You are on page 1of 8

เอกสารประกอบการบรรยาย

คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP
ประจาภาคเรียนที่ 2/2550
◙ โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด

14 ◙ สรุปเนื้อหา ม.3
◙ ตัวอย่างข้อสอบ

◙ สอบเข้า ม. 4
พหุนาม
( Polynomials )

อ.วัฒนา เถาว์ทิพย์
◙ ภาควิชาคณิตศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาปีท3ี่ หน้า 1

พหุนาม Note

6 (Polynomials)

◙ สรุปเนื้อหา
1. เอกนาม (Monomial) คือ นิพจน์ทอี่ ยู่ในรูปการคูณของค่าคงตัวกับตัวแปร
ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปโดยเลขชี้กาลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็นศูนย์ หรือจานวนเต็ม
บวก เช่น 12x , 2x3 y 4 , 4x 0
2. ดีกรีและสัมประสิทธ์ของเอกนาม (Degree and coefficient of monomial)
ดีกรีของเอกนาม คือ ผลบวกเลขชี้กาลังของตัวแปรทั้งหมดในเอกนาม เช่น
xy 2 มีดีกรีเท่ากับ 3
สัมประสิทธิ์ของเอกนาม คือ ส่วนที่เป็นค่าคงตัวที่ปรากฎในเอกนาม
3. การบวกและการลบของเอกนาม ให้ใช้กฎการแจกแจง (Distributive Law)
เช่น 4 x 2 y 3  3x 2 y 3  (4  3) x 2 y 3  7 x 2 y 3
หรืออาจกล่าวได้ว่า เป็นการบวกเอกนามที่คล้ายกัน
เอกนามคล้าย คือเอกนามที่มีตัวแปรชุดเดียวกัน และเลขชี้กาลังของแต่ละตัว
แปรเท่ากัน
4. พหุนาม (Polynomial) คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนในรูปเอกนาม หรือผลบวก
ของเอกนามตั้ง 2 เอกนามขึ้นไป เช่น 5, , 4x , 4 x  5 x3
พหุนามในรูปผลสาเร็จ หมายถึง พหุนามที่ไม่มีเอกนามคล้ายกัน
ดีกรีของพหุนาม หมายถึง ดีกรีสูงสุดของเอกนามในพหุนามในรูปผลสาเร็จ
5. การบวกลบพหุนาม ให้นาเอกนามที่คล้ายกันมาบวกลบกัน
6. การคูณพหุนาม ทาได้โดยใช้กฎการแจกแจง
7. การหารพหุนาม ทาได้โดยการตั้งหาร
P( x)
8. เศษจากการหาร จะเหลือเศษเท่ากับ P (a ) และ ถ้า p(a)  0
( x  a)
แสดงว่าการหารลงตัว และจะได้ว่า ( x  a) เป็นตัวประกอบของ P( x)
9. สูตรทางพีชคณิตที่ควรทราบ
9.1 (a  b) 2  a 2  2ab  b 2
9.2 (a  b) 2  a 2  2ab  b 2
9.3 a 2  b2  (a  b)(a  b)
9.4 a 3  b 3  (a  b)(a 2  ab  b 2 )
9.5 a 3  b 3  (a  b)(a 2  ab  b 2 )
9.6 (a  b) 3  a 3  3a 2 b  3ab 2  b 3
9.7 (a  b) 3  a 3  3a 2 b  3ab 2  b 3

เรื่อง พหุนาม (Polynomial) ดร.วัฒนา เถาว์ทิพย์ ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาปีท3ี่ หน้า 2

◙ ตัวอย่างข้อสอบพหุนาม

1. ข้อใดต่อไปนี้เป็นเอกนาม
3 x8
ก.  x 2 y ข.
7 y
ค. 4x 1 ง. 6 x  5 y

2. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ถูกต้อง
5 2 1
ก. ab c กับ 3ab 2 c เป็น ข. 0.35a 2b กับ ab 2 ไม่เป็น
6 2
เอกนามคล้าย เอกนามคล้าย
ค. 5ab2c เป็นเอกนามดีกรี ง. 3 yz  2 yz  yz  5 yz
3 3 3 3

4 มีสัมประสิทธิ์ -5

3. ข้อใดต่อไปนี้เป็นพหุนาม
ก. 3a 4  2 a  2 ข. 2 x 2  5x  1
1 5 3x 2 y
ค. x  x 1 ง. 5 x  2  5
3
2 xy

4. เอกนามในข้อใดมีสัมประสิทธิ์เป็น 18 และดีกรีเป็น 10
ก. (2)(3)2 a3b2c5 ข. (2)(3)2 a3b3c4
ค. (2)(3)2 a 2b3c 4 ง. (2)(3)2 a3b4c3

5. นา x  2 ไปหาร x 5  x 4  x 3  5x  4 จะเหลือเศษเท่าไหร่
ก. 2 ข. 4
ค. 6 ง. 8

6. นา x  3 ไปหาร 2 x 3  mx 2  (6 6  3  6) x  6 3 ลง
ตัว จงหาค่าของ m
ก. 1  6  6 2 ข. 1 6  6 2
ค. 1  6  6 2 ง. 1 6  6 2

7. ถ้านา x  a ไปหาร x 2  5x  5 แล้วเหลือเศษ 9 , a มีค่าเท่าไร


ก. -2, -7 ข. -2, 7
ค. 2, -7 ง. 2, 7

เรื่อง พหุนาม (Polynomial) ดร.วัฒนา เถาว์ทิพย์ ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาปีท3ี่ หน้า 3

8. x 4  2x 3  x 2  1 หารด้วย x 2  x  1 เหลือเศษเท่าไร
ก. 2 ข. 1
ค. 0 ง. -1

9. จะต้องนาจานวนใดมาหักออกจาก x 4  2x 3  x  7 แล้วทาให้ผลลัพธ์
หารด้วย x  2 ลงตัว
ก. -5 ข. -4
ค. 4 ง. 5

10. จะต้องนาค่าใดมาหาร (2x 2  5xy  3y 2 ) 2 ได้ผลหาร


4( x 2  5xy  2 y 2 ) เหลือเศษ y 2 (5x  y) 2
ก. x 2  y 2 ข. x 2  y 2
ค. x 2  y 2  xy ง. x 2  y 2  xy

11. 6x 6  5x 5  11x 4  3x 3  6x 2  x  4 หารด้วย


2x 3  3x 2  5x  4 จะได้เท่ากับเท่าไร
ก. 3x 3  2x 2  x  1 ข. 3x 3  2x 2  x  1
ค. 3x 3  2x 2  x  1 ง. 3x 3  2x 2  x  1

12. 5x 3  29x 2 y  19xy 2  5y 3 หารด้วย x  y ได้ผลลัพธ์ตรงกับข้อ


ใด
ก. (5x  y)(x  5y) ข. (5x  y)(x  5y)
ค. (5x  y)(x  5y) ง. (5x  y)(x  5y)

3x  1
13. ถ้า y ในรูปของ x คือ ค่า x ในรูปของ y ตรงกับข้อใด
2x  5
5y  1 5y  1
ก. ข.
2y  3 2y  3
3y  1 1  5y
ค. ง.
2y  5 3  2y

14. x5  x3  2 หารด้วย x 2  2 ได้ผลหารและเศษตรงกับข้อใด


ก. x 3  3x เศษ 6x  2 ข. x3  x เศษ 2x  2
ค. x3  x เศษ 2  2x ง. x 3  x เศษ 2  2x

เรื่อง พหุนาม (Polynomial) ดร.วัฒนา เถาว์ทิพย์ ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาปีท3ี่ หน้า 4

15. ถ้า a และ b เป็นจานวนเต็มที่ทาให้ x 2  x  1เป็นตัวประกอบหนึ่งของ


ax 3  bx  1 แล้ว b มีค่าเท่ากับเท่าไร
ก. 0 ข. -2
ค. 1 ง. ไม่สามารถหาค่า b ได้

16. ข้อใดต่อไปนี้เป็นพหุนาม
ก. 2x 0  1 ข. a bc
ค. ( x  y  z) 2 ง. a b c
 
b c a

17. นาเอา x  2 ไปหาร 3x 2  6x 2  9x  18 จะเหลือเศษเท่าไร


ก. 0 ข. 9
ค. -9 ง. 36

18. ถ้าเศษ x 99  1 หารด้วย x  1 เหลือเศษ a แล้ว จงหา k จากสมการ


a 2  25  ka
ก. 25 ข. 
25
2 2
ค. 29 ง. - 29
2 2

19. จานวนในข้อใดต่อไปนี้ นาไปหาร x 2  ab  ax  bx ได้ลงตัว


ก. x  a ข. x  a
ค. x  b ง. x  a  b

20. คูณ 3x 2  4x  6 ด้วยเศษที่ได้จากการหาร x 4  2x 2  3x  1 ด้วย


1  2x  x 2 ได้ผลลัพธ์เท่ากับข้อใด
ก. 3x 4  10x 3  x 2  8x  6
ข. 3x 4  2x 3  17x 2  16x  6
ค. 9x 3  6x 2  26x  12
ง. 9x 3  18x 2  26x  12

 2 2 1 2  3 
21.  x z  2 xy  x  2z  4 xyz  z  
2
2 
1
 3 3  6 xy  3z  z 
เมื่อทาค่าสาเร็จแล้วได้ผลลัพธ์เท่ากับข้อใด
ก. 2x ข. 2 y
ค. 2z ง. 2xyz

เรื่อง พหุนาม (Polynomial) ดร.วัฒนา เถาว์ทิพย์ ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาปีท3ี่ หน้า 5

22. หาร x 4  2x 2  3 ด้วย x 2  2x  1 ได้เศษที่เหลือนาไปคูณกับ


2x 2  x  3 จะได้ผลลัพธ์ดังข้อใด
ก. 8x 3  4x 2  12x ข. 4x 2  2x  6
ค. 8x 3  12x 2  8x  12 ง. 4x 3  6x 2  4x  6

23. กาหนด p( x )  3x 2  5x  4 ข้อใดต่อไปนี้ผิด


5
ก. p( x ) มีค่าสูงสุดที่ x 
6
5
ข. p( x ) มีค่าต่าสุดที่ x 
6
ค. p(x)  4 ที่ x  0
ง. p(1)  4

24. กาหนดให้ p( x )  x 5  2x 4  x 3  3x 2  3x  4
q( x )  x 4  3x 3  3x 2  x  3 และ r(x)  x  1 จงหา
p( x )
p(1)  q( x )  ตรงกับข้อใด
r(x)
ก. 4x 3  x 2  2x  5
ข. 2x 4  2x 3  x 2  2x  7
ค. 4 x 3  5x 2  7
ง. x 4  2x 3  x 2  2x  5

25. กาหนด x เป็นจานวนจริง จงพิจารณาแก้สมการตามลาดับต่อไปนี้


สมการ x4  x3  x2  x 1  0 ……..(1)
วิธีทา x 3  x 2  x  1  x 4 ……..(2)
(x 4  x 3  x 2  x)  1  0 ……..(3)
( x 3  x 2  x  1) x  1  0 ……..(4)
( x ) x  1  0
4
……..(5)
x5  0 ……..(6)
x 1 ……..(7)
ขั้นตอนตามลาดับข้อใดต่อไปนีไ้ ม่ถูกต้อง
ก. จาก (1) และ (2) สรุป (3)
ข. จาก (1) และ (4) สรุป (5)
ค. จาก (1) และ (5) สรุป (6)
ง. จาก (1) และ (6) สรุป (7)

เรื่อง พหุนาม (Polynomial) ดร.วัฒนา เถาว์ทิพย์ ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาปีท3ี่ หน้า 6

2x  1
26. กาหนด f (x)  จงเขียน x ในเทอมของ y ตรงกับข้อใด
3x  2
ก. 1
ข. 2 y  1
2  3y 3y  2
2y  1
ค. ง. 1  2 y
3y  2 2  3y

27. พจน์ที่ 2 ของการกระจาย (4x  3y) 4 ตรงกับข้อใด


ก. 768x 3 y ข.  768x 3 y
ค. 256x 3 y ง.  256x 3 y

28. ถ้า x 3  5x 2  kx  8 หารด้วย x 2  x  2 ลงตัว จงหาค่า k


ก. 2 ข. 4
ค. 6 ง. 8

29. x 3  2x 2  3x  2 และ x 3  2x 2  a ต่างหาร x  2 เหลือเศษ


เท่ากัน จงหาค่า a
ก. -8 ข. -4
ค. 4 ง. 8

30. ถ้า 5 x5  11x 4  7 x3  px 2  qx  116 หารด้วย x 2  2 x  4


เหลือเศษ 8 x  108 แล้ว p 3  q มีค่าเท่าใด
ก. 6 ข. 5
ค. -2 ง. -4

31. ถ้า n เป็นสัมประสิทธิ์ของ x 3 ของผลคูณ 5x 3  2x 2  7x  8


2 n4  2  2 n n
และ 2x 3  4x 2  10x  6 ค่าของ n2
 เท่ากับ
2 4 2
เท่าไร
ก. 13
7
ข. 13
7
16 12
ค. 11
7
ง. 11
7
8 12

เรื่อง พหุนาม (Polynomial) ดร.วัฒนา เถาว์ทิพย์ ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น


คณิตศาสตร์เสริม หลักสูตร EP โรงเรียนสตรีศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ระดับมัธยมศึกษาปีท3ี่ หน้า 7

1 1
32. ถ้า A  x 4  2 x 2  7 x  8 และ B  x6  x 4  3x 2  2 x
3 3
แล้ว ( A  B)( A  B) หารด้วย ( B  A) มีค่าเท่าใด
ก. x6  5 x 2  9 x  8 2
ข. x6  x 4  5 x 2  9 x  8
3
ค.  x  5x  9 x  8
6 2
2
ง.  x6  x 4  5x 2  9 x  8
3
33. ถ้า ax  2ax  15x  b หารด้วย x  3 ลงตัว แต่หารด้วย x  1
3 2

เหลือเศษ 12 แล้ว a  b มีค่าเท่าใด


ก. -11 ข. -9
ค. 10 ง. 13

(3 x  2)3
34. ถ้า เหลือเศษเท่าใด
(3x  1)
ก. -3 ข. -1
ค. 4 ง. 9
35. ถ้า ( x  1) เป็นตัวประกอบของ x3  (k  5) x 2  49 x  36 ผลบวก
ของจานวนนับที่หาร k ลงตัวมีค่าตรงกับข้อใด
ก. 7 ข. 10
ค. 13 ง. 15

36. ถ้า (2 x 2  3 y 2 )2 หารด้วย A ได้ผลหาร 2 x 2  5xy  3 y 2 เหลือเศษ


25x 2 y 2 จงหาว่า A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
ก. 2 x 2  5xy  3 y 2 ข. 2 x 2  5xy  3 y 2
ค. 2 x 2  5xy  3 y 2 ง. 2 x 2  5xy  3 y 2
37. ถ้า ( x  1) และ ( x  1) เป็นตัวประกอบของ
x3  ax 2  (b  6) x  5 จงหา a 2  b2
ตอบ ............................................................................

38. ถ้าหาร x 4  3x ด้วยพหุนาม ax 2  bx  c โดยที่ a, b, c เป็นค่าคง


ตัว แล้วได้ผลหารเป็น ( x  1)2 และมีเศษเป็น x  3 จง
หา a 2  b2  c 2
ตอบ ................................................. ...........................

เรื่อง พหุนาม (Polynomial) ดร.วัฒนา เถาว์ทิพย์ ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

You might also like