You are on page 1of 31

1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การวิเคราะห์และนาเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถำมข้อ 1-14
คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 40 คน ซึ่งมีคะแนนเต็ม 60 คะแนน เป็นดังนี้
50 42 31 37 40 47 27 59 57 36
39 49 34 41 44 47 36 44 42 47
43 44 51 42 48 39 58 48 42 35
23 54 52 39 54 32 31 51 40 49
1. พิสัยของคะแนนสอบเท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 34 2. 35
3. 36 4. 37
2. ถ้าต้องการสร้างตารางแจกแจงความถี่ให้มี 10 อันตรภาคชั้น แต่ละชั้นจะมีความกว้า งเท่าไร (มฐ. ค 3.1
ม.6/1)
1. 4 2. 5
3. 6 4. 7
3. ถ้าต้องการสร้างตารางแจกแจงความถี่ให้แต่ละอันตรภาคชั้นกว้าง 5 จะมีจานวนอันตรภาคชั้นเท่ากับข้อใด
(มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 6 2. 8
3. 10 4. 12
4. ถ้าต้องการสร้างตารางแจกแจงความถี่ให้แต่ละอันตรภาคชั้นกว้าง 10 จะมีจานวนอันตรภาคชั้นเท่ากับข้อใด
(มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 2 2. 3
3. 4 4. 5
5. ถ้ า อั น ตรภาคชั้ น แรกเป็ น 23-27 โดยแต่ ล ะอั น ตรภาคชั้ น มี ค วามกว้ า งเท่ า กั น แล้ ว ความกว้ า งของ
อันตรภาคชั้นเท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 4 2. 5
3. 6 4. 7
6. ถ้าอันตรภาคชั้นแรกเป็ น 23-27 โดยแต่ละอันตรภาคชั้นมีความกว้างเท่ากัน แล้วอันตรภาคชั้นถัดจาก
23-27 คืออันตรภาคชั้นใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 27-30 2. 27-31
3. 28-31 4. 28-32
2

7. ถ้าอันตรภาคชั้นแรกเป็น 23-27 โดยแต่ละอันตรภาคชั้นมีความกว้างเท่ากัน แล้วขอบล่างของอันตรภาคชั้น


สุดท้ายเท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 48.5 2. 53.5
3. 57.5 4. 58.5
8. อันตรภาคชั้น 33-37 มีความถี่เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 3 2. 5
3. 7 4. 10
9. อันตรภาคชั้น 48-52 มีความถี่เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 8 2. 7
3. 6 4. 5
10. อันตรภาคชั้นใดมีความถี่เท่ากับ 2 (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 23-27 2. 33-37
3. 43-47 4. 48-52
11. อันตรภาคชั้นใดมีความถี่มากที่สุด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 28-32 2. 38-42
3. 43-47 4. 53-57
12. ความถี่สะสมของอันตรภาคชั้น 38-42 เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 10 2. 20
3. 27 4. 45
13. ความถี่สะสมของอันตรภาคชั้น 53-57 เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 30 2. 35
3. 38 4. 40
14. อันตรภาคชั้นใดมีความถี่สะสมเท่ากับ 27 (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 33-37 2. 38-42
3. 43-47 4. 48-52
ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถำมข้อ 15-19
ในการสารวจจานวนสุกรที่สมาชิกในหมู่บ้านแห่งหนึ่งเลี้ยงไว้ได้ข้อมูลดังนี้
จานวนสุกร (ตัว) จานวนครอบครัวที่เลี้ยงสุกร
ตั้งแต่ 3 ตัวขึ้นไป 40
ตั้งแต่ 6 ตัวขึ้นไป 32
ตั้งแต่ 9 ตัวขึ้นไป 28
ตั้งแต่ 12 ตัวขึ้นไป 9
ตั้งแต่ 15 ตัวขึ้นไป 0
3

15. จานวนครอบครัวที่เลี้ยงสุกรอย่างน้อย 6 ตัว เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)


1. 31 2. 32
3. 33 4. 34
16. จานวนครอบครัวที่เลี้ยงสุกรอย่างมาก 11 ตัว เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 31 2. 32
3. 33 4. 34
17. จานวนครอบครัวที่เลี้ยงสุกรไม่ต่ากว่า 9 ตัว เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 24 2. 28
3. 32 4. 36
18. จานวนครอบครัวที่เลี้ยงสุกรไม่เกิน 8 ตัว เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 15 2. 14
3. 13 4. 12
19. จานวนครอบครัวที่เลี้ยงสุกรอย่างต่า 6 ตัว แต่ไม่เกิน 11 ตัว เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 26 2. 25
3. 24 4. 23
20. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. แกนตั้งของฮิสโทแกรมแสดงความกว้างของแต่ละอันตรภาคชั้น
ข. เราสามารถสังเกตการกระจายของข้อมูลจากฮิสโทแกรมได้ชัดเจนกว่าตารางแจกแจงความถี่
ข้อสรุปใดถูกต้อง (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. ข้อ ก และข้อ ข ถูกต้อง 2. ข้อ ก ถูกต้อง แต่ข้อ ข ผิด
3. ข้อ ก ผิด แต่ข้อ ข ถูกต้อง 4. ข้อ ก และข้อ ข ผิด
ใช้ฮิสโทแกรมต่อไปนี้ตอบคำถำมข้อ 21-26
ฮิสโทแกรมแสดงคะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้น ม.6 ในโรงเรียนแห่งหนึ่ง
จานวนนักเรียน

60
50
40
30
20
10
0 คะแนน
32 37 42 47 52
หมำยเหตุ : แกนนอนแสดงจุดกึ่งกลางชั้น โดยแต่ละอันตรภาคชั้นมีความกว้างเท่ากัน และอันตรภาคชั้น
ที่มีค่าน้อยที่สุดมีขอบล่างเท่ากับ 29.5
4

21. นักเรียนชั้น ม.6 ของโรงเรียนแห่งนี้มีทั้งหมดกี่คน (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)


1. 200 คน 2. 210 คน
3. 215 คน 4. 225 คน
22. ความกว้างของแต่ละอันตรภาคชั้นเท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 3 2. 4
3. 5 4. 6
23. นักเรียนส่วนใหญ่ได้คะแนนสอบวิชาภาษาไทยในช่วงคะแนนใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 30-34 2. 35-39
3. 40-44 4. 45-49
24. อันตรภาคชั้นที่มีความถี่น้อยที่สุดมีขอบบนเท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 34.5 2. 37.5
3. 39.5 4. 44.5
25. อันตรภาคชั้นที่มีความถี่มากที่สุดมีขอบบนเท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 34.5 2. 39.5
3. 44.5 4. 49.5
26. อันตรภาคชั้นที่มีความถี่เท่ากับ 35 มีขอบล่างเท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 54.5 2. 49.5
3. 47.5 4. 44.5
ใช้แผนภำพต้น-ใบต่อไปนี้ตอบคำถำมข้อ 27-32
แผนภาพต้น-ใบ แสดงข้อมูลน้าหนักของเด็กกลุ่มหนึ่ง หน่วยเป็นกิโลกรัม
ต้น ใบ
2 2 2 3 5
3 0 4 5 7 7 8
4 3 4 8
5 0 0 1 6 9 9 9
27. พิสัยของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 34 2. 35
3. 36 4. 37
28. ความถี่ของน้าหนักที่น้อยที่สุดเท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 1 2. 2
3. 3 4. 4
29. ความถี่ของน้าหนักที่มากที่สุดเท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 1 2. 2
3. 3 4. 4
5

30. เด็กกลุ่มนี้มีทั้งหมดกี่คน (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)


1. 20 คน 2. 21 คน
3. 22 คน 4. 23 คน
31. เด็กที่มีน้าหนักน้อยกว่า 40 กิโลกรัม มีกี่คน (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 10 คน 2. 11 คน
3. 12 คน 4. 13 คน
32. เด็กที่มีน้าหนักเกิน 45 กิโลกรัม มีกี่คน (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 5 คน 2. 6 คน
3. 7 คน 4. 8 คน
33. กาหนดข้อมูล 6 จานวน คือ 2.5, 4, 3.5, 7, 8.5, 4.5 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1
ม.6/1)
1. 5 2. 5.5
3. 6 4. 6.5
ใช้แผนภำพต้น-ใบต่อไปนี้ตอบคำถำมข้อ 34-37
กาหนดข้อมูลชุดหนึ่งนาเสนอด้วยแผนภาพต้น-ใบ ดังนี้
ต้น ใบ
1 3 3 5 8
2 0 5 6
3 4 4 4 6 7
4 0 1 9
34. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 27 2. 29
3. 33 4. 35
35. พิสัยของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 33 2. 34
3. 35 4. 36
36. มัธยฐานของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 30 2. 32
3. 34 4. 36
37. ฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 30 2. 32
3. 34 4. 36
6

ใช้แผนภำพต้น-ใบต่อไปนี้ตอบคำถำมข้อ 38-46
แผนภาพต้น-ใบแสดงผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง
ซึ่งแต่ละวิชามีคะแนนเต็ม 50 คะแนน
ใบ (วิทยาศาสตร์) ต้น ใบ (คณิตศาสตร์)
7 6 6 5 3 1 1 3 8 9
9 9 8 4 4 4 2 2 4 4 5 8 8
7 6 2 3 0 1 3 3 3 5 6
6 5 4 3 0 4 2 4 5 8
38. คะแนนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนส่วนใหญ่อยู่ในช่วงคะแนนใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 10-19 คะแนน 2. 20-29 คะแนน
3. 30-39 คะแนน 4. 40-49 คะแนน
39. คะแนนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนส่วนใหญ่อยู่ในช่วงคะแนนใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 10-19 คะแนน 2. 20-29 คะแนน
3. 30-39 คะแนน 4. 40-49 คะแนน
40. คะแนนสูงสุดของทั้งสองรายวิชานี้ต่างกันอยู่เท่าไร (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 1 คะแนน 2. 2 คะแนน
3. 3 คะแนน 4. 4 คะแนน
41. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 30 คะแนน 2. 33 คะแนน
3. 35 คะแนน 4. 38 คะแนน
42. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 26 คะแนน 2. 27 คะแนน
3. 28 คะแนน 4. 29 คะแนน
43. มัธยฐานของคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มนี้เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 24.5 คะแนน 2. 26.5 คะแนน
3. 28.5 คะแนน 4. 30.5 คะแนน
44. มัธยฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มนี้เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 29.5 คะแนน 2. 30.5 คะแนน
3. 31.5 คะแนน 4. 32.5 คะแนน
45. ฐานนิยมของคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 22 คะแนน 2. 24 คะแนน
3. 28 คะแนน 4. 29 คะแนน
7

46. ฐานนิยมของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)


1. 24 คะแนน 2. 28 คะแนน
3. 33 คะแนน 4. 36 คะแนน
47. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 20 จานวน หาค่าเฉลี่ยเลขคณิตได้ 30 ต่อมาพบว่ามีการกรอกข้อมูลผิดไป 1 ค่า คือ 14.5
โดยกรอกข้อมูลน้อยกว่าความเป็นจริงอยู่ 2 คะแนน ค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่ถูกต้องเท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1
ม.6/1)
1. 30.1 คะแนน 2. 30.2 คะแนน
3. 30.3 คะแนน 4. 30.4 คะแนน
48. ผลการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มหนึ่ ง ครูนาข้อมูลมาหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตได้ 24.75 ต่อมา
ตรวจพบว่ากรอกข้อมูลผิดไป 2 รายการ คือ 15 และ 26 โดยกรอกผิดเป็น 18 และ 28 ตามลาดับ และ
เมื่อคานวณใหม่จะได้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่ถูกต้องเป็น 24.5 จงหาว่าข้อมูลชุดนี้มีกี่จานวน (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 26 จานวน 2. 24 จานวน
3. 22 จานวน 4. 20 จานวน
49. ข้อมูลชุดหนึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 35 จงหาว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดที่สองที่ได้จากการนา
ข้อมูลชุดที่หนึ่งแต่ละตัวบวกด้วย 3 เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 35 2. 38
3. 96 4. 114
50. ข้อมูลชุดหนึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 42 จงหาว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดที่สองที่ได้จากการนา
ข้อมูลชุดที่หนึ่งแต่ละตัวคูณด้วย 4 แล้วบวกด้วย 6 เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 142 2. 158
3. 174 4. 248
51. ถ้าข้อมูล 2a + 2, 4a + 3, 4a, 5a + 1, 7a + 4 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 25 แล้ว a มีค่าเท่ากับข้อใด
(มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 3 2. 4
3. 5 4. 6
52. ผลคะแนนสอบของนักเรียนกลุ่มหนึ่งเรียงตามลาดับจากน้อยไปมากคือ 5, 8, 10, a, b, c, 23, 31, 34, 38
โดยหาค่ าเฉลี่ ยเลขคณิ ตของคะแนน a, b, c เท่ ากั บ 22 คะแนน ซึ่ งมากกว่า a อยู่ 4 คะแนน จงหาว่ า
มัธยฐานของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 24 2. 25
3. 26 4. 27
53. ข้อมูล 3, 8, 13, 18, ..., 138 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 68.5 2. 70.5
3. 72.5 4. 74.5
8

54. น้าหนักของนักเรียนกลุ่มหนึ่งปรากฏดังตาราง
น้าหนัก (กิโลกรัม) 45 48 50 52 55 60
จานวนนักเรียน 2 6 5 8 7 2
ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของน้าหนักของนักเรียนกลุ่มนี้เท่ากับข้อใด (ตอบเป็นทศนิยม 1 ตาแหน่ง) (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 53.2 2. 52.8
3. 52.3 4. 51.6
55. ถ้าคะแนนสอบของนั กเรี ย นกลุ่ ม หนึ่งคือ a, b, c, d, e, f มี ค่าเฉลี่ ย ของคะแนนสอบเท่ ากับ 55 แล้ ว
ผลรวมของคะแนนสอบของนักเรียนกลุ่มนี้เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 320 2. 330
3. 340 4. 350
56. ในการสอบวิชาภาษาไทย 5 ครั้ง โดยแต่ละครั้งมีคะแนนเต็ม 50 คะแนน เมธีสอบ 4 ครั้งแรกได้คะแนน
เป็น 38, 45, 48, 42 เมธีจะต้องสอบครั้งที่ 5 ให้ได้คะแนนเท่าไร จึงจะได้คะแนนเฉลี่ยของการสอบทั้ง
5 ครั้งเท่ากับ 42.6 คะแนน (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 40 คะแนน 2. 41 คะแนน
3. 42 คะแนน 4. 43 คะแนน
57. วิชุดาซื้อปลา 4 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 80 บาท ซื้อกุ้ง 6 กิโลกรัม ราคากิโลกรั มละ 70 บาท และซื้อ
เนื้อหมู 2 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 50 บาท วิชุดาซื้อเนื้อสัตว์เฉลี่ยราคากิโลกรัมละเท่าไร (มฐ. ค 3.1
ม.6/1)
1. 55 บาท 2. 60 บาท
3. 65 บาท 4. 70 บาท
58. ในการสอบแข่งขันวิชาภาษาอังกฤษครั้งหนึ่ง มีผู้สอบได้คะแนน 65 คะแนน จานวน 8 คน สอบได้ 70
คะแนน จานวน 6 คน และสอบได้ 75 คะแนน จานวน 9 คน คะแนนเฉลี่ยในการสอบครั้งนี้เท่ากับข้อใด
(ตอบเป็นทศนิยม 2 ตาแหน่ง) (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 71.23 คะแนน 2. 71.38 คะแนน
3. 70.22 คะแนน 4. 70.28 คะแนน
59. ในการสอบตลอดภาคเรียนจานวน 4 ครั้ง คะแนนเต็มครั้งละ 50 คะแนน กาหนดน้าหนักของการสอบ
ครั้งที่ 1, 2, 3 และ 4 เป็น 15%, 25%, 30%และ 30% ตามลาดับ ถ้านฤมลสอบครั้งที่ 1, 2, 3 และ 4
ได้คะแนน 42, 45, 35 และ 46 คะแนน ตามลาดับ นฤมลได้คะแนนเฉลี่ยของการสอบ 4 ครั้ง เท่ากับ
ข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 41.85 คะแนน 2. 42.25 คะแนน
3. 42.75 คะแนน 4. 43.50 คะแนน
9

60. ผลการสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ของนักเรียนชั้น ม.6 ครั้งหนึ่งเป็นดังนี้ นักเรียนห้ อง ม.6/1 มี 32 คน ได้


คะแนนเฉลี่ย 55 คะแนน นักเรียนห้อง ม.6/2 มี 40 คน ได้คะแนนเฉลี่ย 45 คะแนน และนักเรียนห้อง
ม.6/3 มี 38 คน ได้คะแนนเฉลี่ ย 58 คะแนน จงหาว่าคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนทั้งหมดเท่ากับข้อใด
(มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 52.40 คะแนน 2. 52.15 คะแนน
3. 51.40 คะแนน 4. 51.15 คะแนน
ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถำมข้อ 61-64
ข้อมูลอุณหภูมิตอนเช้า ณ ยอดดอยแห่งหนึ่งตลอด 30 วัน เป็นดังนี้
อุณหภูมิ (C) ความถี่สะสม (วัน)
–3 5
–2 8
–1 11
1 15
2 21
3 30
61. ฐานนิยมคือข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. –3C 2. –2C
3. 2C 4. 3C
62. ค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิตลอด 30 วัน เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 0.52C 2. 0.58C
3. 0.63C 4. 0.72C
63. มัธยฐานของอุณหภูมิตลอด 30 วัน เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. –2C 2. –1C
3. 1.5C 4. 2.5C
64. พิสัยของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 4C 2. 5C
3. 6C 4. 7C
ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถำมข้อ 65-68
นักเรียนกลุ่มหนึ่งมีคะแนนสอบดังตาราง
คะแนน 33 34 35 36 37
ร้อยละของความถี่สะสมสัมพัทธ์ 10 30 60 80 100
65. ความถี่สัมพัทธ์ของคะแนน 36 เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 0.1 2. 0.2
3. 0.3 4. 0.4
10

66. ถ้าความถี่สัมพัทธ์ของคะแนน 34 เท่ากับ a และความถี่สัมพัทธ์ของคะแนน 37 เท่ากับ b แล้วค่าของ a + b


เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 0.3 2. 0.4
3. 0.5 4. 0.6
67. ฐานนิยมคือข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 37 2. 36
3. 35 4. 34
68. คะแนนสอบเฉลี่ยของนักเรียนกลุ่มนี้เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 35.2 2. 35.4
3. 36.2 4. 36.4
69. ค่าสถิติในข้อใดต่อไปนี้เปลี่ยนไปอย่างแน่นอน เมื่อค่าใดค่าหนึ่งของข้อมูลเปลี่ยนไป (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. ฐานนิยม 2. มัธยฐาน
3. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต 4. พิสัย
70. ข้อมูลชุดหนึ่ งมี 10 จ านวน เมื่ อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากพบว่า ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตของข้อมูล 4 ตัวแรก
เท่ากับ 4 และค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูล 4 ตัวหลัง เท่ากับ 14 ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้ทั้งหมด
เท่ากับ 8.6 แล้วมัธยฐานของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 10 2. 9
3. 8 4. 7
71. กาหนดข้อมูลชุดหนึ่งคือ a, 4, 5, 5, 9, 9, 13, 13, 18 และมีฐานนิยมเพียง 1ค่า ถ้ามัธยฐานของข้อมูลชุดนี้
มีค่าน้อยกว่าฐานนิยม แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมุลชุดนี้เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 8.78 2. 8.92
3. 9.58 4. 9.89
5
72. ให้ x1, x2, x3, x4, x5 เป็นข้อมูลประชากรชุดหนึ่งซึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 8 ถ้า  (x i  6)2 = 40 แล้ว
i 1

ความแปรปรวนของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)


1. 6 2. 5
3. 4 4. 3
73. เงินเดือนเฉลี่ยของพนักงานในบริษัทแห่งหนึ่งเท่ากับ 15,000 บาท เงินเดือนเฉลี่ยของพนักงานชายและหญิง
เท่ากับ 18,000 บาท และ 14,100 บาท ตามลาดับ อัตราส่วนของพนักงานชายต่อพนักงานหญิงเท่ากับข้อใด
(มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 3 : 10 2. 3 : 2
3. 4 : 5 4. 4 : 1
11

74. ความสัมพันธ์ระหว่างกาไร (y) และต้นทุน (x) ของการผลิตพัดลมเป็น y = 1 x  50 ถ้ากาไรของการผลิต


6
พัดลม 6 ตัว เท่ากับ 118, 124, 122, 120, 134 และ 138 บาท แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของต้นทุนการผลิต
พัดลมทั้ง 6 ตัว เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 450 บาท 2. 452 บาท
3. 454 บาท 4. 456 บาท
75. กาหนดข้อมูลชุดหนึ่งนาเสนอด้วยแผนภาพต้น-ใบ ดังนี้
ต้น ใบ
3 0 2 4
4 1 1 3 4
5 2 5 6
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. มัธยฐาน < ค่าเฉลี่ยเลขคณิต < ฐานนิยม
2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิต < มัธยฐาน < ฐานนิยม
3. ฐานนิยม < ค่าเฉลี่ยเลขคณิต < มัธยฐาน
4. ฐานนิยม < มัธยฐาน < ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถำมข้อ 76-78
44 50 49 53 57 65 61 77 72
76. P20 เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 49 2. 49.5
3. 50 4. 51.5
77. P45 เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 53.5 2. 54.5
3. 55 4. 56
78. P68 เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 63.4 2. 63.8
3. 64.2 4. 64.4
79. คะแนนสอบวิ ชาภาษาไทยของนั กเรียน 9 คน เป็นดังนี้ 33, 25, 38, 20, 26, 24, 31, 35, 29 โดยมี
คะแนนเต็มเป็น 40 คะแนน ถ้าสมชายซึ่งเป็นนักเรียนใน 9 คนนี้ได้คะแนนเป็น 60% ของคะแนนเต็ม แล้ว
คะแนนสอบของสมชายตรงกับเปอร์เซ็นไทล์ที่เท่าไร (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 18.5 2. 20
3. 22.5 4. 23
12

10 10
80. ถ้าข้อมูลประชากร x1, x2, x3, …, x10 ชุดหนึ่งมีสมบัติว่า  (x i  3) 2 = 40 และ  (x i  5) 2 = 80 แล้ ว
i 1 i 1

ความแปรปรวนของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)


1. 3 2. 4
3. 5 4. 6
30
81. ข้อมูลประชากรชุดหนึ่งมีดังนี้ x1, x2, x3, …, x30 ถ้า  (x i   )2 = 120 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูล
i 1

ชุดนี้เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)


1. 4 2. 3
3. 2 4. 1
82. กาหนดข้อมูลของกลุ่ มตัวอย่างดังนี้ 7, 5, 3, 9, 4, 2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใด
(มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 2.61 2. 2.98
3. 3.31 4. 3.58
83. ในการสารวจน้าหนักของนักเรียนโดยเลือกกลุ่มตัวอย่างมา 4 คน พบว่ามี 2 คน น้าหนักเท่ากัน และหนัก
น้อยกว่าอีก 2 คนที่เหลือ ถ้าฐานนิยม มัธยฐาน และพิสัยของน้าหนักของนักเรียน 4 คนนี้คือ 50, 53 และ
18 ตามลาดับ แล้วส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของน้าหนักของนักเรียน 4 คนนี้ เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 7.69 2. 7.89
3. 8.19 4. 8.49
ใช้ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคำถำมข้อ 84-85
ข้อมูลประชากรชุดหนึ่งมี 50 จานวน คานวณหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานได้เท่ากับ 6
และ 3 ตามลาดับ ต่อมาพบว่าอ่านค่าหนึ่งผิดไป คืออ่าน 2.0 เป็น 20
84. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่ถูกต้องเท่ากับข้อใด (มฐ. ค 3.1 ม.6/1)
1. 4.54 2. 4.84
3. 5.34 4. 5.64
85. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ถูกต้องเท่ากับข้อใด (ในการคานวณให้ประมาณเป็นทศนิยม 2 ตาแหน่ง) (มฐ. ค 3.1
ม.6/1)
1. 2.30 2. 2.82
3. 2.96 4. 3.24
13

เฉลย
1. 3 2. 1 3. 2 4. 3 5. 2 6. 4 7. 4 8. 2 9. 1 10. 1
11. 2 12. 2 13. 3 14. 3 15. 2 16. 1 17. 2 18. 4 19. 4 20. 3
21. 3 22. 3 23. 3 24. 1 25. 3 26. 2 27. 4 28. 2 29. 3 30. 1
31. 1 32. 4 33. 1 34. 2 35. 4 36. 3 37. 3 38. 2 39. 3 40. 2
41. 1 42. 4 43. 3 44. 2 45. 2 46. 3 47. 1 48. 4 49. 2 50. 3
51. 3 52. 1 53. 2 54. 4 55. 2 56. 1 57. 4 58. 3 59. 1 60. 1
61. 4 62. 3 63. 3 64. 3 65. 2 66. 2 67. 3 68. 1 69. 3 70. 4
71. 4 72. 3 73. 1 74. 4 75. 4 76. 1 77. 3 78. 3 79. 2 80. 2
81. 3 82. 1 83. 4 84. 4 85. 1

เฉลยละเอียด
1. ตอบข้อ 3
วิธีทา พิสัย = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่าสุด
= 59 – 23
= 36
2. ตอบข้อ 1
วิธีทา แต่ละชั้นจะมีความกว้างประมาณ 36 = 3.6 ประมาณเป็น 4
10
3. ตอบข้อ 2
วิธีทา จะมีจานวนอันตรภาคชั้น 36 = 7.2 ประมาณเป็น 8 (การหาจานวนอันตรภาคชั้น เศษที่ได้จาก
5
การหารจะปัดขึ้นให้เป็นจานวนเต็มเสมอ)
4. ตอบข้อ 3
วิธีทา จะมีจานวนอันตรภาคชั้น 36 = 3.6 ประมาณเป็น 4
10
5. ตอบข้อ 2
วิธีทา ความกว้างของอันตรภาคชั้น = ขอบบน – ขอบล่าง
= 27.5 – 22.5
= 5
6. ตอบข้อ 4
วิธีทา เนื่องจากอันตรภาคชั้น 23-27 มีความกว้างเท่ากับ 5 ดังนั้น อันตรภาคชั้นถัดไปคือ 28-32 ซึ่งมี
ความกว้างเท่ากับ 32.5 – 27.5 = 5 เท่ากัน
14

7. ตอบข้อ 4
วิธีทา สร้างตารางแจกแจงความถี่ดังนี้
อันตรภาคชั้น ความถี่
23-27 2
28-32 3
33-37 5
38-42 10
43-47 7
48-52 8
53-57 3
58-62 2
จะเห็นว่าอันตรภาคชั้นสุดท้ายคือ 58-62 ซึ่งขอบล่างของอันตรภาคชั้น 58-62 คือ 57.5
8. ตอบข้อ 2
วิธีทา จะเห็นว่าอันตรภาคชั้น 33-37 มีความถี่เท่ากับ 5
9. ตอบข้อ 1
วิธีทา จะเห็นว่าอันตรภาคชั้น 48-52 มีความถี่เท่ากับ 8
10. ตอบข้อ 1
วิธีทา จะเห็นว่าอันตรภาคชั้นที่มีความถี่เท่ากับ 2 คือ อันตรภาคชั้น 23-27 และ 58-62
11. ตอบข้อ 2
วิธีทา จะเห็นว่าอันตรภาคชั้น 38-42 มีความถี่เท่ากับ 10 ซึ่งมากกว่าอันตรภาคชั้นอื่นๆ
12. ตอบข้อ 2
วิธีทา
อันตรภาคชั้น ความถี่ ความถี่สะสม
23-27 2 2
28-32 3 5
33-37 5 10
38-42 10 20
43-47 7 27
48-52 8 35
53-57 3 38
58-62 2 40
จากตารางช่องความถี่สะสม อันตรภาคชั้น 38-42 มีความถี่สะสมเท่ากับ 20
15

13. ตอบข้อ 3
วิธีทา จะเห็นว่าความถี่สะสมของอันตรภาคชั้น 53-57 เท่ากับ 38
14. ตอบข้อ 3
วิธีทา จะเห็นว่าความถี่สะสมของอันตรภาคชั้น 43-47 เท่ากับ 27
15. ตอบข้อ 2
วิธีทา จากข้อมูลที่กาหนดให้ นามาสร้างตารางแจกแจงความถี่ได้ดังนี้
อันตรภาคชั้น ความถี่
3-5 8
6-8 4
9-11 19
12-14 9
จากตารางจะได้ว่า จานวนครอบครัวที่เลี้ยงสุกรอย่างน้อย 6 ตัว
เท่ากับ 4 + 19 + 9 = 32 ครอบครัว
16. ตอบข้อ 1
วิธีทา จะได้จานวนครอบครัวที่เลี้ยงสุกรอย่างมาก 11 ตัว
เท่ากับ 8 + 4 + 19 = 31 ครอบครัว
17. ตอบข้อ 2
วิธีทา จะได้จานวนครอบครัวที่เลี้ยงสุกรไม่ต่ากว่า 9 ตัว
เท่ากับ 19 + 9 = 28 ครอบครัว
18. ตอบข้อ 4
วิธีทา จะได้จานวนครอบครัวที่เลี้ยงสุกรไม่เกิน 8 ตัว
เท่ากับ 8 + 4 = 12 ครอบครัว
19. ตอบข้อ 4
วิธีทา จะได้จานวนครอบครัวที่เลี้ยงสุกรต่ากว่า 6 ตัว แต่ไม่เกิน 11 ตัว
เท่ากับ 4 + 19 = 23 ครอบครัว
20. ตอบข้อ 3
วิธีทา ก. ผิด เนื่องจากแกนตั้งของฮิสโทแกรมแสดงความถี่ของข้อมูลในแต่ละอันตรภาคชั้น ส่วนแกนนอน
แสดงความกว้างของแต่ละอันตราคชั้น
ข. ถูกต้อง
21. ตอบข้อ 3
วิธีทา นักเรียนชั้น ม.6 ของโรงเรียนแห่งนี้มีทั้งหมด 30 + 50 + 55 + 45 + 35 = 215 คน
16

22. ตอบข้อ 3
วิธีทา พิจารณาอันตรภาคชั้นที่มีจุดกึ่งกลางชั้นเท่ากับ 32 ซึ่งก็คืออันตรภาคชั้น 30-34 มีความกว้าง
ของอัน ตรภาคชั้น เท่ ากับ 34.5 – 29.5 = 5 (โจทย์กาหนดแต่ ล ะอั นตรภาคชั้ น มีค วามกว้าง
เท่ากัน)
23. ตอบข้อ 3
วิธีทา จากฮิสโทแกรม ช่วงคะแนน 40-44 มีความถี่สูงที่สุด แสดงว่านักเรียนส่วนใหญ่สอบได้คะแนน
ในช่วง 40-44
24. ตอบข้อ 1
วิธีทา อันตรภาคชั้นที่มีความถี่น้อยที่สุดคืออันตรภาคชั้นที่มีจุดกึ่งกลางชั้นเท่ากับ 32 ซึ่งก็คืออันตรภาคชั้น
30-34 ซึ่งมีขอบบนเท่ากับ 34.5
25. ตอบข้อ 3
วิธีทา อันตรภาคชั้นที่มีความถี่มากที่สุดคืออันตรภาคชั้นที่มีจุดกึ่งกลางชั้นเท่ากับ 42 ซึ่งก็คืออันตรภาคชั้น
40-44 ซึ่งมีขอบบนเท่ากับ 44.5
26. ตอบข้อ 2
วิธีทา อั น ตรภาคชั้ น ที่ มี ค วามถี่ เท่ ากั บ 35 คื อ อั น ตรภาคชั้ น ที่ มี จุ ด กึ่ งกลางชั้ น เท่ า กั บ 52 ซึ่ งก็ คื อ
อันตรภาคชั้น 50-54 ซึ่งมีขอบล่างเท่ากับ 49.5
27. ตอบข้อ 4
วิธีทา จากแผนภาพต้น-ใบ น้าหนักมากที่สุดคือ 59 กิโลกรัม และน้าหนักน้อยที่สุดคือ 22 กิโลกรัม
ดังนั้น พิสัย = 59 – 22 = 37 กิโลกรัม
28. ตอบข้อ 2
วิธีทา น้าหนักที่น้อยที่สุดคือ 22 กิโลกรัม ซึ่งมีความถี่เท่ากับ 2
29. ตอบข้อ 3
วิธีทา น้าหนักที่มากที่สุดคือ 59 กิโลกรัม ซึ่งมีความถี่เท่ากับ 3
30. ตอบข้อ 1
วิธีทา จากแผนภาพต้น-ใบ จะได้ว่า
ช่วงน้าหนัก 20-29 มีความถี่เท่ากับ 4
ช่วงน้าหนัก 30-39 มีความถี่เท่ากับ 6
ช่วงน้าหนัก 40-49 มีความถี่เท่ากับ 3
ช่วงน้าหนัก 50-59 มีความถี่เท่ากับ 7
ดังนั้น เด็กกลุ่มนี้มีทั้งหมด 4 + 6 + 3 + 7 = 20 คน
17

31. ตอบข้อ 1
วิธีทา จากแผนภาพต้น-ใบ จะได้ว่า
ช่วงน้าหนัก 20-29 มีความถี่เท่ากับ 4
ช่วงน้าหนัก 30-39 มีความถี่เท่ากับ 6
ดังนั้น เด็กที่มีน้าหนักน้อยกว่า 40 กิโลกรัม มี 10 คน
32. ตอบข้อ 4
วิธีทา จากแผนภาพต้น-ใบ เด็กที่มีน้าหนักเกิน 45 กิโลกรัม มีน้าหนัก 48, 50, 50, 51, 56, 59, 59, 59
รวมมี 8 คน
33. ตอบข้อ 1
วิธีทา X = 2.5  4  3.5  7  8.5  4.5
6
= 30
6
= 5
34. ตอบข้อ 2
วิธีทา จากแผนภาพต้น-ใบ จะได้ข้อมูลเรียงจากน้อยไปมากดังนี้
13 13 15 18 20 25 26 34 34 34 36 37 40 41 49
15
 xi
จะได้ X = i  1 = 435 = 29
15 15
35. ตอบข้อ 4
วิธีทา พิสัย = ข้อมูลที่มีค่ามากที่สุด – ข้อมูลที่มีค่าน้อยที่สุด
= 49 – 13
= 36
36. ตอบข้อ 3
วิธีทา เนื่องจากจานวนข้อมูลทั้งหมดเท่ากับ 15 ซึ่งเป็นจานวนคี่ มัธยฐานคือข้อมูลที่อยู่ตาแหน่งตรงกลาง
เมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก
13 13 15 18 20 25 26 34 34 34 36 37 40 41 49
มัธยฐาน
37. ตอบข้อ 3
วิธีทา เนื่องจาก 34 เป็นข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุด
ดังนั้น ฐานนิยมคือ 34
38. ตอบข้อ 2
วิธีทา จากแผนภาพต้น-ใบ คะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์ในช่วง 20-29 มีความถี่มากที่สุด
ดังนั้น คะแนนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนส่วนใหญ่จึงอยู่ในช่วง 20-29 คะแนน
18

39. ตอบข้อ 3
วิธีทา จากแผนภาพต้น-ใบ คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ในช่วง 30-39 มีความถี่มากที่สุด
ดังนั้น คะแนนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนส่วนใหญ่จึงอยู่ในช่วง 30-39 คะแนน
40. ตอบข้อ 2
วิธีทา จากแผนภาพต้น-ใบ คะแนนสูงสุดของวิชาวิทยาศาสตร์คือ 46 คะแนน
คะแนนสูงสุดของวิชาคณิตศาสตร์คือ 48 คะแนน
ดังนั้น คะแนนสูงสุดของทั้งสองรายวิชานี้ต่างกัน 48 – 46 = 2 คะแนน
41. ตอบข้อ 1
วิธีทา จากแผนภาพต้น-ใบ จะได้ข้อมูลคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์เรียงจากน้อยไปมากดังนี้
11 13 18 19 24 24 25 28 28 30
31 33 33 33 35 36 42 44 45 48
20
 xi
Xคณิต = i 1
= 600 = 30
20 20
42. ตอบข้อ 4
วิธีทา จากแผนภาพต้น-ใบ จะได้ข้อมูลคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์เรียงจากน้อยไปมากดังนี้
13 15 16 16 17 22 24 24 24 28
29 29 32 36 37 40 43 44 45 46
20
 xi
Xวิทย์ = i 1
= 580 = 29
20 20
43. ตอบข้อ 3
วิธีทา เนื่องจากจานวนข้อมูลทั้งหมดเท่ากับ 20 ซึ่งเป็นจานวนคู่ มัธยฐานคือค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลคู่
ที่อยู่ตรงกลางเมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก
13 15 16 16 17 22 24 24 24 28 29 29 32 36 37 40 43 44 45 46
ข้อมูลคู่ที่อยู่ตรงกลาง
ดังนั้น มัธยฐานคือ 28  29 = 28.5
2
44. ตอบข้อ 2
วิธีทา เนื่องจากจานวนข้อมูลทั้งหมดเท่ากับ 20 ซึ่งเป็นจานวนคู่ มัธยฐานคือค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลคู่
ที่อยู่ตรงกลางเมื่อเรียงข้อมูลจากน้อยไปมาก
11 13 18 19 24 24 25 28 28 30 31 33 33 33 35 36 42 44 45 48
ข้อมูลคู่ที่อยู่ตรงกลาง

ดังนั้น มัธยฐานคือ 30  31 = 30.5


2
19

45. ตอบข้อ 2
วิธีทา จากข้อมูลคะแนนสอบวิชาวิทยาศาสตร์จะเห็นว่า 24 เป็นข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุด
ดังนั้น ฐานนิยมคือ 24
46. ตอบข้อ 3
วิธีทา จากข้อมูลคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์จะเห็นว่า 33 เป็นข้อมูลที่มีความถี่มากที่สุด
ดังนั้น ฐานนิยมคือ 33
47. ตอบข้อ 1
วิธีทา จากโจทย์ Xผิด = 20 โดยกรอกข้อมูลเป็น 14.5 ซึ่งน้อยกว่าความเป็นจริงอยู่ 2 คะแนน แสดงว่า
ข้อมูลที่ถูกต้องคือ 14.5 + 2 = 16.5
ดังนั้น Xถูก = Xผิด – ข้อมูลเฉลี่ยที่ผิด + ข้อมูลเฉลี่ยที่ถูก
= 30 – 14.5 + 16.5
20 20
= 30 + 2
20
= 30 + 0.1
= 30.1
48. ตอบข้อ 4
วิธีทา จากโจทย์ Xผิด = 24.75 กรอกข้อมูลผิดไป 2 รายการ คือ 15 และ 26 โดยกรอกผิดเป็น 18 และ
28 ตามลาดับ
Xถูก = Xผิด – ข้อมูลเฉลี่ยที่ผิด + ข้อมูลเฉลี่ยที่ถูก
24.5 = 24.75 – 18 – 28 + 15 + 26
n n n n
24.5 = 24.75 – 5
n
0.25 = 5
n
n = 20
ดังนั้น ข้อมูลชุดนี้มี 20 จานวน
49. ตอบข้อ 2
วิธีทา เมื่อนาข้อมูลแต่ละตัวมาบวกด้วย 3 จะได้
Xชุดทีส่ อง = Xชุดทีห่ นึ่ ง + 3
= 35 + 3
= 38
20

50. ตอบข้อ 3
วิธีทา เมื่อนาข้อมูลแต่ละตัวคูณด้วย 4 แล้วบวกด้วย 6 จะได้
Xชุดทีส่ อง = ( Xชุดทีห่ นึ่ ง  4) + 6
= (42  4) + 6
= 174
51. ตอบข้อ 3
วิธีทา X = (3a  2)  (4a  3)  4a  (5a  1)  (7a  4)
5
25 = 23a  10
5
125 = 23a + 10
115 = 23a
a = 5
52. ตอบข้อ 1
วิธีทา เนื่องจากข้อมูลมี 10 จานวน ซึ่งเป็นจานวนคู่ จะได้มัธยฐาน = b  c
2
โจทย์กาหนด a  b  c = 22 ซึ่งมากกว่า a อยู่ 4 คะแนน จะได้ a = 18 คะแนน
3
จาก a  b  c = 22
3
จะได้ a + b + c = 66
18 + b + c = 66
b + c = 48
ดังนั้น มัธยฐาน = b  c = 48 = 24
2 2
53. ตอบข้อ 2
วิธีทา ข้อมูลที่กาหนดให้เป็นลาดับเลขคณิต มี a1 = 3, d = 5
จากสูตร an = a1 + (n – 1)d
138 = 3 + (n – 1)(5)
135 = n – 1
5
n = 28
แสดงว่าข้อมูลชุดนี้มี 28 จานวน
21

จากสูตรผลบวกของอนุกรมเลขคณิต
Sn = n (a1  an )
2
20
 xi
i 1
จะได้ = S28
20
= 28 (3  138)
2
= 1,974
ดังนั้น X = 1974
28
= 70.5
54. ตอบข้อ 4
k
 fi x i
i 1
วิธีทา จากสูตร X = k
 fi
i 1

xi 45 48 50 52 55 60 รวม
fi 2 6 5 8 7 2 30
fixi 90 288 250 416 385 120 1,549
ดังนั้น X = 1549  51.6
30
55. ตอบข้อ 2
วิธีทา X = abc de f
6
55 = a  b  c  d  e  f
6
a + b + c + d + e + f = 55  6
= 330
56. ตอบข้อ 1
วิธีทา ให้เมธีสอบครั้งที่ 5 ได้คะแนน x คะแนน, X = 42.6
X = 38  45  48  42  x
5
42.6 = 173  x
5
213 = 173 + x
x = 40
ดังนั้น เมธีจะต้องสอบครั้งที่ 5 ให้ได้คะแนน 40 คะแนน
22

57. ตอบข้อ 4
n1X1  n2 X 2  n3 X 3
วิธีทา Xรวม =
n1  n2  n3
= 4(80)  6(70)  2(50)
462
= 840
12
= 70
58. ตอบข้อ 3
วิธีทา
คะแนน (xi) ความถี่ (fi) fixi
65 8 520
70 6 420
75 9 675
รวม 23 1,615

ดังนั้น X = 1615  70.22


23
59. ตอบข้อ 1
w x w x w x w x
วิธีทา Xถ่วงน้าหนัก = 1 1 2 2 3 3 4 4
w1  w2  w3  w4
= 15(42)  25(45)  30(35)  30(46)
15  25  30  30
= 630  1125  1050  1380
100
= 4185
100
= 41.85
ดังนั้น นฤมลได้คะแนนเฉลี่ย 41.85 คะแนน
60. ตอบข้อ 1
n1X1  n2 X2  n3 X3
วิธีทา Xรวม =
n1  n2  n3
= 32(55)  40(45)  38(58)
32  40  38
= 1760  1800  2204
110
= 5764
110
= 52.40
23

61. ตอบข้อ 4
วิธีทา
อุณหภูมิ ความถี่สะสม ความถี่
–3 5 5
–2 8 3
–1 11 3
1 15 4
2 21 6
3 30 9
จากตาราง อุณหภูมิ 3C มีความถี่มากที่สุด ดังนั้น ฐานนิยมคือ 3C
62. ตอบข้อ 3
วิธีทา
xi fi fixi
–3 5 –15
–2 3 –6
–1 3 –3
1 4 4
2 6 12
3 9 27
 fi = 30  fixi = 19
ดังนั้น X =  i i = 19
fx
 0.63
 fi 30
63. ตอบข้อ 3
วิธีทา
xi fi ความถี่สะสม
–3 5 5
–2 3 8
–1 3 11
1 4 15
2 6 21
3 9 30
เนื่องจากจานวนข้อมูลที่เรียงจากค่าน้อยที่สุดไปมากที่สุดเป็นจานวนคู่
ตาแหน่งของมัธยฐานคือ N  1 เมื่อ N แทนจานวนข้อมูล
2
จะได้ตาแหน่งของมัธยฐานคือ 30  1 = 15.5
2
ดังนั้น มัธยฐานคือ 1  2 = 1.5
2
24

64. ตอบข้อ 3
วิธีทา พิสัย = ข้อมูลที่มีค่าสูงที่สุด – ข้อมูลที่มีค่าต่าที่สุด
= 3 – (–3)
= 6
65. ตอบข้อ 2
วิธีทา ให้นักเรียนกลุ่มนี้มี N คน สร้างตารางเพิ่มได้ดังนี้
คะแนน 33 34 35 36 37
ร้อยละของความถี่สะสมสัมพัทธ์ 10 30 60 80 100
ความถี่สะสมสัมพัทธ์ 0.1 0.3 0.6 0.8 1.0
ความถี่สัมพัทธ์ 0.1 0.2 0.3 0.2 0.2
ความถี่ 0.1N 0.2N 0.3N 0.2N 0.2N
จากตาราง ความถี่สัมพัทธ์ของคะแนน 36 เท่ากับ 0.2
66. ตอบข้อ 2
วิธีทา จากตารางพบว่า
ความถี่สัมพัทธ์ของคะแนน 34 เท่ากับ 0.2
ความถี่สัมพัทธ์ของคะแนน 37 เท่ากับ 0.2
จะได้ a = 0.2 และ b = 0.2
ดังนั้น a + b = 0.2 + 0.2 = 0.4
67. ตอบข้อ 3
วิธีทา จะเห็นว่า คะแนน 35 มีความถี่มากที่สุด
ดังนั้น ฐานนิยมคือ 35
68. ตอบข้อ 1
วิธีทา จากตาราง จะได้
คะแนนสอบเฉลี่ย = 33(0.1N)  34(0.2N)  35(0.3N)  36(0.2N)  37(0.2N)
N
= 3.3N  6.8N  10.5N  7.2N  7.4N
N
= 35.2N
N
= 35.2
69. ตอบข้อ 3
วิธีทา ถ้ามีค่าใดค่าหนึ่ งของข้อมูลเปลี่ยนไปจะทาให้ ผลรวมของข้อมูลเปลี่ยนไป ซึ่งจะทาให้ค่าเฉลี่ยเลข
คณิตเปลี่ยนไปด้วยอย่างแน่นอน ส่ วนฐานนิยม มัธยฐาน และพิสัย อาจเปลี่ยนไปหรือมีค่าเท่า
เดิมก็ได้ เช่น ข้อมูล 12, 15, 18, 18, 22 ถ้าข้อมูล 15 เปลี่ยนเป็น 13 จะเห็นว่าฐานนิยม มัธย
ฐาน และพิสัยยังมีค่าเท่าเดิม มีเพียงค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่เปลี่ยนไป
25

70. ตอบข้อ 4
วิธีทา ให้ข้อมูลทั้ง 10 จานวนเรียงจากน้อยไปมากคือ a, b, c, d, e, f, g, h, i, j
จากโจทย์จะได้ว่า abc d = 4
4
a + b + c + d = 16 …..(1)
และ g  h  i  j = 14
4
g + h + i + j = 56 …..(2)
และ a  b  c  d  e  f  g  h  i  j = 8.6
10
(a + b + c + d) + e + f (g + h + i + j) = 86
จาก (1) และ (2) จะได้ 16 + e + f + 56 = 86
e + f = 14
เนื่องจากข้อมูลมี 10 ตัว ซึ่งเป็นจานวนคู่
ดังนั้น มัธยฐาน = e  f = 14 = 7
2 2
71. ตอบข้อ 4
วิธีทา เนื่องจากข้อมูลชุดนี้มีฐานนิยมเพียง 1 ค่า ซึ่งทาให้ a เป็นไปได้ 3 กรณี คือ
กรณีที่ 1 a = 5 จะทาให้มัธยฐานเท่ากับ 9
กรณีที่ 2 a = 9 จะทาให้มัธยฐานเท่ากับ 9
กรณีที่ 3 a = 13 จะทาให้มัธยฐานเท่ากับ 9
พบว่ามีกรณีที่ 3 เป็นเพียงกรณีเดียวที่ทาให้มัธยฐานน้อยกว่าฐานนิยม
จะได้ข้อมูลชุดนี้คือ 4, 5, 5, 9, 9, 13, 13, 13, 18
ดังนั้น X = 4  5  5  9  9  13  13  13  18
9
= 89
9
 9.89
72. ตอบข้อ 3
N
 x 2i
i 1
วิธีทา จากสูตร  2 =  2
N
5
 (x i  6)2 = 40
i 1
5
 (x 2i  12x i  36) = 40
i 1
26

5 5
 x 2i 12 x i  36(5) = 40
i 1 i 1
5 5
 x 2i 12 x i  180 = 40 …..(1)
i 1 i 1
5
 xi
i 1
โจทย์กาหนด  = 8 = 8
5
5
 xi = 40
i 1
5
แทนใน (1) ;  x 2i 12(40)  180 = 40
i 1
5
 x 2i = 340
i 1

ดังนั้น 2 = 340  82
5
= 4

73. ตอบข้อ 1
วิธีทา ให้จานวนพนักงานชายเท่ากับ a คน
จานวนพนักงานหญิงเท่ากับ b คน
n X n X
จากสูตร Xรวม = 1 1 2 2
n1  n2
โจทย์กาหนด Xรวม = 15,000 บาท
Xชาย = 18,000 บาท
Xหญิง = 14,100 บาท
แทนในสูตร Xรวม จะได้ 15,000 = 18000a  14100b
ab
15,000a + 15,000b = 18,000a + 14,100b
900b = 3,000a
a = 900
b 3000
= 3
10
ดังนั้น อัตราส่วนของจานวนพนักงานชายต่อพนักงานหญิงเท่ากับ 3 : 10
27

74. ตอบข้อ 4
วิธีทา จากโจทย์ y มีค่าเป็น 118, 124, 122, 120, 134, 138
จะได้ว่า y = 118  124  122  120  134  138
6
= 756
6
= 126
จากความสัมพันธ์ y = 1 x  50
6
จะได้ว่า Y = 1 X  50
6
126 = 1 X  50
6
76 = 1 X
6
X = 456
ดังนั้น ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของต้นทุนการผลิตพัดลมทั้ง 6 ตัว เท่ากับ 456 บาท
75. ตอบข้อ 4
วิธีทา จากแผนภาพต้น-ใบ ได้ข้อมูลเรียงจากน้อยไปมากได้ดังนี้
30 32 34 41 41 43 44 52 55 56
10
 xi
X = i  1 = 42.8
10
มัธยฐาน = 41  43 = 42
2
ฐานนิยม = 41
ดังนั้น ฐานนิยม < มัธยฐาน < ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
76. ตอบข้อ 1
วิธีทา เรียงข้อมูลจากน้อยไปมากได้ดังนี้
44 49 50 53 57 61 65 72 77
P20อยู่ในตาแหน่งที่ 20 (9  1) = 2
100
ข้อมูลในตาแหน่งที่ 2 คือ 49
ดังนั้น P20 = 49
28

77. ตอบข้อ 3
วิธีทา P45 อยู่ในตาแหน่งที่ 45 (9  1) = 4.5
100
ข้อมูลในตาแหน่งที่ 4 คือ 53 และข้อมูลในตาแหน่งที่ 5 คือ 57
ตาแหน่งเพิ่มขึ้น 5 – 4 = 1 ตาแหน่ง ค่าของข้อมูลเพิ่มขึ้น 57 – 53 = 4
ตาแหน่งเพิ่มขึ้น 4.5– 4 = 0.5 ตาแหน่ง ค่าของข้อมูลเพิ่มขึ้น 4  0.5 = 2
ดังนั้น P45 = 53 + 2 = 55
78. ตอบข้อ 3
วิธีทา P68 อยู่ในตาแหน่งที่ 68 (9  1) = 6.8
100
ข้อมูลในตาแหน่งที่ 6 คือ 61 และข้อมูลในตาแหน่งที่ 7 คือ 65
ตาแหน่งเพิ่มขึ้น 7 – 6 = 1 ตาแหน่ง ค่าของข้อมูลเพิ่มขึ้น 65 – 61 = 4
ตาแหน่งเพิ่มขึ้น 6.8 – 6 = 0.8 ตาแหน่ง ค่าของข้อมูลเพิ่มขึ้น 4  0.8 = 3.2
ดังนั้น P68 = 61 + 3.2 = 64.2
79. ตอบข้อ 2
วิธีทา นาข้อมูลมาเรียงจากน้อยไปมากจะได้ 20, 24, 25, 26, 29, 31, 33, 35, 38
สมชายสอบได้ 60  40 = 24 คะแนน ซึ่งอยู่ในตาแหน่งที่ 2 ของข้อมูล
100
ตาแหน่งที่ของ Pr = r (N  1)
100
2 = r (9  1)
100
r = 20
ดังนั้น คะแนนสอบของสมชายตรงกับเปอร์เซ็นไทล์ที่ 20
80. ตอบข้อ 2
10
วิธีทา จาก  (x i  3) 2 = 40
i 1
10 10
 x 2i  6 x i  9(10) = 40 .....(1)
i 1 i 1
10
จาก  (x i  5) 2 = 80
i 1
10 10
 x 2i  10 x i  25(10) = 80 .....(2)
i 1 i 1
29

10
(1) – (2); 4 x i  160 = –40
i 1
10
4 x i = 120
i 1
10
 x i = 30
i 1
10
แทนใน (2) จะได้  x 2i  10(30)  250 = 80
i 1
10
นั่นคือ  x 2i = 130
i 1
10
 xi
i 1
และจะได้  =
10
= 30
10
= 3
N
 x 2i
i 1
จากสูตร 2 =  2
N
ดังนั้น 2 =
130  32
10
= 13 – 9
= 4
81. ตอบข้อ 3
N
 (x i   )2
i 1
วิธีทา จากสูตร  =
N
จะได้  = 120
30
= 4
= 2
82. ตอบข้อ 1
วิธีทา X = 753942
6
= 30
6
= 5
30

6
 x 2i = 7 + 5 + 3 + 9 + 4 + 2
2 2 2 2 2 2
i 1

= 49 + 25 + 9 + 81 + 16 + 4
= 184
6
 x 2i
i 1
= 184
n 1 5
6
 x 2i
S = i 1 nX 2
n 1 n 1

= 184  6(5) 2
5 5
= 36.8  30
= 6.8
 2.61
83. ตอบข้อ 4
วิธีทา จากเงื่อนไขที่โจทย์กาหนดจะได้ข้อมูลทั้ง 4 คือ 50, 50, 56, 68
X = 50  50  56  68
4
= 56
n
 (x i  X)2
i 1
จากสูตร S =
n 1

= (50  56)2  (50  56)2  (56  56)2  (68  56)2


4 1
= 36  36  0  144
3
= 72
 8.49
31

84. ตอบข้อ 4
N
 xi
i 1
วิธีทา จาก  =
N
N
จะได้  x i = N
i 1
50
 x i ที่อ่านผิดเท่ากับ 50(6) = 300 อ่านข้อมูลเกินไป 20 – 2 = 18
i 1
50
จะได้  x i ที่ถูกต้องคือ 300 – 18 = 282
i 1

ดังนั้น ค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่ถูกต้องเท่ากับ 282 = 5.64


50
85. ตอบข้อ 1
N
 x 2i
i 1
วิธีทา จากสูตร  =  2
N
50
 x 2i
i 1
ค่าที่อ่านผิด ; 3 =  62
( = 6,  = 3) 50
50
 x2i
i 1
9 =  36
50
50
 x 2i = 2,250
i 1
50
จะได้  x 2i ที่ถูกต้อง = 2,250 – 202 + 22 = 1,854
i 1

ดังนั้น ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานที่ถูกต้อง = 1854  (5.64) 2


50
= 37.08  31.81
= 5.27
 2.30

You might also like