You are on page 1of 104

คูมือประกอบการเรียนเบื้องตน

คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
ประจำปการศึกษา 2566

จัดทำโดย งานบริการการศึกษา
และงานกิจการนิสิตและศิษยเกาสัมพันธ
คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
2
คำนำ

งานบริการการศึกษา และงานกิจการนิสิตและศิษยเกาสัมพันธ
ไดจัดทำคูมือเลมนี้ขึ้น โดยรวบรวมขอมูลตางๆ เพื่อใหนิสิตปการศึกษา
2566 ไดใชเปนคูมือประกอบการเรียนตลอดหลักสูตรในเบื้องตน ระหวาง
ที่นิสิตศึกษาในคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร แหงนี้
คู  ม ื อ เล ม นี ้ จ ะทำให น ิ ส ิ ต ได ท ราบถึ ง กฎระเบี ย บ ขั ้ น ตอนการ
ดำเนินการตางๆ ในดานการเรียนการสอน ขอมูลเบื้องตนที่เกี่ยวกับ
การศึกษาในรั้วมหาวิทยาลัย เชน ทุนการศึกษา สวัสดิการตางๆ เปนตน
และยังมีการรวบรวมคำถามที่พบบอย เพื่อเปนแหลงขอมูลเบื้องตนให
นิสิตไดหาคำตอบเมื่อมีปญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนและอื่นๆ
จึงถือไดวาคูมือเลมนี้มีความสำคัญและจำเปนอยางมากกับการ
เรี ย นตลอดหลั ก สู ต ร นิ ส ิ ต จึ ง ควรศึ ก ษาทำความเข า ใจ เพื่ อ ให เ กิ ด
ประโยชน และประสบความสำเร็จ ในการศึกษาในคณะนิติศาสตรแหงนี้

มิถุนายน 2566
2
สารบัญ
หนา
ผูบริหารคณะนิติศาสตร....................................................................................... 1
ผูบริหารคณะนิติศาสตร....................................................................................... 2
อาจารยที่ปรึกษานิสิตรหัส 66 ............................................................................. 3
อาจารยที่ปรึกษานิสิตรหัส 66 ............................................................................. 4
งานบริการการศึกษา คณะนิติศาสตร .................................................................. 5
งานกิจการนิสิตและศิษยเกาสัมพันธ คณะนิติศาสตร ........................................... 6
รายนามอาจารยพิเศษ ......................................................................................... 7
มหาวิทยาลัยนเรศวร ........................................................................................... 8
คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ................................................................. 8
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2563 ......................................... 10
ผลการเรียนรูที่คาดหวังของหลักสูตร ................................................................. 12
แผนระยะสั้นและระยะยาวของการพัฒนานิสิต .................................................. 16
โครงสรางหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2563 ................................ 17
โครงสรางหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ปรับปรุง พ.ศ.2563 ................................. 24
แผนการศึกษาคณะนิติศาสตร ........................................................................... 33
สาระสำคัญงานวิชาการ .................................................................................... 40
1. การลงทะเบียน............................................................................................. 40
2. การเพิ่ม-ถอนรายวิชา ................................................................................... 40
3
3. การลงทะเบียนเพื่อรักษาสภาพนิสิต ............................................................. 40
4. การชำระคาลงทะเบียนเรียน......................................................................... 41
5. การลงทะเบียนเรียนซ้ำ ................................................................................. 41
6. การไดรับเกียรตินิยม ..................................................................................... 41
7. การสอบ ....................................................................................................... 42
8. โทษของการทุจริต ........................................................................................ 42
9. การไดรับผลการศึกษาอักษร I....................................................................... 42
10. การพนสภาพนิสิต ...................................................................................... 43
11. การลาพักการศึกษา .................................................................................... 43
12. การลาออกจากการศึกษา ........................................................................... 43
13. การทดสอบความรูกอนจบการศึกษา .......................................................... 44
14. ขั้นตอนการยื่นสำเร็จการศึกษา .................................................................. 47
15. การวัดและประเมินผลแบบอิงเกณฑ........................................................... 48
16. การตกแผนการศึกษา หรือแกไขเกรด F ..................................................... 48
17. การขอดูสมุดคำตอบ ................................................................................... 49
18. ชองทางการยื่นคำรอง................................................................................. 49
19. ชองทางสำหรับติดตามขอมูลของรายวิชาตางๆ .......................................... 50
20. การยื่นคำรองขอใบแสดงผลการเรียน (TRANSCRIPT) ............................... 50
21. การไดรับใบรับรองคุณวุฒิ .......................................................................... 50
22. ขั้นตอนการพบอาจารยที่ปรึกษาในกรณีตางๆ ............................................ 51
23. ขั้นตอนการขอดูสมุดคำตอบ....................................................................... 54
24. ขั้นตอนการขอยื่นอุทธรณ ........................................................................... 56
แบบฟอรมคำรองตางๆ ..................................................................................... 57
สาระสำคัญงานกิจการนิสิตและศิษยเกาสัมพันธ................................................ 58
4
1. กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.)....................................................... 58
2. ทุนการศึกษาแบบใหเปลา ............................................................................ 60
3. กองทุนเงินยืมฉุกเฉินไทยชวยไทย ................................................................ 61
4. กองทุนสวัสดิภาพนิสิต ................................................................................. 62
5. การประกันอุบัติเหตุ ..................................................................................... 64
6. บริการวิชาทหาร .......................................................................................... 66
7. บริการดูแล ชวยเหลือ ติดตาม และใหคำปรึกษาภาวะซึมเศรา..................... 68
8. ทรานสคริปกิจกรรม ..................................................................................... 69
9. การสงไปรษณีย/พัสดุ ................................................................................... 71
10. เบอรโทรศัพทหนวยงานตางๆ ที่ควรทราบ ................................................. 71
12. ประกาศ ระเบียบ ขอบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร ....................................... 72
ชองทางการสื่อสารตางๆของคณะนิติศาสตร ..................................................... 73
คำถามที่พบบอย ............................................................................................... 76
1
ผูบริหารคณะนิติศาสตร

รองศาสตราจารย ดร.บุญญรัตน โชคบันดาลชัย


คณบดีคณะนิติศาสตร

ผูชวยศาสตราจารยหริรักษ โลหพัฒนานนท
รองคณบดีคณะนิติศาสตร
(ดูแลงานบริหาร)

ผูชวยศาสตราจารยจรรยารักษ สุวพันธ
รองคณบดีคณะนิติศาสตร
(ดูแลงานกิจการนิสิตและศิษยเกาสัมพันธ
งานกิจการตางประเทศ งานประกันคุณภาพการศึกษา)
2
ผูบริหารคณะนิติศาสตร

อาจารยศุทธินี อยูสวัสดิ์
รองคณบดีคณะนิติศาสตร
(ดูแลงานบริการการศึกษา)

ผูชวยศาสตราจารยพงศกานต คงศรี
รองคณบดีคณะนิติศาสตร
(ดูแลงานวิจัย งานบริการวิชาการ)

ดร.อชิชญา ออตวงษ
ผูชวยคณบดีคณะนิติศาสตร
3
อาจารยที่ปรึกษานิสิตรหัส 66

ผูชวยศาสตราจารยหริรักษ โลหพัฒนานนท
เบอรโทรหองพัก 0-5596-1750
หองพักอาจารยชั้น 2 คณะนิติศาสตร

ผูชวยศาสตราจารย ดร.นฤมล เสกธีระ


เบอรโทร 0-5596-1753
หองพักอาจารยชั้น 2 คณะนิติศาสตร

ผูชวยศาสตราจารย ดร.ยอดพล เทพสิทธา


เบอรโทรหองพัก 0-5596-1711
หองพักอาจารยชั้น 2 คณะนิติศาสตร
4
อาจารยที่ปรึกษานิสิตรหัส 66

ผูชวยศาสตราจารยกิติวรญา รัตนมณี
เบอรโทรหองพัก 0-5596-1729
หองพักอาจารยชั้น 2 คณะนิติศาสตร

ดร.เมธินี สุวรรณกิจ
เบอรโทรหองพัก 0-5596-1735
หองพักอาจารยชั้น 2 คณะนิติศาสตร

อาจารยภคนัช สุทเธนทร
เบอรโทรหองพัก 0-5596-1741
หองพักอาจารยชั้น 2 คณะนิติศาสตร
5
งานบริการการศึกษา คณะนิติศาสตร
นางวิภา อินทรสุข
หัวหนางานบริการการศึกษา
เบอรโทร 0-5596-1738
สำนักงานเลขานุการคณะฯ ชั้น 3
ดูแลเรื่อง
• การจัดตารางเรียน
พี่แหมม • การจัดตารางสอบ
• ปรึกษาดานตางๆที่เกี่ยวของกับการเรียน
นางอภิญญา ชุณหะทิพากร
นักวิชาการศึกษา
เบอรโทร 0-5596-1737
หองสำนักงานเลขานุการคณะฯ ชั้น 3
ดูแลเรื่อง
• รับใบคำรอง NU ตางๆ
พี่ปุย • รับใบคำรองคณะนิติศาสตร
• ปรึกษาดานตางๆที่เกี่ยวของกับการเรียน

Page Facebook : งานบริการการศึกษา คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร


https://www.facebook.com/academiclawnu
6
งานกิจการนิสิตและศิษยเกาสัมพันธ คณะนิติศาสตร
นายทศพล จูมั่น
หัวหนางานกิจการนิสิตและศิษยเกาสัมพันธ
เบอรโทร 0-5596-1734
หองสำนักงานเลขานุการคณะฯ ชั้น 3
ดูแลเรื่อง
• วินัยนิสิต
พี่เตา • การผอนผันทหาร
• นักศึกษาวิชาทหาร ป 5
• กองทุนสวัสดิภาพนิสิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
นางวรวรรณ กาละภักดี
นักวิชาการศึกษา
เบอรโทร 0-5596-1733
หองสำนักงานเลขานุการคณะฯ ชั้น 3
ดูแลเรื่อง
• กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.)
พี่ออม • ทุนการศึกษาตางๆ
• ใบรับรองเพื่อขอทุนการศึกษา
• ทรานสคริปกิจกรรม

Page Facebook : งานกิจการนิสิตและศิษยเกาสัมพันธ


คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
https://www.facebook.com/childrensLaw
7
รายนามอาจารยพิเศษ
ที่ ชื่อ-สกุล ตำแหนง
1 นายคมกฤษ มณีชัย ทนายความจังหวัดพิษณุโลก
กรรมการสภาทนายความจังหวัด
2 นายครรชิตพล มีผดุง
พิษณุโลก
ผูพิพากษาศาลชั้นตนประจำสำนัก
3 นางสาวจริมจิต พันธทวี
ประธานศาลฎีกา
อดีตกรรมการมรรยาท
4 นายญาติพิชัย กลิ่นเจริญ
สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ
นางณัฏฐณิชา ผูประสานงานโครงการองคการแรงงาน
5
เลอฟลิแบรต ระหวางประเทศ (ILO) สหประชาชาติ
6 นายทนงศักดิ์ ดุลยกาญจน ผูพิพากษาศาลอุทธรณ ภาค 4
7 ผศ.ดร.รวินท ลีละพัฒนะ คณะนิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ผูพิพากษาหัวหนาคณะชั้นตนในศาล
8 นายวรวงศ อัจฉราวงศชัย ทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวาง
ประเทศกลาง
ศ.ดร.วิจิตรา (ฟุงลัดดา)
9 ผูทรงคุณวุฒิ
วิเชียรชม
10 ศ.ดร.สหธน รัตนไพจิตร คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ที่ปรึกษาคณะทำงานทางการเมืองของ
11 นายสัตยา อรุณธารี
ประธานสภาผูแทนราษฎร
12 นายสาโรจน จันทรศิริ กรรมการบริหารสภาทนายความ ภาค 6
13 นางสาวเสฏฐา เธียรพิรากุล อัยการประจำสำนักงานอัยการสูงสุด
ผูพิพากษาหัวหนาคณะในศาลลมละลาย
14 นายอดุลย ญาณกิตติ์กูร
กลาง
8
มหาวิทยาลัยนเรศวร

วิสัยทัศนมหาวิทยาลัยนเรศวร
มหาวิทยาลัยเพื่อสังคมของผูประกอบการ
“University for Entrepreneurial Society”

ปรัชญาการศึกษา (Philosophy of Education)


การศึกษาทำใหบุคคลมีความรู พนจากอวิชชา (ความไมรู) มีความเขมแข็งทางกาย
และใจ มีคุณธรรมจริยธรรม มีสำนึกสาธารณะ ภูมิใจในชาติและโอบรับความ
หลากหลาย และเปนพลเมืองที่มีความรับผิดชอบตอประเทศและตอโลก

คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
ปรัชญา
แหลงเรียนรูที่มีความเขมแข็งทางวิชาการดานกฎหมาย เสริมสรางคุณธรรม
สรางสรรคสังคมไทย
ปณิธาน
สรางบัณฑิตใหเปนผูรอบรูทางวิชาการ มีทักษะและคุณธรรมทางวิชาชีพ
รวบรวมองคความรูและผลิตผลงานทางวิชาการ เพื่อนำไปสูสังคมที่ปราศจากอวิชชา
วิสัยทัศน (Vision)
คณะนิติศาสตรเปนผูนำการผลิตนักกฎหมายของภาคเหนือตามมาตรฐาน
วิชาชีพ
9
พันธกิจ (Mission)
1. ผลิตบัณฑิตที่ไดมาตรฐานทางวิชาชีพ
2. สงเสริมงานวิจัยที่สอดคลองกับความตองการของสังคมและเชื่อมโยงสูการ
พัฒนาทองถิ่น
3. บริการวิชาการที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความตองการภาครัฐ เอกชน
และทองถิ่น
คานิยม (Core Value) มีคุณธรรมจริยธรรม
อัตลักษณนิสิตคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
เปนคนดี คนเกง มีวินัย ภูมิใจในชาติและดำรงไวซึ่งจริยธรรมแหงนักกฎหมาย
NU LAW,Life-Long Learning : Communication Skills
Life Long ภาษาคน ภาษาคอม ภาษากฎหมาย
Learning (Human language) (Technology language) (Legal language)
เกณฑ Literacy Skills Computer Skills Legalese
- ภาษาอังกฤษ ใชคอมเพื่อการคนควา เรียนรู สื่อสารภาษากฎหมาย
- ภาษาไทย ประยุกต
goal การสอบวัดผล การสอบวัดผลคอมพิวเตอรของ การตอบขอสอบ
ภาษาอังกฤษของ มหาวิทยาลัย กฎหมายครบ
มหาวิทยาลัย องคประกอบ และ
โครงสรางทางกฎหมาย
กิจกรรม - กิจกรรมอบรม - กิจกรรมอบรมการคนควาของ - กิจกรรมแนะนำการ
ภาษาอังกฤษ สำนักหอสมุด เรียน
- กิจกรรมการอบรมการใชสารสนเทศ - กิจกรรมแนะนำการ
เพื่อการทำวิจยั กฎหมาย เขียนตอบขอสอบ
- กิจกรรมแนะนำหองสมุดกฎหมาย กฎหมาย
ออนไลน
- กิจกรรมการอบรม Plagiarism
อยางถูกตอง
10
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2563

ขอมูลทั่วไป
ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (Bachelor of Laws Program)
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา : นิติศาสตรบัณฑิต (น.บ.)
Bachelor of Laws (LL.B.)
จำนวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร : ไมนอยกวา 144 หนวยกิต
รูปแบบของหลักสูตร : หลักสูตรระดับ 2 ปริญญาตรี (หลักสูตร 4 ป)
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
สาขาวิชานิติศาสตร พ.ศ.2561

ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร
ปรัชญาหลักสูตร
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต มุงผลิตบัณฑิตใหเปนผูมีความรูคูคุณธรรมและ
เปน ผูน ำสั งคมไปสู  ความถู ก ต อง ยุ ติ ธ รรม มี ความสามารถในการสื่ อสารและใช
เทคโนโลยีสารสนเทศไดอยางเหมาะสม และผลิตบัณฑิตที่มีความเขมแข็งทางวิชาการ
ดานกฎหมาย เสริมสรางคุณธรรม สรางสรรคสังคมไทย
ความสำคัญ
คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร มีการพัฒนาและผลิตบัณฑิตใหมีความ
เขาใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการและทักษะกระบวนการทางดานนิติศาสตรอยาง
ลึกซึ้ง ทั้งสามารถบูรณาการองคความรูรวมกับศาสตรอื่นไดเปนอยางดี อันจะนำไปสู
การพัฒนาทั้งทางดานเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอมและความเปนอยูที่ดีของประชากร
ในประเทศ ภายใตกรอบของคุณธรรมและจริยธรรมของนักกฎหมาย
11
วัตถุประสงคของหลักสูตร
เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณลักษณะดังตอไปนี้
1. มีคณุ ธรรมและจริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ
2. มีจิตสำนึกในการรับใชสังคม
3. มีความรูความเขาใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการและทักษะกระบวนการ
ทางดานนิติศาสตรอยางลึกซึ้งและเปนระบบ
4. มีความเขมแข็งทางวิชาการสามารถนำความรูไปใชรวมกับศาสตรอื่นให
เกิดประโยชนแกตนเองและผูอื่นได
5. เป น บั ณ ฑิ ต ที ่ ส ามารถศึ ก ษาหาความรู  เ พื ่ อ พั ฒ นาตนเอง และมี
ความสามารถที่จะศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น
12
ผลการเรียนรูที่คาดหวังของหลักสูตร
(Expected Learning Outcomes : ELOs)
คำนิยามผลการเรียนรู
ผลการเรียนรูของหลักสูตร ELOs
ELOs
1. ดานคุณธรรม จริยธรรม (Attitude - A)
1.1 มีความรับผิดชอบตอตนเอง วิชาชีพ และสังคม ตรงตอ มีความตรงตอเวลา
เวลา มีจิตสาธารณะ
1.2 มีความกลาหาญ มีจริยธรรม มีความซื่อสัตย มีความซื่อสัตย
มีจิตสำนึกรับผิดชอบตอตนเองและสังคม
1.3 มีจิตสำนึกของนักกฎหมายที่ดีและหรือตระหนักรู เขาใจ ปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณ
และยึ ด มั ่ น ในหลั ก ความยุ ต ิ ธ รรม หลั ก นิ ต ิ ก รรม มี ค วาม วิชาชีพ
ประพฤติที่สอดคลองกับหลักจรรยาบรรณในวิชาชีพ
1.4 มีวินัยเคารพกฎระเบียบ ขอบังคับขององคกรและหรือ ปฏิบัติตามกฎระเบียบ
สังคม ขอบังคับ
2. ดานความรู (Knowledge – K)
2.1 มีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับหลักการ/ทฤษฎีที่สำคัญ อธิบายหลักกฎหมายที่
ในเนื ้ อ หา ทั ้ ง ในสาขาวิ ช านิ ต ิ ศ าสตร แ ละศาสตร อ ื ่ น ๆ ที่ เกี่ยวของไดอยางถูกตอง
เกี ่ ย วข อ ง และให ม ี ค วามรู  แ ละทั ก ษะการใช ภ าษาไทย
ภาษาอังกฤษ ทั้งดานการฟง การพูด การอานและการเขียน มี
ความสามารถในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร ใหนิสิตมีรสนิยมทางสุนทรียะทาง
ศิลปะและดนตรี และนำไปประยุกตใชในชีวิตประจำวัน
2.2 ต ร ะ ห น ั ก ถ ึ งค ว า มสำ ค ั ญ แ ล ะ ส า ม า รถ ต ิ ด ตาม ติดตามและรูเทาทันความ
ความก า วหน า และการเปลี ่ ย นแปลงขององค ค วามรู  ทั้ ง เปลี่ยนแปลงขององคความรู
ทางดานนิติศาสตรและศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ และมีความรู ทางกฎหมาย
รอบทั้งดานมนุษยศาสตร สังคมศาสตร และวิทยาศาสตร
13
คำนิยามผลการเรียนรู
ผลการเรียนรูของหลักสูตร ELOs
ELOs
เพื่อทำใหเกิดการรูเทาทันการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ
โลก ทำใหรักโลก รักธรรมชาติ รักสิ่งแวดลอม และสามารถอยู
รอดในการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ทั้งนี้ เพื่อทำใหเกิดการ
ปรับตัวใหเขากับสังคมไทย สังคมอาเซียน และสังคมโลก
2.3 สามารถนำองค ค วามรู  ด  า นกฎหมายไปปรั บ ใช กั บ ปรับใชองคความรูดาน
ขอเท็จจริงตางๆ ที่เกิดขึ้น หรือคนควาในระดับสูงขึ้น หรือวิจัย กฎหมายกับขอเท็จจริงได
อยางมีนิติทัศนะควบคูกับคุณธรรม และสามารถบูรณาการ อยางถูกตอง
เชื่อมโยงกับศาสตรอื่นๆ ที่เกี่ยวของได
2.4 มีทักษะทางวิชาชีพ ทักษะการใชชีวิต การดูแลตนเอง มีทักษะทางวิชาชีพ
และดำรงตนอยางมีความสุข ดำเนินชีวิตบนพื้นฐานปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
3. ดานทักษะทางปญญา (Skill – S)
3.1 สามารถวิเคราะห สังเคราะห โดยการนำความรูทางดาน วิเคราะหและสังเคราะห
นิติศาสตรและศาสตรทางดานอื่นๆ เชน ทางดานมนุษยศาสตร กฎหมาย
สังคมศาสตร และวิทยาศาสตร มาบูรณาการใหเกิดองคความรู
หรือองคความรูใหม เพื่อใหรูเทาทันการเปลี่ยนแปลงของโลก
และสามารถนำไปประยุกตใชไดจริง แกปญหาสิ่งตางๆ ได อีก
ทั้งยังสามารถปรับตัวใหเขากับสภาวการณตางๆ และเขากับ
สังคมไทย อาเซียนและสังคมโลกได
3.2 สามารถระบุแหลงขอมูลตางๆ ไมวาจะเปนเอกสาร ตัวเลข สามารถคนควา วิเคราะห
และจำนวน ขอมูลสถิติ สำหรับการคนควา/สืบคน ขอเท็จจริง และสังเคราะหขอมูลและ
แหล ง ที ่ ม าของป ญ หา ทั ้ ง ประเมิ น ความน า เชื ่ อ ถื อ ของ องคความรูทางกฎหมายได
แหล ง ข อ มู ล ที ่ ห ลากหลายได ตลอดจนการทำความเขาใจ
เชื่อมโยงความสัมพันธระหวางมนุษยศาสตร สังคมศาสตร
และวิทยาศาสตรได และคิดสรางสรรค วิเคราะห สังเคราะห
สรุป และแปลผลขอมูลที่ไดมาเหลานั้น
14
คำนิยามผลการเรียนรู
ผลการเรียนรูของหลักสูตร ELOs
ELOs
3.3 มีคุณลักษณะที่พึงประสงคตามศตวรรษที่ 21 เชน เปนผูที่ มี ท ั ก ษะการสื ่ อ สารทาง
สามารถรวบรวมข อ มู ล/ค น คว า เพื ่ อ การศึ ก ษา วิ เ คราะห กฎหมาย
สังเคราะห และสรุปขอเท็จจริงที่ไดมา หรือสรุปประเด็นความ
ตองการของปญหา และหรือความสามารถเสนอแนะแนวทาง
ในการแกปญหาจากโจทยวิจัยและหรือแกปญหาขอเท็จจริง
ตาง ๆ ไดอยางถูกตอง เหมาะสม อันเปนทักษะสำคัญในการ
ทำงานดานกฎหมาย
3.4 สามารถประยุกตใชองคความรูในการวิเคราะหและหรือ มีทักษะการจัดการปญหา
แกไขปญหาอยางสรางสรรคเปนระบบคิดไดแบบองครวมโดย ทางกฎหมาย
เชื่อมโยงความรูระหวางนิติศาสตรและศาสตรอื่นๆ ได รวมถึง
ตระหนักถึงความสำคัญของการเรียนรูตลอดชีวิต มีความใฝรู
ติดตามความเปลี่ยนแปลงของสังคม เพื่อพัฒนาตนเองอยาง
ตอเนื่อง
4. ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ (Skill – S)
4.1 มี ภ าวะความเป น ผู  น ำและหรื อ มี ค วามสามารถในการ มีความเปนผูนำ
ทำงานรวมกับผูอื่น
4.2 มีมนุษยสัมพันธที่ดีและยอมรับความคิดเห็นของผูอื่นอยาง มีทักษะการทำงานรวมกับ
ใสใจและ ใหเกียรติเทากัน และสามารถปรับตัวใหอยูในสังคม ผูอื่นได
ที่ตางวัฒนธรรมรวมกับผูอื่นได
4.3 มีความรับผิดชอบตอตนเองและหรือสังคม ใชสิทธิเสรีภาพ มีความรับผิดชอบในการ
โดยไมกระทบผูอื่น และมีจิตสำนึกรับผิดชอบประพฤติตนเปน ทำงาน
พลเมืองดี
4.4 สามารถใชกระบวนการในการทำงานเปนกลุมในการแกไข มีทักษะการทำงานอยางมี
ปญหาไดอยางสรางสรรค และมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพ
4.5 สามารถปรับตัวใหเขากับสถานการณและหรือองคกรได ปรั บ ตั ว เข า กั บ สถานการณ
อยางเหมาะสม ตางๆไดอยางเหมาะสม
15
คำนิยามผลการเรียนรู
ผลการเรียนรูของหลักสูตร ELOs
ELOs
5. ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ (Skill – S)
5.1 สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวมรวมขอมูล ใชเทคโนโลยีสารสนเทศใน
ความรูทางดานคณิตศาสตรและสถิติ ในการวิเคราะหขอมูล การสืบคนและรวมรวมขอมูล
การแปลผลและหรื อ การนำเสนอข อ มู ล สารสนเทศอย า ง และองคความรูทาง
ถูกตอง รูเทาทัน และรายงานไดอยางเหมาะสม รวมถึงใชใน กฎหมาย
การประกอบวิชาชีพหรืออาชีพ ไดอยางเหมาะสมแกกรณี
5.2 สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่ อสาร สืบคน ใชเทคโนโลยีสารสนเทศใน
วิเคราะห สังเคราะห รวบรวม ประมวลผล แปลความหมาย การวิเคราะห สังเคราะห
และนำเสนอขอมูลที่เกี่ยวของอยางเหมาะสม สรุปประเด็น ขอมูลและองคความรูทาง
เนื้อหา ทั้งการพูด การเขียน ในรูปแบบการสื่อสาร วิเคราะห กฎหมาย
สังเคราะหไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อประโยชนในการใช
กฎหมาย การปรับปรุงพัฒนากฎหมาย และกำหนดนโยบายที่
เกี่ยวของ
5.3 สามารถสื่อสารทั้งการพูด การฟง การอานและการเขียน มีทักษะการสื่อสาร (ฟง พูด
และเลือกใชรูปแบบของการสื่อสารไดอยางเหมาะสม รวมทั้งมี อาน เขียน) ไดอยาง
ความสามารถในการนำเสนอตลอดจนการตั้งคำถามหรือการ เหมาะสม
ตอบคำถามที่ชัดเจนทำใหบุคคลอื่นเขาใจไดงาย
5.4 มีความสามารถในการใชภาษาเขียนในทางกฎหมาย และ มีทักษะการใชภาษา
มีทักษะในการใชภาษาไทยและภาษาตางประเทศที่เหมาะสม กฎหมาย
แกกรณี
16
แผนระยะสั้นและระยะยาวของการพัฒนานิสิต

https://shorturl.asia/N4VHR
17
โครงสรางหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2563
นิสิตตองศึกษาวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป รวมแลวไมนอยกวา 30 หนวยกิต
ตามโครงสรางและองคประกอบของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ซึ่งแบงเปน 5 กลุมวิชา
เกณฑ ศธ. โครงสรางปรับปรุง
ที่ หมวดวิชา พ.ศ. 2563
พ.ศ.2558
1 กลุมวิชาภาษา 12 หนวยกิต
วิชาบังคับ
- กลุมภาษาอังกฤษ ไมนอยกวา 3 หนวยกิต
- กลุมภาษาไทย ไมนอยกวา 3 หนวยกิต
วิชาเลือก
โดยเลือกจากกลุมภาษาอังกฤษ
กลุมภาษาไทย หรือกลุมภาษา
ตางประเทศอื่นๆ ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
2 กลุมวิชามนุษยศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
3 กลุมวิชาสังคมศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
4 กลุมวิชาวิทยาศาสตรและ
คณิตศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
5 กลุมวิชาพลานามัย 1 หนวยกิต
(บังคับไมนับหนวยกิต)
จำนวนหนวยกิตรวม ไมนอยกวา 30 หนวยกิต 30 หนวยกิต
18
1. หมวดวิ ช าศึ ก ษาทั ่ ว ไป ไม น  อ ยกว า จำนวน 30 หน ว ยกิ ต
กำหนดใหนิสิตเรียนตามกลุมวิชาดังตอไปนี้
1.1 กลุมวิชาภาษา 12 หนวยกิต
1.1.1 วิชาบังคับ 6 หนวยกิต
1.1.1.1 กลุมภาษาอังกฤษ ไมนอยกวา 3 หนวยกิต
001211 การฟงและการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
English Listening and Speaking for Communication
001212 การอานภาษาอังกฤษเชิงวิเคราะหเพื่อการสื่อสาร
อยางมีประสิทธิภาพ 3(2-2-5)
English Critical Reading for Effective Communication
001213 การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารอยางประสิทธิภาพ 3(2-2-5)
English Writing for Effective Communication
1.1.1.2 กลุมภาษาไทย ไมนอยกวา 3 หนวยกิต
001301 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารเชิงวิชาการ 3(2-2-5)
Thai Language for Academic Communication
001302 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารในศตวรรษที่ 21 3(2-2-5)
Thai Language for Communication in the 21 Century st

001303 การอานในยุคดิจิทัล 3(2-2-5)


Reading in the Digital Age Century
1.1.2 วิชาเลือก
การเลือกรายวิ ชาสามารถเลือ กในรายวิ ชากลุ มภาษาอั ง กฤษ
และ/หรื อ กลุ  ม ภาษาไทยที ่ ไ ม ซ ้ ำ กั บ รายวิ ช าบั ง คั บ หรื อ รายวิ ช า
ภาษาตางประเทศอื่นๆ ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
001311 ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
Korean for Communication
001312 ภาษาญี่ปุนเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
Japanese for Communication
19
001313 ภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
Chinese for Communication
001314 ภาษาพมาเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
Myanmar for Communication
001315 ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
French for Communication
001316 ภาษาสเปนเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
Spanish for Communication
001317 ภาษาลาวเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
Lao for Communication
001318 ภาษาอินโดนีเซียเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
Indonesian for Communication
001319 ภาษาเวียดนามเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
Vietnamese for Communication
001320 ภาษาฮินดีเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
Hindi for Communication
001321 ภาษาเขมรเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
Khmer for Communication
1.2 กลุมวิชามนุษยศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
โดยเลือกจากรายวิชาดังตอไปนี้
001221 สารสนเทศศาสตรเพื่อการศึกษาคนควา 3(2-2-5)
Information Science for Study and Research
001222 ภาษา สังคมและวัฒนธรรม 3(2-2-5)
Language, Society and Culture
001224 ศิลปะในชีวิตประจำวัน 3(2-2-5)
Arts in Daily Life
20
001226 วิถีชีวิตในยุคดิจิทัล 3(2-2-5)
Ways of Living in the Digital Age
001227 ดนตรีในวิถีชีวิตไทยศึกษา 3(2-2-5)
Music Studies in Thai way of life
001228 ความสุขกับงานอดิเรก 3(2-2-5)
Happiness with Hobbies
001238 การรูเทาทันสื่อ 3(2-2-5)
Media Literacy
001241 ดนตรีตะวันตกในชีวิตประจำวัน 3(2-2-5)
Western Music in Daily Life
001242 การคิดเชิงสรางสรรคและนวัตกรรม 3(2-2-5)
Creative Thinking and Innovation
001253 การเปนผูประกอบการธุรกิจกอตั้งใหมขนาดยอม 3(2-2-5)
Entrepreneurship for Small Business Start-up
001276 พลังงานและเทคโนโลยีใกลตัว 3(2-2-5)
Energy and Technology around Us
001331 นวัตกรรมเพื่อสังคม 3(2-2-5)
Social Innovation
001332 การจัดการขอมูลเบื้องตนในยุคดิจิทัล 3(2-2-5)
Introduction to Data Mamagement in Digital Era
1.3 กลุมวิชาสังคมศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
โดยเลือกจากรายวิชาดังตอไปนี้
001231 ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน 3(2-2-5)
Philosophy of Life for Sufficient Living
001232 กฎหมายพื้นฐานเพื่อคุณภาพชีวิต 3(2-2-5)
Fundamental Laws for Quality of Life
21
001233 ไทยกับประชาคมโลก 3(2-2-5)
Thai State and the World Community
001234 อารยธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น 3(2-2-5)
Civilization and Local Wisdom
001235 การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม 3(2-2-5)
Politics, Economy and Society
001236 การจัดการการดำเนินชีวิต 3(2-2-5)
Living Management
001237 ทักษะชีวิต 3(2-2-5)
Life Skills
001239 ภาวะผูนำกับความรัก 3(2-2-5)
Leadership and Compassion
001251 พลวัตกลุมและการทำงานเปนทีม 3(2-2-5)
Group Dynamics and Teamwork
001252 นเรศวรศึกษา 3(2-2-5)
Naresuan Studies
001254 ศาสตรพระราชาเพื่อการดำรงชีวิต 3(2-2-5)
The King’s Philosophy for Living
001351 นอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติ 3(2-2-5)
From Sufficiency Economy Philosophy (SEP) to Practice
001352 สันติภาพ ศาสนา เพื่อมนุษยชาติ 3(2-2-5)
Peace and Religion for Human Kinds
001353 การบัญชีเบื้องตนสำหรับผูประกอบการ 3(2-2-5)
Principles of Accounting for Entrepreneur
22
1.4 กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
โดยเลือกจากรายวิชาดังตอไปนี้
001271 มนุษยกับสิ่งแวดลอม 3(2-2-5)
Man and Environment
001272 คอมพิวเตอรสารสนเทศขั้นพื้นฐาน 3(2-2-5)
Introduction to Computer Information Science
001273 คณิตศาสตรและสถิติในชีวิตประจำวัน 3(2-2-5)
Mathematics and Statistics in Everyday Life
001274 ยาและสารเคมีในชีวิตประจำวัน 3(2-2-5)
Drugs and Chemicals in Daily Life
001275 อาหารและวิถีชีวิต 3(2-2-5)
Food and Life Style
001277 พฤติกรรมมนุษย 3(2-2-5)
Human Behavior
001278 ชีวิตและสุขภาพ 3(2-2-5)
Life and Health
001279 วิทยาศาสตรในชีวิตประจำวัน 3(2-2-5)
Science in Everyday Life
001291 การบริโภคในชีวิตประจำวัน 3(2-2-5)
Consumption in Daily Life
001292 วิถีชีวิตตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนในศตวรรษที่ 21 3(2-2-5)
Circular Economic Lifestyle for 21st Century
23
1.5 กลุมวิชาพลานามัย บังคับไมนับหนวยกิต จำนวน 1 หนวยกิต
001281 กีฬาและการออกกำลังกาย 1(0-2-1)
Sports and Exercises

หมายเหตุ : ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป นิสิตตองลงทะเบียนเรียนไมนอยกวา


30 หนวยกิต โดยนิสิตตองลงทะเบียนเรียนใหครอบคลุมสาระของกลุมวิชา
สังคมศาสตร มนุษยศาสตร ภาษาและกลุมวิชาวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตร
ในสัดสวนที่เหมาะสม เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
24
โครงสรางหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ปรับปรุง พ.ศ.2563
โครงสรางหลักสูตร แบงเปนหมวดวิชาที่สอดคลองกับที่กำหนดไวในเกณฑ
มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้
ลำดับ หมวดวิชา เกณฑ ศธ. หลักสูตรปรับปรุง
ที่ พ.ศ.2558 พ.ศ.2563
1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 30
1.1 วิชาบังคับ 30
1.2 วิชาบังคับไมนับหนวยกิต 1
2 หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา 72 108
2.1 วิชาบังคับ ไมนอยกวา 96
2.2 วิชาเลือก ไมนอยกวา 12
3 หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 6
หนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 120 144

2. หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา จำนวน 108 หนวยกิต


2.1 วิชาบังคับ จำนวน 96 หนวยกิต
230100 กฎหมายแพง : หลักทั่วไป 3(3-0-6)
Civil Law : General Principles
230101 กฎหมายวาดวยนิติกรรมและสัญญา 3(3-0-6)
Juristic Act and Contract Law
230102 กฎหมายมหาชนเบื้องตน 3(3-0-6)
Introduction to Public Law
230200 กฎหมายลักษณะหนี้ 3(2-2-5)
Obligation Law
25
230201 กฎหมายวาดวยละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควรได 3(3-0-6)
Wrongful Acts, Management of Affairs Without
Mandate, and Undue Enrichment Law
230202 กฎหมายวาดวยทรัพย 3(2-2-5)
Property Law
230203 กฎหมายอาญาภาคทั่วไป 3(2-2-5)
Criminal Law : General Principles
230204 กฎหมายรัฐธรรมนูญ 3(2-2-5)
Constitutional Law
230205 กฎหมายอาญาภาคความผิด 3(2-2-5)
Criminal Law : Specific Offenses
230206 เอกเทศสัญญา 1 3(2-2-5)
Specific Contracts I
230207 กฎหมายวาดวยกูยืม ฝากทรัพย และหลักประกัน 3(2-2-5)
Loan, Deposit, and Security Transactions Law
230208 พระธรรมนูญศาลยุติธรรม และระบบศาลไทย 2(2-0-4)
Constitution of Courts of Justice and the Thai Judicial
System
230271 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงคทางนิติศาสตร 1(0-2-1)
Communicative English for Legal Purposes
230300 ตราสารเปลี่ยนมือ 3(3-0-6)
Negotiable Instruments
230301 เอกเทศสัญญา 2 3(2-2-5)
Specific Contracts II
26
230302 กฎหมายวาดวยหางหุนสวน บริษัท 3(2-2-5)
Partnership and Company Law
230303 กฎหมายวาดวยครอบครัว 3(2-2-5)
Family Law
230304 กฎหมายวาดวยมรดก 3(2-2-5)
Succession Law
230305 กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง 3(2-2-5)
Civil Procedure Law
230307 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 3(2-2-5)
Criminal Procedure Law
230308 กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน 3(3-0-6)
Evidence Law
230330 กฎหมายปกครอง 3(2-2-5
Administrative Law
230371 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการวิเคราะห 1(0-2-1)
เชิงวิชาการทางนิติศาสตร
Communicative English for Academic
Analysis Related to law
230372 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการนำเสนอ 1(0-2-1)
ผลงานทางนิติศาสตร
Communicative English for Legal Research
Presentation
230400 กฎหมายลมละลาย และการฟนฟูกิจการ 2(2-0-4)
Bankruptcy and Reconstruction Law
27
230401 กฎหมายแรงงาน 3(3-0-6
Labour Law
230402 กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง 3(2-2-5)
Public International Law
230403 กฎหมายภาษีอากร 3(3-0-6)
Taxation Law
230404 กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล 3(3-0-6)
Private International Law
230405 หลักวิชาชีพนักกฎหมาย 1(0-2-1)
Legal Profession
230406 ประวัติศาสตรกฎหมายไทย 2(2-0-4)
Thai Legal History
230407 นิติปรัชญา 3(3-0-6)
Legal Philosophy
230408 วิจัยทางกฎหมาย 4(2-4-6)
Legal Research
230452 กฎหมายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 3(3-0-6)
เพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน
Natural Resources and Environmental Law for
Sustainable Development
230476 ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย 1 2(1-2-3)
English for Lawyers I
230477 ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย 2 2(1-2-3)
English for Lawyers II
28
2.2 วิชาเลือก ไมนอยกวา จำนวน 12 หนวยกิต
โดยเลือกจากรายวิชาดังตอไปนี้
2.2.1 กลุมวิชากฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม
230306 สัมมนากฎหมายวิธีพิจารณาความแพง 2(2-0-4)
Seminar on Civil Procedure Law
230409 การระงับขอพิพาทโดยทางเลือกอื่น 2(1-2-3)
Alternative Dispute Resolution
230440 กฎหมายเกี่ยวกับการกระทำผิดของเด็ก 2(2-0-4)
และเยาวชนและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
Law on Juvenile Delinquency and Procedure
of the Juvenile and Family Court
230443 อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา 2(2-0-4)
Criminology and Penology
230444 อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ 2(2-0-4)
Economic Crimes
230445 สิทธิมนุษยชนกับกระบวนการยุติธรรมทางอาญา 2(2-0-4)
Human Rights and Criminal Justice
230468 กระบวนการยุติธรรมทางอาญา 2(2-0-4)
Criminal Justice System
230475 วิชาวาความและศาลจำลอง 2(1-2-3)
Advocacy and Moot Court
230481 ปญหาพิเศษทางกฎหมายอาญา 2(1-2-3)
Special Topics on Criminal Law
230483 ปญหาพิเศษทางกฎหมายวิธีพิจารณาความ 2(1-2-3)
Special Topics on Procedural Law
29
2.2.2 กลุมวิชากฎหมายธุรกิจและเอกชน
230309 กฎหมายวาดวยประกันภัย 2(2-0-4)
Insurance Law
230310 กฎหมายและระบบธุรกิจจีน 2(2-0-4)
Law and Business Operation System of China
230311 กฎหมายการแขงขันทางการคา 2(2-0-4)
Competition law
230373 กฎหมายเปรียบเทียบและสกุลกฎหมายของโลก 2(2-0-4)
เบื้องตน Introduction to Comparative Law : Legal
Systems of the World
230410 กฎหมายทรัพยสินทางปญญา 2(2-0-4)
Intellectual Property Law
230415 กฎหมายอุตสาหกรรม 2(2-0-4)
Industrial Law
230460 กฎหมายโทรคมนาคมและเศรษฐกิจดิจิทัล 2(2-0-4)
Telecommunication Law and Digital Economy
230461 กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ 2(2-0-4)
Information Technology Law
230465 กฎหมายที่เกี่ยวของกับโลจิสติกส 2(2-0-4)
Logistics Laws
230470 การรางสัญญาและการเจรจาตอรอง 2(1-2-3)
Contractual Drafting and Negotiation
230471 กฎหมายพาณิชยนาวีและการขนสง 2(2-0-4)
Maritime and transportation Law
30
230482 ปญหาพิเศษทางกฎหมายเอกชนและธุรกิจ 2(1-2-3)
Special Topics on Civil and Business Law
2.2.3 กลุมวิชากฎหมายมหาชน
230430 ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง 2(2-0-4)
Administrative Court and Procedure
230432 กฎหมายวาดวยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง 2(2-0-4)
Administrative Procedural Law
230434 สัญญาของรัฐ 2(2-0-4)
State Contracts
230435 กฎหมายปกครองสวนทองถิ่น 2(2-0-4)
Administrative Law on Local Administration
230436 นิติวิธีในทางกฎหมายมหาชน
Legal Methods on Public Law 2(1-2-3)
230438 กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ
Laws related to constitution 2(2-0-4)
230466 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายปกครองฝรั่งเศส
Introduction to French administrative law 2(2-0-4)
2.2.4 กลุมวิชากฎหมายระหวางประเทศและธุรกิจระหวางประเทศ
230320 กฎหมายทรัพยสินทางปญญาระหวางประเทศ 2(2-0-4)
International Intellectual Property Law
230420 กฎหมายการคาระหวางประเทศ 2(2-0-4)
International Trade Law
230422 กฎหมายองคการระหวางประเทศ 2(2-0-4)
International Organization Law
31
230423 กฎหมายสิ่งแวดลอมระหวางประเทศ 2(2-0-4)
International Environmental Law
230425 กฎหมายทะเลและกิจการทางทะเล 2(2-0-4)
Law of the Sea and Ocean Affairs
230427 กฎหมายเศรษฐกิจระหวางประเทศ 2(2-0-4)
International Economic Law
230451 กฎหมายสิทธิมนุษยชน 2(2-0-4)
Human Rights Law
230480 ปญหาพิเศษทางกฎหมายระหวางประเทศ 2(1-2-3)
Special Topics on International Law
2.2.5 กลุมวิชากฎหมายสังคมและสวัสดิการ
230413 กฎหมายคุมครองผูบริโภค 2(2-0-4)
Consumer Protection Law
230467 กฎหมายประกันสังคมและสวัสดิการสังคม
Social Security and Social Welfare Law 2(2-0-4)
2.2.6 กลุมวิชากฎหมายเพื่อการพัฒนาเฉพาะดาน
230350 กฎหมายพลังงาน 2(2-0-4)
Energy Laws
230351 กฎหมายเกี่ยวกับการเกษตรและการประมง 2(2-0-4)
Agricultural and Fisheries Laws
230352 กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนาเมืองและผังเมือง 2(2-0-4)
Urban Development and Urban Planning Law
230353 กฎหมายเกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ำ 2(2-0-4)
Water Management Law
32
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา จำนวน 6 หนวยกิต
เปนรายวิชาที่เปดโอกาสใหนิสิตเลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรระดับ
ปริญญาตรี เพื่อใหผูเรียนไดมีความรูทางวิชาการที่กวางขึ้น ตลอดจนเปนการสงเสริม
ความถนัดและความสนใจของผูเรียนใหไดมากยิ่งขึ้น โดยใหมีจำนวนหนวยกิตรวมไม
นอยกวา 6 หนวยกิต ยกเวน รายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปไมสามารถนับเปนวิชา
เลือกเสรี

หมายเหตุ รายวิชาเลือกที่ขึ้นตนดวย ปญหาพิเศษ (วิชาเลือก) ใหวัดและ


ประเมินผลการเรียน เปน S และ U ตามประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง ระดับขั้น
ในการวั ด และประเมิ น ผลรายวิ ช าที ่ ม ี ล ั ก ษณะฝ ก งาน โครงงาน ป ญ หาพิ เ ศษ
วิทยานิพนธ ภูมิภาคศึกษา การศึกษาอิสระ ประกาศ ณ วันที่ 9 กันยายน 2546

***ความหมายของหนวยกิต***
ตัวอยางแบบที่ 1 หนวยกิต 3(3-0-6) คือ จำนวน 3 หนวยกิต เรียนชั่วโมง
ทฤษฎี 3 ชั่วโมง/สัปดาห และนิสิตตองศึกษาคนควาดวยตนเอง 6 ชั่วโมง/สัปดาห
ตัวอยางแบบที่ 2 หนวยกิต 2(1-2-3) คือ จำนวน 2 หนวยกิต เรียนชั่วโมง
ทฤษฎี 1 ชั่วโมง/สัปดาห, เรียนชั่วโมงปฏิบัติ 2 ชั่วโมง/สัปดาห และนิสิตตองศึกษา
คนควาดวยตนเอง 3 ชั่วโมง/สัปดาห
33
แผนการศึกษาคณะนิติศาสตร
แผนการศึกษาชั้นปที่ 1
ภาคการศึกษาตน
รหัสวิชา รายชื่อวิชา หนวยกิต
001XXX หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชาภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)
001XXX หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชามนุษยศาสตร 3(2-2-5)
001XXX หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชาสังคมศาสตร 3(2-2-5)
001281 กีฬาและการออกกำลังกาย (บังคับไมนับหนวยกิต) 1(0-2-1)
Sports and Exercises (Non-Credit)
230100 กฎหมายแพง : หลักทั่วไป Civil Law : General Principles 3(3-0-6)
230102 กฎหมายมหาชนเบื้องตน 3(3-0-6)
Introduction to Public Law
รวม 15 หนวยกิต

ภาคการศึกษาปลาย
รหัสวิชา รายชื่อวิชา หนวยกิต
001XXX หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชาภาษาไทย 3(2-2-5)
001XXX หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชาภาษาไทย หรือกลุม 3(2-2-5)
วิชาภาษาอังกฤษ หรือกลุมวิชาภาษาตางประเทศ
001XXX หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชามนุษยศาสตร 3(2-2-5)
001XXX หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชาสังคมศาสตร 1(0-2-1)
230101 กฎหมายวาดวยนิติกรรมและสัญญา 3(3-0-6)
Juristic Acts and Contract Law
230204 กฎหมายรัฐธรรมนูญ Constitutional Law 3(2-2-5)
รวม 18 หนวยกิต
34
แผนการศึกษาชั้นปที่ 2
ภาคการศึกษาตน
รหัสวิชา รายชื่อวิชา หนวยกิต
001XXX หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชาภาษาไทย หรือกลุม 3(2-2-5)
วิชาภาษาอังกฤษ หรือกลุมวิชาภาษาตางประเทศ
001XXX หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชาวิทยาศาสตรและ 3(2-2-5)
คณิตศาสตร
230200 กฎหมายลักษณะหนี้ 3(2-2-5)
Obligation Law
230201 กฎหมายวาดวยละเมิด จัดการงานนอกสั่ง ลาภมิควร 3(3-0-6)
ได
Wrongful Acts, Management of Affairs
without Mandate, and Undue Enrichment
Law
230202 กฎหมายวาดวยทรัพย 3(2-2-5)
Property Law
230203 กฎหมายอาญาภาคทั่วไป 3(2-2-5)
Criminal Law : General Principles
รวม 18 หนวยกิต
35
แผนการศึกษาชั้นปที่ 2
ภาคการศึกษาปลาย
รหัสวิชา รายชื่อวิชา หนวยกิต
001XXX หมวดวิชาศึกษาทั่วไป กลุมวิชาวิทยาศาสตรและ 3(2-2-5)
คณิตศาสตร
230271 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงคทาง 1(0-2-1)
นิติศาสตร
Communicative English for Legal Purposes
230205 กฎหมายอาญาภาคความผิด 3(2-2-5)
Criminal Law : Specific Offenses
230206 เอกเทศสัญญา 1 3(2-2-5)
Specific Contracts I
230207 กฎหมายวาดวยกูยืม ฝากทรัพย และหลักประกัน 3(2-2-5)
Loan, Deposit, and Security Transactions
Law
230208 พระธรรมนูญศาลยุติธรรม และระบบศาลไทย 2(2-0-4)
Constitution of Courts of Justice and the
Thai Judicial System
230301 เอกเทศสัญญา 2 3(2-2-5)
Specific Contracts II
XXXXXX วิชาเลือกเสรี 3 หนวยกิต
Free Elective Course
รวม 21 หนวยกิต
36
แผนการศึกษาชั้นปที่ 3
ภาคการศึกษาตน
รหัสวิชา รายชื่อวิชา หนวยกิต
230371 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการวิเคราะหเชิง 1(0-2-1)
วิชาการทางนิติศาสตร
Communicative English for Academic
Analysis Related to law
230302 กฎหมายวาดวยหางหุนสวน บริษัท 3(2-2-5)
Partnership and Company Law
230303 กฎหมายวาดวยครอบครัว 3(2-2-5)
Family Law
230305 กฎหมายวิธีพิจารณาความแพง 3(2-2-5)
Civil Procedure Law
230307 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 3(2-2-5)
Criminal Procedure Law
230402 กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีเมือง 3(2-2-5)
Public International Law
230XXX วิชาเลือก 2 หนวยกิต
Elective Course
รวม 18 หนวยกิต
37
แผนการศึกษาชั้นปที่ 3
ภาคการศึกษาปลาย
รหัสวิชา รายชื่อวิชา หนวยกิต
230372 การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการนำเสนอผลงานทาง 1(0-2-1)
นิติศาสตร
Communicative English for Legal Research
Presentation
230300 ตามสารเปลี่ยนมือ 3(3-0-6)
Negotiable Instruments
230304 กฎหมายวาดวยมรดก 3(2-2-5)
Succession Law
230308 กฎหมายลักษณะพยานหลักฐาน 3(3-0-6)
Evidence Law
230330 กฎหมายปกครอง 3(2-2-5)
Administrative Law
230XXX วิชาเลือก 2 หนวยกิต
Elective Course
230XXX วิชาเลือก 2 หนวยกิต
Elective Course
รวม 17 หนวยกิต
38
แผนการศึกษาชั้นปที่ 4
ภาคการศึกษาตน
รหัสวิชา รายชื่อวิชา หนวยกิต
230403 กฎหมายภาษีอากร 3(3-0-6)
Taxation Law
230407 นิติปรัชญา 3(3-0-6)
Legal Philosophy
230408 วิจัยทางกฎหมาย 4(2-4-6)
Legal Research
230452 กฎหมายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อ 3(3-0-6)
การพัฒนาอยางยั่งยืน
Natural Resources and Environmental Law
for Sustainable Development
230476 ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย 1 2(1-2-3)
English for Lawyers I
230XXX วิชาเลือก 2 หนวยกิต
Elective Course
230XXX วิชาเลือก 2 หนวยกิต
Elective Course
รวม 19 หนวยกิต
39
แผนการศึกษาชั้นปที่ 4
ภาคการศึกษาปลาย
รหัสวิชา รายชื่อวิชา หนวยกิต
230400 กฎหมายลมละลาย และการฟนฟูกิจการ 2(2-0-4)
Bankruptcy and Reconstruction Law
230401 กฎหมายแรงงาน 3(3-0-6)
Labour Law
230404 กฎหมายระหวางประเทศแผนกคดีบุคคล 3(3-0-6)
Private International Law
230405 หลักวิชาชีพนักกฎหมาย 1(0-2-1)
Legal Profession
230406 ประวัติศาสตรกฎหมายไทย 2(2-0-4)
Thai Legal History
230477 ภาษาอังกฤษสำหรับนักกฎหมาย 2 2(1-2-3)
English for Lawyers II
230XXX วิชาเลือก 2 หนวยกิต
Elective Course
XXXXXX วิชาเลือกเสรี 3 หนวยกิต
Free Elective Course
รวม 18 หนวยกิต
40
สาระสำคัญงานวิชาการ
1. การลงทะเบียน
มหาวิ ทยาลัย นเรศวรจะกำหนดวัน พบอาจารย ที่ปรึกษากอนลงทะเบียน
เพื่อรับการอนุมัติการลงทะเบียนจากอาจารยที่ปรึกษา (อาจารยอาจจะนัดพบผาน
ทางระบบออนไลนตางๆ)
จากนั้น นิสิตดำเนินการลงทะเบียนเรียนบนอินเตอรเน็ตตามระยะเวลาที่
มหาวิทยาลัยกำหนด (รายละเอียดเพิ่มเติม www.reg.nu.ac.th) หากนิสิตไมสามารถ
ลงทะเบียนเรียนไดตามวันที่กำหนด สามารถทำการลงทะเบียนเรียนลาชา ภายใน 2
สัปดาหแรกนับจากวันเปดเรียน โดยตองเสียคาปรับตามระเบียบ (วันละ 25 บาท นับ
จากวันเปดเรียน)

2. การเพิ่ม-ถอนรายวิชา
นิสิตสามารถทำการเพิ่ม-ถอนรายวิชาได ทั้งนี้ หนวยกิตตองไมเกินกวาที่
มหาวิทยาลัยกำหนด สำหรับการถอนรายวิชา นิสิตจะตองเสียคาธรรมเนียมในการ
ถอนครั้งละ 10 บาท (กรณีเพิ่มรายวิชา จะไมมีคาธรรมเนียมใดๆ) สามารถดำเนินการ
ไดภายใน 2 สัปดาหแรกรับจากวันเปดเรียน

3. การลงทะเบียนเพื่อรักษาสภาพนิสิต
นิสิตที่ไมตองการลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษานั้นๆ ใหลงทะเบียนเพื่อ
รั ก ษาสภาพนิ ส ิ ต บนอิ น เตอร เ น็ ต โดยพิ ม พ ร หั ส 999999 ลงในช อ งรหั ส วิ ช า
ตามปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัย พรอมทั้งชำระคาธรรมเนียมการรักษาสภาพ
นิสิต ภาคเรียนละ 500 บาท
41
4. การชำระคาลงทะเบียนเรียน
เมื่อนิสิตทำการลงทะเบียนเรียนทางอินเตอรเน็ตเรียบรอยแลว ใหนิสิตพิมพ
ใบแจงหนี้ เพื่อเปนหลักฐานและนำไปชำระเงินที่ธนาคาร ภายในระยะเวลาที่กำหนด
ไวในใบแจงหนี้
4.1 หากไมไดชำระคาลงทะเบียนเรียนตามระยะเวลาที่กำหนด นิสิตจะพน
สภาพ และจะตองดำเนินการทำเรื่องขอคืนสภาพนิสิต โดยเสียคาธรรมเนียมการคืน
สภาพ 1,000 บาท และคาปรับสัปดาหละ 100 บาท นับจากสัปดาหที่เกินกำหนด
ไมเกิน 5 สัปดาห
4.2 กรณีนิสิตที่ชำระคาธรรมเนียมตามกำหนดเรียบรอยแลว และมีความ
ประสงคจะเพิ่มรายวิชาหลังกำหนด ใหนิสิตเขียนใบคำรองขอเพิ่มรายวิชาหลังกำหนด
(NU8) พรอมยื่นใบขอเพิ่มรายวิชา(NU6) โดยเสียคาปรับเพิ่มรายวิชา สัปดาหละ 100
บาทนับจากหมดกำหนดไมเกิน 5 สัปดาห

5. การลงทะเบียนเรียนซ้ำ
ทุ กรายวิ ช าที ่ ผ ลการเรี ย นต่ ำ กว า C นิ ส ิ ตสามารถลงทะเบีย นเรีย นซ้ำได
(แตนิสิตจะไมไดรับเกียรตินิยม) การลงเรียนซ้ำระบบจะคิดเกรดตัวสุดทายที่เ รียน
ถารายวิชาที่ลงเรียนซ้ำไดผลการเรียน F นิสิตก็จะตองลงแก F ในรายวิชานั้นๆ

6. การไดรับเกียรตินิยม
 เกียรตินิยม อันดับ 1 GPA ตลอดหลักสูตร 3.50 ขึ้นไป
 เกียรตินิยม อันดับ 2 GPA ตลอดหลักสูตร 3.25 – 3.49
ทั้งนี้ นิสิตจะตองไมเคยไดรับผลการเรียน F, U หรือลงทะเบียนเรียนรายวิชาซ้ำ
42
7. การสอบ
การเขาสอบทุกครั้ง นิสิตจะตองปฏิบัติตามขอบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร
วาดวยการสอบของนิสิต พ.ศ.2548 อยางเครงครัด เชน หามเขาสอบหลังจากเริ่มการ
สอบไปแลว 15 นาที หรือออกจากหองสอบกอนการสอบ 30 นาที, หามนำเอกสาร
ใดๆเข า หรื อ ออกจากห อ งสอบ ก อ นได ร ั บ อนุ ญ าตโดดเด็ ด ขาด และห า มนำ
โทรศัพทมือถือ หรือเครื่องมือสื่อสารทุกชนิดเขาหองสอบ หามใสเสื้อคลุมเขาหองสอบ
เปนตน

8. โทษของการทุจริต
กรณี ท ี ่ น ิ ส ิ ต ทุ จ ริ ต ในการสอบ ตามประกาศมหาวิ ท ยาลั ย นเรศวร เรื ่ อง
กำหนดโทษความผิดทางวินัยกรณีทุจริตการสอบ ตองดำเนินการตามขั้นตอนของ
มหาวิทยาลัย และหากสอบสวนพบวานิ สิต ทุจริต จริ ง จะถูกลงโทษโดยการติด F
ในรายวิชานั้น และถูกสั่งพักการศึกษาในภาคเรียนถัดไป

9. การไดรับผลการศึกษาอักษร I
กรณีที่ผูสอนติด อั กษร I ใหกับนิสิต ซึ่งอาจจะมี เหตุ ผลบางประการ เชน
ผูสอนยังดำเนินการวัดผลการศึกษาไมแลวเสร็จ เนื่องจากผูสอนรอใหนิสิตสงงานให
ครบ เปนตน
ผูสอนมีกำหนดแกไขผลการศึกษาจากติดอักษร I เปนเกรดใหกับนิสิตภายใน
4 สัปดาห นับจากวันเปดเรียนถัดไป
หมายเหตุ การที่นิสิตไดรับผลการศึกษาเปนอักษร I นั้น จะไมมีผลกระทบ
กับนิสิตที่ยังมีการเรียนในภาคเรียนถัดไป แตหากนิสิตที่จะจบการศึกษาในภาคเรียน
ดังกลาว และได ร ั บ ผลการศึ กษาติ ด อั กษร I ในภาคเรีย นสุดทาย จะทำใหไม จ บ
การศึกษาในภาคเรียนนั้น นิสิตตองดำเนินการรักษาสภาพนิสิตในภาคเรียนถัดไปและ
ตองยื่นจบการศึกษาใหม (ไมตองเสียคาขึ้นทะเบียนบัณฑิต 2,000 บาทแลว)
43
10. การพนสภาพนิสิต
กรณีที่นิสิตพนสภาพนิสิต มีดังนี้
1. ไมลงทะเบียนหรือไมชำระคาลงทะเบียนตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด
นิสิตสามารถทำเรื่องขอคืนสภาพนิสิตได โดยเขียนใบคำรองขอคืนสภาพนิสิต
(NU7) และตองเสียคาคืนสภาพนิสิต เปนเงิน 1,000 บาท และคาปรับลาชาสัปดาห
ละ 100 บาท นั บ หลั งจากสั ป ดาห เ ลยกำหนด ไดเพีย ง 5 สัป ดาห ตามประกาศ
มหาวิทยาลัย
2. ไดรับผลการศึกษาไมเปนไปตามเกณฑที่มหาวิทยาลัยกำหนด คือ
 เมื่อเรียนมาแลวครบสองภาคการศึกษา และยังมีเกรดเฉลี่ยสะสมทั้งหมดไมถึง 1.50
 เมื่อเรียนมาแลวครบสี่ภาคการศึกษา และยังมีเกรดเฉลี่ยสะสมทั้งหมดไมถึง 1.75
 เมื่อเรียนมาแลวครบสี่ภาคการศึกษาขึ้นไป ยังมีเกรดเฉลี่ยสะสมทั้งหมดไมถึง 1.75
***นิสิตที่มีเกรดเฉลี่ยสะสม ตั้งแต 1.50 – 1.99 นิสิตจะมีสถานภาพรอพินิจ***

11. การลาพักการศึกษา
นิสิตที่ประสงคจะลาพักการศึกษา ตองเขียนใบคำรอง (NU17) โดยผานความ
เห็ น ชอบจากผู  ป กครองและอาจารย ท ี ่ ป รึ ก ษา จากนั ้ น นำใบคำร อ งมายื ่ น ต อ
งานวิชาการคณะ เพื่อดำเนินการตามขั้นตอนตอไป
ดังนั้น นิสิตที่ลาพักการศึกษาจะตกแผนการศึกษา ซึ่งจะทำใหจบการศึกษาลาชา

12. การลาออกจากการศึกษา
นิสิตที่ประสงคจะลาออกจากการศึกษา ตองเขียนใบคำรอง NU19 โดยผาน
ความเห็ น ชอบจากผู  ป กครองและอาจารย ท ี ่ ป รึ ก าษา และยื ่ น ต อ งานวิ ช าการ
คณะเพื่อดำเนินการตามขั้นตอนตอไป
44
13. การทดสอบความรูกอนจบการศึกษา
นิสิตจะตองมีผลการทดสอบความรูทั้ง 2 ดาน จึงจะจบการศึกษา ดังนี้
13.1 การสอบภาษาอังกฤษของนิสิตระดับปริญญาตรี
45
46
13.2 การสอบวัดความรูคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ
47
14. ขั้นตอนการยื่นสำเร็จการศึกษา
เมื่อนิสิตเรียนครบตามโครงสรางหลั กสูตรแลว ตองดำเนินการยื่นสำเร็จ
การศึกษาในภาคเรียนสุดทาย ซึ่งมีกำหนดยื่นภายใน 30 วัน นับจากวันเปดภาคเรียน
นั้นๆ มีขั้นตอนที่ตองปฏิบัติ ดังนี้
1. เข าระบบ REG ไปที ่ เ มนู ตรวจสอบจบ และกรอกที่อยูที่ตองการให
มหาวิทยาลัยติดตอกลับ (หากบันทึกแลวแกไขไมได) จากนั้นเลือก พิมพใบยื่นสำเร็จ
การศึกษา(NU25) และลงชื่อในใบยื่นสำเร็จการศึกษา
2. ดำเนินการถายรูปสวมชุดครุย ขนาด 2 นิ้ว (สีหรือขาวดำก็ได) ทรงผม
เครื่องแบบ และครุยแสดงวิทยฐานะ ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
3. นำใบยื่นสำเร็จการศึกษา(NU25) ชำระเงินคาขึ้นทะเบียนบัณฑิต จำนวน
2,000 บาท ณ กองคลัง อาคารมิ่งขวัญ ชั้น 1 มหาวิทยาลัยนเรศวร
4. นำใบยื่นสำเร็จการศึกษา, ใบเสร็จรับเงิน และรูปถายสวมชุดครุย ขนาด 2
นิ้ว จำนวน 2 รู ป (เขี ย นชื ่ อ,รหั ส นิ ส ิ ตด า นหลั งรู ป ) ยื่น เอกสาร ณ งานทะเบีย น
กองบริ ก ารการศึ ก ษา อาคารเรี ย นรวม (QS) **อย า ลื ม ลงชื ่ อ ในสมุ ด ยื ่ น สำเร็ จ
การศึกษา**
5. หากยื่นจบแลว แตไมยังไมจบการศึกษาในภาคเรียนนั้น นิสิตตองยื่นจบ
ใหม ใ นภาคเรียนที่ ค าดว า จะจบการศึ ก ษาทุ ก ครั้ ง โดยไมต องชำระเงิน ค า ขึ้ น
ทะเบียนบัณฑิตแลว
6. หากเลยกำหนดการยื่นจบ จะเสียคาปรับยื่นสำเร็จลาชา วันละ 50 บาท
โดยเขียนใบคำรองขอยื่นสำเร็จลาชากวากำหนด (NU9)
48
15. การวัดและประเมินผลแบบอิงเกณฑ
80 – 100 คะแนน เกรด A
75 – 79 คะแนน เกรด B+
70 – 74 คะแนน เกรด B
65 – 69 คะแนน เกรด C+
60 – 64 คะแนน เกรด C
55 – 59 คะแนน เกรด D+
50 – 54 คะแนน เกรด D
ต่ำกวา 50 คะแนน เกรด F (ตองลงเรียนใหม)
ความหมายของสัญลักษณการวัดและประเมินผล
S เปนที่พอใจ U ไมเปนที่พอใจ
I การวัดผลยังไมสมบูรณ P การเรียนการสอนยังไมสิ้นสุด
W การถอนรายวิชา

16. การตกแผนการศึกษา หรือแกไขเกรด F


1. ตรวจเช็ ค แผนการศึ ก ษา ว า รายวิ ช าที ่ ต  อ งการลงทะเบี ย นเรี ย นนั้ น
เปดสอนภาคเรียนไหน
2. เขียนใบคำรองขอเปลี ่ยนแปลงรายวิชา (NU6) เพื่อเพิ่มรหัสนิสิ ตและ
ชื่อ-สกุล โดยผานความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา และอาจารยผูสอนรายวิชา
ลงนาม และยื่นใบคำรองตองานวิชาการคณะนิติศาสตร เพื่อเสนอตามขั้นตอนตอไป
3. หากรายชื่อปรากฎในรายวิชาที่ขอลงทะเบียนเรียน นิสิตจึงสามารถคลิก
เพิ่มรายวิชาดังกลาวไดทาง www.reg.nu.ac.th ระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด
49
17. การขอดูสมุดคำตอบ
เมื่อนิสิตทราบผลการเรียนรายวิชาในระบบ reg แลว และตองการทราบ
ขอบกพร องในการเขี ย นตอบข อสอบ นิ ส ิ ตสามารถเขีย นคำรองทั่วไป (ของคณะ
นิติศาสตร) เพื่อรับฟงขอบพร องในการเขียนตอบขอสอบของตนเองจากอาจารย
ผูสอน โดยมีขั้นตอน ดังนี้
1. นิสิตตองยื่นคำรองขอดูสมุดคำตอบภายใน 1 เดือน นับแตวันที่ประกาศ
ผลการเรียนอยางเปนทางการในระบบ REG
2. เมื่ออาจารยผูสอนอนุญาตการขอดูสมุดคำตอบ ใหดำเนินการนัดนิสิตดู
สมุดคำตอบภายใน 2 เดือน นับแตวันที่ประกาศผลการเรียนอยางเปนทางการในระบบ
REG
3. การกำหนดวัน เวลานัดนิสิตขอดูสมุดคำตอบ ใหมีเจาหนาที่งานวิชาการ
หรือเจาหนาที่งานกิจการนิสิตฯ จำนวน 1 คน เขารวมฟงดวย
4. เมื่อดำเนินการนัดดูสมุดคำตอบกับนิสิตเปนที่เรียบรอยแลว ใหอาจารย
ผูสอน นิสิต และเจาหนาที่ลงชื่อในใบคำรองขอดูสมุดคำตอบในฉบับที่นิสิตยื่นคำรอง
ขอดูสมุดคำตอบ
**นิสิตสามารถอัพโหลดคำรองขอดูสมุดคำตอบไดที่หนาเว็บไซตคณะนิติศาสตร**

18. ชองทางการยื่นคำรอง
นิสิตยื่นคำรองตางๆ ดวยตนเอง ณ สำนักงานเลขานุการคณะนิติศาสตร
ชั้น 3 คณะนิติศาสตร
50
19. ชองทางสำหรับติดตามขอมูลของรายวิชาตางๆ
นิ ส ิ ต สามารถติ ด ตามข อ มู ล ของรายวิ ช าต า งๆ ได ใ น Microsoft Teams
ประจำรายวิชา โดยเฉพาะรายวิชาของอาจารยพิเศษ ซึ่งเปนชองทางหลักในระหวางที่
มีการเรียนการสอนออนไลน และทางระบบ www.reg.nu.ac.th ชองทางหลักใน
ระหวางที่มีการเรียนการสอนปกติ

20. การยื่นคำรองขอใบแสดงผลการเรียน (TRANSCRIPT)


เมื ่ อนิ ส ิ ต จบการศึ ก ษาแล ว นิ ส ิ ตต องยื ่ น คำร อ งขอใบแสดงผลการเรี ย น
(Transcript) (NU15) (ขอฉบั บ หลั ง จบการศึ ก ษา) เพื ่ อ นำไปประกอบการ
สมัครงานหรื อเรียนต อ พรอมกั บแนบรูป ถายชุ ดครุ ย ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 2 รูป
เสียคาธรรมเนียมฉบับละ 100 บาท (อานรายละเอียดเพิ่มเติมในใบคำรอง NU15)

21. การไดรบั ใบรับรองคุณวุฒิ


นิสิตจบการศึกษาแลว และไดทำเรื่องยื่นจบการศึกษาตามขั้นตอนขอ 14
เมื ่ อ ผลการเรี ย นของภาคเรี ย นสุ ด ท า ยออกและผ า นครบทุ ก รายวิ ช า เจ า หน าที่
งานทะเบียนจะทำการตรวจสอบขอมูลใหกับนิสิตเปนรายคน ดังนี้
21.1 การลงทะเบียนเรียนใหครบและผานตามโครงสรางของหลักสูตร
21.2 ตรวจสอบผลการทดสอบภาษาและผลการทดสอบคอมพิวเตอร
ตามขอ 13 ครบถวนเรียบรอย
21.3 GPA เฉลี่ยรวม ไมต่ำกวา 2.00
21.4 ไมมีคาใชจายคางชำระ เปนตน
เมื่อตรวจสอบเสร็จเรียบรอยแลว สถานภาพของนิสิตจะขึ้นสำเร็จการศึกษา
และงานทะเบียนจะสงใบรับรองคุณวุฒิใหกับนิสิตตามที่อยูที่กรอกในระบบตอนยื่นจบ
ตอไป
51
22. ขั้นตอนการพบอาจารยที่ปรึกษาในกรณีตางๆ
หากนิสิตมีความประสงคจะขอพบอาจารยที่ ปรึกษา สามารถติดตอได 3
ชองทาง
1. ติดตออาจารยที่ปรึกษาโดยตรงผานชองทางที่อาจารยแจงนิสิต
2. ติดตออาจารยที่ปรึกษาดวยตนเอง โดยใชโทรศัพทสายในโทรหาอาจารยที่
ปรึกษาตามเบอรที่แจงไวบริเวณหนาทางเขาหองพักอาจารย ชั้น 2 คณะนิติศาสตร
3. ประสานผ า นเจ า หน า ที ่ ง านกิ จ การนิ ส ิ ต ฯ และงานวิ ช าการ ณ ห อ ง
สำนักงานเลขานุการคณะนิติศาสตร ชั้น 3 ในวันและเวลาราชการ (วันจันทร-วันศุกร
เวลา 08.30 – 16.30 น.) หรือโทร. 0-5596-1734, 0-5596-1738 เพื่ออำนวยความ
สะดวกในการนัดพบ

ขอใหนิสิตทุกคน ศึกษาขอมูลเพิ่มเติมจาก ขอบังคับมหาวิทยาลัย


นเรศวร วาดวย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.2565
และประกาศ ขอบังคับตางๆ
http://www.law.nu.ac.th/index.php?menuID=document
52
53
54
23. ขั้นตอนการขอดูสมุดคำตอบ
เมื่อนิสิตทราบผลการเรียนที่ประกาศอยางเปนทางการจากระบบ REG แลว
และมีความประสงคขอดูสมุดคำตอบ ใหดำเนินการ ดังนี้
1. นิสิตตองยื่นคำรองขอดูสมุดคำตอบตองานวิชาการภายใน 1 เดือน นับแต
วันที่ประกาศผลการเรียนอยางเปนทางการในระบบ REG
2. เมื่ออาจารยผูสอนอนุญาตการขอดูสมุดคำตอบ ใหดำเนินการนัดนิสิตดู
สมุดคำตอบภายใน 2 เดือน นับแตวันที่ประกาศผลการเรียนอยางเปน
ทางการในระบบ REG
3. การกำหนดวัน เวลานัดนิสิตขอดูสมุดคำตอบ ใหมีเจาหนาที่งานวิชาการ
หรือเจาหนาที่งานกิจการนิสิตฯ จำนวน 1 คน เขารวมฟงดวย
4. เมื่อดำเนินการนัดดูสมุดคำตอบกับนิสิตเปนที่เรียบรอยแลว ใหอาจารย
ผูสอน นิสิต และเจาหนาที่ลงชื่อในใบคำรองขอดูสมุดคำตอบในฉบับที่
นิสิตยื่นคำรองขอดูสมุดคำตอบ
55
56

24. ขั้นตอนการขอยื่นอุทธรณ
เมื่อนิสิตยื่นคำรองขอดูสมุดคำตอบและไดดูสมุดคำตอบเปนที่เรียบรอยแลว
ทั้งนี้ นิสิตมีสิทธิ ์ อุ ทธรณผ ลการเรีย นภายใน 15 วั น นับแตวันที่ ไดดูส มุด คำตอบ
เพื่อขอเสนอคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณะกรรมการประจำคณะพิจารณา
ตามลำดับตอไป
57
แบบฟอรมคำรองตางๆ
มหาวิทยาลัย https://www.reg2.nu.ac.th/registrar/e-
form2.asp?avs689289060=2
NU6 ขอรายชื่อในรายวิชาที่จะลงเรียน
NU7 ขอคืนสภาพการเปนนิสิต
NU8 ขอเพิ่มรายวิชาหลังกำหนด
NU9 ขอยื่นสำเร็จการศึกษาลาชากวากำหนด
NU11 ขอถอนรายวิชาลงทะเบียน (ติด W)
NU13 ขอยายคณะ / ขอยายสาขาวิชาเรียน
NU14 ขอเทียบโอนรายวิชา (กรณีเคยเรียนวิชาแลว และเกรด C ขึ้นไป)
NU15 ขอใบรายงานผลการเรียน (Transcript)
NU16 ขอเปลี่ยนชื่อ-สกุล
NU17 ขอลาพักการศึกษา
NU18 คำรองทั่วไป
NU19 ขอลาออกจากการศึกษา
NU21 ขอใบรับรองการเปนนิสิต
NU24 ใบมอบฉันทะ

คณะนิติศาสตร http://www.law.nu.ac.th/index.php?menuID=form-
student
คำรองทั่วไป
คำรองขอดูสมุดคำตอบ
58
สาระสำคัญงานกิจการนิสิตและศิษยเกาสัมพันธ

1. กองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.)
กองทุนเงินกูยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) มีวัตถุประสงคใหกูยืมเงินแกนักเรียน
หรือนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพยเพื่อเปนคาเลาเรียน คาใชจายที่เกี่ยวเนื่ องกับ
การศึกษา และคาใชจายที่จำเปนในการครองชีพระหวางศึกษา เมื่อสำเร็จการศึกษา
หรือเลิกการศึกษาแลว 2 ป(ครบระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ป) ผูกูตองชำระหนี้ภายใน
ระยะเวลา 15 ป ในอัตราดอกเบี้ย 1% ตอป แตหากในชวงระยะเวลาปลอดหนี้ 2 ป
ผู  ก ู  ส ามารถชำระหนี ้ ก  อ นครบกำหนดเวลาชำระหนี ้ ไ ด โ ดยไม เ สี ย ดอกเบี ้ ย หรื อ
ประโยชนอื่นใด
คุณสมบัติของผูประสงคกูยืมเงินกองทุน กยศ. ประจำปการศึกษา 2566
1. เปนผูมีสัญชาติไทย อายุไมเกิน 30 ปบริบูรณ
2. รายไดครอบครัวไมเกิน 360,000 บาท/ป
3. มีผลการเรียนดี
4. มีชั่วโมงจิตอาสา จำนวน 1 กิจกรรม ไมต่ำกวา 3 ชั่วโมง (สำหรับการกู กยศ.
ในปการศึกษาถัดไป ใชชั่วโมงกิจกรรม ประเภทกิจกรรมจิตสาธารณะ ในระบบทรานสคริปกิจกรรม Activity
Transcipt ที่ลิงค https://acttrans.nu.ac.th/ จำนวนไมนอยกวา 36 ชั่วโมง/ปการศึกษา)
ขอบเขตการกูยืมเงินกองทุนเงินใหกูยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.)
คาเลาเรียน คาใชจายเกี่ยวเนื่อง คาครองชีพ รวมจำนวนเงินที่
กับการศึกษา
(บาท/ป) (บาท/ป) (บาท/ป) กู(บาท/ป)
32,200 บาท - 36,000 บาท 68,200 บาท
เทอมละ 16,100 บาท เดือนละ 3,000 บาท
หมายเหตุ : คาเลาเรียนดังกลาวนี้ ไมรวมถึงคาเพิ่ม-ถอนรายวิชา หรือคาปรับอื่นๆ ที่เกิด
จากการลงทะเบียนเพิ่มเติมจากหลักสูตรแตอยางใด นิสิตจะตองทำการชำระเงินสวนตาง
เอง ณ กองคลัง อาคารมิ่งขวัญ ชั้น 1 โดยสามารถตรวจสอบยอดคางชำระไดในระบบ REG
(www.reg.nu.ac.th) เมนู “ภาระคาใชจาย/ทุน”
59
กิจกรรมจิตสาธารณะ
- Page Facebook : กยศ. มหาวิทยาลัยนเรศวร

- Page Facebook : ศูนยจิตอาสา มหาวิทยาลัยนเรศวร

- Page Facebook : จิตอาสา มหาวิทยาลัยนเรศวร


60
- การเรียน e-learning ผานระบบ DSL
นิสิตสามารถเรียนไดทุกหลักสูตรในระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี ผาน
ระบบ DSL เมื่อเรียนเรียบรอยแลวมหาวิทยาลัยจะดำเนินการประสานงานกับ กยศ.
สำนักงานใหญ เพื่อดึงขอมูลการเรียน และบันทึกชั่วโมงลงระบบทรานสคริปกิจกรรม
ใหโดยอัตโนมัติ

2. ทุนการศึกษาแบบใหเปลา
2.1 ทุนการศึกษาที่คัดเลือกโดยมหาวิทยาลัย เชน
- ทุนการศึกษานายหางโรงปูนผูหนึ่ง เงินทุน 25,000 บาท/ปการศึกษา
- ทุนการศึกษาบริษัท บุญรอดบริวเวอรี่ จำกัด เงินทุน 25,000 บาท/ ปการศึกษา
- ทุนการศึกษา The Set Foundation เงินทุน 20,000 บาท/ ปการศึกษา
- ทุนการศึกษามูลนิธิชินโสภณพนิช เงินทุน 15,000 บาท/ปการศึกษา
- ทุนการศึกษาเทสโกโลตัส เพื่อนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย เงินทุน 10,000 บาท/ป
การศึกษา
- ทุนการศึกษามูลนิธินายประจักษ-นางสาลี่ คนตรง เงินทุน 4,000 บาท/ปการศึกษา
- ทุน การศึ กษาบริ ษั ท ปตท.สำรวจและผลิตป โตรเลีย ม จำกัด (มหาชน) เงิน ทุน
10,000 บาท/ปการศึกษา
- ทุนการศึกษามูลนิธิตั้งเซ็กกิม(บริษัท นานมี จำกัด) เงินทุน 6,000 บาท/ปการศึกษา
61
2.2 ทุนการศึกษาที่คัดเลือกโดยคณะนิติศาสตร
- ทุ น การศึ ก ษาจากเงิ น บริ จ าค (จากอาจารย พ ิ เ ศษ คณาจารย และผู  มี
อุปการะคุณ)
- ทุนหนังสือเรียนกฎหมาย ที่ไดรับการสนับสนุนจาก บริษัท สำนักพิมพวิญู
ชน จำกัด ที่จะมอบใหนิสิตในทุกภาคการศึกษา ชั้นปละ 5 ทุน รวมทั้งสิ้น 20 ทุน/
ภาคการศึกษา
คุณสมบัติเบื้องตน
1. มีเกรดเฉลี่ยสะสมไมต่ำกวา 2.50
2. มีความประพฤติดี
3. มีจิตสาธารณะ ชวยเหลือสังคม
4. มีความขาดแคลนทุนทรัพยทางการศึกษา

3. กองทุนเงินยืมฉุกเฉินไทยชวยไทย
คุณสมบัติของนิสิตที่ขอกูยืมเงินกองทุน
1. เปนนิสิตระดับปริญญาตรีที่ลงทะเบียนในภาคการศึกษาที่ยื่นขอกูยืมเงิน
2. มีความเดือดรอนและความจำเปนเรงดวนที่ตองใชจายในการศึกษา
3. ไมเคยถูกลงโทษหรืออยูระหวางถูกลงโทษทางวินัยนิสิต
4. ไมเคยเปนผูคืนเงินกองทุนลาชาในการยืมเงินกองทุนครั้งกอน หรืออยูระหวางผอน
ชำระเงินยืม
วงเงินในการใหกูยืมเงินกองทุน
1. มหาวิทยาลัยอนุมัติใหกูยืมเงินจากกองทุนครั้งละไมนอยกวา 2,000 บาท และไม
เกิน 12,000 บาท
2. กรณีที่นิสิตขอกูยืมเงินจากกองทุนเกินกวา 12,000 บาท ใหประธานคณะกรรมการ
กองทุนเปนผูพิจารณาอนุมัติ และใหการพิจารณาดังกลาวถือวาเปนที่สุด
62
หลักเกณฑการชำระหนี้เงินกูยืม
1. นิสิตจะตองชำระเงินที่กูยืมคืนใหแกมหาวิทยาลัยภายในระยะเวลา 6 เดือน (180
วัน) นับแตวันทำสัญญา โดยจะชำระทั้งจำนวนในคราวเดียว หรือผอนชำระเปนงวด
รายเดือนก็ได
กรณีผอนชำระเปนงวดรายเดือน ใหมีระยะเวลาปลอดหนี้สองเดือนแรก และ
ใหเริ่มผอนชำระตั้งแตเดือนที่สามเปนตนไป แตทั้งนี้ตองไมเกิน 6 เดือน (180 วัน) นับ
แตวันทำสัญญา
2. กรณีนิสิตไมชำระเงินกูคืนภายในระยะเวลาดังกลาว หรือชำระไมครบถวน นิสิต
จะตองชำระดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 7.5 ตอป ของจำนวนเงินที่ยังมิไดชำระ นับแต
วันครบกำหนดระยะเวลาดังกลาวจนกวาจะชำระครบถวน และใหกองกิจการนิสิตแจง
กองบริการการศึกษาเพื่อระงับการลงทะเบียนหรือระงับการจบการศึกษาของนิสิตผู
กูยืมเงินที่ผิดนัดชำระหนี้
***สามารถสอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ กองกิจการนิสิต โทร 0-5596-1210***

4. กองทุนสวัสดิภาพนิสิต
การประกันสุขภาพนิสิต
บัตรทอง คือ บัตรประกันสุขภาพถวนหนาที่กระทรวงสาธารณสุขออกใหแก
ผูมีสิทธิตามโครงการสรางหลักประกันสุขภาพถวนหนา หลักประกันสุขภาพถวนหนา
คือ สิทธิและความคุมครองของประชาชน ในการไดรับบริการทางการแพทย การ
สาธารณสุข และการอนามัย อันจำเปนตอสุขภาพและการดำรงชีวิต
การขึ้นทะเบียนบัตรทอง
ผูมีสิทธิขึ้นทะเบียนบัตรทองของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร คือ นิสิต
ระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยนเรศวร ยกเวน
1. ผูมีสิทธิตามพระราชบัญญัติประกันสังคม เชน ลูกจางเอกชนที่เขากองทุน
ประกันสังคม หรือลูกจางชั่วคราวรายเดือนของสวนราชการ
63
2. ผูมีสิทธิตามพระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล
เชน บุตรขาราชการที่อายุยังไมครบ 20 ปบริบูรณ
3. ผูที่อยูในความคุมครองของหลักประกันสุขภาพอื่นใดที่รัฐจัดให
สถานที่รับขึ้นทะเบียน
ฝายสนับสนุนบริการสุขภาพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัย
นเรศวร โทร.055-965630
หลักฐานในการขึ้นทะเบียน
1. สำเนาบัตรประจำตัว ประชาชน หรือบัตรประจำตัว ที่ มีรู ป ถายซึ ่ ง ทาง
ราชการออกให
2. สำเนาทะเบียนบานที่ผูขอมีชื่ออยู
3. กรณีที่พักอาศัยอยูจริงไมตรงตามทะเบียนบาน ใหเพิ่มเติมสำเนาทะเบียน
บานที่ไปพักอาศัย ซึ่งมีลายมือชื่อรับรองของเจาบานที่รับรองวาไดพักอาศัยอยูจริง
4. หลักฐานอื่นๆ เชน สำเนาใบเปลี่ยนชื่อหรือสกุล
หากมีการยายที่อยูอาศัยหรือทะเบียนบาน สามารถขอเปลี่ยนบัตรทองเพื่อ
เปลี่ยนสถานพยาบาลได แตจะขอไดไมเกิน 2 ครั้งตอป
ขั้นตอนการรับบริการทางการแพทย ณ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร
มหาวิทยาลัยนเรศวร
1. แสดงความจำนงเพื่อขอใชสิทธิทุกครั้ง
2. แสดงบั ต รทองพร อมบั ตรประจำตั ว ประชาชนหรื อบั ต รประจำตั ว ที ่ มี
รูปถายซึ่งทางราชการออกใหทุกครั้งที่ไปรับบริการทางการแพทย
3. เขารับบริการทางการแพทย ณ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร
สิทธิการรักษาพยาบาลของนิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยนเรศวร
- มีบัตรทอง สถานพยาบาลหลักโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร
- ชำระคาธรรมเนียม 30 บาทตอครั้ง ตามโครงการประกันสุขภาพถวนหนา
- ไมมีบัตรทอง หรือ มีบัตรทองสถานพยาบาลอื่น
64
- ชำระคารักษาพยาบาลตามคาใชจายที่เกิดขึ้นจริง
- เจ็บปวยฉุกเฉิน (มีบัตรทองของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร)
- ชำระค า ธรรมเนีย ม 30 บาทต อครั ้ ง สามารถเขารับ การรักษาในสถาน
พยาบาลที่เขารวมโครงการ 30 บาทไดทั่วประเทศ (ใชสิทธิไดไมเกิน 2 ครั้งตอป)
- อุ บ ั ต ิ เ หตุ ที ่ ไม ได เ กิ ดจากรถ (มี บ ั ตรทองของโรงพยาบาลมหาวิ ท ยาลั ย
นเรศวร)
- ชำระคาธรรมเนียม 30 บาทตอครั้ง ตามโครงการประกันสุขภาพถวนหนา
- อุ บ ั ต ิ เ หตุ อ ั น เนื ่ อ งมาจากรถ (พ.ร.บ.ผู  ป ระสบภั ย จากรถ) ชำระค า
รักษาพยาบาลตามคาใชจายที่เกิดขึ้นจริง แลวนำใบเสร็จรับเงินไปเบิกตามสิทธิจาก
พ.ร.บ. ผูประสบภัยจากรถเต็มจำนวนที่สามารถเบิกได

5. การประกันอุบัติเหตุ
สิทธิที่จะไดรับเงินชวยเหลือ
ตองเปนผลเสียหายจากอุบัติเหตุ อันเกิดจากสาธารณภัยตางๆ หรือภัยที่เกิด
จากเหตุสุดวิสัย แตไมรวมถึงความจงใจหรือเจตนาของนิสิต หรือที่นิสิตมีสวนจางงาน
ใหกอเหตุขึ้น หรือจากการกระทำผิดกฎหมายอาญา สิทธิของนิสิตเริ่มตั้งแตวันที่
1 มิ.ย. – 31 พ.ค. ของแตละรอบปการศึกษา
หลักเกณฑการจายเงินชวยเหลือนิสิตผูประสบภัยเนื่องมาจากอุบัติเหตุ
1. กรณีประสบอุ บั ติ เหตุจ ากรถยนต หรื อรถจักรยานยนต ใหใชสิทธิจ าก
พระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 กอน
2. หากใชสิทธิตามพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535
เต็มแลวใหนิสิตขอรับเงินชวยเหลือคารักษาพยาบาลสวนเกินกองทุนสวัสดิภาพนิสิต
ครั้งละไมเกิน 15,000 บาท
65
3. หากนิสิตไมไดประกันตนตามพระราชบัญญัติคุมครองผูประสบภัยจากรถ
พ.ศ. 2535 หรือไมมีใบอนุญาตขับขี่ หรือประสบอุบัติเหตุอนเนื่องมาจากรถสกูตเตอร
นิสิตไมมีสิทธิขอรับเงินชวยเหลือคารักษาพยาบาลจากกองทุนสวัสดิภาพนิสิต
4. หากประสบอุบัติเหตุนอกเหนือจากรถยนตหรือรถจักรยานยนต ใหเขารับ
การรั กษาพยาบาลโรงพยาบาลใดก็ ได และนำหลั กฐานมาขอรับ เงิน ชว ยเหลื อ ค า
รักษาพยาบาล
5. ในกรณีเขารับการรักษาเปนคนไขนอก ใหนิสิตสำรองเงินจายไปกอน แลว
นำหลั กฐานมาขอรั บ เงิ น ช ว ยเหลื อ ภายใน 180 วัน นับ จากวัน ประสบอุบ ัติเหตุ
ที่หนวยประกันคุณภาพการศึกษา กองกิจการนิสิต อาคารอเนกประสงค มหาวิทยาลัย
นเรศวร
6. กรณีเขารับการรักษาเปนผูปวยในเฉพาะกรณีโรงพยาบาลในเขตอำเภอ
เมือง จั งหวั ด พิ ษณุ โ ลก ให แสดงบั ตรประจำตั ว นิส ิ ตที ่โ รงพยาบาลนั้น ๆ ซึ่งทาง
โรงพยาบาลจะดำเนินการเบิกจายจากกองทุนสวัสดิการนิสิต มหาวิทยาลัยนเรศวรเอง
สวนโรงพยาบาลนอกเขตปฏิบัติเชนเดียวกับขอ 5
5.1 กรณีประสบอุบัติเหตุและไดรับบาดเจ็บ
นิ ส ิ ต จะได ร ับ เงิ นชว ยเหลือค า รั กษาพยาบาล ครั้งละ 15,000 บาท/ครั้ ง
ตามอัตราเงินชวยเหลือที่กำหนดไวโดยในกรณีเกิดอุบัติเหตุอื่นๆที่ไมใชจากรถใหนิสิต
ใชบัตรทอง (30 บาท) ไดโดยแสดงบัตรทองทุ กครั้งที่ ใชส ิทธิสำหรับโรงพยาบาล
มหาวิทยาลัยนเรศวร หากเขารับการรักษาโรงพยาบาลอื่น ใหนิสิตสำรองเงินคารักษา
กอนและดำเนินการขอเบิกเงินคารักษาพยาบาลไดที่หนวยประกันคุณภาพการศึกษา
กองกิจการนิสิต
หลักฐานที่นำมาแสดงการขอรับเงินชวยเหลือกรณีไดรับบาดเจ็บ
1. ใบรับรองแพทยตัวจริง จำนวน 1 ฉบับ
2. ใบเสร็จรับเงินตัวจริง จำนวน 1 ฉบับ
3. สำเนาบัตรประจำตัวนิสิต จำนวน 1 ฉบับ
66
5.2 กรณีเสียชีวิต
นิสิตจะไดรับเงินชวยเหลือผูประสบภัยอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุตามที่กำหนด
ไว คือ ระดับปริญญาตรี 150,000 บาท ซึ่งจะจายใหแกบุคคลที่นิสิตระบุไวในแบบ
แสดงเจตนาฯ ระบุผูรับเงินชวยเหลือตามลำดับ หากผูที่ระบุไวในแบบแสดงเจตนา
เสียชีวิตหรือสาบสูญ หรือไมมีบุคคลตามที่ระบุไวในแบบแสดงเจตนา มหาวิทยาลัย
นเรศวรจะจายเงินชวยเหลือใหกับผูปกครองของนิสิตที่เสียชีวิตตามที่เห็นสมควร
หลักฐานที่นำมาแสดงการขอรับเงินชวยเหลือกรณีเสียชีวิต
1. สำเนาใบมรณบัตร จำนวน 1 ฉบับ
2. สำเนาใบชันสูตรพลิกศพ /ใบบันทึกประจำวันเจาหนาที่ตำรวจ จำนวน 1 ฉบับ
3. สำเนาบัตรประจำตัวนิสิต จำนวน 1 ฉบับ
4. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของผูมีสิทธิรับเงินชวยเหลือ จำนวน 1 ฉบับ
5. สำเนาทะเบียนบานของผูมีสิทธิรับเงินชวยเหลือ จำนวน 1 ฉบับ
การติ ด ต อ ขอรั บ เงิ น ช ว ยเหลื อ จากกองทุ น สวั ส ดิ ภ าพนั ก เรี ย นและนิ สิต
มหาวิทยาลัยนเรศวร ใหผูมีสิทธิเขียนคำรองพรอมแนบหลักฐาน โดยยื่นคำรองขอรับ
ไดที่ หนวยประกันคุณภาพการศึกษา กองกิจการนิสิต ภายในระยะเวลา 180 วัน
นับตั้งแตวันที่นิสิตไดรับอุบัติเหตุ
หากพ น กำหนดเวลาดั ง กล า วแล ว ไม ม ี ผ ู  ใ ดที่ ม ี ส ิ ท ธิ ม ารั บ เงิ น ช ว ยเหลื อ
มหาวิทยาลัยจะระงับสิทธิดังกลาว มหาวิทยาลัยอาจเพิกถอนระงับหรือเรียกเงินคา
ชวยเหลือคืน หากพบวานิสิตมิไดชำระเงินคาสมทบกองทุนหรือแสดงความยินยอมให
ผูยื่นแสดงหลักฐานอันเปนเท็จ ถือวานิสิตผูนั้นกระทำความผิดทางวินัยอยางรายแรง

6. บริการวิชาทหาร
การขอผอนผันการตรวจเลือกเขารับราชการทหารกองประจำการ
นิสิตชายซึ่งไมไดศึกษาวิชาทหาร หรือศึกษาวิชาทหารแตไมสำเร็จการศึกษา
ชั้นปที่ 3 เมื่ออายุครบ 20 ป บริบูรณจะตองเขารับการตรวจเลือกเขารับราชการ
67
ทหารกองประจำการในปถัดไป และกำลังศึกษาระดับปริญญาตรีหรือระดับปริญญาโท
และมีอายุไมเกิน 26 ป (นับถึง พ.ศ.ปจจุบัน) มีความประสงคจะขอผอนผันการตรวจ
เลือกเขารับราชการทหารกองประจำการ ใหขอรับแบบฟอรมการขอผอนผันและยื่น
ขอผอนผันไดที่ศูนยแนะแนวและใหคำปรึ กษา อาคารอเนกประสงค ตั้งแตเดื อน
มิถุนายน-ธันวาคมของทุกป
เอกสารการขอผอนผันการตรวจเลือกเขารับราชการทหารกองประจำการ
1. สำเนาใบสำคัญทหารกองเกิน (สด.9) จำนวน 2 ฉบับ
2. สำเนาหมายเรี ย กเข า รั บ ราชการทหาร (สด.35) จำนวน 2 ฉบั บ
(รับเอกสารไดที่อำเภอภูมิลำเนาทหารของนิสิต)
3. สำเนาทะเบียนบาน จำนวน 2 ฉบับ
4. สำเนาบัตรประจำตัวนิสิต จำนวน 1 ฉบับ
5. สำเนาการเปลี่ยนชื่อ, ชื่อสกุล (ถามี) จำนวน 2 ฉบับ
6. สำเนาการยายภูมิลำเนาทหาร (สด.10) (ถามี) จำนวน 2 ฉบับ
ขอปฏิบัติสำหรับนิสิตที่ไดรับการผอนผันการตรวจเลือกเขารับราชการ
ทหารกองประจำการ
1. ในปตอไปนิสิ ตไมต องสงเอกสารการขอผอนผัน การตรวจเลือกเข ารับ
ราชการทหารกองประจำการตอมหาวิทยาลัยอีก
2. นิสิตตองไปแสดงตนตอคณะกรรมการตรวจเลือกทหารทุกป ตามวัน และ
เวลาที่ระบุใน สด.35 จนกวาจะสำเร็จการศึกษา โดยนำหลักฐาน สด.9, สด.35 และ
บัตรประจำตัวประชาชนไปดวย หากไมไปแสดงตน มีโทษตามกฎหมาย จำคุกไมเกิน
3 ป และเขาเปนทหารกองประจำการทันทีเมื่อสำเร็จการศึกษา
3. ในกรณีที่นิสิตสำเร็จการศึกษา พนสภาพ หรือลาออกจากมหาวิทยาลัย
นเรศวร นิสิตจะหมดสิทธิ์ในการขอผอนผันการ ตรวจเลือกเขารับราชการทหารกอง
ประจำการทันที และจะตองแจงใหอำเภอภูมิลำเนาทหารทราบ ภายใน 30 วัน นับ
68
จากวันสำเร็จการศึกษา หรือพนสภาพการเปนนิสิต หากไมปฏิบัติตามจะผิดกฎหมาย
ตามมาตรา 43 แหงพระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ. 2497
การขอผอนผันการเรียกพลเพื่อฝกวิชาทหาร
นักศึกษาวิชาทหารที่ผานการเรียนตามหลักสูตรที่กระทรวงกลาโหมกำหนด
คือ ผานการฝกวิชาทหารชั้นปที่ 3 และทำการปลดเปนทหารกองหนุนแลว หากมี
ความประสงคจะทำการขอผอนผัน การเรีย กพลเพื่ อฝกวิชาทหาร หรือนิสิตได รั บ
หมายเรียกพล แตไมสามารถไปทำการฝกได ใหขอรับแบบฟอรมการ ขอผอนผันการ
เรียกพลเพื่อฝกวิชาทหารและยื่นขอผอนผันการเรียกพลไดที่ศูนยแนะแนวและให
คำปรึกษา อาคารอเนกประสงค
เอกสารการขอผอนผันการเรียกพลเพื่อฝกวิชาทหาร
1. สำเนาบัตรประจำตัวทหารกองหนุน (สด.8) จำนวน 2 ฉบับ
2. สำเนาบัตรประจำตัวนิสิต จำนวน 2 ฉบับ
3. สำเนาหมายเรียกพล (ถามี) จำนวน 2 ฉบับ

7. บริการดูแล ชวยเหลือ ติดตาม และใหคำปรึกษาภาวะซึมเศรา


7.1 ภาควิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร
- เพจ facebook : Nu Friendzone Clinic
69
- โทรศัพท 055-962232
- ติดตอดวยตนเองที่ ภาควิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร ชั้น 4 วันอังคารและวัน
พุธ เวลา 09.00-16.00 น.(รายบุคคล) ,วันพุธ เวลา 17.00-18.30 น.(แบบกลุม)
7.2 โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร
- คลินิกสรางสุข โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวรโทร.0-5596-5703
- แผนกจิตเวช ชั้น 3 โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร
- Premium Clinic อาคารขวัญเมือง ใหบริการทุกวันจันทร-พฤหัส เวลา 17.00-
20.00 น.
7.3 กองกิจการนิสิต
- ศูนยสุขภาวะนิสิต อาคารขวัญเมือง ชั้น 1 โทร.0-5596-1273 (เปดใหบริการทุก
วันจันทร-ศุกร เวลา 08.30-16.30 น.)
- เพจ facebook : ศูนยสุขภาวะนิสิต มหาวิทยาลัยนเรศวร
- ศูนยแนะแนวและใหคำปรึกษา อาคารอเนกประสงค โทร.0-5596-1211
- ศู น ย บ ริ ก ารข อ มู ล สำหรั บ นิ ส ิ ต อาคารเฉลิ ม พระเกี ย รติ 72 พรรษา (QS)
โทร.0-5596-8334
***สายดวนสุขภาพจิต 1323(@Helpline1323) กรมสุขภาพจิต ฟรี 24 ชม.***

8. ทรานสคริปกิจกรรม
ขอกำหนดในการเข ารว มกิจ กรรม เพื่อขอใบรั บรองการเขารวมกิ จ กรรม
(Activity Transcipt) หลังจบการศึกษา
ประเภทกิจกรรม จำนวนกิจกรรม จำนวนชั่วโมง หมายเหตุ
กิจกรรมกลาง 6 กิจกรรม 30 ชั่วโมง กองกิจการนิสิตเปนผูดูแล
กิจกรรมคณะ 8 กิจกรรม 40 ชั่วโมง คณะเปนผูดูแล
กิจกรรมเลือกเสรี 4 กิจกรรม 20 ชั่วโมง
70
8.1 กิจกรรมกลาง เปนกิจกรรมที่ดำเนินการและรับผิดชอบโดยกองกิจการนิ สิ ต
ซึ่งจะจัดทำประกาศชื่อโครงการ/กิจกรรมเสริมหลักสูตรทุกปการศึกษา
8.2 กิจกรรมคณะ เปนกิจกรรมที่ดำเนินการและรับผิดชอบโดยคณะนิติศาสตร
ประกอบไปดวย
1. โครงการปฐมนิเทศและพบผูปกครอง จำนวน 3 ชั่วโมง
2. กิจกรรม Law Camp จำนวน 10 ชั่วโมง
3. โครงการสานสัมพันธนองพี่นิติ(รับนอง) จำนวน 3-6 ชั่วโมง
4. โครงการพิธีไหวครูและมอบประมวล จำนวน 3 ชั่วโมง
5. กิจกรรมติวการเขียนตอบขอสอบกฎหมาย จำนวน 3 ชั่วโมง/ครั้ง
6. โครงการลอยกระทง จำนวน 3 ชั่วโมง
7. โครงการนิติสัมพันธ จำนวน 9 ชั่วโมง
8. โครงการวันพระราชทานปริญญาบัตร(รับเสด็จฯ) จำนวน 3 ชั่วโมง
9. โครงการทำบุญคณะและติดเข็มเครื่องหมายคณะ จำนวน 3 ชั่วโมง
10. โครงการปจฉิมนิเทศ จำนวน 3 ชั่วโมง ฯลฯ
8.3 กิจกรรมเลือกเสรี เปนกิจกรรมที่จัดขึ้นโดยคณะตางๆ องคกรกิจกรรมนิสิต และ
หนวยงานอื่นๆ ซึ่งกิจกรรมเลือกเสรีที่คณะนิติศาสตรจัด ประกอบไปดวย
1. กิจกรรมรักคณะแรกพบ จำนวน 3 ชั่วโมง
2. โครงการฝกงานภาคฤดูรอน(ปฐมนิเทศนิสิตฝกงาน) จำนวน 3 ชั่วโมง
3. โครงการอบรมผูนำนิสิต จำนวน 6 ชั่วโมง
4. โครงการนิติอาสา จำนวน 6 ชั่วโมง/วัน
5. กิจกรรมจับสายรหัส จำนวน 3 ชั่วโมง
6. กิจกรรมพิธีเทียน จำนวน 3 ชั่วโมง
7. กิจกรรมพัฒนาทักษะดานภาษาอังกฤษ จำนวน 2-3 ชั่วโมง/ครั้ง ฯลฯ
71
หมายเหตุ : หากนิสิตมีจำนวนกิจกรรม และจำนวนชั่วโมงไมครบตามที่
มหาวิทยาลัยกำหนด นิสิตจะไมสามารถขอใบรับรองการเขารวมกิจกรรม
(Activity Transcipt) ได แตนิสิตยังจบการศึกษาตามหลักสูตร ไมไดมีผล
เกี่ยวของกัน
เว็ปไซดในการตรวจสอบจำนวนชั่วโมงกิจกรรม
https://acttrans.nu.ac.th/ เมื่อเจาหนาที่ไดลงขอมูลการเขารวมกิจกรรม
แลว นิสิตจะตองเขาระบบ เพื่อทำการยืนยันรับชั่วโมงกิจกรรมนั้นๆดวย
สถานที่ติดตอ
หองงานกิจกรรม กองกิจการนิสิต อาคารอเนกประสงค โทร.0-5596-1210

9. การสงไปรษณีย/พัสดุ
การจาหนาซองที่อยูผูรับ
ชื่อ-สกุลนิสิต.......................................... รหัสนิสิต.......................
รอจายเคานเตอร มหาวิทยาลัยนเรศวร
จังหวัดพิษณุโลก 65000 (โทร.XXX-XXXXXXX)
นิสิตนำบัตรประชาชนติดตอรับไปรษณีย/พัสดุ ไดที่ เคานเตอรไปรษณีย
มหาวิทยาลัยนเรศวร ณ ใตถุนอาคารเพราพิลาส

10. เบอรโทรศัพทหนวยงานตางๆ ที่ควรทราบ


หนวยงาน เบอรโทรศัพท
ศูนยรับแจงเหตุฉุกเฉิน 086-9369977
ศูนยแนะแนวและใหคำปรึกษา 0-5596-1211
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร 0-5596-7809
คลินิกสรางสุข (รพ.มน.) 0-5596-5703
ศูนยบริการขอมูลสำหรับนิสิต 0-5596-8334
สถานีตำรวจชุมชนมหาวิทยาลัยนเรศวร 0-5526-1800
72
12. ประกาศ ระเบียบ ขอบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร
สามารถดาวนโหลดเอกสารประกาศ ระเบียบ ขอบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร
ไดที่ https://qrgo.page.link/H4dTh
73
ชองทางการสื่อสารตางๆของคณะนิติศาสตร
www.law.nu.ac.th

Page Facebook : คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร


https://www.facebook.com/lawnaresuan
74
งานบริการการศึกษา โทร.0-5596-1737,1738
Page Facebook : งานบริการการศึกษา
คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
https://www.facebook.com/academiclawnu

งานกิจการนิสิตและศิษยเกาสัมพันธ โทร.0-5596-1733,1734
Page Facebook : งานกิจการนิสิตและศิษยเกาสัมพันธ
คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
https://www.facebook.com/childrensLaw
75
Page Facebook : สโมสรนิสิตคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร
https://www.facebook.com/samolawNU

Page Facebook : ชมรมวิชาการคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร


https://www.facebook.com/AcademicClubLawNU

Page Facebook : ชมรมอาสาตามรอยพอสานตอความฝน


คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร https://www.facebook.com/nulawRsa
76
คำถามที่พบบอย
1. คำถาม : นิสิตลงทะเบียนเรียนไดภาคเรียนละกี่หนวยกิต
คำตอบ : นิสิตลงทะเบียนไดไมเกิน 22 หนวยกิต

2. คำถาม : ถาตองการลงทะเบียนเกิน 22 หนวยกิต ตองทำอยางไร


คำตอบ : เกรดเฉลี่ยรวมตองไมต่ำกว่ำ 2.00 โดยเขียนคำรองทั่วไป (NU18) เรื่อง
ขอลงทะเบียนเรียนมากกวาเกณฑ ผานความเห็นชอบอาจารยที่ปรึกษา แนบผลการ
เรียน และยื่นคำรองที่ งานวิชาการคณะฯเพื่อดำเนินการตอไป (ตองดำเนินการกอน
ลงทะเบียน)

3. คำถาม : ถาตองการลงทะเบียนรายวิชาเพื่อแกไขผลการเรียน (แก F) หรือ


ลงทะเบียนในรายวิชาที่ถอน (ติด W) หรือตองการรีเกรด (รายวิชาที่เคยไดเกรด
ต่ำวา C) ตองทำอยางไร
คำตอบ : ใหนิสิตเขียนใบคำรอง NU6 เพื่อเพิ่มรายชื่อนิสิต ผานความเห็นชอ
อาจารยที่ปรึกษา, อาจารยผูสอนรายวิชา และยื่นคำรองที่งานวิชาการเพื่อดำเนินการ
ตอไป ทั้งนี้ เวลาเรียนตองไมทับซอนกัน (กรณีผูสอนเปนอาจารยพิเศษ ถาผาน
อาจารยที่ปรึกษาแลวสามารถยื่นคำรองที่งานวิชาการไดเลย)

4. คำถาม : ถาชำระคาธรรมเนียมการศึกษาไมทันตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดตอง
ทำอยางไร
คำตอบ : ใหนิสิตเพื่อยื่นคำรอง (NU 7) ขอคืนสภาพการเปนนิสิต ที่งาน
วิชาการคณะ เพื่อเสนอคณบดีลงนาม เมื่อคณบดีลงนามแลวงานวิชาการจะแจงให
นิสิตมารับคำรองเพื่อนำไปยื่นคำรองตอที่งานทะเบียน ตึก QS ชัน้ 1 และรอรับผล
การอนุมัติ เพื่อรับคำรองคืนพรอมกับใบแจงยอดการชำระเงินจากงานทะเบียนนิสิต
77
ฯ เพื่อนำไปชำระเงินที่กองคลัง ตึกมิ่งขวัญ ชั้น 1 ตามกำหนดวันที่ประทับตราจากงาน
ทะเบียนนิสิตฯ เทานั้น
ทั้งนี้ การคืนสภาพการเปนนิสิต มี 2 เหตุผล คือ
1. คืนสภาพเพื่อลงทะเบียนเรียน (คาใชจาย มีคาธรรมเนียมการขอคืนสภาพ
การเปนนิสิต จำนวน 1,000 บาท + คาปรับลงทะเบียนลาชาสัปดาหละ 100 บาท
แตไมเกิน 5 สัปดาห + คาเทอม)
2. คืนสภาพเพื่อรักษาสภาพการเปนนิสิต ซึ่งอาจไมมีรายวิชาเรียนในภาค
เรียนนั้น (คาใชจาย มีคาธรรมเนียมการขอคืนสภาพการเปนนิสิต จำนวน 1,000
บาท + คารักษาสภาพการเปนนิสิต ภาคเรียนละ 500 บาท)
*กรณีนิสิตกูยืม กยศ. สามารถตรวจสอบไดจากระบบการลงทะเบียน (reg)
ถาระบบขึ้น R แสดงวาไมตองสำรองจายคาธรรมเนียมการศึกษา กยศ.จะจายให
(จะเห็นอักษร R หลังจากการลงทะเบียน) แตนิสิตชั้นป 1 (ภาคตน) จะตองสำรอง
จายกอน หลังจาก กยศ. อนุมัติเงินกูเรียบรอยแลว ธนาคาร กรุงไทย สำนักงานใหญ
จะโอนเงินใหมหาวิทยาลัย เพื่อโอนเงินคาธรรมเนียมคืนใหกับนิสิตผานบัญชี
ธนาคารกรุงไทยของนิสิตเอง

5. คำถาม : ถาตองการลงทะเบียนเรียนรายวิชาเพิ่มหลังกำหนดตองทำอยางไร
คำตอบ : เขียนใบคำรอง NU8 และ (คำรอง NU6 กรณียังไมมีรายชื่อใน
รายวิชาที่ตองการลงทะเบียน) ยื่นคำรองที่งานวิชาการ เพื่อเสนอคณบดีลงนาม เมื่อ
คณบดีลงนามแลวงานวิชาการจะแจงนิสิตมารับคำรองเพื่อนำไปยื่นคำรองตอที่งาน
ทะเบียน (ตึก QS) ตองดำเนินการภายใน 5 สัปดาหหลังจากหมดกำหนด

6. คำถาม : การลงทะเบียนเรียนลาชา ตองทำอยางไร


คำตอบ : กรณีที่ 1 : สามารถดำเนินการลงทะเบียนภายใน 2 สัปดาหแรก
นับจากวันเปดภาคเรียน สำหรับภาคเรียนปกติ และภายในสัปดาหแรกนับจากวัน
78
เปดภาคเรียนสำหรับภาคฤดูรอน ทั้งนี้ ตองชำระคาปรับคาลงทะเบียนเรียนชาวัน
ละ 25 บาท นับเฉพาะวันทำการ
กรณีที่ 2 : ในภาคการศึกษาใด หากนิสิตไมลงทะเบียนเรียนในเวลาที่
กำหนด หรือลงทะเบียนเรียนแลวแตไมชำระเงินคาลงทะเบียนเรียน ในเวลาที่
มหาวิทยาลัยกำหนด จะถือวานิสิต “พนสภาพนิสิต” ตามขอบังคับฯ นิสิตจะตอง
ทำคำรองเพื่อขอคืนสภาพการเปนนิสิต (ดำเนินการตามขอ 4) และขอลงทะเบียน
หลังกำหนด หรือรักษาสภาพนิสิต (กรณีไมพรอมเรียน) โดยมีขั้นตอน ดังนี้
1. ใชคำรองขอคืนสภาพนิสิต (NU7) กรอกขอความใหสมบูรณ นำคำรอง
ผานคณบดี ตนสังกัด เพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบ
2. ยื่นคำรองที่งานทะเบียนนิสิต
3. ใหนิสิตรอรับทราบผล และแจงยอดชำระคาลงทะเบียนเรียน
4. นิสิตนำใบแจงยอดชำระคาลงทะเบียนไปชำระคาธรรมเนียมที่กองคลัง

7. คำถาม : การลงทะเบียนเพิ่ม-ถอนรายวิชาหรือเปลี่ยนหมูเรียน ในระยะเวลาที่


มหาวิทยาลัยกำหนด ตองทำอยางไร
คำตอบ : นิสิตสามารถทำการเพิ่ม-ถอนหรือเปลี่ยนหมูเรียนในระบบ reg
ภายใน 2 สัปดาหนับจากเปดภาคเรียน (ภาคฤดูรอน ดำเนินการเพิ่ม-ถอนภายใน 1
สัปดาหนับจากเปดเทอม) การเพิ่มรายวิชาในเวลาที่กำหนดจะไมเสียคาปรับ หากถอน
รายวิชา นิสิตจะเสียคาธรรมเนียมครั้งละ 10 บาท ซึ่งคาธรรมเนียมจะรวมกับคาเทอมใน
ใบแจงหนี้ นิสิตตองดำเนินการเองทาง www.reg.nu.ac.th
หมายเหตุ การถอนรายวิชาใน 2 สัปดาหแรก ตามที่นิสิตทำเองในระบบจะไม
ปรากฏรายวิชาที่ถอน

8. คำถาม : การถอนรายวิชาหลังกำหนด ตองทำอยางไร


คำตอบ : นิสิตตองยื่นคำรอง (NU11) เรื่อง ขอถอนรายวิชา และใหผาน
อาจารยที่ปรึกษาลงนามในใบคำรอง โดยนิสิตตองนำคำรองยื่นตอเจาหนาที่กองบริการ
79
การศึกษา งานทะเบียนฯ ใตอาคาร QS เพื่อใหเจาหนาที่ดำเนินการถอนรายวิชาให
และนิสิตจะไดรับอักษร W ปรากฏในระเบียนแสดงผลการเรียน (Transcript)
หมายเหตุ ทั้งนี้ ระยะเวลาการถอนรายวิชาแตละภาคเรียนไมเกินสัปดาหที่ 12
ของเวลาเรียน (ตรวจสอบวันสิ้นสุดไดจากปฏิทินการศึกษาที่มหาวิทยาลัยกำหนด)
http://office.nu.ac.th/acad_web/download_list.php?type=5

9. คำถาม : หากตองการ “ขอลาพักการเรียน” ตองทำอยางไร


คำตอบ : เมื่อนิสิตลงทะเบียนเรียนและชำระคาธรรมเนียมการศึกษาโดย
สมบูรณ แตไมประสงคจะศึกษาตอในภาคการศึกษานั้นๆ ตองปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้
1. กรอกคำรองขอลาพักการศึกษา (NU 17) ใหผูปกครองลงนามยินยอมในคำรอง
2. นำคำรองฯ ผานความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา
3. ยื่นคำรองที่งานวิชาการคณะ เพื่อเสนอคณบดีลงนาม
4. ทางคณะตนสังกัดสงคำรองใหงานทะเบียน เพื่ออนุมัติ
5. ตรวจสอบ ติดตามคำรองที่ www.reg.nu.ac.th

10. คำถาม : หากตองการ “ลาออกจากการเปนนิสิต” ตองทำอยางไร


คำตอบ : ขั้นตอนการลาออกจากการเปนนิสิต ดังนี้
1. กรอกคำรองขอลาออกจากการศึกษา (NU 19) ใหผูปกครองลงนาม
ยินยอมในคำรอง
2. นำคำรองฯ ผานความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา
3. ยื่นคำรองที่งานวิชาการคณะ เพื่อเสนอคณบดีลงนาม
4. ทางคณะตนสังกัดสงคำรองใหงานทะเบียน เพื่ออนุมัติ
5. ตรวจสอบ ติดตามคำรองที่ www.reg.nu.ac.th

11. คำถาม : ตองการ “ขอเทียบโอนผลการเรียน” ทำอยางไร


คำตอบ : การเทียบโอนผลการเรียนรายวิชาตองผานความเห็นชอบจากคณะ
ตนสังกัด ทั้งนี้ รายวิชาที่นำมาเทียบโอนตองมีเนื้อหาวิชาอยูระดับเดียวกันกับรายวิชา
80
ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยนเรศวร และมีผลการเรียนเทียบไดไมต่ำกวาคาระดับขั้น 2
หรือ C ขึ้นไป โดยมีขั้นตอน ดังนี้
1. กรอกคำรองขอเทียบโอนรายวิชา (NU 14) พรอมแนบผลการเรียน และ
คำอธิบายรายวิชาที่นิสิตเรียนผานมาแลว และคำอธิบายรายวิชาที่ตองการเทียบ
โอน เพื่อประกอบการพิจารณา
2. นำคำรองฯ ผานความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา
3. นำคำรองฯ ผานความเห็นชอบจากคณบดีที่นิสิตสังกัดอยู
4. ตรวจสอบ ติดตามคำรองที่ www.reg.nu.ac.th (หากผลอนุมัติตอง
ชำระคาธรรมเนียมในการขอเทียบโอนรายวิชา ครั้งละ 100 บาท ที่กองคลัง
อาคารมิ่งขวัญ)
5. นำคำรองที่ไดรับการอนุมัติพรอมใบเสร็จรับเงิน ยื่นที่งานทะเบียนฯ
เพื่อบันทึกฐานขอมูลใหนิสิต http://www.law.nu.ac.th/Academic/2561-07-
07.pdf

12. คำถาม : ตองการ “ขอเทียบรายวิชา” ทำอยางไร


คำตอบ : การขอเทียบรายวิชาในกรณีที่หลักสูตรมีการปรับปรุง/แกไข/
เปลี่ยนแปลงรายวิชาที่มีเนื้อหาคลายคลึงกันแตมีรหัสวิชา/ชื่อวิชา/จำนวนหนวยกิตไม
เหมือนกันใหปฏิบัติดังนี้
1. กรอกคำรองทั่วไป (NU 18) ชื่อเรื่อง “ขอเทียบรายวิชา” พรอมแนบ
สำเนารายละเอียดและคำอธิบายรายวิชาที่มีการปรับปรุง/แกไข/เปลี่ยนแปลง เพื่อ
ประกอบการพิจารณา
2. นำคำรองผานความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา
3. เสนอคำรองฯ ผานความเห็นชอบจากคณบดีที่นิสิตสังกัดอยู
4. ตรวจสอบผลการพิจารณาบนเว็บไซต www.reg.nu.ac.th
81
13. คำถาม : หากตองการจะเปลี่ยนชื่อ ชื่อสกุล ยศ ตองทำอยางไร
คำตอบ : การขอเปลี่ยนชื่อตัว ชื่อสกุล การเลื่อนยศ ปฏิบัติตามขั้นตอน
ตอไปนี้
1. กรอกคำรองขอเปลี่ยนชื่อ ชื่อสุกล ยศ (NU16) พรอมแนบหลักฐาน
2. นำคำรองฯ ผานความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาเพื่อรับทราบ
3. ยื่นคำรองที่งานทะเบียนฯ กองบริการการศึกษา เพื่อทำการปรับฐานขอมูลให
ถูกตองตอไป

14. คำถาม : เกณฑการไดรับเกียรตินิยม มีเกณฑอยางไรบาง


คำตอบ : นิสิตที่ไดรับการเสนอชื่อใหไดรับปริญญาเกียรตินิยม ตองเปนผูมี
คุณสมบัติ ดังนี้
1. มีคาระดับขั้นสะสมเฉลี่ยตลอดหลักสูตรตั้งแต 3.50 ขึ้นไป จะไดรับเกียรตินิยม
อันดับหนึ่ง
2. มีคาระดับขั้นสะสมเฉลี่ยตลอดหลักสูตรตั้งแต 3.25 ถึง 3.49 จะไดรับเกียรติ
นิยมอันดับสอง
3. ตองไมเคยไดรับระดับขั้น F หรือ U และไมลงทะเบียนเรียนซ้ำในรายวิชาใดๆ
4. กรณีเปนนิสิตที่มีการขอเทียบโอนผลการเรียน จำนวนหนวยกิตตองไมเกิน 1
ใน 6 ของหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร

15. คำถาม : ถาตองการขอใบแสดงผลการเรียน (Transcript) และใบรับรองตางๆ


ตองทำอยางไร
คำตอบ : นิสิตที่ตองการขอใบแสดงผลการเรียน (Transcript)/ใบรับรองการ
เปนนิสิต/ใบรับรองกำลังเรียนภาคเรียนสุดทาย/ใบรับรองเรียนครบหลักสูตรและกำลัง
รอฟงผลภาคเรียนสุดทาย ดำเนินการดังตอไปนี้
1. กรอกคำรองขอใบแสดงผลการเรียน/Transcript(NU 15) หรือแบบฟอรมการ
ขอใบรับรอง(NU 21) ในกรณีตองการขอใบรับรองตางๆ ใหครบถวน
2. กรณีขอใบแสดงผลการเรียน(Transcript) ใหแนบรูปถาย 1 นิ้ว จำนวน 2 รูป
82
3. ยื่นคำรองและชำระคาธรรมเนียมที่งานทะเบียนฯ กองบริการการศึกษา
4. ติดตอขอรับเอกสารภายใน 3 วันทำการ

16. คำถาม : ขั้นตอนการยื่นสำเร็จการศึกษา ตองดำเนินการอยางไร


คำตอบ : เมื่อนิสิตเรียนครบตามโครงสรางของหลักสูตรแลว ตองทำเรื่องยื่น
สำเร็จการศึกษาในภาคเรียนสุดทาย มีขั้นตอนที่ตองปฏิบัติ ดังนี้
1. กำหนดวันเริ่มยื่นขอสำเร็จการศึกษาทุกระดับ เริ่มนับตั้งแตวันเปดภาค
การศึกษาของทุกๆภาคการศึกษา เปนระยะเวลา 30 วัน นับจากวันเปดภาคเรียน
(ตามปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัย) ตองเสียคาขึ้นทะเบียนบัณฑิต 2,000 บาท
หากพนกำหนดยื่นขอสำเร็จการศึกษา นิสิตจะตองทำคำรองขอยื่นสำเร็จการศึกษาชา
กวากำหนด โดยมีคาธรรมเนียมปรับการยื่นขอสำเร็จการศึกษาชากวากำหนด วันละ
50 บาท นับตั้งแตวันที่พนกำหนดยื่นขอสำเร็จการศึกษา ถึงวันที่นิสิตยื่นคำรองขอยื่น
สำเร็จการศึกษาชากวากำหนด (นับเฉพาะวันทำการ)
กรณีที่นิสิตที่เคยยื่นสำเร็จการศึกษาไวในภาคการศึกษาที่คาดวาจะสำเร็จ
การศึกษาแตยังไมสำเร็จการศึกษา เนื่องจากผลการเรียนภาคสุดทายไดรับอักษร I ,
P, U , F หรือเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไมเปนไปตามขอบังคับฯ กำหนด
นิสิตจะตองดำเนินการขอแกไขและยื่นสำเร็จการศึกษาใหมทุกภาคการศึกษาที่
คาดวาจะสำเร็จการศึกษา (โดยใหปฏิบัติตามขั้นตอนเดิม)
2. นิสิตทุกระดับ บันทึกขอมูลที่ผูสำเร็จการศึกษาที่สามารถติดตอไดทาง
ไปรษณีย (NU25) สำหรับสงใบรับรองคุณวุฒิ และสงจดหมายแจงขอมูลการรับเขา
พระราชทานปริญญาบัตรผานระบบเครือขายอินเตอรเน็ตไดที่เว็บไซต
http://www.reg.nu.ac.th และใหสั่งพิมพแบบฟอรมขอมูลที่อยูผูสำเร็จการศึกษา
ที่สามารถติดตอไดทางไปรษณีย (NU25) ดวยทุกครั้ง เพื่อนำไปประกอบเอกสาร
การยื่นขอสำเร็จการศึกษาในภาคเรียนที่คาดวาจะขอสำเร็จการศึกษา
3. เอกสารที่จะตองนำมายื่นขอสำเร็จการศึกษา มีดังนี้
3.1 แบบฟอรมที่อยูผูสำเร็จการศึกษาที่สามารถติดตอไดทางไปรษณีย (NU25)
ที่นิสิตบันทึกขอมูลผานระบบเครือขายอินเตอรเน็ต ตามขอ 2 และสั่งพิมพ NU25
83
เพื่อประกอบการยื่นจบดวยทุกครั้ง ถาหากนิสิตไมนำ NU25 มายื่นแสดงประกอบ
การยื่นสำเร็จการศึกษา จะไมอนุญาตใหลงชื่อในสมุดคุมการยื่นสำเร็จการศึกษา
และใหถือวานิสิตไมไดยื่นสำเร็จการศึกษาในภาคเรียนนั้น ๆ
3.2 รูปถายสวมชุดครุยวิทยฐานะตามระดับปริญญา รูปถายสีหรือขาว-ดำ ขนาด 2 นิ้ว
จำนวน 2 รูป (รูปถายไมเกิน 6 เดือน) ดานหลังรูปถายใหระบุชื่อ–สกุล รหัสนิสิต
คณะ และสาขาวิขา ดานหลังรูปถายทุกรูป
ใหนิสิตที่ยื่นสำเร็จการศึกษาทุกคน สงเอกสารการยื่นจบตามขอ 3 พรอมกับ
นิสิตลงชื่อในสมุดคุมการยื่นสำเร็จการศึกษาดวยทุกครั้ง เพื่อใชเปนหลักฐานยืนยัน
การยื่นสำเร็จการศึกษาตอไป

17. คำถาม : กรณีขอยื่นสำเร็จการศึกษาแลว แตไมจบการศึกษาในภาคเรียนที่ยื่น


ขอสำเร็จตองเสียคาขึ้นทะเบียนบัณฑิต จำนวน 2,000 บาท อีกหรือไม
คำตอบ : ไมตองเสียคาขึ้นทะเบียนบัณฑิตแลว แตตองยื่นขอสำเร็จ
การศึกษาใหม ในภาคเรียนสุดทายที่คาดวาจะจบการศึกษา โดยยื่นคำรอง NU25
ผานกองคลัง ลงนามในคำรอง และนำคำรองยื่นที่งานทะเบียนฯ กองบริการ
การศึกษา ใตอาคาร QS และรูปใสชุดครุย ขนาด 2 นิ้ว จำนวน 2 รูป พรอมกับนิสิต
ลงชื่อในสมุดคุมการยื่นสำเร็จการศึกษาดวยทุกครั้ง เพื่อใชเปนหลักฐานยืนยัน การยื่น
สำเร็จการศึกษาตอไป

18. คำถาม : อยากทราบเกณฑผลการเรียนที่ถูกพนสภาพการเปนนิสิต


คำตอบ : มหาวิทยาลัยจะจำแนกสภาพนิสิต เมื่อสิ้นสุดทุกภาคการศึกษา
(ผลการเรียนตองออกครบทุกรายวิชา) สำหรับผลการเรียนภาคฤดูรอนจะนำไปรวม
กับผลการเรียนในภาคการศึกษาตอไป ที่นิสิตลงทะเบียนเรียนยกเวนนิสิตที่สำเร็จ
การศึกษาในภาคฤดูรอน
1) นิสิตปกติ ตองมีผลการเรียน 2.00 ขึ้นไป
2) นิสิตรอพินิจ คือ นิสิตที่มีผลการเรียนสะสมต่ำกวา 2.00
84
3) การพนสภาพนิสิตจากผลการเรียน ดังนี้
 นิสิตเรียนมาแลวครบสองภาคการศึกษาปกติ GPA รวมไมถึง 1.50
 นิสิตเรียนมาแลวครบสี่ภาคการศึกษาปกติ GPA รวมไมถึง 1.75
 นิสิตที่เรียนมาแลวสี่ภาคการศึกษาปกติขึ้นไป GPA รวมไมถึง 1.75 (ทุกภาคเรียน)
หมายเหตุ : นิสิตสามารถตรวจสอบผลการเรียน ทั้งนิสิตและอาจารยที่ปรึกษา
สามารถดูผลการเรียนได ซึ่งมีทั้งขอมูลรายภาคการศึกษา หรือทั้งหมดตั้งแตเขาศึกษา
จนถึงปจจุบัน ซึ่งนิสิตและอาจารยที่ปรึกษาสามารถเลือกใชโปรแกรมทดลอบคำนวณ
เกรด สำหรับรายวิชาที่กำลังศึกษาอยู เพื่อทดลองคำนวณ GPA เพื่อเปนการวาง
แผนการเรียนตอไป

19. คำถาม : หากนิสิตตองการขอดูสมุดคำตอบรายวิชาที่ไดประกาศผลสอบแลว


เพื่อตองการทราบขอผิดพลาดตองทำอยางไร
คำตอบ : ใหนิสิตเขียนคำรองทั่วไปของคณะนิติศาสตร โดยผานความเห็นของ
อาจารยที่ปรึกษา และผานความเห็นของอาจารยผูสอนรายวิชานั้น และยื่นคำรองไดที่
งานวิชาการคณะนิติศาสตร เพื่อเสนอคณบดี หากผูสอนเปนอาจารยพิเศษใหยื่นคำ
รองที่งานวิชาการไดเลย เมื่อคำรองไดรับพิจารณาอนุญาตแลว งานวิชาการหรือผูสอน
จะนัดใหนิสิตเขามาดูสมุดคำตอบ
ทั้งนี้ กำหนดใหนิสิตทำคำรองขอดูสมุดคำตอบภายในเวลา 1 เดือนนับแต
วันสุดทายของการแกไขอักษร I ตามปฏิทินการศึกษาของมหาวิทยาลัย

20. คำถาม : หากนิสิตมีความจำเปนตองลาเรียน จะดำเนินการอยางไร


คำตอบ : ใหนิสิตแจงความจำเปนกับอาจารยผูสอนดวยตนเอง ซึ่งขึ้นอยูกับ
อาจารยผูสอนวาตองทำใบลาเปนลายลักษณอักษรหรือไม ซึ่งทางคณะนิติศาสตรไมมี
แบบฟอรมใบลาใหนิสิต ทั้งนี้ การพิจารณาขึ้นอยูกับดุลยพินิจของอาจารยผูสอนแตละ
รายวิชา
85
21. คำถาม : ผลการเรียนแตละภาคการศึกษา มหาวิทยาลัยสงใหผูปกครอง
อยางไร
คำตอบ : เมื่อผลการเรียนออกครบทุกรายวิชา งานทะเบียนฯ จะดำเนินการ
สงผลการเรียนเปนรายเทอมใหกับผูปกครองตามที่อยูของผูปกครองที่กรอกไวในระบบ
reg

22. คำถาม : หากนิสิตประสงคตองการเรียนรายวิชาอื่นๆที่ไมมีในหลักสูตร (เปน


รายวิชาของคณะอื่น) จะตองเสียคาใชจายเพิ่มเติมหรือไม
คำตอบ : ไมตองเสียคาใชจายเพิ่มเติม เนื่องจากคาธรรมเนียมการศึกษาที่เสีย
แตละภาคเรียนเหมาจายอยูแลว นิสิตลงทะเบียนกี่รายวิชาก็เสียคาธรรมเนียม
การศึกษาเทาเดิม

23. คำถาม : กรณีที่นิสิตไมจบตามแผนการเรียน (4 ป) ตองเสียคาเทอมอยางไร


คำตอบ : หากนิสิตตกคางหรือตองเรียนเกิน 4 ป ไมวาจะลงทะเบียนเรียนกี่
วิชาก็ตองเสียคาธรรมเนียมการศึกษาแบบเหมาจาย ตามที่เสียสำหรับภาคเรียนปกติ
ตามประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง กำหนดอัตราคาธรรมเนียมการศึกษา ระดับปริญญา
ตรี https://reg2.nu.ac.th/notification/NUREG_FEE_2561_bachelor.pdf

24. คำถาม : นิสิตมีความประสงคจะยายไปเรียนคณะ/สาขาอื่น ตองทำอยางไร


คำตอบ : หากนิสิตประสงคจะยายไปเรียนคณะ/สาขาอื่น ใหปฏิบัติตาม
ขั้นตอนดังนี้
1. กรอกคำรองขอยายคณะ/สาขาวิชาเรียน (NU13)
2. นำคำรองฯ ผานความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา
3. ยื่นคำรองที่งานวิชาการคณะ เพื่อเสนอคณบดีลงนาม
4. งานวิชาการคณะ โทรศัพทแจงนิสิตมารับคำรองไปดำเนินการตอกับคณะ
ที่จะยายไป
86
5. เมื่อคณะใหมพิจารณาคุณสมบัติตามเกณฑที่คณะกำหนด หากอนุมัติการรับ
ยาย คณบดีคณะใหมลงนามในคำรอง และสงคำรองที่งานทะเบียนอนุมัติ
6. นิสิตรับคำรอง และนำไปเสียคาธรรมเนียม 1,000 บาท ทีก่ องคลัง ตึกมิ่งขวัญ
7. นิสิตยื่นคำรองที่งานทะเบียน เพื่อที่ จนท.ทะเบียนบันทึกการยายคณะ/สาขา
8. นิสิตลงทะเบียนเรียนตามแผนการศึกษาของคณะ/สาขาใหม
หมายเหตุ ตามขอบังคับมหาวิทยาลัยนเรศวร วาดวย การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ.
2559 (แกไขเพิ่มเติม) ฉบับที่ 3 พ.ศ.2561 ขอ 17 การยายสาขาวิชา ขอ 17.1 นิสิตที่
ประสงคจะขอยายสาขาวิชาภายในคณะหรือระหวางคณะ ตองเรียนตามแผนการ
ศึกษาในคณะเดิมมาแลวอยางนอยหนึ่งภาคการศึกษาปกติ

25. คำถาม : ใบเสร็จคาธรรมเนียมการศึกษาที่จะตองนำไปเบิกกับหนวยงานของ


ผูปกครอง ขอไดที่ไหน
คำตอบ : เมื่อนิสิตชำระคาธรรมเนียมโดยการโอนผานธนาคารแลว 3 วันทำ
การ สามารถพิมพใบเสร็จไดจากระบบ www.reg.nu.ac.th พรอมทั้ง พิมพเอกสาร
แนบการเบิก ดังนี้
1) ใบเสร็จ (พิมพครั้งแรก จะเปนฉบับจริง เทานั้น)
2) หนังสือของกระทรวงการคลัง ที่ กค 0422.3/ว.130 ลงวันที่ 19
พฤศจิกายน 2556 เรื่อง การใชลายมือชื่อผูรับเงินดวยลายเซ็นอิเล็กทรอนิกสใน
ใบเสร็จรับเงิน และเปนหลักฐานในการเบิกเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร
3) ประกาศอัตราคาบำรุงและคาธรรมเนียมการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
หมายเหตุ สำหรับนิสิตชั้นป 1 ภาคเรียนตน เนื่องจากนิสิตไดชำระคาธรรมเนียม
การศึกษากอนเปดภาคเรียน ซึ่งจะตองรอใหเปดภาคเรียนตนกอน จึงจะพิมพใบเสร็จ
และเอกสารการเบิก จากระบบ www.reg.nu.ac.th

26. คำถาม : หากทำบัตรนิสิตหาย ตองดำเนินการอยางไร


คำตอบ : กรณีบัตรนิสิตหาย ใหนิสิตไปติดตอกับธนาคารที่เคยทำบัตรไวเมื่อ
ตอนป 1 (ซึ่งจะใชควบคูกับบัญชีธนาคารดวย) หรือหากตองการเปลี่ยนธนาคาร ก็
87
สามารถทำได โดยไปติดตอที่ธนาคารนั้นๆ เพื่อเขียนคำขอเปดบัญชีเพื่อทำบัตร (ที่มีที่
ทำการในมหาวิทยาลัยนเรศวร พรอมชำระคาธรรมเนียมการทำบัตร ซึ่งแตละธนาคาร
ไมเทากัน)

27. คำถาม : หากไมไดเขาทดสอบภาษาอังกฤษ และคอมพิวเตอรเทคโนโลยี


สารสนเทศ กอนจบการศึกษาจะมีผลอยางไร
คำตอบ : นิสิตระดับปริญญาตรีทุกคน ตองมีผลการทดสอบความรูทั้ง 2
ดาน ดังนี้ (หากไมมีผลสอบทั้ง 2 ดานจะไมสำเร็จการศึกษา)
1. ทดสอบภาษาอังกฤษ นิสิตตองเขารับการทดสอบความรูภาษาอังกฤษ โดย
นิสิตตองเขารับการทดสอบในชั้นป 3 ภาคเรียนตน จาก สถานพัฒนาวิชาการดาน
ภาษา มหาวิทยาลัยนเรศวร ตามประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง การทดสอบ
ความรูภาษาอังกฤษ สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี
หมายเหตุ นิสิตสามารถดูขอมูลกำหนดการรับสมัครและสอบไดที่
http://www.nulc.nu.ac.th/testing/pdf/Annual_Calendar_of_CEPT.pdf
2. ทดสอบความรูคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ นิสิตตองเขารับการ
ทดสอบความรูดานคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยนิสิตตองเขารับการ
ทดสอบกอน จบการศึกษา จากกองบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มหาวิทยาลัยนเรศวรตามประกาศมหาวิทยาลัยนเรศวร เรื่อง การทดสอบความรูดาน
คอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี
หมายเหตุ นิสิตสามารถดูขอมูลกำหนดการรับสมัครและสอบไดที่เพจ CITCOMS

28. คำถาม : กรณีที่นิสิตพนสภาพแลว สามารถทำเรื่องขอกลับเขามาเรียนอีกได


หรือไม
คำตอบ : มหาวิทยาลัยมีประกาศ เรื่อง การรับนิสิตกลับเขาศึกษาระดับปริญญา
ตรี พ.ศ.2561 ทำเรื่องขอกลับเขาเรียนคณะเดิมได โดยเขียนคำรองทั่วไป (NU18)
88
29. คำถาม : กรณีนิสิตลืม password / username สำหรับลงทะเบียน ตอง
ดำเนินการอยางไร
คำตอบ : กรณีที่นิสิตลืม password / Username ในการลงทะเบียน ใหนิสิต
ดำเนินการดังนี้
1. ติดตอที่สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้น 2 หอง 228
โดยติดตอดวยตนเอง พรอมแสดงบัตรนิสิตหรือบัตรประจำตัวประชาชน หรือติดตอ
กองบริการการศึกษา (สวนงานคอมพิวเตอร)
2. ถาเปน password เขาใชงานเว็บไซดของนิสิตหาย หรือตองการเปลี่ยน ใหเขา
ไปที่ระบบ reg (http://www.reg.nu.ac.th)

30. คำถาม : ผูที่สำเร็จการศึกษา จะไดรับใบรับรองคุณวุฒิ เมื่อไร


คำตอบ : ผลการเรียนภาคเรียนสุดทายออกครบทุกรายวิชา จนท.งานทะเบียนฯ
จะตรวจสอบขอมูลของนิสิตเปนรายบุคคล หากนิสิตมีขอมูลการสำเร็จการศึกษา
เปนไปตามที่โครงสรางหลักสูตรกำหนด มีผลการทดสอบคอมพิวเตอรฯ และมีผลการ
ทดสอบภาษาอังกฤษปรากฏในฐานขอมูล สถานะของนิสิตจะขึ้นวา “สำเร็จ
การศึกษา” จนท.งานทะเบียนฯ จะแจงใหนิสิตมารับใบรับรองคุณวุฒิ ไมเกิน 2
สัปดาห หลังจากสำเร็จการศึกษา

31. คำถาม : หากบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา ไมประสงคเขารวมพิธีพระราชทาน


ปริญญาบัตร จะขอรับใบปริญญาบัตรไดเมื่อไร และรับที่ไหน
คำตอบ : บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา ไมเขารับปริญญาบัตรตามที่กำหนด สามารถ
มาขอรับใบปริญญาบัตรไดหลังจากเสร็จพิธีพระราชทานปริญญาบัตร โดยรับที่งาน
ทะเบียนฯ กองบริการการศึกษา ใตอาคาร QS

32. คำถาม : หากทำบัตรนิสิตหาย ตองดำเนินการอยางไร


คำตอบ : กรณีบัตรนิสิตหาย ใหนิสิตไปติดตอกับธนาคารที่เคยทำบัตรไวเมื่อตอน
ป 1 (ซึ่งจะใชควบคูกับบัญชีธนาคารดวย) หรือหากตองการเปลี่ยนธนาคาร ก็สามารถ
89
ทำได โดยไปติดตอที่ธนาคารนั้นๆ เพื่อเขียนคำขอเปดบัญชีเพื่อทำบัตร (ที่มีที่ทำการใน
มหาวิทยาลัยนเรศวร พรอมชำระคาธรรมเนียมการทำบัตร ซึ่งแตละธนาคารไมเทากัน)

33. คำถาม : นิสิตที่ขาดแคลนทุนทรัพยในการเรียน แตไมสามารถกู กยศ.ได จะหา


ทุนการศึกษาจากไหน
คำตอบ : ใหนิสิตเขียนแบบฟอรมขอทุนไดที่กองกิจการนิสิต มหาวิทยาลัย หรือ
งานกิจการนิสิตและศิษยเกาสัมพันธ คณะนิติศาสตร เพื่อใหคณะกรรมการพิจารณา
ตอไป

34. คำถาม : ทุนการศึกษามีกี่ประเภท


คำตอบ : มี 2 ประเภท
1. ทุนการศึกษาแบบใหเปลา โดยมหาวิทยาลัย/คณะนิติศาสตรจะเปนผูพิจารณา
2. ทุนหนังสือกฎหมายจากบริษัท สำนักพิมพวิญูชน จำกัด โดยคณะนิติศาสตร
จะเปนผูพิจารณา

35. คำถาม : นิสิตที่ขาดแคลนทุนทรัพยในการเรียน แตไมสามารถกู กยศ.ได จะหา


ทุนการศึกษาจากไหน
คำตอบ : ใหนิสิตเขียนแบบฟอรมขอทุนไดที่กองกิจการนิสิต มหาวิทยาลัย หรือ
งานกิจการนิสิตและศิษยเกา คณะนิติศาสตร เพื่อใหคณะกรรมการพิจารณาตอไป

36. คำถาม : นิสิตที่มีความประสงคจะขอทุนกูยืมเพื่อการศึกษา กยศ. ตองทำ


อยางไร
คำตอบ : กยศ. เปนกองทุนกูยืมเพื่อนักเรียนที่มาจากครอบครัวมีฐานะยากจน
กูยืมเพื่อการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจนถึงระดับปริญญาตรี โดยนิสิตตอง
ชำระคืนพรอมดอกเบี้ยในอัตราต่ำ เมื่อจบการศึกษาแลว มีหลักเกณฑดังนี้
1. ผูมีสิทธิ์กูยืมรายไดผูปกครองไมเกิน 360,000 บาท/ป
2. สามารถกูยืมไดทั้งคาบำรุงการศึกษาและคาครองชีพเดือนละ 3,000 บาท
90
3. วันเวลาการสมัครดำเนินการตามมหาวิทยาลัย/คณะกำหนด
โดยดำเนินการผานระบบ Digital Student Loan Fund System (DSL) ไดที่
https://wsa.dsl.studentloan.or.th สอบถามเพิ่มเติมไดที่ 055-968317-18
หรือ Line Official กยศ.มน.

37. คำถาม : ถานิสิตไมไดทำเรื่องขอกู กยศ. ตั้งแตป 1 นิสิตจะมีสามารถทำเรื่อง


ขอกู กยศ.ไดหรือไม
คำตอบ : นิสิตสามารถทำเรื่องขอกู กยศ.ไดทุกปการศึกษา ทั้งนี้ นิสิตตองมี
คุณสมบัติตามเกณฑที่ กยศ.กำหนด

38. คำถาม : หากนิสิตไมไดกู กยศ. แตมีปญหาดานการเงินไมสามารถชำระ


คาลงทะเบียนไดตามเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด จะมีชองทางชวยเหลืออยางไร
คำตอบ : นิสิตสามารถติดตอเจาหนาที่งานบริการสวัสดิการนิสิต เพื่อทำเรื่องขอ
กูยืมเงินกองทุนเงินยืมฉุกเฉินไทยชวยไทย โดยสามารถกูยืมไดครั้งละไมนอยกวา
2,000 บาท และไมเกิน 12,000 บาท โทรสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ 0-5596-
1211

39. คำถาม : ขอกำหนดในการเขารวมกิจกรรม เพื่อขอใบ Activity transcript


หลับจบการศึกษา มีอยางไรบาง
คำตอบ : นิสิตตองเขารวมกิจกรรมใหครบตามเกณฑที่กำหนด ดังนี้
- กิจกรรมกลาง จำนวน 6 กิจกรรม 30 ชั่วโมง
- กิจกรรมคณะ จำนวน 8 กิจกรรม 40 ชั่วโมง
- กิจกรรมเลือกเสรี จำนวน 4 กิจกรรม 20 ชั่วโมง
91
40. คำถาม : การขอใบ Activity transcript ตองดำเนินการอยางไร
คำตอบ : การขอใบ Activity transcript มีวิธีการดังนี้
1. download แบบฟอรมคำรองขอใบรับรองประสบการณการเขารวมกิจกรรม
ของนิสิต (Activity transcript) (ในหนาเว็บไซต ปริ้นแลวกรอกขอมูลใหครบถวน)
2. แนบเอกสารรายงานการเขารวมกิจกรรม โดยปริ้นทจากระบบทรานสคริป
กิจกรรม รูปถาย 1 นิ้ว จำนวน 2 รูป (กรณีขอกอนสำเร็จการศึกษาใชรูปนิสิต/
กรณีขอหลังสำเร็จการศึกษาใชรูปสวมชุดครุย)
3. นำแบบฟอรมและเอกสารแนบทั้งหมดสงเจาหนาที่ ณ หองงานกิจกรรม
กองกิจการนิสิต อาคารอเนกประสงค โทรสอบถามเพิ่มเติม 0-5596-1210

41. คำถาม : ถาเขารวมกิจกรรมไมครบตามเกณฑที่มหาวิทยาลัยกำหนด จะจบ


การศึกษาหรือไม
คำตอบ : จบการศึกษาตามปกติ แตนิสิตจะไมสามารถขอใบรับรองการเขารวม
กิจกรรม Activity transcript ได

42. คำถาม : กรณีนิสิตบาดเจ็บ ประสบอุบัติเหตุ หรือเจ็บปวย จะเบิกคา


รักษาพยาบาลไดอยางไร
คำตอบ : การเบิกคารักษาพยาบาลกรณี อุบัติเหตุ (ยกเวนอุบัติเหตุจากรถ ตอง
เบิกจาก พรบ.กอน) เชน หกลม หมากัด มีดบาด นิสิตสามารถใชสิทธิ์ได ดังนี้
1. กรณีเหตุเกิดในมหาวิทยาลัย หรือใกลเคียง นิสิตสามารถเขารักษาที่ รพ.มน.
โดยสิทธิประกันสุขภาพ บัตรทอง 30 บาท (ทั้งนี้นิสิตตองขึ้นทะเบียนรักษาพยาบาลที่
รพ.มน.กอน โดยใชหลักฐานสำเนาบัตรนิสิตและบัตรประชาชน ยื่นที่หองหมายเลข 1
รพ.มน.) หากไมยื่นสิทธิ์ นิสิตจะตองสำรองเงินคารักษาพยาบาลเองไปกอน แลวนำมา
เบิกที่กองทุนสวัสดิภาพนักเรียนและนิสิต โดยกรอกแบบฟอรมขอรับเงินชวยเหลือคา
รักษาพยาบาล พรอมแนบหลักฐาน
1) ใบเสร็จรับเงิน 3) ใบรับรองแพทย
2) ใบสรุปคารักษา 4) สำเนาบัตรนิสิต
92
และนำไปยื่นที่ หองทุนการศึกษา กองกิจการนิสิต อาคารอเนกประสงค (055-
961216) เบิกไดไมเกิน 15,000 บาท ตอ 1 ครั้งอุบัติเหตุ
2. กรณีเหตุเกิดนอกมหาวิทยาลัย หรือไมสามารถเขารักษาใน รพ.มน.ได ให
นิสิตสำรองเงินคารักษาพยาบาลไปกอน แลวนำมาเบิกกับกองทุนสวัสดิภาพนักเรียน
และนิสิตโดยแนบหลักฐาน ดังนี้
1) ใบเสร็จรับเงิน 3) ใบรับรองแพทย
2) ใบสรุปคารักษา 4) สำเนาบัตรนิสิต
และนำไปยื่นที่ หองทุนการศึกษา กองกิจการนิสิต อาคารอเนกประสงค (055-
961216) เบิกไดไมเกิน 15,000 บาท ยกเวน รพ.อินเตอรเวชการ รพ.กรุงเทพ
(พิษณุโลก) ซึ่งทำสัญญากับมหาวิทยาลัยไวแลว จึงไมตองสำรองจาย
3. อุบัติเหตุที่เกิดจากรถ ตองดำเนินการใชสิทธิจาก พรบ.(พระราชบัญญัติ
คุมครองผูประสบภัยจากรถ พ.ศ.2533) กอน ใชสิทธิได 15,000 บาท โดยใชหลักฐาน
ดังนี้
1. สำเนาใบกรมธรรม
2. สำเนาคูมือรถ (หนาแรกที่มีชื่อเจาของรถและหนาที่มีการตอภาษี)
3. สำเนาใบแจงความ พรอม รับรองสำเนาโดยเจาหนาที่ตำรวจ
4. สำเนาบัตรประชาชน และสำเนาทะเบียนบานของเจาของรถ
5. สำเนาบัตรประชาชน และสำเนาทะเบียนบานของผูประสบภัย
6. ใบเสร็จรับเงินฉบับจริง
7. ใบรับรองแพทยฉบับจริง
*หากบริษัทที่ทำประกันภัยไมมีสาขาอยูในจังหวัดพิษณุโลก สามารถติดตอบริษัทกลาง
คุมครองผูประสบภัยจากรถ จำกัด ในจังหวัดพิษณุโลก โทรศัพท 055-217111 และ
055-217916
**หนวยงานที่ใหคำปรึกษา สายดวนประกันภัย 1186 สำนักงานประกันภัยจังหวัด
พิษณุโลก โทรศัพท 055-282385-6
4. กรณีเจ็บปวย ใชสิทธิ์บัตร 30 บาท (สิทธิหลักประกันสุขภาพทั่วหนา ถานิสิต
ขึ้นทะเบียนการรักษาไวที่ รพ.มน.ก็สามารถเขารับการรักษาในวัน เวลา ราชการ โดย
93
ไมตองจายคารักษาพยาบาล ยกเวน เปนยานอกบัญชีที่ไมสามารถเบิกได) ทั้งนี้ หาก
นิสิตเขารับการรักษานอกเวลาราชการ ในกรณีที่ไมใชอุบัติเหตุหรือเจ็บปวยฉุกเฉิน
นิสิตจะตองชำระคารักษาพยาบาลเอง ใชสิทธิ์บุตรขาราชการ โดยสามารถยื่นขอใช
สิทธิ์รักษาที่ รพ.มน. หองหมายเลข 1 พรอมนำสำเนาบัตรนิสิตและบัตรประชาชนไป
ยื่นจายเอง

43. คำถาม : อยากทราบขั้นตอนในการขอผอนผันทหารเกณฑ ดำเนินการอยางไร


คำตอบ : ใหนิสิตชายที่มีอายุ 20 ปบริบูรณ ( พ.ศ.ปจจุบัน – พ.ศ.เกิด) และ
ตองการผอนผันการตรวจเลือกฯ ไดที่ กองกิจการนิสิต โดยมีเอกสาร ดังนี้
1. สำเนา สด.9 จำนวน 2 ฉบับ
2. สำเนา สด.35 จำนวน 2 ฉบับ
3. สำเนาทะเบียนบาน (ทะเบียนบานเดิม กอนยายเขา ม.นเรศวร)
4. สำเนาบัตรนิสิต
5. แบบฟอรมของผอนผันทหารเกณฑ download
ยื่นกอน 30 ธันวาคม ของทุกปเทานั้น หากพนกำหนดนี้ นิสิตตองไปจับสลาก
ใบดำ-ใบแดง (หากไดใบแดง ตองเปนทหารทันที)
download แบบฟอรมการผอนผัน แลวนำไปให อาจารยที่ปรึกษาลงนาม กอน
นำมายื่นที่ กองกิจการนิสิต (ศูนยแนะแนวและใหคำปรึกษา) อาคารอเนกประสงค
ขอปฏิบัติสำหรับนิสิตที่ไดรับการผอนผันการตรวจเลือกเขารับราชการทหารกอง
ประจำการ
1. ในปตอไปนิสิตไมตองสงเอกสารการขอผอนผันการตรวจเลือกเขารับราชการ
ทหารกองประจำการตอมหาวิทยาลัยอีก
2. นิสิตตองไปแสดงตนตอคณะกรรมการตรวจเลือกทหารทุกป ตามวัน และเวลา
ที่ระบุใน สด.35 จนกวาจะสำเร็จการศึกษา โดยนำหลักฐาน สด.9, สด.35 และบัตร
ประจำตัวประชาชนไปดวย หากไมไปแสดงตน มีโทษตามกฎหมาย จำคุกไมเกิน 3 ป
และเขาเปนทหารกองประจำการทันทีเมื่อสำเร็จการศึกษา
94
3. ในกรณีที่นิสิตสำเร็จการศึกษา พนสภาพ หรือลาออกจากมหาวิทยาลัยนเรศวร
นิสิตจะหมดสิทธิ์ในการขอผอนผันการตรวจเลือกเขารับราชการทหารกองประจำการ
ทันที และจะตองแจงใหอำเภอภูมิลำเนาทหารทราบ ภายใน 30 วันนับจากวันสำเร็จ
การศึกษา หรือพนสภาพการเปนนิสิต หากไมปฏิบัติตามจะผิดกฎหมายตามมาตรา 43
แหงพระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ. 2497

44. คำถาม : ถาตองการขอพบอาจารยที่ปรึกษา สามารถติดตอไดอยางไร


คำตอบ : นิสิตสามารถติดตอกับอาจารยที่ปรึกษาไดโดยตรงกรณีมีไลนกลุมกับ
อาจารยที่ปรึกษาหรืออาจารยที่ปรึกษาไดใหเบอรโทรศัพทที่ติดตอไดโดยตรงไวกรณี
ติดตออาจารยที่ปรึกษาไมไดไมวาดวยเหตุใด นิสิตสามารถมาติดตอที่งานกิจการนิสิตฯ
หรืองานบริการการศึกษา หองสำนักงานเลขานุการฯ คณะนิติศาสตร ชั้น 3 อาคาร
คณะนิติศาสตร ในวันและเวลาราชการ (จันทร-ศุกร เวลา 08.30–16.30 น.) เพื่อ
อำนวยความสะดวกในการนัดพบ หรือ โทรศัพท 0-5596-1734 หรือ 0-5596-1737

45. คำถาม : ถานิสิตเกิดอุบัติเหตุหรือพบเหตุฉุกเฉิน สามารถติดตอหรือแจงไดที่


หนวยงานใด
คำตอบ : นิสิตสามารถแจงหรือติดตอหนวยงาน ดังนี้
- ศูนยรับแจงเหตุฉุกเฉินนิสิต โทรศัพท 086-9369977 ไดตลอด 24 ชั่วโมง
เบออร 1669
- สอบถามสิทธิ์รักษาพยาบาล 0-5596-5630 หองฉุกเฉิน โรงพยาบาล
มหาวิทยาลัยนเรศวร 0-5596-5623

46. คำถาม : ถาตองการขอหนังสือรับรองความประพฤติตอ งดำเนินการอยางไร


คำตอบ : กรอกใบคำรองขอหนังสือรับรองความประพฤติ โดยสามารถรับใบคำ
รองไดที่หองสำนักงานเลขานุการคณะนิติศาสตร ชั้น 3 หรือดาวนโหลดไดที่
http://www.law.nu.ac.th/index.php?menuID=form-student
95
และแนบสำเนาบัตรประจำนิสิต จำนวน 1 ใบ พรอมรูปถายชุดนิสิตติดกระดุมคอ
ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 2 รูป และผานความเห็นของอาจารยที่ปรึกษา จากนั้นนำใบคำ
รองมายื่นที่งานกิจการนิสิตและศิษยเกาสัมพันธ คณะนิติศาสตร เพื่อเสนอรองคณบดี
ลงความเห็น เมื่อรองคณบดีลงนามในใบคำรองเรียบรอยแลว นิสิตนำเอกสารไปยื่นที่
หองงานกิจกรรม กองกิจการนิสิต อาคารอเนกประสงค โทรสอบถามเพิ่มเติม 0-5596-
1210

47. คำถาม : การบริการดูแล ชวยเหลือ ติดตาม และใหคำปรึกษาภาวะซึมเศรา


มีหนวยงานใดบาง
คำตอบ : หนวยงานที่ใหบริการดูแล ชวยเหลือ ติดตาม และใหคำปรึกษาภาวะ
ซึมเศรา มีดังนี้
1. ภาควิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร
- เพจ facebook : Nu Friendzone Clinic
https://www.facebook.com/NUFriendzoneClinic/
- โทรศัพท 055-962232
- ติดตอดวยตนเองที่ ภาควิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร ชั้น 4 วันอังคารและวัน
พุธ เวลา 09.00-16.00 น.(รายบุคคล) ,วันพุธ เวลา 17.00-18.30 น.(แบบกลุม)
2. โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร
- คลินิกสรางสุข โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวรโทร.0-5596-5703
- แผนกจิตเวช ชั้น 3 โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร
- Premium Clinic อาคารขวัญเมือง ใหบริการทุกวันจันทร-พฤหัส เวลา
17.00-20.00 น.
3. กองกิจการนิสิต
- ศูนยสุขภาวะนิสิต อาคารขวัญเมือง ชั้น 1 โทร.0-5596-1273 (เปดใหบริการทุก
วันจันทร-ศุกร เวลา 08.30-16.30 น.)
- เพจ facebook : ศูนยสุขภาวะนิสิต มหาวิทยาลัยนเรศวร
- ศูนยแนะแนวและใหคำปรึกษา อาคารอเนกประสงค โทร.0-5596-1211
96
- ศูนยบริการขอมูลสำหรับนิสิต อาคารเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา (QS)
โทร.0-5596-8334
***สายดวนสุขภาพจิต 1323(@Helpline1323) กรมสุขภาพจิต ฟรี 24 ชม.***

48. คำถาม : หากจะใหผูปกครองสงไปรษณีย/พัสดุมาใหนิสิต ตองทำอยางไร


คำตอบ : ใหจาหนาซองที่อยูผูรับ

ชื่อ-สกุลนิสิต.......................................... รหัสนิสิต.......................
รอจายเคานเตอร มหาวิทยาลัยนเรศวร
จังหวัดพิษณุโลก 65000 (โทร.XXX-XXXXXXX)

***นิสิตนำบัตรประชาชนติดตอรับไปรษณีย/พัสดุ ไดที่ เคานเตอรไปรษณีย


มหาวิทยาลัยนเรศวร ณ ใตถุนอาคารเพราพิลาส***

49. คำถาม : นิสิตจะมีโอกาสฝกงานหรือไม


คำตอบ : คณะนิติศาสตรมีโครงการสงนิสิตฝกงานในองคกรภาครัฐและเอกชน
ซึ่งจะสงนิสิตชั้นปที่ 3 เขาฝกงานในหนวยงานที่นิสิตเลือกเองหรือหนวยงานโควตาที่
คณะประสานให โดยมีระยะเวลาในการฝกงานประมาณ 2 เดือน (ชวงปดเทอมภาคฤดู
รอน) โดยไมไดเปนการบังคับนิสิตเขารวมโครงการ
97

คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ต.ทาโพธิ์ อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000


งานบริการการศึกษา โทร.0-5596-1737, 0-5596-1738
งานกิจการนิสิตและศิษยเกาสัมพันธ โทร.0-5596-1733, 0-5596-1734
โทรสาร 0-5596-1740

You might also like