You are on page 1of 63

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์

พื้นฐาน
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3
ภาคเรียนที่ 2
โดย คณาจารย์แม็ค

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2

จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นคำตอบของอสมการ 2x – 5  1 (มฐ. ค 4.2 ม.3/1)
1. x > 3 2. x  3
5
3. x 
2 4. x  3

2. ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นคำตอบของอสมการ 4x – 13 < –1 (มฐ. ค 4.2 ม.3/1)


1. x < 3 2. x > 3
3. x < 4 4. x < 12

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 2
3. ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นคำตอบของอสมการ 5x – 5 < 3x + 3 (มฐ. ค 4.2
ม.3/1)
1. x > 2 2. x > 3
3. x < 4 4. x > 6
4. ข้อความใดต่อไปนีถ
้ ูกต้อง (มฐ. ค 4.2 ม.3/1)
1. ถ้า 3x + 3 > 12 แล้ว x > 6 2. ถ้า 4x + 1 < 13
แล้ว x < 4
3. ถ้า 2 – 3x  –7 แล้ว x  6 4. ถ้า 2x + 13  27 แล้ว x
 7
5. ข้อความใดต่อไปนีถ
้ ูกต้อง (มฐ. ค 4.2 ม.3/1)
1. ถ้า 5x – 2  3x + 10 แล้ว x  5 2. ถ้า 3x – 5  13 –
3x แล้ว x  3
3. ถ้า 4x – 4  2x + 2 แล้ว x  2 4. ถ้า 2x + 13  x+
27 แล้ว x  7
6. จำนวนจริงทุกจำนวนที่มีค่าไม่น้อยกว่า –1 แต่ไม่ถึง 3 เขียนกราฟแสดง
ได้ดังข้อใด (มฐ. ค 4.2 ม.3/1)
1. 2.
–1 –1
3 3
–1 –1
3. 4.
3 3
7. ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นคำตอบของอสมการ 0.2(x – 0.5) – 0.3(x + 1) >
0.04 (มฐ. ค 4.2 ม.3/1)
1. จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่า –3.6 2. จำนวนจริงทุก
จำนวนที่น้อยกว่า –3.6

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 3
3. จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่า –4.4 4. จำนวนจริงทุก
จำนวนที่น้อยกว่า –4.4

8. ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นคำตอบของอสมการ 42m 3m 1  5[3m 2(m 3)]


(มฐ. ค 4.2 ม.3/1)
 
  2

1. จำนวนจริงทุกจำนวนที่มากกว่าหรือเท่ากับ 4 2. จำนวนจริงทุก
จำนวนที่มากกว่าหรือเท่ากับ –4
3. จำนวนจริงทุกจำนวนที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 4 4. จำนวนจริงทุก
จำนวนที่น้อยกว่าหรือเท่ากับ –4
9. คำตอบของระบบสมการ 5x – 2  3x + 8
3x + 8  4x + 11
ที่เป็ นจำนวนเต็มมีทงั ้ หมดกี่จำนวน (มฐ. ค 4.2 ม.3/1)
1. 7 จำนวน 2. 8 จำนวน
3. 9 จำนวน 4. 10 จำนวน
1
10. ถ้า a เป็ นค่าที่น้อยที่สุดของ x จากอสมการ 2(x 4) 2x  5(3 2x)
5x 1 x 2x 11แล้ว
และ b เป็ นค่าที่มากที่สุดของ x จากอสมการ 3

2
(a – b) เท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 4.2 ม.3/1)
1. 9 2. 16
3. 25 4. 36
11. ถ้า x เป็ นจำนวนเต็มที่สอดคล้องกับอสมการ 6x > 45 และ 35 – 3x 

2 และ y เป็ นจำนวนเต็มที่สอดคล้องกับอสมการ 30 + 4y > 2 และ –


10  y – 1 < –5 แล้วค่าของ x + y ที่มากที่สุดเท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 4.2
ม.3/1)
1. 5 2. 6

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 4
3. 7 4. 8
3 1 1  3x 
12. ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นคำตอบของอสมการ 4(x 2) 2(2x 1)  10 2  2  1 (มฐ.

ค 4.2 ม.3/1)
1. x  1 2. x  –1
1 1
3. x 
2 4. x  –2
2 5
13. 3 ของจำนวนจำนวนหนึ่งมากกว่า 7 ของจำนวนจำนวนนัน
้ ลบด้วย 7

จำนวนนัน
้ มีค่าเท่าไร (มฐ. ค 4.2 ม.3/1)
1. น้อยกว่า 147 2. มากกว่า 147
3. น้อยกว่า 157 4. มากกว่า 157
14. สาร A มีแอลกอฮอล์ 40% สาร B มีแอลกอฮอล์ 65% ถ้านำสารทัง้ สอง
มาผสมกันให้ได้สารที่มีแอลกอฮอล์
ไม่เกิน 50% และมีปริมาตร 20 ลิตร จะต้องใช้สาร A อย่างน้อยกี่ลิตร (ม
ฐ. ค 4.2 ม.3/1)
1. 8 ลิตร 2. 10 ลิตร
3. 12 ลิตร 4. 14 ลิตร
15. ผลบวกของจำนวนเต็มคู่สามจำนวนที่เรียงติดกันมีค่าอยู่ระหว่าง 42
และ 120 ผลบวกของจำนวนเต็มคู่สามจำนวนที่มีค่ามากที่สุดมีค่า
มากกว่าผลบวกของจำนวนเต็มคู่สามจำนวนที่มีค่าน้อยที่สุดอยู่เท่าไร (มฐ.
ค 4.2 ม.3/1)
1. 66 2. 68
3. 72 4. 78
16. เรือนำเที่ยวลำหนึ่งมีอัตราเร็วของเรือ 45 กิโลเมตรต่อชั่วโมง มีถังบรรจุ
น้ำมันเชื้อเพลิงที่สามารถแล่นได้ไม่เกิน 10 ชั่วโมง วันหนึ่งเรือลำนีนำ
้ นัก

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 5
ท่องเที่ยวไปตามแม่น้ำสายหนึ่งโดยแล่นทวนน้ำที่มีอัตราเร็ว 18 กิโลเมตร
ต่อชั่วโมง อยากทราบว่าเรือลำนีแ
้ ล่นทัง้ เที่ยวไปและเที่ยวกลับอย่าง
ปลอดภัยได้ระยะทางมากที่สุดกี่กิโลเมตร
(มฐ. ค 4.2 ม.3/1)
1. 189 กิโลเมตร 2. 193 กิโลเมตร
3. 378 กิโลเมตร 4. 386 กิโลเมตร
17. บริษัท ก คิดค่าเช่ารถวันละ 2,450 บาท โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายอื่นๆ อีก
บริษัท ข คิดค่าเช่ารถวันละ 1,100 บาท และคิดค่าเช่าเพิ่มจากระยะทาง
ทีนำ
่ รถไปใช้อีกกิโลเมตรละ 3 บาท ระยะทางที่มากที่สุดที่บริษัท ข คิดค่า
เช่ารถไม่เกินค่าเช่ารถของบริษัท ก ใน 1 วัน เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้ (มฐ. ค
4.2 ม.3/1)
1. 400 กิโลเมตร 2. 430 กิโลเมตร
3. 450 กิโลเมตร 4. 480 กิโลเมตร
18. รูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่งมีด้านทัง้ สามยาว 3x, 4x และ 2x – 3 หน่วย และ
ความยาวของเส้นรอบรูปสามเหลี่ยมรูปนีไ้ ม่เกิน 42 หน่วย x มีค่าเท่าไร
(มฐ. ค 4.2 ม.3/1)
1. 0 < x  3 2. 1 < x  3
3. 1 < x  5 4. 3 < x  5
19. รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งมีด้านยาวยาวกว่าสองเท่าของด้านกว้างอยู่ 3
เซนติเมตร ถ้าเส้นรอบรูปยาวไม่น้อยกว่า 12 เซนติเมตร และไม่เกิน 30
เซนติเมตร ด้านยาวยาวด้านละเท่าไร เมื่อกำหนดให้ x แทนความยาวของ
ด้านกว้าง (มฐ. ค 4.2 ม.3/1)
1. 1  x  4 2. 1  x  5
3. 3  x  6 4. 3  x  7

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 6
20. ต้องการล้อมรัว้ ที่ดินที่อยู่ริมฝั่ งแม่น้ำเป็ นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยมีความ
ยาวของด้านกว้าง x เมตร และพื้นที่ของที่ดินที่ล้อมมีขนาด A ตารางเมตร
ถ้า 4  x  10 แล้วพื้นที่ A มีค่าอยู่ในช่วงใด ถ้าใช้วัสดุทำรัว้ ยาว 80
เมตร (มฐ. ค 4.2 ม.3/1)
1. 100  A  670 2. 100  A  778
3. 120  A  789 4. 120  A  768

21. การกระทำในข้อใดไม่ใช่การทดลองสุ่ม (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)


1. การทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครัง้ 2. การทำข้อสอบปรนัย 4
ตัวเลือก
3. การโยนเหรียญหนึ่งบาท 2 เหรียญ 1 ครัง้ 4. การหยิบ
ตัวอย่างสินค้าเพื่อตรวจสอบคุณภาพ
22. การโยนเหรียญสิบบาท 1 เหรียญ และทอดลูกเต๋า 1 ลูก พร้อมกัน ผล
ทัง้ หมดที่อาจเกิดขึน
้ มีจำนวนเท่าไร (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)
1. 6 2. 8
3. 12 4. 16
23. ถ้าทอดลูกเต๋า 1 ลูก 1 ครัง้ ความน่าจะเป็ นที่ลูกเต๋าจะออกแต้มที่หาร
ด้วย 2 ลงตัว เป็ นเท่าไร (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)
1 2
1. 6 2. 6
3 4
3. 6 4. 6

24. ถ้านาย ก มีโอกาสที่จะสอบวิชาคณิตศาสตร์แล้วได้รับผลการเรียนระดับ


4 เท่ากับ 0.25 แล้วโอกาสที่นาย ก จะสอบไม่ได้ผลการเรียนระดับ 4
เป็ นเท่าไร (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 7
1. 0.05 2. 0.25
3. 0.65 4. 0.75
25. โยนลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน 1 ครัง้ ความน่าจะเป็ นที่จะได้ผลรวมของแต้ม
เป็ น 5 เท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)
1 1
1. 18 2. 12
1 1
3. 9 4. 6

26. เหรียญไม่เที่ยงตรงเหรียญหนึ่งมีโอกาสที่จะออกหัวเป็ น 2 เท่าของการ


ออกก้อย ถ้าโยนเหรียญนี ้ 1 ครัง้ ความน่าจะเป็ นที่เหรียญจะออกก้อย
เท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)
1 1
1. 2 2. 3
2
3. 3 4. 0

27. มีถุง 2 ใบ ถุงใบที่หนึ่งมีลูกแก้วสีแดง 1 ลูก และลูกแก้วสีเหลือง 2 ลูก


ถุงใบที่สองมีลูกแก้วสีแดง 2 ลูก และลูกแก้วสีเหลือง 2 ลูก สุ่มหยิบลูก
แก้วหนึ่งลูกจากถุงใบที่หนึ่งใส่ลงในถุงใบที่สอง แล้วสุ่มหยิบลูกแก้วหนึ่ง
ลูกจากถุงใบที่สอง ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสีเหลืองจากถุงใบที่
สองเท่ากับเท่าไร (ถ้าครัง้ ต่อไปที่สุ่มหยิบลูกแก้วจากถุงใบที่หนึ่งใส่ลงในถุง
ใบที่สอง จะต้องคืนลูกแก้วกลับที่เดิมก่อน) (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)
4 6
1. 15 2. 15
8 10
3. 15 4. 15

28. ใส่บัตรหมายเลข 00, 01, 02, ..., 59 ลงในกล่องทึบแสง แล้วสุ่มหยิบขึน



มา 1 ใบ ความน่าจะเป็ นที่จะได้บัตรที่มีหมายเลขที่หารด้วย 9 แล้วเหลือ
เศษเป็ นจำนวนเฉพาะมีค่าเท่าไร (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 8
7 9
1. 20 2. 20
11 13
3. 20 4. 20

29. กล่องใบหนึง่ มีลูกบอลสีขาว 1 ลูก สีดำ 3 ลูก และสีฟ้า 2 ลูก สุ่มหยิบ


ลูกบอล 2 ลูกพร้อมกัน ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลก
ู บอลสีดำและสีฟ้า
อย่างละ 1 ลูก เท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)
3 1
1. 10 2. 5
2 3
3. 5 4. 5

30. กล่องใบหนึง่ มีลูกบอลขนาดเท่าๆ กัน 10 ลูก เป็ นสีขาว 4 ลูก สีแดง 1


ลูก สีเหลือง 2 ลูก และสีเขียว 3 ลูก สุ่มหยิบลูกบอล 1 ลูก ความน่าจะ
เป็ นที่จะไม่ได้ลูกบอลสีเขียวเท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)
1 3
1. 10 2. 10
7 9
3. 10 4. 10

31. โยนลูกเต๋า 1 ลูก 2 ครัง้ ความน่าจะเป็ นที่จะได้ผลรวมของแต้มที่หาร


ด้วย 3 หรือ 4 ลงตัว มีค่าเป็ นกี่เท่าของความน่าจะเป็ นที่จะได้ผลรวมของ
แต้มที่หารด้วย 3 และ 4 ลงตัว (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)
1. 17 เท่า 2. 18 เท่า
3. 19 เท่า 4. 20 เท่า
32. สมาคมแห่งหนึ่งจัดเลีย
้ งอาหารกลางวันแก่สถานเลีย
้ งเด็กกำพร้า โดยมี
อาหารคาว 2 อย่าง และขนมหวาน 2 อย่าง ความน่าจะเป็ นที่เด็กสองคน
จะเลือกอาหารอย่างเดียวกันทัง้ อาหารคาวและขนมหวานเป็ นเท่าไร ถ้า
เด็ก 1 คน สามารถเลือกอาหารคาวได้เพียงอย่างเดียวและเลือกขนม
หวานได้เพียงอย่างเดียว (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 9
1 1
1. 2 2. 3
1 1
3. 4 4. 6

33. โยนลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน 1 ครัง้ ความน่าจะเป็ นที่ลูกเต๋าลูกแรกจะขึน



แต้ม 6 และลูกเต๋าลูกที่สองไม่ขน
ึ ้ แต้ม 6 เท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 5.2
ม.3/1)
1 2
1. 2 2. 3
1 5
3. 36 4. 36

34. มีเลขโดดอยู่ 4 ตัว คือ 0, 2, 3, 4 ต้องการสร้างจำนวนที่มี 3 หลัก


แต่ละหลักไม่ซ้ำกัน ความน่าจะเป็ นที่จะได้จำนวนที่มีค่าอยู่ระหว่าง 240
และ 420 เป็ นเท่าไร (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)
4 1
1. 9 2. 2
5 2
3. 9 4. 3

35. หมู่บ้านแห่งหนึ่งมีช่างซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้ า 3 คน บ้านของ ก ข และ ค มี


เครื่องใช้ไฟฟ้ าเสียทัง้ 3 หลัง ถ้าโอกาสที่ช่างแต่ละคนจะถูกเรียกไปซ่อม
เท่ากัน ความน่าจะเป็ นที่จะมีช่างเพียง 2 คนเท่านัน
้ ที่ถูกเรียกไปซ่อมเป็ น
เท่าไร (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)
1 1
1. 4 2. 3
2 3
3. 3 4. 4

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 10
36. มีไม้ยาว 1, 2, 3, 4, 5, 6 นิว้ อย่างละท่อนอยู่ในถุง สุ่มหยิบขึน
้ มา 3
ท่อน ความน่าจะเป็ นที่จะนำไม้ 3 ท่อนมาประกอบเป็ นรูปสามเหลี่ยมได้
เท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)
13 11
1. 20 2. 20
9 7
3. 20 4. 20

37. มีไพ่ 4 ใบ มีตัวเลข 1 ถึง 4 สับไพ่ 4 ใบนัน


้ แล้วเรียงหงายทีละใบบน
โต๊ะ ความน่าจะเป็ นที่จะมีเพียง 2 ใบที่วางถูกตำแหน่งมีค่าเท่าไร (วางถูก
ตำแหน่ง หมายถึง ไพ่ตัวเลข 1, 2, 3, 4 วางบนตำแหน่งที่ 1, 2, 3, 4 ตาม
ลำดับ) (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)
1 1
1. 3 2. 4
1 1
3. 6 4. 8

38. สำรวจเด็ก 60 คน พบว่า 45 คน ชอบไปเที่ยวทะเล 32 คนชอบไปเที่ยว


น้ำตก สุ่มเด็กขึน
้ มา 1 คน แล้วความน่าจะเป็ นที่เด็กคนนัน
้ จะชอบไป
เที่ยวทะเลอย่างเดียวเป็ นเท่าไร (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)
3 3
1. 4 2. 10
5 7
3. 12 4. 15

39. สวนสนุกแห่งหนึ่งมีประตูอยู่ 2 ประตู ผู้เข้าเล่นในสวนสนุกจะเข้าออก


ประตูใดก็ได้ เด็กสองกลุ่มเข้ามาเล่นในสวนสนุกนี ้ ความน่าจะเป็ นที่เด็ก
สองกลุ่มนีจ
้ ะเข้าประตูเดียวกัน แต่ออกคนละประตูมีค่าเท่าไร (มฐ. ค 5.2
ม.3/1)
4 5
1. 16 2. 16
6 8
3. 16 4. 16

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 11
40. อั๋นเล่นโยนเหรียญกับออยโดยโยนเหรียญหนึ่งบาท 3 เหรียญ 1 ครัง้
และมีกติกาดังนี ้ ถ้าอั๋นโยนเหรียญแล้วออกหัวเพียงเหรียญเดียวออยจะ
จ่ายเงินให้อั๋น 3 บาท แต่ถ้าเหรียญออกเป็ นอย่างอื่นอั๋นต้องจ่ายเงินให้
ออย 1 บาท ถ้าเล่นแบบนีไ้ ปเรื่อยๆ หลายๆ ครัง้ ข้อความใดต่อไปนีก
้ ล่าว
ถูกต้อง (มฐ. ค 5.2 ม.3/1)
1. ออยมีโอกาสได้เงินมากกว่าอั๋น เฉลี่ยครัง้ ละ 0.25 บาท

2. ออยมีโอกาสได้เงินมากกว่าอั๋น เฉลี่ยครัง้ ละ 0.50 บาท


3. อั๋นมีโอกาสได้เงินมากกว่าออย เฉลี่ยครัง้ ละ 0.25 บาท

4. อั๋นมีโอกาสได้เงินมากกว่าออย เฉลี่ยครัง้ ละ 0.50 บาท


41. ตารางแสดงอายุของนักเรียนชัน
้ ม.3 ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง
ประจำปี การศึกษา 2555 จำนวน 50 คน

อายุ จำนวน
(ปี ) (คน)
10 12
11 21
12 7
13 6
14 4

จำนวนนักเรียนที่มีอายุอยู่ระหว่าง 11 ปี กับ 14 ปี มีกี่คน และคิดเป็ นกี่


เปอร์เซ็นต์ของนักเรียนทัง้ หมด (มฐ. ค 5.1 ม.3/3)
1. 13 คน คิดเป็ น 26% ของนักเรียนทัง้ หมด 2. 17 คน คิด
เป็ น 34% ของนักเรียนทัง้ หมด

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 12
3. 34 คน คิดเป็ น 68% ของนักเรียนทัง้ หมด 4. 38 คน คิด
เป็ น 76% ของนักเรียนทัง้ หมด
42. แผนภูมิรูปวงกลมแสดงจำนวนนักเรียนประจำคณะสีต่างๆ
ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง

สี
20 สีแดง
เขียว 15
สี %
30 สีม่วง
เหลือ สีส้ม %10
% 25 %

%

ถ้ามีนักเรียน 2,000 คน จะมีนักเรียนประจำสีเหลืองมากกว่านักเรียน


ประจำสีม่วงกี่คน (มฐ. ค 5.1 ม.3/3)
1. 150 คน 2. 200 คน
3. 400 คน 4. 600 คน

43. ตารางแจกแจงความถี่ตารางหนึ่งมี 6 อันตรภาคชัน


้ โดยความกว้างของ
แต่ละอันตรภาคชัน
้ เท่ากัน ถ้าจุดกึ่งกลางของอันตรภาคชัน
้ แรกและ
อันตรภาคชัน
้ สุดท้ายมีค่าเป็ น 35 และ 70 ตามลำดับ แล้วอันตรภาคชัน
้ ที่
4 ของตารางนีต
้ รงกับข้อใด (มฐ. ค 5.1 ม.3/3)
1. 52-58 2. 52-57
3. 53-58 4. 53-59
44. ข้อใดต่อไปนีถ
้ ูกต้อง (มฐ. ค 5.1 ม.3/3)

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 13
1. ความกว้างของแท่งสี่เหลี่ยมในฮิสโทแกรมเท่ากับความกว้างของ
อันตรภาคชัน

2. พื้นที่ของรูปหลายเหลี่ยมของความถี่เท่ากับพื้นที่ของแท่งสี่เหลี่ยมในฮิ
สโทแกรมทุกแท่งรวมกัน
3. ความสูงของแท่งสี่เหลี่ยมในฮิสโทแกรมทุกแท่งรวมกันเท่ากับผลรวม
ของความถี่ทงั ้ หมดเมื่อขนาดของ
อันตรภาคชัน
้ ทุกชัน
้ เท่ากัน
4. ถูกต้องทุกข้อ
45. ถ้าอันตรภาคชัน
้ ที่มีจุดกึ่งกลางชัน
้ เป็ น 65.5 และมีความกว้างของ
อันตรภาคชัน
้ เป็ น 18 ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ น
อันตรภาคชัน
้ ดังกล่าว (มฐ. ค 5.1 ม.3/3)
1. 56-73 2. 57-74
3. 58-75 4. 59-76
46. ตารางแสดงคะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียนชัน

ม.3 จำนวน 35 คน

คะแนน 5- 10- 15- 20- 25- 30- 35-


9 14 19 24 29 34 39
จำนวน 2 5 4 8 7 6 3
(คน)

ข้อความใดต่อไปนีไ้ ม่ถูกต้อง (มฐ. ค 5.1 ม.3/3)


1. ความกว้างของอันตรภาคชัน
้ เท่ากับ 4 2. ขอบล่างของ
อันตรภาคชัน
้ 30-34 คือ 29.5

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 14
3. ขอบบนของอันตรภาคชัน
้ 25-29 คือ 29.5 4. จุดกึ่งกลาง
ของอันตรภาคชัน
้ 15-19 คือ 17
47. ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ a – 3, b + 2 และ c + 4 คือ 5 ค่าเฉลี่ย
เลขคณิตของ a + 5, b + 3 และ c + 1 เท่ากับเท่าไร (มฐ. ค 5.1 ม.3/2)
1. 4 2. 5
3. 6 4. 7
48. ถ้า m เป็ นค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูล 25, 23, 24, 27, 30, 23, 29, 39
และ n เป็ นมัธยฐานของข้อมูล 55, 33, 40, 70, 30, 100, 59, 27 แล้ว
3 2 2 3
m – 3m n + 3mn – n มีค่าเท่าไร (มฐ. ค 5.1 ม.3/2)
1. –8,000 2. –800
3. 800 4. 8,000

49. คะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 9 คน รวมกันได้ 315 คะแนน


ถ้ารวมคะแนนของเด็กชายมานะอีกคนหนึ่ง ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของนักเรียน
กลุ่มนีจ
้ ะเพิ่มขึน
้ 3 คะแนน เด็กชายมานะสอบได้กี่คะแนน (มฐ. ค 5.1
ม.3/2)
1. 35 คะแนน 2. 38 คะแนน
3. 65 คะแนน 4. 68 คะแนน
50. ถ้า a เป็ นค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูล 18.4, 19.2, 16.5, 21.1, 13.6
และ b เป็ นมัธยฐานของข้อมูล 4.6, 4.8, 1.2, 2.4 แล้ว a + b มีค่าเท่าไร
(มฐ. ค 5.1 ม.3/2)
1. 14.26 2. 14.76
3. 20.76 4. 21.26

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 15
51. ข้อมูล 2, 2, 3, 4, 4, 4, 5, 5, 6, 9, 12, 18 ถ้า A แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิต
B แทนมัธยฐาน และ C แทนฐานนิยม ข้อใดสรุปถูกต้อง (มฐ. ค 5.1
ม.3/2)
1. A < B 2. C > B
3. A < C 4. B < A
52. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ 7, 5, 8, a เท่ากับ 6 และค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ
15, 26, 35, a และ b เท่ากับ 20 ค่าของ b คือข้อใด (มฐ. ค 5.1 ม.3/2)
1. 4 2. 16
3. 20 4. 24
53. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 20 จำนวน มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ m ถ้าบวกข้อมูล
แต่ละจำนวนด้วย 7 แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลใหม่มีค่าเท่าไร (มฐ.
ค 5.1 ม.3/2)
1. m 2. m + 7
3. m + 10 4. m + 20
54. ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูล a, b, c, d คือ 43 แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ของ a + 5, b + 6, c, d + 9 คือข้อใดต่อไปนี ้ (มฐ. ค 5.1 ม.3/2)
1. 48 2. 63
3. 172 4. 192
55. ข้อมูลชุดหนึ่งหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตได้ 58 ถ้าเพิ่มข้อมูลลงไปอีก 3 จำนวน
คือ 40, 43 และ 51 แล้วจะได้ค่าเฉลี่ยเลขคณิตใหม่เป็ น 54 ข้อมูลชุดแรก
มีกี่จำนวน (มฐ. ค 5.1 ม.3/2)
1. 6 จำนวน 2. 7 จำนวน
3. 8 จำนวน 4. 9 จำนวน

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 16
56. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ a และ b คือ x ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ b และ c
คือ y ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ a และ c คือ z ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ a, b
และ c คือข้อใด (มฐ. ค 5.1 ม.3/2)
1 1
1. 6(x y z) 2. 3(x y z)
1 2
3. 2(x y z) 4. 3(x y z)

57. ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบของนักเรียนห้องหนึ่งเท่ากับ 53
คะแนน จากการตรวจสอบพบว่ามีข้อสอบของนักเรียนอีก 2 คนที่ยังไม่ได้
ตรวจ เมื่อตรวจเสร็จแล้วปรากฏว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิตใหม่เท่ากับ 55
คะแนน และผลรวมของคะแนนสอบเพิ่มขึน
้ อีก 180 คะแนน ห้องเรียนนี ้
มีนักเรียนกี่คน (มฐ. ค 5.1 ม.3/2)
1. 31 คน 2. 33 คน
3. 35 คน 4. 37 คน
58. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 15 จำนวน มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ 10 ต่อมาพบว่า
อ่านข้อมูลจำนวนหนึ่งผิด คืออ่าน 13 เป็ น 18 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตที่ถูกต้อง
คือข้อใด (มฐ. ค 5.1 ม.3/2)
1. 9.17 2. 9.67
3. 10.33 4. 10.67
59. นักเรียน 6 คน สอบวิชาภาษาอังกฤษได้คะแนนเฉลี่ย 30 คะแนน ถ้านำ
คะแนนของนักเรียนอีก 2 คน มารวมจะทำให้คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึน
้ อีก 2
คะแนน ถ้านักเรียน 2 คนนีไ้ ด้คะแนนต่างกัน 4 คะแนน แล้วนักเรียนที่ได้
คะแนนมากกว่าจะสอบได้กี่คะแนน (มฐ. ค 5.1 ม.3/2)
1. 32 คะแนน 2. 36 คะแนน

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 17
3. 40 คะแนน 4. 44 คะแนน
60. ข้อมูลชุดหนึ่งมี 6 จำนวน คือ a, b, 5, 1, 3, 10 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิต
เท่ากับ 5 และมีฐานนิยมเท่ากับ 5 ค่าของ ab คือข้อใด(มฐ. ค 5.1 ม.3/2)
1. 25 2. 30
3. 35 4. 40
61. ผลบวกของจำนวนเต็มคี่สามจำนวนเรียงติดกันมีค่าอยู่ระหว่าง 30 และ
90 ผลบวกของจำนวนเต็มคี่สามจำนวนที่มีค่ามากที่สุดมีค่ามากกว่าผล
บวกของจำนวนเต็มคี่สองจำนวนที่มีค่าน้อยที่สุดอยู่เท่าไร (มฐ. ค 6.1
ม.3/1-6)
1. 47 2. 55
3. 63 4. 67
62. กำลังสองของจำนวนเต็มบวกที่เป็ นจำนวนคี่เรียงติดกัน 3 จำนวน รวม
กันได้ 2,891 จำนวนที่มากที่สุดมีค่าเท่าไร (มฐ. ค 6.1 ม.3/1-6)
1. 29 2. 31
3. 33 4. 37
63. จำนวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 500 และ 700 ที่มีเลขโดดในหลักร้อยน้อยกว่า
เลขโดดในหลักสิบ และเลขโดดในหลักสิบน้อยกว่าเลขโดดในหลักหน่วยมี
กี่จำนวน (มฐ. ค 6.1 ม.3/1-6)
1. 8 จำนวน 2. 9 จำนวน
3. 10 จำนวน 4. 12 จำนวน
64. ให้ x และ y เป็ นจำนวนเต็มบวก ซึ่งหารด้วย 7 แล้วเหลือเศษ 1 และ 3
2 2
ตามลำดับ x + xy + y หารด้วย 7 เหลือเศษเท่าไร (มฐ. ค 6.1 ม.3/1-
6)
1. 1 2. 3

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 18
3. 5 4. 6
65. โรงละครแห่งหนึ่งแถวหน้าสุดมี 20 ที่นั่ง แถวที่สองมี 24 ที่นั่ง แถวที่
สามมี 28 ที่นั่ง ตามลำดับ ซึ่งมีทงั ้ หมด 15 แถว แถวสุดท้ายมีที่นั่งทัง้ หมด
กี่ที่นั่ง (มฐ. ค 6.1 ม.3/1-6)
1. 66 ที่นั่ง 2. 70 ที่นั่ง
3. 72 ที่นั่ง 4. 76 ที่นั่ง
66. มีมะปราง 336 ผล มะกอก 728 ผล และมะขามป้ อม 420 ผล ต้องการ
แบ่งผลไม้ทงั ้ หมดใส่กระจาด โดยที่
แต่ละกระจาดเป็ นผลไม้ชนิดเดียวกันและมีจำนวนผลไม้เท่าๆ กัน แต่ละ
กระจาดจะมีผลไม้ได้มากที่สุดกี่ผล (มฐ. ค 6.1 ม.3/1-6)
1. 25 ผล 2. 26 ผล
3. 28 ผล 4. 30 ผล
67. ในการประชุมวิชาการครัง้ หนึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุม 320 คน เป็ นเพศชาย
มากกว่าเพศหญิง 22 คน การประชุมครัง้ นีม
้ ีเพศชายมาประชุมกี่คน (มฐ.
ค 6.1 ม.3/1-6)
1. 127 คน 2. 149 คน
3. 171 คน 4. 193 คน
68. ตึกสูง 4 เมตร นำบันไดพาดตึกได้พอดีโดยเชิงบันไดทำมุมกับพื้น 60
4 6
เมื่อนำบันไดไปพาดกับกำแพงสูง เมตร จะพาดได้พอดี เชิงบันไดที่
3
พิงกับกำแพงทำมุมกับพื้นกี่องศา (มฐ. ค 6.1 ม.3/1-6)
1. 30 2. 45
3. 60 4. 75

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 19
69. ที่ดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแปลงหนึง่ มีด้านยาวยาวเป็ น 4 เท่าของด้านกว้าง
ถ้าวัดโดยรอบยาว 50 วา แล้วพื้นที่ของที่ดินแปลงนีเ้ ป็ นกี่ตารางเมตร
(มฐ. ค 6.1 ม.3/1-6)
1. 200 ตารางเมตร 2. 300 ตารางเมตร
3. 400 ตารางเมตร 4. 500 ตารางเมตร

70. นักเรียนสองคนยืนอยู่ห่างจากอาคารหอประชุมซึ่งยืนอยู่คนละฝั่ งกัน


และหอประชุมสูง 80 เมตร ทัง้ สองวัดมุมเงยของหอประชุมได้ 30 และ
45 ตามลำดับ นักเรียนสองคนนีย
้ ืนห่างกันกี่เมตร (มฐ. ค 6.1 ม.3/1-6)
1. 180 เมตร 2. 200 เมตร
3. 218.56 เมตร 4. 221.84 เมตร
71. กระดาษสีแผ่นหนึ่งมีด้านกว้าง 24 นิว้ และด้านยาว 30 นิว้ สุรีตัด
กระดาษสีเป็ นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีด้านยาวด้านละ 12 นิว้ 1 รูป และตัด
เป็ นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วที่มีด้านประกอบมุมยอดยาวด้านละ 11 นิว้ 4
รูป แล้วนำมาประกอบกันเป็ นพีระมิด พีระมิดนีม
้ ีปริมาตรกี่ลูกบาศก์นว
ิ้ (
มฐ. ค 6.1 ม.3/1-6)
1. 300 ลูกบาศก์นว
ิ้ 2. 326 ลูกบาศก์นว
ิ้
3. 330 ลูกบาศก์นว
ิ้ 4. 336 ลูกบาศก์นว
ิ้
72. นำโลหะทรงกลมตันเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 18 นิว้ หย่อนลงในอ่าง

น้ำทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากซึ่งมีฐานยาว 322 นิว้ และกว้าง 234 นิว้ น้ำใน


5 7
อ่างจะสูงกว่าระดับเดิมกี่นว
ิ ้ (มฐ. ค 6.1 ม.3/1-6)
1. 3 นิว้ 2. 3.5 นิว้

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 20
3. 4 นิว้ 4. 4.5 นิว้
73. จากรูป ปริมาตรของทรงกลมเป็ นกี่เท่าของปริมาตรของทรงกระบอก
(มฐ. ค 6.1 ม.3/1-6)

 r h

1 2
1. 3 เท่า 2. 3 เท่า
3 5
3. 2 เท่า 4. 2 เท่า

74. จากรูป กรวยสูง 6 นิว้ เส้นผ่านศูนย์กลางยาว 6 นิว้ วางอยู่บนครึ่งทรง


กลมพอดี ปริมาตรทัง้ หมดเป็ น
กี่ลูกบาศก์นว
ิ ้ (มฐ. ค 6.1 ม.3/1-6)

6
นิว้
6
นิว้
1. 20 ลูกบาศก์นว
ิ้ 2. 24 ลูกบาศก์นว
ิ้
3. 30 ลูกบาศก์นว
ิ้ 4. 36 ลูกบาศก์นว
ิ้

75. ถ้า tanA 3 แล้ว 4sin


A 3cos
A
มีค่าเท่าไร (มฐ. ค 6.1
7 5sin
A 2cos
A

ม.3/1-6)
1. 30 2. 31
3. 32 4. 33

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 21
tanA tan B
76. กำหนดให้ tan(A B) 1 tanA tan B เมื่อ A และ B เป็ นขนาดของ
มุมที่มากกว่า 0 และน้อยกว่า 90 ค่าของ tan 75 เท่ากับเท่าไร (มฐ. ค
6.1 ม.3/1-6)
3 1 3 1
1. 3 1 2. 3 1
3 1 3 1
3. 2 4. 2

77. ถ้า sec  = 3 แล้ว cosec  + cot  มีค่าเท่าไร (มฐ. ค 6.1 ม.3/1-6)
1. 2 2. 3
3. 2 2 4. 2 3
78. จากรูป A, B และ C เป็ นจุดยอดมุมของลูกบาศก์ซึ่งมีด้านยาวด้านละ 4
เซนติเมตร ค่าของ cos AB
ˆC คือข้อใด (มฐ. ค 6.1 ม.3/1-6)

A
B
C
6 6
1. 2.
2 3
3 3
3. 4.
2 3
79. ถ้า a และ b เป็ นคำตอบของสมการ
245  1 12 2

xcosec  sec
60  sin60 sec30  x2  tan
260

แล้ว  a b  ab
 

เท่ากับข้อใด (มฐ. ค 6.1 ม.3/1-6)


1. 1 2. 2
3. 3 4. 4
80. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปหนึ่งยาว x หน่วย รูปภายในเกิดจากการลากส่วน
ของเส้นตรงต่อจุดกึ่งกลางของด้านทัง้ สี่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส และทำซ้ำๆ

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 22
กัน จนได้รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปเล็กที่อยู่ภายในมีพ้น
ื ที่ 5 ตารางหน่วย ดัง
รูป ค่าของ x ตรงกับข้อใด (มฐ. ค 6.1 ม.3/1-6)

1. 4 5 หน่วย
x
2. 4 10 หน่วย
3. 5 6 หน่วย
x 4. 10 2 หน่วย

เฉลยละเอียดเฉพาะข้อยาก

1. ตอบข้อ 2
เหตุผล 2x – 5  1
2x  6
x  3
2. ตอบข้อ 1
เหตุผล 4x – 13 < –1
4x < 12
x < 3
3. ตอบข้อ 3
เหตุผล 5x – 5 < 3x + 3
5x < 3x + 8
2x < 8

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 23
x < 4
7. ตอบข้อ 4
เหตุผล 0.2(x – 0.5) – 0.3(x + 1) > 0.04
0.2x – 0.1 – 0.3x – 0.3 > 0.04
–0.1x – 0.4 > 0.04
–0.1x > 0.44
x < – 4.4
8. ตอบข้อ 2
เหตุผล 42m 3 m 1
5[3m – 2(m – 3)]
 
  2 

8m 12 m 1 15m – 10(m – 3)


 2 

8m – 12m – 6  15m – 10m + 30


–4m – 6  5m + 30
–36  9m
m  –4

10. ตอบข้อ 4
1(x 4) 2x
เหตุผล 2  5(3 – 2x)
x  2 2x
2  15 – 10x
x  2x
2  17 – 10x
x  8x
2  17
x 16x
2  17
17x  34

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 24
x  2
จะได้ a = 2
5x 1 x
3  2x – 11
5x 1
3  3x – 11
5x – 1  9x – 33
32  4x
x  8
จะได้ b = 8
2 2
(a – b) = (2 – 8)
2
= (–6)
= 36
2
ดังนัน
้ (a – b) เท่ากับ 36
11. ตอบข้อ 2
เหตุผล จาก 6x > 45
x > 7.5
และ 35 – 3x  2
33  3x
x  11
จะได้ 7.5 < x  11
จาก 30 + 4y > 2
4y > –28
y > –7

และ –10  y–1 < –5

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 25
–10 + 1  y–1+1 < –5 + 1
–9  y < –4
จะได้ –7< y <–4
x+y = 11 + (–5)
= 11 – 5
= 6
ดังนัน
้ ค่าของ x + y ที่มากที่สุด คือ 6
12. ตอบข้อ 3
3(x 2) 1(2x 1) 1  3x 2  1
เหตุผล 4 2   
10 2 
3x 3 x 1 3x 1 1
4 2 2 
20 5
3x x 3x 1 3 1
  1 
4 20 
5 2 2
 8x 2
20  10
–8x  –4
1
x 
2
13. ตอบข้อ 1
เหตุผล ให้ x แทนจำนวนจำนวนหนึ่ง
2x 5x 7
3 > 7
5x 2x
7 > 7 3
15x
 14x
7 > 21
x < 147
14. ตอบข้อ 3
เหตุผล ให้ใช้สาร A จำนวน x ลิตร

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 26
จะใช้สาร B จำนวน 20 – x ลิตร

จำนวน
สาร
แอลกอฮอล์
40x
A 100
65(20 x)
B 100
A+ 50(20)
B 100
40x 65(20 x) 50(20)
อสมการ คือ 100 100 
100
40x + 65(20 – x)  1,000
40x + 1,300 – 65x  1,000
–25x  –300
 300
x 
 25
x  12
ดังนัน
้ จะต้องใช้สาร A อย่างน้อย 12 ลิตร
15. ตอบข้อ 1
เหตุผล ให้จำนวนเต็มคู่สามจำนวนเรียงกันคือ x, x+2 และ x+4
42 < x + (x + 2) + (x + 4) < 120
42 < 3x + 6 < 120
36 < 3x < 114
12 < x < 38
จำนวนเต็มคู่สามจำนวนที่ทำให้ผลบวกมีค่ามากที่สุดคือ 36, 38
และ 40
ผลบวกคือ 36+38+40 = 114
ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 27
จำนวนเต็มคู่สามจำนวนที่ทำให้ผลบวกมีค่าน้อยที่สุดคือ 14, 16
และ 18
ผลบวกคือ 14+16+18 = 48
จะได้ 114 – 48 = 66
ดังนัน
้ ผลบวกของจำนวนเต็มคู่สามจำนวนที่มีค่ามากที่สุด
มากกว่าผลบวกของจำนวนเต็มคู่สาม จำนวนที่มีค่าน้อยที่สุดอยู่ 66
16. ตอบข้อ 3
เหตุผล ให้ s เป็ นระยะทางที่เรือแล่นได้เที่ยวเดียว
t1 เป็ นเวลาที่เรือแล่นตามน้ำ
t2 เป็ นเวลาที่เรือแล่นทวนน้ำ
อัตราเร็วของเรือที่แล่นตามน้ำ
45 + 18 = 63 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
อัตราเร็วของเรือที่แล่นทวนน้ำ
45 – 18 = 27 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
t1  s และ t2  s
63 27
s
 ใช้สูตtร v

 

แต่ t1 + t2  10
s s
จะได้ 63 27  10

189 s  s  189 × 10
 63 27

3s + 7s  1,890
s  189
2s  378
ดังนัน
้ เรือลำนีแ
้ ล่นทัง้ เที่ยวไปและเที่ยวกลับได้ระยะทางมาก
ที่สุด 378 กิโลเมตร

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 28
17. ตอบข้อ 3
เหตุผล ให้ระยะทางที่รถของบริษัท ข แล่นได้ x กิโลเมตรต่อวัน
อสมการคือ 1,100 + 3x  2,450
3x  1,350
x  450
ระยะทางที่รถของบริษัท ข แล่นได้มากที่สุดคือ 450 กิโลเมตรต่อ
วัน จึงจะเสียค่าเช่าไม่เกินค่าเช่ารถของบริษัท ก
18. ตอบข้อ 4
เหตุผล เนื่องจากผลบวกของความยาวของด้านสองด้านของรูปสามเหลี่
ยมใดๆ ย่อมยาวกว่าด้านที่สามของรูปสามเหลี่ยมนัน

จะได้ 3x + 4x > 2x – 3
.....(1)
3x + (2x – 3) > 4x
.....(2)
4x + (2x – 3) > 3x
.....(3)
และ 3x + 4x + (2x – 3)  42
.....(4)
3
จาก (1); x > 
5
จาก (2); x > 3
จาก (3); x > 1
จาก (4); x  5
พิจารณาคำตอบของอสมการจากกราฟดังนี ้

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 29
ดังนัน
้ 3<x  5

23. ตอบข้อ 3
เหตุผล เนื่องจากผลลัพธ์ที่เป็ นไปได้ทงั ้ หมดจากการโยนลูกเต๋า 1 ลูก 1
ครัง้ มี 6 วิธี
จำนวนผลลัพธ์ในเหตุการณ์ที่แต้มหารด้วย 2 ลงตัวมี 3 วิธี ได้แก่
2, 4 และ 6
n(S) = 6
n(E) = 3
3
จะได้ P(E) = 6

ดังนัน
้ ความน่าจะเป็ นที่ลูกเต๋าจะออกแต้มที่หารด้วย 2 ลงตัว
3
เท่ากับ 6

25. ตอบข้อ 3
เหตุผล เนื่องจากผลลัพธ์ที่เป็ นไปได้ทงั ้ หมดจากการโยนลูกเต๋า 2 ลูก
พร้อมกัน 1 ครัง้ มี 36 วิธี
จำนวนผลลัพธ์ในเหตุการณ์ที่ผลรวมของแต้มเป็ น 5 มี 4 วิธี
ได้แก่ (1, 4), (2, 3), (3, 2) และ
(4, 1)
n(S) = 36
n(E) = 4

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 30
4 1
จะได้ P(E) = 36 = 9
1
ดังนัน
้ ความน่าจะเป็ นที่จะได้ผลรวมของแต้มเป็ น 5 เท่ากับ 9

27. ตอบข้อ 3
เหตุผล ถุงใบที่หนึ่งมีลูกแก้ว ด 1, ล 1, ล 2
ถุงใบที่สองมีลูกแก้ว ด 2, ด 3, ล 3, ล 4
ถุง 1 ถุง 2
ด1 ด1
ด2
ด3
ล3
ล4

ล1 ล1
ด2
ด3
ล3
ล4

ล2 ล2
ด2
ด3
ล3
ล4
n(S) = 15

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 31
n(E) = 8
8
จะได้ P(E) = 15

ดังนัน
้ ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกแก้วสีเหลืองจากถุงใบที่สอง
8
เท่ากับ 15

28. ตอบข้อ 2
เหตุผล เนื่องจากผลลัพธ์ที่เป็ นไปได้ทงั ้ หมดจากการสุ่มหยิบบัตรขึน
้ มา 1
ใบ จำนวน 60 วิธี
จำนวนผลลัพธ์ในเหตุการณ์ที่จะได้บัตรที่มีหมายเลขที่หารด้วย 9
แล้วเหลือเศษเป็ นจำนวนเฉพาะมี 27 วิธี ได้แก่ 02, 03, 05, 07, 11, 12,
14, 16, 20, 21, 23, 25, 29, 30, 32, 34, 38, 39, 41, 43, 47, 48, 50,
52, 56, 57 และ 59
n(S) = 60
n(E) = 27
27 9
จะได้ P(E) = 60 = 20

ดังนัน
้ ความน่าจะเป็ นที่จะได้บัตรที่มีหมายเลขที่หารด้วย 9 แล้ว
เหลือเศษเป็ นจำนวนเฉพาะ
9
เท่ากับ 20

29. ตอบข้อ 3
เหตุผล แซมเปิ ลสเปซ (S) คือ ขด 1, ขด 2, ขด 3, ขฟ 1, ขฟ 2, ด 1 ด 2, ด 1 ด 3,
ด 1 ฟ 1, ด 1 ฟ 2, ด 2 ด 3, ด 2 ฟ 1, ด 2 ฟ 2,
ด 3 ฟ 1, ด 3 ฟ 2, ฟ 1 ฟ 2
n(S) = 15

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 32
เหตุการณ์ (E) ทีจ
่ ะหยิบได้ลูกบอลสีดำและสีฟ้าอย่างละ 1 ลูก
คือ ด 1 ฟ 1, ด 1 ฟ 2, ด 2 ฟ 1, ด 2 ฟ 2,
ด 3 ฟ 1, ด 3 ฟ 2
n(E) = 6
6 2
จะได้ P(E) = 15= 5

ดังนัน
้ ความน่าจะเป็ นที่จะหยิบได้ลูกบอลสีดำและสีฟ้าอย่างละ
2
1 ลูก เท่ากับ 5

30. ตอบข้อ 3
เหตุผล เนื่องจากผลลัพธ์ที่เป็ นไปได้ทงั ้ หมดจากการสุ่มหยิบ
ลูกบอล 1 ลูก มี 10 วิธี
จำนวนผลลัพธ์ในเหตุการณ์ที่หยิบไม่ได้ลก
ู บอลสีเขียวมี 7 วิธี
n(S) = 10
n(E) = 7
7
จะได้ P(E) = 10
7
ดังนัน
้ ความน่าจะเป็ นที่จะไม่ได้ลูกบอลสีเขียวเท่ากับ 10

31. ตอบข้อ 4
เหตุผล เนื่องจากผลลัพธ์ที่เป็ นไปได้ทงั ้ หมดจากการโยนลูกเต๋า 1 ลูก 2
ครัง้ มี 36 วิธี
จำนวนผลลัพธ์ในเหตุการณ์ที่จะได้ผลรวมของแต้มที่หารด้วย 3
หรือ 4 ลงตัวมี 20 วิธี ได้แก่

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 33
(1, 2), (1, 3), (1, 5), (2, 1), (2, 2), (2, 4), (2, 6), (3, 1), (3, 3), (3, 5),
(3, 6), (4, 2), (4, 4), (4, 5), (5, 1), (5, 3), (5, 4), (6, 2), (6, 3), (6, 6)
n(S) = 36
n(E1) = 20
20 5
จะได้ P(E2) = 36 = 9

จำนวนผลลัพธ์ในเหตุการณ์ที่จะได้ผลรวมของแต้มที่หารด้วย 3
และ 4 ลงตัวมี 1 วิธี ได้แก่ (6, 6)
n(E2) = 1
1
P(E1) = 36
5 1 5 36
จะได้ 9 36 9 1  20

ดังนัน
้ ความน่าจะเป็ นที่จะได้ผลรวมของแต้มที่หารด้วย 3 หรือ
4 ลงตัว มีค่าเป็ น 20 เท่าของ
ความน่าจะเป็ นที่จะได้ผลรวมของแต้มที่หารด้วย 3 และ 4 ลงตัว
32. ตอบข้อ 3
เหตุผล ให้ A คืออาหารคาวอย่างที่ 1
B คืออาหารคาวอย่างที่ 2
ก คือขนมหวานอย่างที่ 1
ข คือขนมหวานอย่างที่ 2

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 34
เด็ก
คนที่ 1 Aก Aข Bก Bข
เด็กคนที่ 2
Aก *
Aข *
Bก *
Bข *

แซมเปิ ลสเปซ (S) คือ (A ก, A ก), (A ก, A ข), (A ก, B ก), (A ก,


B ข), (A ข, A ก), (A ข, A ข), (A ข, B ก),
(A ข, B ข), (B ก, A ก), (B ก, A ข), (B ก, B ก), (B ก, B ข), (B ข, A ก), (B
ข, A ข), (B ข, B ก), (B ข, B ข)
n(S) = 16
เหตุการณ์ (E) ที่เด็กสองคนจะเลือกอาหารอย่างเดียวกันทัง้
อาหารคาวและขนมหวาน ได้แก่
(A ก, A ก), (A ข, A ข), (B ก, B ก), (B ข, B ข)
n(E) = 4
4 1
จะได้ P(E) = 16= 4

ดังนัน
้ ความน่าจะเป็ นที่เด็กสองคนจะเลือกอาหารอย่างเดียวกัน
ทัง้ อาหารคาวและขนมหวาน
1
เท่ากับ 4

33. ตอบข้อ 4
เหตุผล เนื่องจากผลลัพธ์ที่เป็ นไปได้ทงั ้ หมดจากการโยนลูกเต๋า 2 ลูก
พร้อมกัน 1 ครัง้ มี 36 วิธี

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 35
จำนวนผลลัพธ์ในเหตุการณ์ที่ลูกเต๋าลูกแรกจะขึน
้ แต้ม 6 และ
ลูกเต๋าลูกที่สองไม่ขน
ึ ้ แต้ม 6 มี 5 วิธี ได้แก่ (6, 1), (6, 2), (6, 3), (6, 4),
(6, 5)
n(S) = 36
n(E) = 5
5
P(E) = 36

ดังนัน
้ ความน่าจะเป็ นที่ลูกเต๋าลูกแรกจะขึน
้ แต้ม 6 และลูกเต๋า
5
ลูกที่สองไม่ขน
ึ ้ แต้ม 6 เท่ากับ 36

34. ตอบข้อ 2
เหตุผล เนื่องจากผลลัพธ์ที่เป็ นไปได้ทงั ้ หมดจากการสร้างจำนวนที่มี 3
หลัก แต่ละหลักไม่ซ้ำกัน มี 18 วิธี
จำนวนผลลัพธ์ในเหตุการณ์ที่จะได้จำนวนที่มีค่าอยู่ระหว่าง 240
และ 420 มี 9 วิธี ได้แก่ 243, 302, 304, 320, 324, 340, 342, 402,
403
n(S) = 18
n(E) = 9

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 36
9 1
P(E) = 18= 2

ดังนัน
้ ความน่าจะเป็ นที่จะได้จำนวนที่มีค่าอยู่ระหว่าง 240 และ
1
420 เท่ากับ 2

36. ตอบข้อ 4
เหตุผล ไม้ 6 ท่อนยาว 1, 2, 3, 4, 5, 6 นิว้
แซมเปิ ลสเปซ (S) คือ (1, 2, 3), (1, 2, 4), (1, 2, 5), (1, 2, 6),
(1, 3, 4), (1, 3, 5), (1, 3, 6),
(1, 4, 5), (1, 4, 6), (1, 5, 6), (2, 3, 4), (2, 3, 5), (2, 3, 6), (2, 4, 5),
(2, 4, 6), (2, 5, 6), (3, 4, 5),
(3, 4, 6), (3, 5, 6), (4, 5, 6)
n(S) = 20
เหตุการณ์ (E) ทีนำ
่ ไม้ 3 ท่อนมาประกอบเป็ นรูปสามเหลี่ยมได้
คือ (2, 3, 4), (2, 4, 5),
(2, 5, 6), (3, 4, 5), (3, 4, 6), (3, 5, 6), (4, 5, 6)
n(E) = 7
7
จะได้ P(E) = 20

ดังนัน
้ ความน่าจะเป็ นที่จะนำไม้ 3 ท่อนมาประกอบเป็ นรูป
7
สามเหลี่ยมได้ เท่ากับ 20

37. ตอบข้อ 2
เหตุผล ตำแหน่ง 1 2 3 4
3 4 1234
2
4 3 1243

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 37
2 4 1324
1 3
4 2 1342
2 3 1423
4
3 2 1432

3 4 2134
1
4 3 2143
1 4 2314
2 3
4 1 2341
1 3 2413
4
3 1 2431

2 4 3124
1
4 2 3142
1 4 3214
3 2
4 1 3241
1 2 3412

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 38
4
2 1 3421

2 3 4123
1
3 2 4132
1 3 4213
4 2
3 1 4231
1 2 4312
3
2 1 4321
n(S) = 24

เหตุการณ์ (E) ที่วางไพ่ถูกตำแหน่งเพียง 2 ใบ คือ 1243, 1324,


1432, 2134, 3214, 4231
n(E) = 6

จะได้ P(E) = 6 = 1
24 4
ดังนัน
้ ความน่าจะเป็ นที่จะมีเพียง 2 ใบที่วางถูกตำแหน่งเท่ากับ
1
4
40. ตอบข้อ 4

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 39
เหตุผล แซมเปิ ลสเปซ (S) คือ HHH, HHT, HTH, HTT, THH,
THT, TTH, TTT
n(S) = 8
เหตุการณ์ (E) ที่ออกหัวเพียงเหรียญเดียว คือ HTT, THT, TTH
n(E) = 3
3
จะได้ P(E) = 8
3
ความน่าจะเป็ นที่เหรียญออกหัวเพียงเหรียญเดียว คือ 8
5
ความน่าจะเป็ นที่เหรียญออกเป็ นอย่างอื่น คือ 8
 3  5
ค่าคาดหมายที่อั๋นจะได้เงิน =  3     1 
 8  8
9 5
= 8 8
4
= 8
= 0.50
ถ้าเล่นแบบนีไ้ ปเรื่อยๆ หลายๆ ครัง้ โดยเฉลี่ยอั๋นจะได้เงินครัง้ ละ
0.50 บาท
ดังนัน
้ อั๋นมีโอกาสได้เงินมากกว่าออย เฉลี่ยครัง้ ละ 0.50 บาท
41. ตอบข้อ 4
เหตุผล จำนวนนักเรียนที่มีอายุอยู่ระหว่าง 11 ปี กับ 14 ปี มี 21 + 7 +
6 + 4 = 38 คน
นักเรียนทัง้ หมด 50 คน เป็ นนักเรียนที่มีอายุระหว่าง 11 ปี กับ
14 ปี 38 คน
นักเรียนทัง้ หมด 100 คน เป็ นนักเรียนที่มีอายุระหว่าง 11 ปี กับ
38
14 ปี 100

50
 76คน

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 40
ดังนัน
้ จำนวนนักเรียนที่มีอายุอยู่ระหว่าง 11 ปี กับ 14 ปี มี 38
คน และคิดเป็ น 76 เปอร์เซ็นต์ของนักเรียนทัง้ หมด

42. ตอบข้อ 3
เหตุผล มีนักเรียนประจำสีเหลืองมากกว่านักเรียนประจำสีม่วง = 30% –
10% = 20%
นักเรียนทัง้ หมด 100 คน มีนักเรียนประจำสีเหลืองมากกว่าสี
ม่วง 20 คน
มีนักเรียนทัง้ หมด 2,000 คน มีนักเรียนประจำสีเหลืองมากกว่าสี
20
ม่วง 2,000

100
 400
คน

ดังนัน
้ จะมีนักเรียนประจำสีเหลืองมากกว่านักเรียนประจำสีม่วง
400 คน
47. ตอบข้อ 4
Σx
เหตุผล เนื่องจาก X = n
(a 3) (b 2) (c 4)
5 = 3
15 = a–3+b+2+c+4
15 = a+b+c+3
a + b + c= 12 …..(1)
(a 5) (b 3) (c 1) a 5 b 3 c 1
3 = 3

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 41
a b c 9
= 3
12 9
แทนค่า (1) จะได้ = 3
21
= 3
= 7
ดังนัน
้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ a + 5, b + 3 และ c + 1 เท่ากับ 7
48. ตอบข้อ 1
เหตุผล จากข้อมูล 25, 23, 24, 27, 30, 23, 29, 39
Σx
เนื่องจาก X = n
m =
25 23 24 27 30 23 29 39
8
220
m = 8
m = 27.5
จากข้อมูล 55, 33, 40, 70, 30, 100, 59, 27

เรียงลำดับจากน้อยไปมากได้ 27, 30, 33, 40, 55, 59, 70, 100


40 55
มัธยฐาน = 2
95
n = 2
n = 47.5
3 2 2 3 3
m – 3m n + 3mn – n = (m – n)
3
= (27.5 – 47.5)
3
= (–20)

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 42
= –8,000
49. ตอบข้อ 3
Σx
เหตุผล เนื่องจาก X = n
315
ค่าเฉลี่ยของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ = 9
= 35 คะแนน
ให้ Xn แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตเมื่อรวมคะแนนของเด็กชายมานะ
Σx
35 + 3 = 10
Σx
38 = 10
Σx= 380
จะได้ คะแนนของเด็กชายมานะ = 380 – 315
= 65 คะแนน
ดังนัน
้ เด็กชายมานะสอบได้ 65 คะแนน
50. ตอบข้อ 4
เหตุผล จากข้อมูล 18.4, 19.2, 16.5, 21.1, 13.6
Σx
เนื่องจาก X = n
18.4
 19.2
 16.5
 21.1
 13.6
ค่าเฉลี่ย = 5
88.8
a = 5
a = 17.76
จากข้อมูล 4.6, 4.8, 1.2, 2.4
เรียงลำดับจากน้อยไปมากได้ 1.2, 2.4, 4.6, 4.8
2.4
 4.6
มัธยฐาน = 2
7
b = 2

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 43
b = 3.5
a+b = 17.76 + 3.5
= 21.26
ดังนัน
้ a + b มีค่าเท่ากับ 21.26
52. ตอบข้อ 3
Σx
เหตุผล เนื่องจาก X = n
7 5 8 a
6 = 4
24 = 20 + a
a = 4
15 26 35 a b
และ 20 = 5
100 = 76 + a + b
24 = 4+b
b = 20
ดังนัน
้ ค่าของ b คือ 20
54. ตอบข้อ 1
Σx
เหตุผล เนื่องจาก X = n
a b c d
43 = 4
a+b+c+d = 172
…..(1)
(a 5) (b 6) c (d 9)
X = 4
a b c d 20
= 4
172  20
แทน (1) จะได้ X = 4
192
= 4

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 44
= 48
ดังนัน
้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของ a + 5, b + 6, c, d + 9 คือ 48

55. ตอบข้อ 2
เหตุผล ให้ X1 แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดที่ 1
X2 แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดที่ 2
Σx1 แทนผลบวกของข้อมูลชุดที่ 1
Σx2แทนผลบวกของข้อมูลชุดที่ 2
n1 แทนจำนวนข้อมูลของข้อมูลชุดที่ 1
n2 แทนจำนวนข้อมูลของข้อมูลชุดที่ 2
Σx
เนื่องจาก X = n
Σx1
58 = n1
Σx1 = 58n1 .....(1)
Σx2
54 = n2
58n
1  134
แทนใน (1) จะได้ 54 = n1  3
54n1 + 162 = 58n1 + 134
54n1 + 28 = 58n1
28 = 4n1
n1 = 7
ดังนัน
้ ข้อมูลชุดแรกมี 7 จำนวน
57. ตอบข้อ 4
เหตุผล ให้ X1 แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนครัง้ ที่ 1
X2 แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนครัง้ ที่ 2

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 45
Σx1 แทนผลบวกของคะแนนครัง้ ที่ 1
Σx2แทนผลบวกของคะแนนครัง้ ที่ 2
n1 แทนจำนวนนักเรียนครัง้ ที่ 1
n2 แทนจำนวนนักเรียนครัง้ ที่ 2
Σx
เนื่องจาก X= n
Σx1
53 = n1
Σx1 = 53n1 .....(1)
Σx2
55 = n2
Σx1  180
แทนใน (1) จะได้ 55 = n1  2

55n1 + 110 = 53n1 + 180


55n1 = 53n1 + 70
2n1 = 70
n1 = 35
ดังนัน
้ นักเรียนห้องนีม
้ ี 35 + 2 = 37 คน
58. ตอบข้อ 2
เหตุผล ให้ X1 แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดที่อ่านผิด
X2 แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดที่ถูกต้อง
Σx1 แทนผลบวกของข้อมูลชุดที่อ่านผิด
Σx2แทนผลบวกของข้อมูลชุดที่ถูกต้อง
n แทนจำนวนข้อมูล
Σx
เนื่องจาก X = n
Σx1
10 = 15
Σx1 = 150 .....(1)

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 46
X2 = Σx2
n
X2 = Σx1  18 13
15
X2 = 150 5
แทนใน (1) จะได้ 15
X2 =
145
15
= 9.67
ดังนัน
้ ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่ถูกต้อง คือ 9.67
59. ตอบข้อ 3
เหตุผล ให้ X1 แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนครัง้ ที่ 1
X2 แทนค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนครัง้ ที่ 2
Σx1 แทนผลบวกของคะแนนครัง้ ที่ 1
Σx2แทนผลบวกของคะแนนครัง้ ที่ 2
n1 แทนจำนวนนักเรียนครัง้ ที่ 1
n2 แทนจำนวนนักเรียนครัง้ ที่ 2
Σx
เนื่องจาก X= n
Σx1
30 = 6
Σx1 = 180
Σx2
X2 =
n2
Σx2
30 + 2 = 6 2
Σx2
32 = 8
Σx2 = 256
Σx2– Σx1 = 256 – 180
= 76

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 47
ให้ x1 แทนนักเรียนที่ได้คะแนนมากกว่า
x2 แทนนักเรียนที่ได้คะแนนน้อยกว่า
x1 + x 2 = 76 …..(1)
x1– x2 = 4 …..(2)
(1) + (2) ; 2x1 = 80
x1 = 40 คะแนน
ดังนัน
้ นักเรียนที่ได้คะแนนมากกว่าจะสอบได้ 40 คะแนน
60. ตอบข้อ 2
Σx
เหตุผล เนื่องจาก X = n
a b 5 1 3 10
5 = 6
30 = a + b + 19
a + b= 11 …..(1)
จาก ฐานนิยมเท่ากับ 5 จะได้ a หรือ b มีค่าเท่ากับ 5
สมมุติให้ a = 5 จาก (1) จะได้ b = 6
นั่นคือ ab = (5)(6) = 30
ดังนัน
้ ค่าของ ab เท่ากับ 30

61. ตอบข้อ 2
เหตุผล ให้จำนวนเต็มคี่สามจำนวนเรียงติดกันคือ x, x + 2 และ x + 4
30 < x + (x + 2) + (x + 4) < 90
30 < 3x + 6 < 90
24 < 3x < 84
8 < x < 28

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 48
จำนวนเต็มคี่สามจำนวนที่มีค่ามากที่สุดคือ 23, 25 และ 27
ผลบวกคือ 23 + 25 + 27 = 75
ของจำนวนเต็มคี่สองจำนวนที่มีค่าน้อยที่สุดคือ 9 และ 11
ผลบวกคือ 9 + 11 = 20
จะได้ 75 – 20 = 55
ดังนัน
้ ผลบวกของจำนวนเต็มคี่สามจำนวนที่มีค่ามากที่สุดมีค่า
มากกว่าผลบวกของจำนวนเต็มคี่สองจำนวนที่มีค่าน้อยที่สุดอยู่ 55
62. ตอบข้อ 3
เหตุผล ให้จำนวนเต็มคี่สามจำนวนเรียงติดกันคือ x, x + 2 และ x + 4
2 2 2
x + (x + 2) + (x + 4) = 2,891
2 2 2
x + x + 4x + 4 + x + 8x + 16 = 2,891
2
3x + 12x + 20 = 2,891
2
3x + 12x = 2,871
2
x + 4x – 957 = 0
(x – 29)(x + 33) = 0
x = 29, –33
เนื่องจาก x เป็ นจำนวนเต็มบวก จะได้ x = 29
นั่นคือ x+4 = 29 + 4
= 33
ดังนัน
้ จำนวนที่มีค่ามากที่สุด คือ 33
63. ตอบข้อ 2
เหตุผล จำนวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 500 และ 700 ที่มีเลขโดดในหลักร้อย
น้อยกว่าเลขโดดในหลักสิบ ได้แก่ 560, 561, 562, ..., 599 และ 670,
671, 672, ..., 699

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 49
และจำนวนดังกล่าวมีจำนวนที่เลขโดดในหลักสิบน้อยกว่า
เลขโดดในหลักหน่วยมี 9 จำนวน ได้แก่ 567, 568, 569, 578, 579,
589, 678, 679 และ 689

64. ตอบข้อ 4
เหตุผล ให้ m, n เป็ นจำนวนเต็มบวก
ที่ x = 7m + 1
และ y = 7n + 3
2 2 2
x + xy + y = (7m + 1) + (7m + 1)(7n + 3) + (7n
2
+ 3)
2
= 49m + 14m + 1 + 49mn + 21m + 7n +
2
3 + 49n + 42n +9
2 2
= 49m + 49n + 49mn + 35m + 49n + 13
2 2
= 49m + 49n + 49mn + 35m + 49n + 7 +
6
2 2
= 7(7m + 7n + 7mn + 5m + 7n + 1) + 6
2 2
ดังนัน
้ x + xy + y หารด้วย 7 เหลือเศษ 6
65. ตอบข้อ 4
เหตุผล แถวที่ 1 มี 20 ที่นั่ง
แถวที่ 2 มี 20 + 1(4) = 24 ที่นั่ง
แถวที่ 3 มี 20 + 2(4) = 28 ที่นั่ง
แถวที่ 4 มี 20 + 3(4) = 32 ที่นั่ง

แถวที่ 15 มี 20 + 14(4) = 76 ที่นั่ง

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 50
ดังนัน
้ แถวสุดท้ายมีที่นั่งทัง้ หมด 76 ที่นั่ง
66. ตอบข้อ 3
เหตุผล ต้องการจัดผลไม้ใส่กระจาด กระจาดละเท่าๆ กัน แต่ละกระจาด
มีผลไม้ชนิดเดียวกัน หาได้โดยหา ห.ร.ม. ของ 336, 728 และ 420 ดังนี ้
2 ) 336 728 420
2 ) 168 364 210
7 ) 84 182 105
12 26 15
ห.ร.ม. ของ 336, 728 และ 420 คือ 2  2  7 = 28
ดังนัน
้ แต่ละกระจาดจะมีผลไม้ได้มากที่สุด 28 ผล

67. ตอบข้อ 3
เหตุผล ให้ x แทนจำนวนเพศชายที่เข้าร่วมประชุม
จะได้ x – 22 แทนจำนวนเพศหญิงที่เข้าร่วมประชุม
x + (x – 22) = 320
x + x – 22 = 320
2x – 22 = 320
2x = 342
x = 171 คน
ดังนัน
้ การประชุมครัง้ นีม
้ ีเพศชายมาประชุม 171 คน

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 51
68. ตอบข้อ 2
เหตุผล ให้ x แทนความยาวของบันได
4
sin 60 = x
3 4
x = x
4 ม. 2
60 x = 8 เมตร
3

= 8  3 เมตร
3 3

= 8 3 เมตร
3
จะได้บันไดยาว 8 3 เมตร
3
4 6 8 3
sin =
8 3

3 3
4 6 4 6 3
3 =
3 3 8 3
 2
=
2
2
sin45 =
2
 = 45
ดังนัน
้ เชิงบันไดที่พิงกับกำแพงทำมุมกับพื้น 45

69. ตอบข้อ 3
เหตุผล ให้ x แทนความยาวของด้านกว้าง

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 52
จะได้ 4x แทนความยาวของด้านยาว
ความยาวรอบรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า = (2  ความยาวด้านยาว)
+ (2  ความยาวด้านกว้าง)
50 = 2(4x) + 2x
50 = 8x + 2x
50 = 10x
x = 5 วา
ความยาวด้านยาวของที่ดิน 4x = 4  5
= 20 วา
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า = ความกว้าง  ความยาว
พื้นที่ของที่ดิน = 5  20 ตารางวา
= 100 ตารางวา
หรือ = 100  4 ตารางเมตร
= 400 ตารางเมตร
ดังนัน
้ พื้นที่ของที่ดินแปลงนีเ้ ป็ น 400 ตารางเมตร
70. ตอบข้อ 3
เหตุผล D

80
30 ม. 45
A C
B

BD
พิจารณา ABD; tan30 = AB

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 53
1 = 80
3 AB
AB = 80 3
 80 × 1.732
= 138.56 เมตร

BD
พิจารณา BCD; tan45 = BC
80
1 = BC
BC = 80 เมตร
นักเรียนสองคนยืนห่างกัน 138.56 + 80 = 218.56 เมตร
ดังนัน
้ นักเรียนสองคนยืนห่างกัน 218.56 เมตร
71. ตอบข้อ 4
เหตุผล ให้ x แทนความยาวของด้านกว้าง
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ความยาวของด้าน 

ความยาวของด้าน
= 12 12 ตารางนิว้
= 144 ตารางนิว้
จากรูป
11
xx
นิว้
12 นิว้

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 54
หาความสูงของรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว โดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
2 2 2
11 = x +6
2 2 2
x = 11 – 6
= 121 – 36
= 85
x = 85 นิว้
จากรูป

y
85

หาความสูงของพีระมิดโดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
( 85)2 = 2
y +6
2

y
2
= ( 85)2– 62
= 85 – 36
= 49
y = 7 นิว้

ปริมาตรของพีระมิด = 1  พื้นที่ฐาน  ความสูง


3
= 1  144  7 ลูกบาศก์นวิ ้
3
= 336 ลูกบาศก์นว
ิ้
ดังนัน
้ พีระมิดนีม
้ ีปริมาตร 336 ลูกบาศก์นว
ิ้
72. ตอบข้อ 3
4πr3
เหตุผล ปริมาตรของทรงกลม = 3

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 55
ปริมาตรของทรงกลมตัน = 4 22 93 ลูกบาศก์นวิ ้
3 7
= 6 ลูกบาศก์นวิ ้
3,054
7
ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ความกว้าง  ความยาว
 ความสูง
6 =
3,054 234 322  ความสูง
7 7 5
21384= 165 162 ความสูง
7 7 5
21384= 5346 ความสูง
7 7
ความสูง = 21384 
5346นิว้
7 7
21384 7
= 7 5346นิว้

= 4 นิว้
ดังนัน
้ น้ำในอ่างจะสูงกว่าระดับเดิม 4 นิว้
73. ตอบข้อ 3
4πr3
เหตุผล ปริมาตรของทรงกลม = 3
ปริมาตรของทรงกระบอก = πr2h

= πr22r

= 2πr3
ปริมาตรของ
ทรงกลม 4πr3
= 3
ปริมาตรของ
ทรงกระบอก 2πr3
= 2 เท่า
3

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 56
้ ปริมาตรของทรงกลมเป็ น 2 เท่าของปริมาตรของทรง
ดังนัน
3
กระบอก
74. ตอบข้อ 4
1πr2h
เหตุผล ปริมาตรของกรวย = 3
= 1 π  32 6 ลูกบาศก์นวิ ้
3
= 18 ลูกบาศก์นว
ิ้
4πr3
ปริมาตรของทรงกลม = 3
= 4 π  33 ลูกบาศก์นวิ ้
3
= 36 ลูกบาศก์นว
ิ้
ปริมาตรของครึ่งทรงกลม = 36  2 ลูกบาศก์นว
ิ้
= 18 ลูกบาศก์นว
ิ้
ปริมาตรทัง้ หมด = 18 + 18 ลูกบาศก์นว
ิ้
= 36 ลูกบาศก์นว
ิ้
ดังนัน
้ ปริมาตรทัง้ หมดเป็ น 36 ลูกบาศก์นว
ิ้
75. ตอบข้อ 4
3
เหตุผล จาก tan A = 7
3
จะได้ sin A = 58
58
3 7
A cos A = 58
7

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 57
4sinA 3cosA
5sinA 2cosA =
4
 3  
  3
7 


 58
 
 58


5 3   2
  7 


 58


 58

12 21
= 15 14

= 33

76. ตอบข้อ 1
tanA tan
B
เหตุผล จาก tan(A + B)= 1 tanA tan
B

tan75 = (tan 45 + tan 30)


tan45
  tan
30
=

1 tan
45 tan
 30

1 1
3
=
1 (1) 1 
 
 3

1 1
3
=
1 1
3
3 1 3 1
= 3 3
3 1
= 3 1

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 58
77. ตอบข้อ 1

เหตุผล จาก sec  = 3


1
จะได้ cosθ = 3
1
Cos  = 3
จะได้
ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสเพื่อหาด้านที่
3
x เหลือ
2 2 2

3 = x +1
2 2 2
1 x = 3 –1
= 9–1
= 8
x = 2 2

2 2
นั่นคือ sin =

3
1
cosec  = sinθ
3
= 2 2
cosθ
cot  = sinθ
1 2 2
=
3 3
1
= 2 2
3  1
cosec  + cot  = 2 2 2 2

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 59
4
= 2 2
2 2
= 2 2
= 2
78. ตอบข้อ 2
เหตุผล หา BC โดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
2 2 2
BC = 4 +4
= 16 + 16
= 32
BC = 4 2
จาก A หา AB โดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
4 + (4 2)2
2 2
AB =
4
ซม.
= 16 + 32
C B
ซม. = 48
AB = 4 3
4 2
cos
(AB
ˆC) = 4 3
2 3
= 3 3
6
=
3

79. ตอบข้อ 3
245 x2  tan
2 60
เหตุผล xcosec  sec
60  sin60 sec30 = 

= x2  32
 
2 2 2   3  2 
 x
 
 

2    2 3

2
4x + 1 = x +3
2
x – 4x + 2 = 0
ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 60
(x 2 2)(x 2 2) = 0
จะได้ a = 2 2 และ b = 2 2
2 2
 1 1
จาก  a b  ab
 =
 
2
 1 1  2
   
 2 2 2 2 (2 2)(2 2)

2
 (2 2)  (2 2) 
=  1
 (2 2)(2 2) 

2
 4
=   1
 2

= 4–1
= 3
80. ตอบข้อ 2
เหตุผล

จากรูป กำหนดให้หมายเลข , , , ,  และ  ที่กำกับ


ไว้บนด้าน แทนชื่อ
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีด้านนัน
้ เป็ นด้านด้านหนึ่ง
จากรูป รูปสีเ่ หลี่ยมจัตุรัส  มีพ้น
ื ที่ 5 ตารางหน่วย
พื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ความยาวด้าน  ความยาวด้าน
5 = ความยาวด้าน  ความยาวด้าน

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 61
5 = 5 5
2 2
จะได้ 52 = a +a
5 a 5 = 2a
2

5
a a =
2
5 2
= 2 2
10
=
2
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส  มีความยาวด้าน = 2a

= 2 10
2
= 10
2 2
จะได้ 102 = b +b
10 b 2
10 = 2b
2
b b = 5
b = 5
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส  มีความยาวด้าน = 2b
= 2 5
= 2 5
จะได้ (2 5)2 = 2
c +c
2

2 5 c 2
20 = 2c
2
c c = 10
c = 10
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส  มีความยาวด้าน = 2c
= 2 10
= 2 10

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 62
จะได้ (2 10)2 = 2
d +d
2

2 10
d 40 = 2d
2

2
d = 20
d
d = 20
= 2 5

รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส  มีความยาวด้าน = 2d
= 2 2 5

= 4 5
จะได้ (4 5)2 = 2
e +e
2

4 5 e 80 = 2e
2

2
e = 40
e
e = 40
= 2 10
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส  มีความยาวด้าน = 2e
= 2 2 10

= 4 10
ดังนัน
้ ค่าของ x เท่ากับ 4 10 หน่วย

ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์พ้น
ื ฐาน ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 63

You might also like