเลือกตั้ง และลงลายมือชื่อบนปกหลังบัตรเลือกตั้งทุกเล่ม
4. ใช้โลหะหรือวัตถุอื่นใดเจาะทะลุกลางบัตรเลือกตั้งส่วนที่เป็นตัวบัตรที่เลือก
ทุกฉบับพร้อมปกหน้าและปกหลัง เสร็จแล้วใช้เชือกร้อยรูผูกรวมกัน โดย
แต่ละประเภทให้ทาแยกเป็นประเภทละ 2 ปึก ปึกแรกเป็นต้นขั้วบัตร
เลือกตั้งที่ใช้ไปหมดเล่มกับที่ใช้ไปบางส่วน (เหลือไม่เต็มเล่ม) และปึกที่
สองเป็นบัตรเลือกตั้งที่เหลือเต็มเล่ม (ไม่ได้ใช้ทั้งเล่ม)
(5) นาบัตรเลือกตั้งตามข้อ (4) แยกบรรจุใส่ถุงพลาสติกใส โดยให้แยกเป็น 2 ถุง
ดังนี้
ถุงพลาสติกใส ใบที่ 1 เฉพาะบัตรเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบ่งเขตและแบบ
บัญชีรายชื่อที่เหลือเต็มเล่ม (ไม่ได้ใช้ทั้งเล่ม)
ถุงพลาสติกใส ใบที่ 2 เฉพาะบัตรเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบ่งเขตและแบบ
บัญชีรายชื่อที่เหลือไม่เต็มเล่มและต้นขั้วบัตรเลือกตั้ง
(6) บันทึกข้อมูลบัตรเลือกตั้งที่เหลือเต็มเล่มและบัตรเลือกตั้งที่เหลือไม่เต็มเล่ม
และต้นขั้วบัตรเลือกตั้งของ ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้งและแบบบัญชีรายชื่อ
โดยบันทึกข้อมูลลาดับที่ของหน่วยเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งและจานวนเล่มของต้น
ขั้วบัตรออกเสียงของแต่ละประเภทใส่ลงในถุงพลาสติกใสตาม (ข้อ 5)

แบบบันทึกทั้ง 2 แผ่นอยู่ท้ายสมุดแบบพิมพ์ประจาหน่วย
2.ทาประกาศ
กปน. จัดทาประกาศรายการเกี่ยวกับจานวนบัตรเลือกตั้งเมื่อเสร็จสิ้น
การออกเสียงลงคะแนน (ส.ส. 5/7) จานวน 3 ชุด ดังนี้
 ชุดที่ 1 ปิดประกาศไว้ ณ ป้ายหน้าที่เลือกตั้ง
 ชุดที่ 2 สาหรับส่งให้ กกต.เขต/อนุขตฯ
 ชุดที่ 3 เก็บไว้เป็นหลักฐานในเล่ม
ส.ส. 5/7

ประกาศจานวนบัตรเลือกตั้ง
หลังจากเสร็จสิ้นการลงคะแนน
(ส.ส. 5/7) จานวน 3 ชุด

138
3.ทาบัญชี
รายชื่อ
ให้ กปน. ตรวจบัญชีรายชื่อ นับจานวนผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งจาก
บัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง (ส.ส. 1/3) เฉพาะผู้มาใช้สิทธิที่
ลงทะเบียนใช้สทิ ธิเลือกตั้งล่วงหน้าในเขตเท่านั้น แล้วบันทึกข้อมูล
จานวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งและผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งแยกจานวนชายและ
หญิงลงในแผ่นแรกของบัญชีรายชือ่ ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง (ส.ส. 1/3) ชุด
ที่ใช้ตรวจสอบ และหมายเหตุการณ์ออกเสียงลงคะแนน ทั้งนี้ ให้พึง
ระวังการนับจานวน กรณีที่มีการเพิม่ ชื่อ - ถอนชื่อด้วย

140
ตรวจเช็คว่าผู้มาใช้สิทธิตรงกับต้นขั้วบัตรที่ใช้ไปหรือไม่

อย่าลืมสรุปยอดจานวนผู้มาใช้สทิ ธิแยกชาย/หญิง ที่หน้าบัญชีด้วย


ให้พึงระวังการนับจานวน กรณีมีการเพิ่มชือ่ /ถอนชื่อด้วย
หน้าปกบัญชีชุดหมายเหตุฯ
หมายเหตุ ให้กรรมการประจาหน่วยเลือกตั้งเป็นผู้เขียน เมื่อเสร็จสิ้นการลงคะแนน
เลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จานวน......530.........คน
ชาย จานวน........250......คน
หญิง จานวน.....280........คน
ผู้มาใช้สิทธิลงคะแนนเลือกตั้ง จานวน......................คน
ชาย จานวน......................คน
หญิง จานวน.......................คน
1 ปิด
ปิดประกาศจานวนบัตรเลือกตั้งหลังจากเสร็จสิ้น
การลงคะแนน (ส.ส. 5/7) จานวน 1 ชุด
ส.ส. 5/7
(7 ไป)
1. หีบบัตรเลือกตั้ง 2 หีบ
2. คูหาออกเสียงลงคะแนน
3. บัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง (ส.ส. 1/3) 2 ชุด
 ชุดที่ใช้ตรวจสอบการใช้สิทธิเลือกตั้งและหมายเหตุการลงคะแนน
 ชุดที่ใช้ปิดประกาศหน้าทีอ่ อกเสียง
4. บัตรเลือกตั้งที่เหลือทั้งหมดและต้นขัว้ บัตรเลือกตั้ง
5. สมุดแบบพิมพ์ประจาหน่วยเลือกตั้ง (เล่ม)
6. วัสดุอุปกรณ์เกี่ยวกับการเลือกตั้ง
7. ป้ายต่างๆ และเอกสารอื่นๆ
ให้ กปน.ไม่น้อยกว่า 5 คน และ รปภ. ดาเนินการ
นาส่งหีบบัตรและสิ่งของคืนแก่ อนุฯเขตหรือผู้ที่อนุฯ
เขตมอบหมาย
การดาเนินการกรณีงดการออกเสียงลงคะแนน

กรณีในวันเลือกตัง้ ...ถ้าการดาเนินการออกเสียงลงคะแนนในหน่วยเลือกตั้งใดไม่
สามารถกระทาได้เนื่องจากเกิดจลาจล อุทกภัย อัคคีภัย หรือเหตุสุดวิสัยอย่างอื่น
..
ให้ดาเนินการ ดังนี้
1. กรณีที่ยังไม่ได้เปิดให้มีการออกเสียงลงคะแนน
2. กรณีเปิดให้มีการออกเสียงลงคะแนนและมีการออกเสียงลงคะแนนแล้ว
ทัง้ 2 กรณี ให้จัดทาประกาศงดออกเสียงตามแบบ ส.ส. 5/9 จานวน 3 ชุด
ชุดที่ 1 ปิดประกาศ ณ ที่เลือกตั้ง
ชุดที่ 2 ส่งให้ กกต.เขต
ชุดที่ 3 เก็บไว้เป็นหลักฐาน

ถ้า..เกิดกรณีนี้จริงๆให้รีบโทรศัพท์ประสานกับ กกต.เขต/อนุเขต ก่อนดาเนินการใดๆ


ท่านต้องห้าม ไม่ให้มีการทุจริตขึ้น ถ้าทุจริตแม้แต่นิดเดียวก็ขอแช่ง
แช่งให้มีอันเป็นไป พูดอย่างนี้หยาบคาย แต่ว่า ขอให้มี...อันเป็นไป แต่ถ้า
ไม่ทุจริต สุจริตและมีความตั้งใจจะทา ขอให้ต่ออายุไปถึง 100 ปี หรือถ้า
อายุมากแล้ว ก็แข็งแรง ประเทศไทยก็จะรอดพ้นอันตรายอย่างมาก
พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ณ พระราชวังไกลกังวล
8 ตุลาคม 2546
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
(รัชกาลที่ 10) โปรดเกล้าฯ อัญเชิญพระบรมราโชวาท ร.9 "ส่งเสริมคนดี
ปกครองบ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดี ไม่ให้มีอานาจ"

https://www.bbc.com/thai/thailand-47681835 151

You might also like