You are on page 1of 160

1

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัทมน คงเจริญ


คณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ขอแสดงความยินดีกับนักศึกษาทุกคนที่ได้สอบเข้ามาสู่รั้วมหาวิทยาลัยเชียงใหม่แห่งนี้ นับว่าการเดินทาง
ของทุกคน มาถึงอีกขั้นหนึ่งของชีวิต ซึ่งไม่ใช่จุดสิ้นสุด แต่ยังคงมีเส้นทางที่เราจะต้องเดินต่อไป อย่างไรก็ตาม เมื่อ
มาถึงในช่วงชีวิตของการเป็นนักศึกษา ขอให้ทุกคนใช้ชีวิตให้มีความหมาย ทั้งเรียน เล่น หาประสบการณ์ต่าง ๆ รอบ
ตัวเรา
ในส่วนของการเรียน ไม่ว่าจะเป็นศาสตร์ใดก็ตาม ไม่มีใครยากหรือง่ายกว่ากัน ไม่มีใครเหนือกว่าหรือด้อย
กว่า อยู่ที่ว่าผู้ศึกษาเข้าใจ เข้าถึง และปรับใช้มันให้เกิดประโยชน์อย่างไร การเรียนรู้ไม่มีปาฏิหาริย์ข้ามคืน สิ่งที่สังคม
ต้องการคือ คนที่รู้จริงและปรับใช้ได้ สิ่งเหล่านี้ต้องให้เวลากับตัวเองที่จะศึกษาเรียนรู้
นอกจากการเรียนแล้ว ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยคือช่วงที่สนุกที่สุด กิจกรรมและเพื่อน เป็นอีกด้านหนึ่ง ที่จะ
ทำ�ให้การเป็นนักศึกษามีความหมาย การแบ่งเวลาที่ดี จะทำ�ให้เราสามารถแสวงหาประสบการณ์ที่มีคุณค่าและผ่านไป
ได้ด้วยดี การศึกษาถึงสังคมและผู้คน ทำ�ให้เรามีทักษะในการใช้ชีวิตเมื่อต้องก้าวออกไปจากรั้วมหาวิทยาลัย
ท้ายที่สุด อยากให้ข้อคิดแก่ทุกคน ให้ลองสำ�รวจว่าการเรียนนิติศาสตร์นี้ “มันใช่” สำ�หรับตัวเราหรือไม่ เรา
สนุกกับการเป็นนักกฎหมายหรือไมถ้าตัดสินใจอย่างแน่วแน่แล้ว ขอให้ทุกคนเดินต่อไปอย่างมีความสุขและทำ�ให้มี
ความหมายในระหว่างเส้นทางนี้
2
ข้อมูลพื้นฐานของคณะนิติศาสตร์
ประวัติของคณะนิติศาสตร์..................................................................................2
โครงสรา้ งคณะผูบ้ ริหาร..................................................................................................3-6
รายนามอาจารย์คณะนิตศิ าสตร์........................................................................................7-9
รายนามเจ้าหน้าที่งานบริการการศึกษาและพัฒนาคุณภาพนักศึกษา..................10-12
หน่วยงานอื่นและสิ่งอำ�นวยความสะดวก
สำ�นักหอสมุด..........................................................................................................14-15
ศูนย์วจิ ยั และพัฒนากฎหมาย....................................................................................16
ศูนย์ให้ค�ำ ปรึกษาทางกฎหมาย.....................................................................................17
ห้องอ่านหนังสือ..........................................................................................18
ห้องทำ�กิจกรรม.........................................................................................18
นิติสโมสร...................................................................................................19
Law Coffee Club....................................................................................................19
Locker Room............................................................................................................20
ITSC Corner...............................................................................................................20
หลักสูตรการศึกษาระดับปริญญาตรี
โครงสรา้ งหลักสูตร............................................................................................22-35
แผนการศึกษา...................................................................................................36-41
คำ�อธิบายรายวิชา..............................................................................42-66
อนุปริญญา................................................................................................67
บริการวิชาการและหลักสูตรการศึกษาระดับสูง
หลักสูตรปริญญาโท.........................................................................................69
หลักสูตรปริญญาเอก.................................................................................69
หลักสูตรกฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง..................................70
ข้อมูลพื้นฐานด้านการเรียน
ปฏิทนิ การศึกษา.................................................................................................................72
ตารางเรียน ตารางสอบ...................................................................................73-75
การลงทะเบียน..................................................................................................76
ค่าธรรมเนียมการศึกษา..............................................................................77-78
การลาออก......................................................................................................79-80
3
ข้อมูลพื้นฐานด้านการเรียน
การลาพัก........................................................................................................81-83
แนวปฏิบัติและคู่มือการขอลำ�ดับขั้น I..................................................................84-89
แนวปฏิบตั แิ ละคูม่ อื การถอนกระบวนวิชาโดยได้รบั ลำ�ดับขัน้ W...............................90-97
การคำ � นวณเกรด,การพ้ น สภาพ,การสำ � เร็ จ การศึ ก ษา.....................98-103
การได้เกียรตินิยม.....................................................................................104
หลั ก เกณฑ์ แ ละเงื่ อ นไขการขอเปิ ด กระบวนวิ ช าในภาคฤดู ร้ อ น............105
โทษการทุ จ ริ ต สอบ............................................................................106
สวัสดิการนักศึกษา
สิทธิการรับบริการด้านสุขภาพ................................................................................108-109
บริการการปรึกษาเชิงจิตวิทยา.............................................................................................110
กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา(กยศ.)..............................................................111
ทุนการศึกษา................................................................................................112
เงินยืมฉุกเฉิน..............................................................................................113
การผ่อนผันการเกณฑ์ทหาร....................................................................................................113
กิจกรรมเสริมหลักสูตร.............................................................................................................................114
สโมสรนักศึกษาคณะนิตศ ิ าสตร.์ ...................................................................................................115-117
โครงการและกลุ่มกิจกรรมนักศึกษาคณะนิติศาสตร์.............................................118-124
คำ�ถามทีพ่ บบ่อย(Q&A).....................................................................................................................125-130
ภาคผนวก : ประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
ข้อบังคับว่าด้วยเครือ่ งแบบนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่..................................132-135
ข้อบังคับว่าด้วยวินัยและการดำ�เนินการทางวินัยนักศึกษา...........................136-144
หลักเกณฑ์และเงือ่ นไขการโอนย้ายนักศึกษาจากภาคพิเศษไปยังภาคปกติ............145-146
มาตรฐานการศึกษาในระดับปริญญาตรีพ.ศ.2564................................................147-151
ประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่................................................152
ช่องทางการติดต่อที่สำ�คัญ..................................................................................153-156
4
1
คณะนิ ติ ศาสตร์ จัดตั้งขึ้นตามมติสภามหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ ครั ้ ง ที ่ ๒ /๒๕๔๙ เมื ่ อ วั น ที ่ ๒๕ มีนาคม
พ.ศ.๒๕๔๙ เป็นคณะลำ�ดับที่ ๒๐ ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่และประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนพิเศษ
๑๑๒ ง เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๕๑ โดยมีความเป็นมาโดยสังเขป ดังนี้

“2508” เริ่มจัดการเรียนการสอนในฐานะสาขาวิชานิติศาสตร์
“2535” ดำ�เนินการเปิดสอนหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต
“2538” ดำ�เนินการจัดตั้งโครงการเพื่อให้บริการวิชาการแก่ชุมชน ภายใต้ชื่อ “โครงการให้คำ�ปรึกษาด้านกฎหมาย
แก่ประชาชน”
“2539” เริ่มโครงการยกระดับหน่วยจัดการศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต จากสาขาวิชาขึ้นเป็นภาควิชา
“2542” ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษาจากเนติบัณฑิตยสภา
“2546” ทำ�การปรับปรุงหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตเพื่อสนองต่อความต้องการของสังคม
่ เติม
ข้อมูลประวัติเพิม
“2547” เปิดการสอนในระดับปริญญาโท หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต
“2549” สภามหาวิทยาลัยอนุมัติให้มีฐานะเป็นคณะนิติศาสตร์ เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2549
“2555” จัดพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารเรียนและบริหาร คณะนิติศาสตร์(อาคารปัจจุบัน)
“2557” อาคารเรียนและบริหาร คณะนิติศาสตร์ ดำ�เนินการก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์
2
2
3
3
คณบดีคณะนิติศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัทมน คงเจริญ
การศึกษา
- Ph.D., University of Victoria, Victoria,
British Columbia,Canada Ph.D. in Law

รองคณบดีฝ่ายบริหาร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศักดิ์ชาย จินะวงค์
การศึกษา
- นิติศาสตรบัณฑิต
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รองคณบดีฝ่ายวิจัยและ
บริการวิชาการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล
การศึกษา
- ปริญญาเอก นิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

4
4
ผู้ช่วยคณบดีฝา่ ยวิชาการ
อาจารย์ ดร.คนึงนิจ ขาวแสง
การศึกษา
- PhD in Intellectual Property Law
Queen Mary, University of London, UK

ผู้ช่วยคณบดี
ฝ่ายพัฒนาคุณภาพนักศึกษา
อาจารย์ ดร.วรุตม์ ทรงสุจริตกุล
การศึกษา
- PhD in Media Law , University of
East Anglia, UK

ผู้ช่วยคณบดี
ฝ่ายวิเทศน์สัมพันธ์
อาจารย์ ดร.นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
การศึกษา
- PhD in Law- Nottingham Trent University , UK

5
5
หัวหน้าสำ�นักวิชานิติศาสตร์
หัวหน้าศูนย์ศึกษากฎหมาย
กับเทคโนโลยี
ผศ. ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
การศึกษา
- PhD Program: Law and Political Science,
Facultat de Dret, Universitat de Barcelona, Spain

หัวหน้าศูนย์วิจัย
และพัฒนากฎหมาย
รองศาสตราจารย์สมชาย ปรีชาศิลปกุล
การศึกษา
- นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายมหาชน)
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

หัวหน้าศูนย์บริการวิชาการ
ทางกฎหมาย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุธาสินี สุภา
การศึกษา
- นิติศาสตร์มหาบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

6
6
รองศาสตราจารย์ ดร.Alexandre Nikolaevich Chitov อาจารย์ ดร.กฤษณ์พชร โสมณวัตร อาจารย์ ดร.คนึงนิจ ขาวแสง

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชญามณี พิริยะวณิชย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัยณรงค์ เหลืองวิลัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชาตรี เรืองเดชณรงค์

อาจารย์ ดร.เชิญพร เรืองสวัสดิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล อาจารย์ ดร.ทศพร แสนสวัสดิ์

7
7
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์ รองศาสตราจารย์ไทพีศรีนิวัติ ภักดีกุล อาจารย์ ดร.นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัทมน คงเจริญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญชู ณ ป้อมเพ็ชร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปีดิเทพ อยู่ยืนยง

รองศาสตราจารย์ ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ อาจารย์ ดร.พลอยแก้ว โปราณานนท์ อาจารย์ไพสิฐ พาณิชย์กุล

8
8
อาจารย์ ดร.วรุตม์ ทรงสุจริตกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์วสุ สิงหัษฐิต อาจารย์วาทิศ โสตถิพันธุ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศักดิ์ชาย จินะวงค์ รองศาสตราจารย์สมชาย ปรีชาศิลปกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาลิณี ภู่รุ่งเรืองผล

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุธาสินี สุภา ผู้ช่วยศาสตราจารย์อัษฎายุทธ ผลภาค ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุษณีย์ เอมศิรานันท์

9
9
10
งานบริการการศึกษาและพัฒนาคุณภาพนักศึกษาตั้งอยู่ที่ ชั้น 1
อาคารเรียนและบริหาร คณะนิติศาสตร์ เปิดทำ�การ ทุกวันจันทร์ - ศุกร์
เวลา 08.30-17.00 น. (ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์และวันหยุดตามคำ�สั่งของ
มหาวิทยาลัย)
นางสาวสุธีรา ช่อประดิษฐ (พี่แร็ค)
หัวหน้างานบริการการศึกษา และพัฒนาคุณภาพนักศึกษา
หมายเลขโทรศัพท์ : 053-942917

งานที่รับผิดชอบ
- ตารางสอบ ตารางสอน
- ดูแลหลักสูตรปริญญาโท
- ดูแลหลักสูตรปริญญาเอก

นางสาวมณีเนตร สอนทุ่ง (พี่เนท)


พนักงานปฏิบัติงาน
หมายเลขโทรศัพท์ : 053-942919

งานที่รับผิดชอบ
- กิจกรรมพัฒนาคุณภาพนักศึกษา
- ให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา
- กิจกรรมแข่งขันทางวิชาการ
- (กยศ.)

นายกฤษณ ศิริ (พี่หนึ่ง)


พนักงานปฏิบัติงาน
หมายเลขโทรศัพท์ : 053-942918

งานที่รับผิดชอบ
- ยื่นคำ�ร้องขอ
- ขอดูกระดาษคำ�ตอบ
- ขอลาเรียน
- หนังสือรับรองเป็นนักศึกษา

11
11
นางสาวชลธิชา แก้วหล้า (พี่แนล)
พนักงานปฏิบัติงาน หมายเลขโทรศัพท์ : 053-942917

นายภควัต พรหมชาติ (พี่บลู) งานที่รับผิดชอบ


พนักงานปฏิบัติงาน หมายเลขโทรศัพท์ : 053-942919 - การลงทะเบียนน้อยกว่า-มากกว่ากำ�หนด
- การตรวจสอบนักศึกษาคาดว่าจะสำ�เร็จการ
งานที่รับผิดชอบ ศึกษา
- ทุนการศึกษา,ศิษย์เก่าสัมพันธ์ - การขออนุปริญญานิติศาสตร์
- จองห้องทำ�กิจกรรม,บริการตู้ล็อคเกอร์
- เงินยืมฉุกเฉิน - การขอใช้หลักสูตร

นางสาวธัญธนพร ธรรมมณี (พี่ปริ้นส์) นางสาวจันทกานต์ ศิริโก (พี่มิน)


พนักงานปฏิบัติงาน หมายเลขโทรศัพท์ : 053-942932 พนักงานปฏิบัติงาน หมายเลขโทรศัพท์ : 053-942932

งานที่รับผิดชอบ
งานที่รับผิดชอบ : สหกิจศึกษา - ลาพัก - ลาออก
- โอนย้ายคณะ
- การเปิด- ปิดกระบวนวิชา
- ขอลงทะเบียนหลังกำ�หนด
เป็นกรณีพิเศษ
- เพิ่ม-ถอนเปลี่ยนตอน
หลังกำ�หนดเป็นกรณีพิเศษ

12
12
13
13
14
14
สำ�นักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นหน่วยงาน
สนับสนุนบริการวิชาการ ทำ�หน้าที่จัดหารวบรวม อนุรักษ์และ
บำ�รุงรักษา บริการและเผยแพร่หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ โสต
ทัศนวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ตลอดจนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และฐาน
ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่สอดคล้องกับ หลักสูตรการเรียนการสอน
และการค้นคว้าวิจัยของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นแหล่งการ
เรียนรู้ และเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้สารสนเทศ เพื่อการเข้าถึง
และใช้ข้อมูลสารสนเทศของนักศึกษา อาจารย์ นักวิจัย บุคลากร
และบุคคลทั่วไป

สำ�นักหอสมุดฯ มีการให้บริการมากมาย ไม่ว่าจะเป็นการให้


บริการผ่านช่องทางออนไลน์ มีฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่สำ�นัก
หอสมุดให้บริการ รวมถึงการให้บริการสนับสนุนการวิจัยที่ให้
บริการในการให้คำ�ปรึกษาและแนะนำ�เกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรห้อง
สมุด และมีการให้บริการส่งเสริมการเรียนรู้สารสนเทศ โดยมีการ
จัดอบรมทักษะการรู้สารสนเทศ ทั้งที่จัดอบรมและแบบออนไลน์
เพื่อเป็นทางเลือกให้กับผู้ใช้บริการสะดวกใช้ตามความต้องการ

นอกจากนี้ยังให้บริการพื้นฐานต่างๆ เช่น บริการยืม- ยืมต่อ ด้วย


ตนเอง การใช้บริการคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ บริการเครื่องถ่าย
เอกสารด้วยตนเอง และบริการอื่นๆอีกมากมาย ที่พร้อมจะอำ�นวย
ประโยชน์แก่ผู้รับบริการให้ได้ความสะดวกในการใช้บริการห้องสมุด
ทั้งนี้นักศึกษาสามารถดูคู่มือการยืม-คืน การใช้บริิการ
ห้องสมุดเพิ่มเติมได้ที่ https://library.cmu.ac.th/cmul/th/content/คูม่ อื
หรือ Scan QR CODE >>

15
15
ศูนย์วิจัยและพัฒนากฎหมาย เป็นหน่วยงานย่อยของคณะนิติศาสตร์
ที่มีบทบาทสำ�คัญในการส่งเสริมและสนับสนุนให้คณาจารย์ในคณะนิติศาสตร์
ผลิตผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการต่างๆ เผยแพร่สู่สังคมวงกว้าง
โดยมีการให้ทุนวิจัย ให้ทุนจัดทำ�เอกสารประกอบการสอน ทุนจัดทำ�ตำ�รา และ
ประสานงานการรับทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก เป็นต้น งานวิจัยส่วนใหญ่
ของคณะนิติศาสตร์มุ่งเน้นการพัฒนาทางวิจัยกฎหมายที่สัมพันธ์กับองค์
ความรู้ทางสังคมศาสตร์ นอกจากนี้ ศูนย์วิจัยและพัฒนากฎหมายยังมีหน้า
ที่สำ�คัญในการบริหารจัดการวารสารวิชาการของคณะฯ จำ�นวน 2 ฉบับ คือ
วารสาร CMU Journal of Law Social Sciences และวารสาร ASEAN Journal of
Legal Studies (AJLS)
หากนั ก ศึ ก ษาท่ า นใดสนใจงานวิ จั ย และผลงานทางวิ ช าการของคณะ
นิติศาสตร์สามารถอ่านฟรี ผ่านระบบ E-Books ได้ที่ https://www.law.cmu.
ac.th/ebooks/

16
16
ภารกิจของศูนย์ให้คำ�ปรึกษาทางกฎหมาย
1. การให้คำ�ปรึกษาทางกฎหมาย
ศู น ย์ ใ ห้ ค ำ � ปรึ ก ษาทางกฎหมายมี น ั ก ศึ ก ษาอาสาสมั ค รชั ้ น ปี ท ี ่ 4
เป็นผู้ดำ�เนินการในการให้คำ�ปรึกษาทางกฎหมาย โดยนักศึกษาอาสาสมัครต้อง
ผ่านการอบรมก่อนการปฏิบัติงานจริง นักศึกษาอาสาสมัครจะปฏิบัติงานใน
ส่วนของการรับข้อเท็จจริง การค้นหา ตีความหลักกฎหมาย การร่างคำ�ปรึกษา
ทางกฎหมาย และการให้คำ�ปรึกษาทางกฎหมาย โดยทุกขั้นตอนจะอยู่ภายใต้การ
กำ�กับดูแล และตรวจสอบจากอาจารย์ผู้รับผิดชอบอย่างใกล้ชิด
2. การเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมาย
ในการจัดกิจกรรมในแต่ละครั้งนักศึกษาอาสาสมัครจำ�นวนครั้งละ 5-8 คน
จะจัดทำ�แผนการสอนในเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ�วันหรือหัวข้อ
ที่กลุ่มผู้เข้าร่วมกิจกรรมสนใจ โดยแผนการสอนดังกล่าวจะถูกตรวจสอบภาย
ใต้การกำ�กับดูแลอย่างใกล้ชิดตามหลักวิชาของอาจารย์ และในระหว่างการจัด
กิจกรรมอาจมีการแบ่งกลุ่มผู้ฟังออกเป็นกลุ่มย่อยๆ เพื่อให้สามารถเข้าร่วม
กิจกรรมได้อย่างทั่วถึง โดยในการทำ�กิจกรรมนั้นผู้ฟังจะไม่เพียงแต่นั่งฟังการ
บรรยายเพียงแต่ความรู้ทางด้านกฎหมายเท่านั้น แต่ผู้ฟังจะได้ร่วมทำ�กิจกรรม
ไปพร้อมกับนักศึกษาอาสาสมัครด้วย เช่น การแบ่งกลุ่มช่วยกันหาคำ�ตอบ การ
ชมวีดิทัศน์ การเล่นเกมประกอบกิจกรรม การแสดงบทบาทสมมติ เป็นต้น
ในปัจจุบันโครงการเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายได้จัดโครงการต่อเนื่องกันมา
ทุกปี

17
17
ห้องอ่านหนังสือที่เน้นความเป็นส่วนตัวแก่นักศึกษา ภายในห้องมีที่อ่านหนังสือทั้งหมด
จำ�นวน 49 ที่นั่ง พร้อมกับอุปกรณ์อำ�นวยความสะดวกอย่างเช่นโคมไฟ สำ�หรับเพิ่มแสงสว่าง และปลั๊กไฟ
สำ�หรับเสียบอุปกรณ์การทำ�งาน ห้องนี้สงวนสิทธ์ิเฉพาะนักศึกษาคณะนิติศาสตร์เท่านั้น เปิดให้บริการ
ตั้งแต่ 08.30 - 23.00 น. ของทุกๆ วัน ตั้งอยู่บริเวณชั้น 2 ของคณะนิติศาสตร์

ห้องทำ�กิจกรรม/ห้องประชุมกลุ่มย่อย มีทั้งหมด 3 ห้องด้วยกัน โดยอยู่ในห้อง


นิติสโมสร 1 ห้อง และ ชั้น 3 อีก 2 ห้อง เพื่อรองรับสำ�หรับการทำ�กิจกรรมแบบกลุ่มสำ�หรับ
นักศึกษา จำ�นวน 5-8 คน แต่ถ้าหากนักศึกษา ต้องการห้องที่สามารถทำ�กิจกรรมได้มากกว่า
10 คนขึ้นไป ห้องเรียนก็สามารถเป็นห้องทำ�กิจกรรมได้ โดยนักศึกษาต้องตรวจเช็คสถานะของ
ห้องที่ต้องการจะทำ�กิจกรรม ที่ https://www.law.cmu.ac.th/eservice/calendar.php?type=room
หรือสแกน QR Code ด้านขวามือ หลังจากนั้นให้นักศึกษาแจ้งความประสงค์การใช้ห้องกับเจ้า
หน้าที่(พี่บลู) ที่หน่วยพัฒนาคุณภาพนักศึกษา ชั้น 1 ฝั่งสำ�นักงาน เพื่อทำ�การจองผ่านในระบบ
ต่อไป

18
18
ห้องนิติสโมสร
หรือที่เด็กนิติเรียกกันติดปากว่า “ห้องกาแฟ” เพราะว่ามีกาแฟเจ้าอร่อย
อย่าง Law Coffee Club เปิดให้บริการอยู่ภายในห้องนี้นั่นเอง ห้องนิติสโมสรนั้นมี
วัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาได้มา Meetting ทบทวนตำ�รา ตลอดจนเป็นที่พักผ่อน
หย่อนใจให้กับนักศึกษาชาวนิติศาสตร์อีกด้วย

LAW COFFEE CLUB


ผ่อนคลายสบายๆ กับ Law Coffee Club ร้านกาแฟที่อยู่
ภายในห้องนิติสโมสร มีเมนูให้เลือกหลากหลาย โดยซิกเนเจอร์
ของร้าน ที่ นักศึกษาต้องสั่งคือ NITICIHNO(นิติชิโน่) และเมนูยอด
ฮิตอย่าง Orange Espresso (กาแฟส้ม) นอกจากนี้ยังให้บริการ
เครื่องดื่มและอาหารว่างอีกหลายประเภทไว้ให้นักศึกษาได้เลือกรับ
ประทานกันด้วย

19
19
LOCKER ROOM
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่ ให้บริการตู้ล็อคเกอร์สำ�หรับ
นักศึกษา สำ�หรับเก็บสัมภาระ เช่น
หนังสือ อุปกรณ์การเรียนต่างๆ โดย
มีทั้งหมดมากกว่า 300 ตู้ กระจายอยู่
ตามชั้นต่างๆ ของตึกคณะนิติศาสตร์
สำ�หรับการจองล็อคเกอร์นั้น
คณะนิ ติ ศ าสตร์ จ ะเปิ ด ให้ ทำ � การจองปี
การศึกษาละ 1 ครั้ง ในช่วงเปิดภาคการ
ศึกษาที่ 1 ของทุกๆปีการศึกษา โดยผู้
ที่จองไว้สามารถใช้ตู้ล็อคเกอร์จนสำ�เร็จ
การศึกษา

ITSC CORNER
ห้องคอมพิวเตอร์ ที่อยู่ภายใน
ห้องนิติสโมสร โดยที่นี่จะบริการนักศึกษา
สำ�หรับสืบค้นข้อมูล ทำ�งาน รวมไปถึงการ
สอบออนไลน์ มีคอมพิวเตอร์จำ�นวน 20
เครื่อง โดยนักศึกษาสามารถ login เข้าใช้
งาน โดยใช้ Email : CMU IT Account ที่ได้รับ
จากมหาวิทยาลัยในวันรายงานตัว
ทั้ ง นี้ ก ารให้ บ ริ ก ารของห้ อ งITSC
CORNER เปิดให้บริการในวันจันทร์-ศุกร์
เวลา 09.00-16.30 น.

20
20
21
โครงสร้างหลักสูตร
คือ จำนวนรำยวิชำซึ่งถูกกำหนดในแต่ละหลักสูตรว่ำกำรที่ผู้เรียนจะสำเร็จกำรศึกษำในหลักสูตรหนึ่งๆ นั้น
ผู้เรียนจะต้องศึกษำในรำยวิชำใดบ้ำง รำยวิชำซึ่งถูกกำหนดในโครงสร้ำงหลักสูตรจะประกอบด้วยรำยวิชำ
ดังต่อไปนี้
1. วิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
กำรที่จะเป็นบัณฑิตที่มีคุณภำพนอกจำกควำมรู้หลักในวิชำซึ่งผู้เรียนศึกษำแล้ว ควำมรู้ทั่วไปนอกจำกเรื่อง
ที่เรียนก็มีควำมสำคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่ำกัน ดังนั้น จึงมีกำรกำหนดให้ผู้เรียนต้องศึกษำกระบวนวิชำดังกล่ำวด้วย ดังนี้
 กลุ่มวิชำด้ำนกำรพัฒนำทักษะกำรเป็นผู้เรียนรู้
 กลุ่มวิชำด้ำนกำรพัฒนำทักษะกำรเป็นผู้ร่วมสร้ำงสรรค์นวัตกรรม
 กลุ่มวิชำด้ำนกำรพัฒนำทักษะกำรเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง
2. วิชาในหมวดวิชาเฉพาะ
หมำยถึง กระบวนวิชำต่ำงๆซึ่งเป็นองค์ควำมรู้ที่สำคัญ ในกำรที่จะสำเร็จกำรศึกษำในหลักสูตรหนึ่งๆ โดย
ผู้เรียนจะต้องศึกษำวิชำในหมวดวิชำเฉพำะไม่น้อยกว่ำจำนวนหน่วยกิต ซึ่งถูกกำหนดไว้ในแต่ละหลักสูตร จึงจะ
สำมำรถสำเร็จกำรศึกษำในหลักสูตรนั้นๆได้ หมวดวิชำเฉพำะแบ่งออกเป็น 2 หมวด ได้แก่
 หมวดวิชำแกน
วิชำแกน หมำยถึง วิชำพื้นฐำนของแต่ละหลักสูตร โดยทั่วไปวิชำแกนจะถูกกำหนดให้ศึกษำในชั้น
ปีที่ 1 และ 2 ของแต่ละหลักสูตร (สำหรับหลักสูตร 4 ปี)
 หมวดวิชำเอก
วิชำเอก หมำยถึง วิชำซึ่งผู้เรียนต้องมีควำมรู้ใน ระดับพื้นฐำนของแต่ละหลักสูตรมำระดับหนึ่ง จึง
จะทำกำรศึกษำในกระบวนวิชำนั้นได้ โดยทั่วไปวิชำเอกจะถูกกำหนดให้ศึกษำในชั้นปีที่ 3 และ 4 ของ
แต่ละหลักสูตร (สำหรับหลักสูตร 4 ปี) โดยวิชำจะแบ่งเป็น 2 หมวด ได้แก่ วิชำเอกบังคับ หมำยถึง
กระบวนวิชำที่หลักสูตรบังคับให้นักศึกษำต้องลงทะเบียนในชั้นปีที่ 3 และ 4 วิชำเอกเลือก หมำยถึง
กระบวนวิชำที่นักศึกษำสำมำรถลงทะเบียนได้ตำมควำมสนใจ ในแต่ละหมวดวิชำเอกให้ครบตำม
จำนวนหน่วยกิตที่หลักสูตรกำหนด
3. วิชาโท
วิชำโท(Minor) หมำยถึง วิชำที่มิได้กำหนดไว้ในโครงสร้ำงหลักสูตรในหมวดวิชำศึกษำทั่วไป หมวดวิชำ
เฉพำะ หรือวิชำเอก วิชำโทเป็นวิชำอีกแขนงหนึ่งที่มหำวิทยำลัยอนุญำตให้นักศึกษำเรียนเพิ่มตำมควำมสนใจของ
นักศึกษำเพื่อรองรับกำรประกอบอำชีพในอนำคต วิชำโทนั้นนักศึกษำจะต้องเรียนในแขนงวิชำหนึ่งๆไม่น้อยกว่ำ
15 หน่วยกิต เช่น นักศึกษำมีควำมสนใจในวิชำบัญชี นักศึกษำต้องลงเรียนวิชำต่ำงๆเกี่ยวกับเรื่องบัญชีไม่น้อยกว่ำ
15 หน่วยกิต จึงจะสำมำรถนับได้ว่ำนักศึกษำมีควำมรู้ด้ำนบัญชีนอกเหนือจำกวิชำกฎหมำย

22
22
สำหรับหลักสูตรนิติศำสตรบัณฑิตนั้นไม่ได้กำหนดให้นักศึกษำต้องเรียนวิชำโทเพิ่มเติมนอกเหนือจำกวิชำ
กำหนดไว้ในโครงสร้ำงหลักสูตร แต่ถ้ำนักศึกษำมีควำมสนใจเรียนวิชำแขนงใดเพิ่มเติมให้ตนเองมีวิชำโทตำมที่ได้
กล่ำวมำก็สำมำรถกระทำได้
4. วิชาในหมวดวิชาเลือกเสรี
หมำยถึง วิชำซึ่งมิได้ถูกกำหนดไว้ในหมวดวิชำเฉพำะไม่ว่ำจะเป็นวิชำแกน หรือวิชำเอก วิชำเลือกเสรีเป็น
วิชำซึ่งแต่ละหลักสูตรเปิดโอกำสให้ผู้เรียนสำมำรถเลือกเรียนได้ตำมควำมสนใจของตนเอง ทั้งนี้ผู้เรียนจะต้องเรียน
วิชำเลือกเสรีไม่น้อยกว่ำที่กำหนดไว้ในแต่ละหลักสูตรจึงจะสำเร็จกำรศึกษำได้
*หมายเหตุ นักศึกษำจะต้องคอยตรวจสอบทุกภำคเรียนว่ำนักศึกษำได้ลงทะเบียนครบตำมจำนวนวิชำ ที่กำหนดไว้
ในโครงสร้ำงหลักสูตร หรือไม่ หำกนักศึกษำลงทะเบียนไม่ครบก็ไม่อำจสำเร็จกำรศึกษำได้ แม้จะได้เรียนมำเป็น
เวลำ 4 ปี ก็ตำม

โครงสร้างหลักสูตร
หมวดวิชำเลือกเสรี หมวดวิชำศึกษำ
6 หน่วยกิต ทั่วไป
30 หน่วยกิต

- เอกบังคับ 42 นก.
หมวดวิชำเอก - เอกเลือก ไม่น้อยกว่ำ
21 นก.
63 หน่วยกิต
หมวดวิชำแกน
39 หน่วยกิต

รวม 138 หน่วยกิต


* นักศึกษำสำมำรถเลือกวิชำโทได้ 15 หน่วยกิต

23
23
โครงสร้างหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561

(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต


วิชาบังคับ 21 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชำด้ำนกำรพัฒนำทักษะกำรเป็นผู้เรียนรู้ 15 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชำด้ำนกำรพัฒนำทักษะกำรเป็นผู้ร่วมสร้ำงสรรค์นวัตกรรม 3 หน่วยกิต
- กลุ่มวิชำด้ำนกำรพัฒนำทักษะกำรเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง 3 หน่วยกิต
วิชาเลือก โดยเลือกจำก 2 กลุ่มวิชำ 9 หน่วยกิต
(2) หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 102 หน่วยกิต
- วิชำแกน 39 หน่วยกิต
- วิชำเอก ไม่น้อยกว่ำ 63 หน่วยกิต
เอกบังคับ 42 หน่วยกิต
เอกเลือก ไม่น้อยกว่ำ 21 หน่วยกิต
(3) หมวดวิชาโท (ถ้ามี) ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
(4) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
(5) หลักสูตรอนุปริญญาทางนิติศาสตร์

จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 138 หน่วยกิต

รายละเอียดกระบวนวิชาในแต่ละหมวด
(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
วิชาบังคับ (Required Courses) 21 หน่วยกิต
1.1 กลุ่มวิชาด้านการพัฒนาทักษะการเป็นผู้เรียนรู้ (Learner Person) 15 หน่วยกิต
001101 ภำษำอังกฤษพื้นฐำน 1 3(3-0-6)
(Fundamental English 1)
001102 ภำษำอังกฤษพื้นฐำน 2 3(3-0-6)
(Fundamental English 2)
001201 กำรอ่ำนเชิงวิเครำะห์และกำรเขียนอย่ำงมีประสิทธิผล 3(3-0-6)
(Critical Reading and Effective Writing)
001224 ภำษำอังกฤษสำหรับสังคมศำสตร์ 3(3-0-6)
(English for Social Sciences)
204100 เทคโนโลยีสำรสนเทศและชีวิตสมัยใหม่ 3(3-0-6)
(Information Technology and Modern Life)
24
24
1.2 กลุ่มวิชาด้านการพัฒนาทักษะการเป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม 3 หน่วยกิต
(Innovative Co-creator)
เลือก 1 กระบวนวิชำจำกกระบวนวิชำต่อไปนี้:
Select 1 course from the followings:
050103 สังคมและวัฒนธรรมไทย 3(3-0-6)
(Thai Society and Culture)
159100 โลกสมัยใหม่ในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
(Modern World in Everyday Life)
201100 วิทยำศำสตร์บูรณำกำร 3(3-0-6)
(Integrated Science)
206100 คณิตศำสตร์ในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
(Mathematics in Everyday Life)
208101 สถิติสำหรับกำรดำรงชีวิตและกำรทำงำน 3(2-2-5)
(Statistics for Everyday Life and Work)
400110 พัฒนำกำรทำงเทคโนโลยีกับกำรเปลี่ยนแปลงของโลก 3(3-0-6)
(Technology Development and Global Change)
751100 เศรษฐศำสตร์ในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
(Economics for Everyday Life)
703103 กำรเป็นผู้ประกอบกำรและธุรกิจเบื้องต้น 3(3-0-6)
(Introduction to Entrepreneurship and Business)
013110 จิตวิทยำกับชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
(Psychology and Daily Life)
201114 วิทยำศำสตร์สิ่งแวดล้อมในโลกปัจจุบัน 3(3-0-6)
(Science and Global Warming)

1.3 กลุ่มวิชาด้านการพัฒนาทักษะการเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen) 3 หน่วยกิต


140104 กำรเป็นพลเมือง 3(3-0-6)
(Citizenship)

25
25
วิชาเลือก (GE Electives) 9 หน่วยกิต
ให้นักศึกษำเลือกเรียนกระบวนวิชำจำกทั้ง 2 กลุ่มเพิ่มเติมอีก 9 หน่วยกิต จำกกระบวนวิชำต่อไปนี้
A student also chooses at least 9 credits from these 2 groups of GE courses.
กลุ่มวิชาด้านการพัฒนาทักษะการเป็นผู้เรียนรู้ (Learner Person)
057131 กำรออกกำลังกำยและสุขภำพ 2(2-0-4)
(Exercise and Health)
211100 กินดี : กำรมีชีวิตที่ดีขึ้นและกำรป้องกันโรค 3(3-0-6)
(Eating Well : Better Living and Disease Prevention)
571113 กำรรักษำสมดุลแห่งชีวิตวัยรุ่น 3(3-0-6)
(Maintaining the Equilibrium in Adolescent Life)
702101 กำรเงินในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
(Finance for Daily Life)
705191 ผู้บริโภคที่ชำญฉลำด 1(1-0-2)
(Smart Consumer)

กลุ่มวิชาด้านการพัฒนาทักษะการเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen)


801100 สถำปัตยกรรมในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
(Architecture in Everyday Life)
050121 พลเมืองไทยในประชำคมอำเซียน 3(3-0-6)
(Thai People in the ASEAN Community)
127100 กำรเมืองในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
(Politics in Everyday Life)
128100 กำรบริหำรงำนตำมหลักธรรมำภิบำลพื้นฐำน 3(3-0-6)
(Basic Good Governance in Administration)

(2) หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 102 หน่วยกิต


2.1 วิชาแกน 39 หน่วยกิต
177103 หลักกฎหมำยเบื้องต้นและบุคคล 3(3-0-6)
(Basic Principle of Law and Persons)
177104 นิติตรรกศำสตร์และภำษำกฎหมำย 3(3-0-6)
(Legal Reasoning and Legal Language)
177113 กฎหมำยว่ำด้วยนิติกรรมและสัญญำ 3(3-0-6)
(Law of Juristic Acts and Contract)
26
26
177114 กฎหมำยว่ำด้วยทรัพย์สิน 3(3-0-6)
(Property Law)
177142 หลักกฎหมำยมหำชนและกฎหมำยรัฐธรรมนูญ 3(3-0-6)
(Public Law Principles and Constitutional Law)
177181 กฎหมำยอำญำภำคบทบัญญัติทั่วไป 3(3-0-6)
(Criminal Law: General Provisions)
177214 กฎหมำยว่ำด้วยหนี้ 3(3-0-6)
(Law of Obligations)
177215 กฎหมำยว่ำด้วยละเมิด จัดกำรงำนนอกสั่งและ 3(3-0-6)
ลำภมิควรได้
(Torts, Management of Affairs without Mandate and Undue
Enrichment)
177216 กฎหมำยครอบครัว 3(3-0-6)
(Family Law)
177217 กฎหมำยมรดก 3(3-0-6)
(Law of Succession)
177220 กฎหมำยสัญญำทำงธุรกิจ 3(3-0-6)
(Law on Business Contracts)
177222 กฎหมำยองค์กรทำงธุรกิจ 3(3-0-6)
(Law on Business Organizations)
177281 กฎหมำยอำญำภำคควำมผิด 1 3(3-0-6)
(Criminal Offences 1)

2.2 วิชาเอก ไม่น้อยกว่า 63 หน่วยกิต


2.2.1 วิชาเอกบังคับ 42 หน่วยกิต
177300 นิติปรัชญำ 3(3-0-6)
(Philosophy of Law)
177321 กฎหมำยแรงงำน 3(3-0-6)
(Labor Law)
177330 กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง 1 3(3-0-6)
(Civil Procedural Law 1)
177341 กฎหมำยปกครอง 1 3(3-0-6)
(Administrative Law 1)

27
27
177350 กฎหมำยวิธีสบัญญัติในทำงมหำชน 3(3-0-6)
(Public Procedural Law)
177352 องค์กรระงับข้อพิพำทและจริยธรรมทำงกฎหมำย 3(3-0-6)
(Dispute Settlement Organizations and Legal Ethics)
177361 กฎหมำยระหว่ำงประเทศแผนกคดีเมืองและคดีอำญำ 3(3-0-6)
(Public International Law and Criminal International Law)
177362 กฎหมำยระหว่ำงประเทศแผนกคดีบุคคล 3(3-0-6)
(Private International Law)
177393 กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ 3(3-0-6)
(Criminal Procedural Law)
177404 กฎหมำยกับสังคม 3(3-0-6)
(Law and Society)
177434 พยำน 3(3-0-6)
(Evidence)
177440 กฎหมำยมหำชนทำงเศรษฐกิจและกำรคลัง 3(3-0-6)
(Public Economic and Finance Law)
179400 สหกิจศึกษำสำหรับนักกฎหมำย 6 หน่วยกิต
(Cooperative Education for Lawyers)

2.2.2 วิชาเอกเลือก ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต


โดยเลือกเรียนเป็นรำยกระบวนวิชำจำกกลุ่มกระบวนวิชำในระดับ 400 หรือ กระบวนวิชำอื่นที่
คณะกรรมกำรประจำหลักสูตรเห็นชอบ ไม่น้อยกว่ำ 21 หน่วยกิต กลุ่มกระบวนวิชำเอกเลือกที่แนะนำ ดังนี้

ก. กลุ่มกระบวนวิชานิติศึกษาทั่วไป (General Legal Courses)


177401 ประวัติศำสตร์กฎหมำยต่ำงประเทศ 3(3-0-6)
(Legal History)
177405 ประวัติศำสตร์กฎหมำยไทย 3(3-0-6)
(Thai Legal History)
177409 กำรศึกษำกฎหมำยเชิงคลินิก 3(1-6-2)
(Clinical Legal Education)
179402 ภำษำกฎหมำยต่ำงประเทศเพื่อกำรสื่อสำร (6-0-3)3
(Foreign Legal Language for Communication)
179403 กำรเขียนภำษำกฎหมำยต่ำงประเทศ 3(3-0-6)
(Foreign Legal Writing)
28
28
179404 ระเบียบวิธีวิจัยทำงกฎหมำย 3(3-0-6)
(Legal Research Methodology)
179405 ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมำยโรมัน 3(3-0-6)
(Introduction to the Roman Law)
179406 กฎหมำยจีน 3(3-0-6)
(Chinese Law)

ข. กลุ่มกระบวนวิชากฎหมายเอกชน (Private Law Courses)


177410 สัมมนำสัญญำทำงธุรกิจ 3(3-0-6)
(Seminar in Commercial Contracts)
177411 สัมมนำกฎหมำยแพ่ง 3(3-0-6)
(Seminar on Civil Law)
177413 กฎหมำยเทคโนโลยีข้อมูลข่ำวสำร 3(3-0-6)
(Information Technology Law)
177414 กำรให้คำปรึกษำทำงกฎหมำยแก่ลูกควำมต่ำงชำติ 3(3-0-6)
(Legal Advice for Foreign Clients)
177420 กฎหมำยไซเบอร์ 3(3-0-6)
(Cyber Law)
177423 กฎหมำยว่ำด้วยฟื้นฟูกิจกำร 3(3-0-6)
(Reorganization Law)
177424 สัมมนำทำงกฎหมำยธุรกิจ 3(3-0-6)
(Seminar on Business Law)
177425 กฎหมำยเกี่ยวกับตรำสำรเปลี่ยนมือ 3(3-0-6)
(Laws of Negotiable Instruments)
177426 กฎหมำยประกันภัย 3(3-0-6)
(Insurance Law)
177427 กฎหมำยกำรธนำคำรพำณิชย์และสถำบันกำรเงินของไทย 3(3-0-6)
(Thai Banking Law and Financial Institutions Law)
177428 กฎหมำยพำณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 3(3-0-6)
(Electronic Commerce Law)
177429 กฎหมำยกำรแข่งขันทำงกำรค้ำ 3(3-0-6)
(Competition Law)
177460 กฎหมำยทรัพย์สินทำงปัญญำ 3(3-0-6)
(Intellectual Property Law)

29
29
179430 กฎหมำยลิขสิทธิ์ในยุคดิจิทัล 3(3-0-6)
(Copyright in the Digital Age)

ค. กลุ่มกระบวนวิชากฎหมายวิธีพิจารณาความ (Procedural Law Courses)


177332 กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง 2 3(3-0-6)
Civil Procedural Law 2
177430 วิชำว่ำควำม 3(3-0-6)
(Counsel Practice)
177431 กฎหมำยล้มละลำย 3(3-0-6)
(Bankruptcy Law)
177433 กำรระงับข้อพิพำททำงเลือก 3(3-0-6)
(Alternative Dispute Resolution)

ง. กลุ่มกระบวนวิชากฎหมายมหาชน (Public Law Courses)


177441 สัมมนำกฎหมำยรัฐธรรมนูญ 3(3-0-6)
(Seminar on Constitutional Law)
177442 กฎหมำยข้อมูลข่ำวสำร 3(3-0-6)
(Information Law)
177444 กฎหมำยประกอบรัฐธรรมนูญ 3(3-0-6)
(Organic Laws)
177445 กฎหมำยพลังงำน 3(3-0-6)
(Energy Law)
177446 กฎหมำยกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
(Law and Environment)
177447 กฎหมำยที่ดิน 3(3-0-6)
(Land Law)
177448 กฎหมำยปกครอง 2 3(3-0-6)
(Administrative Law 2)
177449 กฎหมำยเกี่ยวกับกำรจัดกำรอสังหำริมทรัพย์ 3(3-0-6)
(Real Estate Law)
179441 กฎหมำยกับควำมยำกจน 3(3-0-6)
(Law and Poverty)
179442 กฎหมำยเกี่ยวกับกำรย้ำยถิ่นข้ำมแดนของคนและทุน 3(3-0-6)
(Law on Migration and Border-Crossing of People and Capital)
30
30
179443 กฎหมำยกีฬำ 3(3-0-6)
(Sports Law)
179444 กฎหมำยคุ้มครองผู้บริโภค 3(3-0-6)
(Consumer Protection Law)
179445 กฎหมำยในกำรจัดกำรทรัพยำกร 3(3-0-6)
(Law on Natural Resources)

จ. กลุ่มกระบวนวิชากฎหมายระหว่างประเทศ (International Law Courses)


177463 กฎหมำยทะเล 3(3-0-6)
(Law of the Sea)
177464 กฎหมำยว่ำด้วยสนธิสัญญำ 3(3-0-6)
(Law of Treaties)
177465 กฎหมำยว่ำด้วยสิทธิมนุษยชน 3(3-0-6)
(Human Rights Law)
177466 กฎหมำยเศรษฐกิจระหว่ำงประเทศ 3(3-0-6)
(International Economic Law)
177467 กฎหมำยกำรค้ำระหว่ำงประเทศ 3(3-0-6)
(International Trade Law)
177468 กฎหมำยระหว่ำงประเทศว่ำด้วยสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
(International Environmental Law)
177469 กฎหมำยสหภำพยุโรป 3(3-0-6)
(European Union Law)
177470 กฎหมำยพำณิชย์นำวี 3(3-0-6)
(Maritime Law)
177471 กฎหมำยกับสังคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3(3-0-6)
(Law and Society in Southeast Asia)
177472 กฎหมำยประชำคมอำเซียน 3(3-0-6)
(ASEAN Community Law)
177474 กฎหมำยมนุษยธรรมระหว่ำงประเทศ 3(3-0-6)
International Humanitarian Law
177475 กฎหมำยขององค์กำรระหว่ำงประเทศ 3(3-0-6)
Law of International Organizations
177476 กฎหมำยอำญำระหว่ำงประเทศ 3(3-0-6)
International Criminal Law
31
31
ฉ. กลุ่มกระบวนวิชากฎหมายอาญา (Criminal Law Courses)
177481 สัมมนำกฎหมำยอำญำ 3(3-0-6)
(Seminar on Criminal Law)
177482 กฎหมำยอำญำภำคควำมผิด 2 3(3-0-6)
(Criminal Offences 2)
177483 อำชญำกรรมทำงเศรษฐกิจ 3(3-0-6)
(Economic Crime)
177484 กฎหมำยอำชญำกรรม สงครำม และควำมมั่นคงไซเบอร์ 3(3-0-6)
(Law on Cybercrime, Cyber Warfare and Cyber security)
177485 อำชญวิทยำในกระบวนกำรยุติธรรม 3(3-0-6)
(Criminology in Criminal Justice)
177491 กฎหมำยว่ำด้วยกระทำผิดของเด็กและเยำวชน 3(3-0-6)
(Law of Juvenile Delinquency)
177494 กำรสืบสวน-สอบสวนคดีอำญำและนิติวิทยำศำสตร์ 3(3-0-6)
(Criminal Investigation and Forensic Science)
177495 กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำในชั้นศำล 3(3-0-6)
(Criminal Procedural Law in the Part of Criminal Trial)

(3) วิชาโท (ถ้ามี) ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต


นักศึกษำที่ประสงค์จะเรียนวิชำโท อำจเลือกเรียนวิชำโทในสำขำใดก็ได้ที่เปิดสอนตำมประกำศ
มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ เรื่อง วิชำโทที่เปิดสอนสำหรับนักศึกษำมหำวิทยำลัยเชียงใหม่ ไม่น้อยกว่ำ 15 หน่วยกิต โดย
ควำมเห็นชอบของอำจำรย์ที่ปรึกษำ ซึ่งจะทำให้มีจำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรเพิ่มขึ้นอีก ไม่น้อยกว่ำ 15
หน่วยกิต

(4) หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

(5) หลักสูตรอนุปริญญานิติศาสตร์
นักศึกษำสำมำรถยื่นขออนุปริญญำทำงนิติศำสตร์ได้เมื่อได้ลงทะเบียนเรียนและสอบผ่ำนรำยวิชำต่ำงๆ
ตำมหลักสูตรนิติศำสตรบัณฑิตโดยได้หน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่ำ 108 หน่วยกิต ตำมเงื่อนไขต่อไปนี้
(1) วิชำศึกษำทั่วไปของมหำวิทยำลัยครบตำมหลักสูตรรวม 30 หน่วยกิต
(2) หมวดวิชำเฉพำะ วิชำแกนและวิชำเอกบังคับทำงกฎหมำย ในระดับชั้นปีที่ 1 ถึงปีที่ 3 รวม 69
หน่วยกิต 23 วิชำ ในรำยวิชำดังต่อไปนี้
177103 น.กม.103 หลักกฎหมำยเบื้องต้นและบุคคล 3(3-0-6)
177113 น.กม.113 กฎหมำยว่ำด้วยนิติกรรมและสัญญำ 3(3-0-6)
32
32
177114 น.กม.114 กฎหมำยว่ำด้วยทรัพย์สิน 3(3-0-6)
177181 น.กม.181 กฎหมำยอำญำภำคบทบัญญัติทั่วไป 3(3-0-6)
177142 น.กม.142 หลักกฎหมำยมหำชนและกฎหมำยรัฐธรรมนูญ 3(3-0-6)
177104 น.กม.104 นิติตรรกศำสตร์และภำษำกฎหมำย 3(3-0-6)
177214 น.กม.214 กฎหมำยว่ำด้วยหนี้ 3(3-0-6)
177215 น.กม.215 กฎหมำยว่ำด้วยละเมิด จัดกำรงำนนอกสั่งและลำภมิควรได้ 3(3-0-6)
177216 น.กม.216 กฎหมำยครอบครัว 3(3-0-6)
177217 น.กม.217 กฎหมำยมรดก 3(3-0-6)
177281 น.กม.281 กฎหมำยอำญำภำคควำมผิด 1 3(3-0-6)
177220 น.กม.220 กฎหมำยสัญญำทำงธุรกิจ 3(3-0-6)
177222 น.กม.222 กฎหมำยองค์กรทำงธุรกิจ 3(3-0-6)
177321 น.กม.321 กฎหมำยแรงงำน 3(3-0-6)
177341 น.กม.341 กฎหมำยปกครอง 1 3(3-0-6)
177361 น.กม.361 กฎหมำยระหว่ำงประเทศแผนกคดีเมืองและคดีอำญำ 3(3-0-6)
177330 น.กม.330 กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง 1 3(3-0-6)
177393 น.กม.393 กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ 3(3-0-6)
177434 น.กม.434 พยำน 3(3-0-6)
177362 น.กม.362 กฎหมำยระหว่ำงประเทศแผนกคดีบุคคล 3(3-0-6)
177300 น.กม.300 นิติปรัชญำ 3(3-0-6)
177350 น.กม.350 กฎหมำยวิธีสบัญญัติในทำงมหำชน 3(3-0-6)
177352 น.กม.352 องค์กรระงับข้อพิพำทและจริยธรรมทำงกฎหมำย 3(3-0-6)
(3) วิชำเลือกทำงกฎหมำย ไม่น้อยกว่ำ 6 หน่วยกิต ในรำยวิชำดังต่อไปนี้
177430 น.กม.430 วิชำว่ำควำม 3(3-0-6)
ให้นักศึกษำเลือกเรียนกระบวนวิชำเอกเลือกเพิ่มเติมอีก 1 กระบวนวิชำ 3(3-0-6)
(4) วิชำเลือกเสรีไม่น้อยกว่ำ 3 หน่วยกิต
(5) ได้ค่ำระดับเฉลี่ยสะสมของวิชำที่ศึกษำทั้งหมดตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่ำ 2.00 ในภำคกำรศึกษำสุดท้ำย
ที่ขออนุปริญญำ”

33
33
หมายเหตุ : หลักสูตรได้มีกำรจัดอบรมเตรียมควำมพร้อมให้แก่นักศึกษำก่อนไปสหกิจศึกษำ
จำนวนไม่น้อยกว่ำ 30 ชั่วโมง
: ควำมหมำยของเลขรหัสกระบวนวิชำ
รหัสกระบวนวิชำที่ใช้กำหนดเป็นตัวเลข 6 หลัก ดังต่อไปนี้
1. เลข 3 ตัวแรก แสดงถึง คณะ และภำควิชำ/สำขำวิชำ ที่กระบวนวิชำนั้นสังกัด
2. เลข 3 ตัวท้ำย จำแนกได้ดังนี้

1) เลขตัวแรก (หลักร้อย) แสดงถึง ระดับของกระบวนวิชำ


“1” แสดงถึง กระบวนวิชำในระดับปีที่ 1
“2” แสดงถึง กระบวนวิชำในระดับปีที่ 2
“3” แสดงถึง กระบวนวิชำในระดับปีที่ 3
“4” แสดงถึง กระบวนวิชำในระดับปีที่ 4
2) เลขตัวกลำง (หลักสิบ) แสดงถึง หมวดหมู่ในสำขำวิชำ
3) เลขตัวท้ำย (หลักหน่วย) แสดงถึง อนุกรมในหมวดหมู่ของสำขำวิชำ
: ควำมหมำยของเลขหน่วยกิต

ตัวอย่ำง 3 (3-0-6)
จำนวนชั่วโมงศึกษำด้วยตนเอง
จำนวนหน่วยกิต จำนวนชั่วโมงกำรบรรยำย จำนวนชั่วโมงกำรปฏิบัติ

34
34
อักษรย่อ รหัสกระบวนวิชา

รหัสกระบวนวิชำของคณะ ระดับของกระบวนวิชำ(ชั้นปี)

177 103

หมวดหมู่ของกระบวนวิชำนั้น อนุกรมในหมวดหมู่ของกระบวนวิชำ

0 – กระบวนวิชำนิติศึกษำทั่วไป ตัวอย่าง
1 – กระบวนวิชำกฎหมำยแพ่ง กลุ่มกระบวนวิชำกฎหมำยมหำชน
2 – กระบวนวิชำกฎหมำยพำณิชย์และธุรกิจ 177441 - สัมมนำกฎหมำยรัฐธรรมนูญ
3 – กระบวนวิชำกฎหมำยวิธีพิจำรณำ 177442 - กฎหมำยข้อมูลข่ำวสำรของ
ควำมแพ่งและกฎหมำยลักษณะพยำน ทำงรำชกำร
4 – กระบวนวิชำกฎหมำยรัฐธรรมนูญ 177443 - กฎหมำยว่ำด้วยวิธีปฏิบัติ
และกฎหมำยปกครอง รำชกำรทำงปกครอง
5 - กระบวนวิชำกฎหมำยมหำชนอื่น ๆ 177444 - กฎหมำยประกอบรัฐธรรมนูญ
6 และ 7-กระบวนวิชำกฎหมำยระหว่ำงประเทศ
8 - กระบวนวิชำกฎหมำยอำญำ
9 - กระบวนวิชำกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ

35
35
แผนการศึกษา
ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1
001101 ม.อ.101 ภำษำอังกฤษพื้นฐำน 1 3(3-0-6)
Fundamental English 1
177103 น.กม.103 หลักกฎหมำยเบื้องต้นและบุคคล 3(3-0-6)
Basic Principle of Law and Persons
177104 น.กม.104 นิติตรรกศำสตร์และภำษำกฎหมำย 3(3-0-6)
Legal Reasoning and Legal Language
204100 ว.คพ.100 เทคโนโลยีสำรสนเทศและชีวิตสมัยใหม่ 3(3-0-6)
Information Technology and Modern Life
.......... ................ วิชำเลือกกลุ่มผู้ร่วมสร้ำงสรรค์นวัตกรรม 3
.......... ................ วิชำศึกษำทั่วไป (เลือกจำก 2 กลุ่มวิชำ) 3
.......... ................ วิชำศึกษำทั่วไป (เลือกจำก 2 กลุ่มวิชำ) 3
รวม 21 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
001102 ม.อ.102 ภำษำอังกฤษพื้นฐำน 2 3(3-0-6)
Fundamental English 2
140104 ร.ท.104 กำรเป็นพลเมือง 3(3-0-6)
Citizenship
177113 น.กม.113 กฎหมำยว่ำด้วยนิติกรรมและสัญญำ 3(3-0-6)
Law of Juristic Acts and Contract
177114 น.กม.114 กฎหมำยว่ำด้วยทรัพย์สิน 3(3-0-6)
Property Law
177181 น.กม.181 กฎหมำยอำญำภำคบทบัญญัติทั่วไป 3(3-0-6)
Criminal Law: General Provisions
177142 น.กม.142 หลักกฎหมำยมหำชนและกฎหมำยรัฐธรรมนูญ 3(3-0-6)
Public Law Principles and Constitutional Law
.......... ................ วิชำศึกษำทั่วไป (เลือกจำก 2 กลุ่มวิชำ) 3
รวม 21 หน่วยกิต

36
36
ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1
001201 ม.อ.201 กำรอ่ำนเชิงวิเครำะห์และกำรเขียนอย่ำงมีประสิทธิผล 3(3-0-6)
Critical Reading and Effective Writing
177214 น.กม.214 กฎหมำยว่ำด้วยหนี้ 3(3-0-6)
Law of Obligations
177215 น.กม.215 กฎหมำยว่ำด้วยละเมิด จัดกำรงำนนอกสั่งและลำภมิควรได้ 3(3-0-6)
Torts, Management of Affairs without Mandate
and Undue Enrichment
177216 น.กม.216 กฎหมำยครอบครัว 3(3-0-6)
Family Law
177217 น.กม.217 กฎหมำยมรดก 3(3-0-6)
Law of Succession
177281 น.กม.281 กฎหมำยอำญำภำคควำมผิด 1 3(3-0-6)
Criminal Offences 1
รวม 18 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2
001224 ม.อ.224 ภำษำอังกฤษสำหรับสังคมศำสตร์ 3(3-0-6)
English for Social Sciences
177220 น.กม. 220 กฎหมำยสัญญำทำงธุรกิจ 3(3-0-6)
Law on Business Contracts
177222 น.กม. 222 กฎหมำยองค์กรทำงธุรกิจ 3(3-0-6)
Law on Business Organizations
177321 น.กม.321 กฎหมำยแรงงำน 3(3-0-6)
Labor Law
177341 น.กม.341 กฎหมำยปกครอง 1 3(3-0-6)
Administrative Law 1
177361 น.กม. 361 กฎหมำยระหว่ำงประเทศแผนกคดีเมืองและคดีอำญำ 3(3-0-6)
Public International Law and Criminal International Law
รวม 18 หน่วยกิต

37
37
ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1
177330 น.กม. 330 กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 1 3(3-0-6)
Civil Procedural Law 1
177350 น.กม. 350 กฎหมายวิธีสบัญญัติในทางมหาชน 3(3-0-6)
Public Procedural Law
177362 น.กม.362 กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล 3(3-0-6)
Private International Law
177393 น.กม.393 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 3(3-0-6)
Criminal Procedural Law
.......... ................ วิชาเอกเลือก 3
.......... ................ วิชาเอกเลือก 3
รวม 18 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2
177300 น.กม.300 นิติปรัชญา 3(3-0-6)
Philosophy of Law
177352 น.กม.352 องค์กรระงับข้อพิพาทและจริยธรรมทางกฎหมาย 3(3-0-6)
Dispute Settlement Organizations and Legal Ethics
177434 น.กม.434 พยาน 3(3-0-6)
Evidence
.......... ................ วิชาเอกเลือก 3
.......... ................ วิชาเอกเลือก 3
.......... ................ วิชาเอกเลือก 3
รวม 18 หน่วยกิต

38
38
ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1
179400 นศ.กม.400 สหกิจศึกษำสำหรับนักกฎหมำย 6
Cooperative Education for Lawyers
รวม 6 หน่วยกิต

ชั้นปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2
177404 น.กม.404 กฎหมำยกับสังคม 3(3-0-6)
Law and Society
177440 น.กม. 440 กฎหมำยมหำชนทำงเศรษฐกิจและกำรคลัง 3(3-0-6)
Public Economic and Finance Law
.......... ................ วิชำเอกเลือก 3
.......... ................ วิชำเอกเลือก 3
.......... ................ วิชำเลือกเสรี 3
.......... ................ วิชำเลือกเสรี 3
รวม 18 หน่วยกิต

39
39
กระบวนวิชาภาคการศึกษาที่ 1 สาหรับนักศึกษาภาคปกติเลือกลงทะเบียน
กระบวนวิชาที่เปิดสอนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2564

กลุ่มวิชาด้านการพัฒนาทักษะการเป็นผู้เรียนรู้ (Learner Person)


โดยเลือกเรียน 1 หรือ 2 กระบวนวิชำ จำกกระบวนวิชำต่อไปนี้ 3 หรือ 6 หน่วยกิต
057131 กำรออกกำลังกำยและสุขภำพ 2(2-0-4)
(Exercise and Health)
211100 กินดี : กำรมีชีวิตที่ดีขึ้นและกำรป้องกันโรค 3(3-0-6)
(Eating Well : Better Living and Disease Prevention)
571113 กำรรักษำสมดุลแห่งชีวิตวัยรุ่น 3(3-0-6)
Maintaining the Equilibrium in Adolescent Life
702101 กำรเงินในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
(Finance for Daily Life)

กลุ่มวิชาด้านการพัฒนาทักษะการเป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม (Innovative Co-creator)


โดยเลือกเรียน 1 กระบวนวิชำ จำกกระบวนวิชำต่อไปนี้ 3 หน่วยกิต
050103 สังคมและวัฒนธรรมไทย 3(3-0-6)
(Thai Society and Culture)
159100 โลกสมัยใหม่ในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
(Modern World in Everyday Life)
201100 วิทยำศำสตร์บูรณำกำร 3(3-0-6)
(Integrated Science)
206100 คณิตศำสตร์ในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
(Mathematics in Everyday Life)
208101 สถิติสำหรับกำรดำรงชีวิตและกำรทำงำน 3(2-2-5)
(Statistics for Everyday Life and Work)
400110 พัฒนำกำรทำงเทคโนโลยีกับกำรเปลี่ยนแปลงของโลก 3(3-0-6)
(Technology Development and Global Change)
751100 เศรษฐศำสตร์ในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
(Economics for Everyday Life)

40
40
703103 กำรเป็นผู้ประกอบกำรและธุรกิจเบื้องต้น 3(3-0-6)
(Introduction to Entrepreneurship and Business)
013110 จิตวิทยำกับชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
(Psychology and Daily Life)
201114 วิทยำศำสตร์สิ่งแวดล้อมในโลกปัจจุบัน 3(3-0-6)
(Science and Global Warming)

กลุ่มวิชาด้านการพัฒนาทักษะการเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง (Active Citizen)


โดยเลือกเรียน 1 หรือ 2 กระบวนวิชำ จำกกระบวนวิชำต่อไปนี้ 3 หรือ 6 หน่วยกิต
801100 สถำปัตยกรรมในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
(Architecture in Everyday Life)
050121 พลเมืองไทยในประชำคมอำเซียน 3(3-0-6)
(Thai People in the ASEAN Community)
127100 กำรเมืองในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
(Politics in Everyday Life)
128100 กำรบริหำรงำนตำมหลักธรรมำภิบำลพื้นฐำน 3(3-0-6)
(Basic Good Governance in Administration)

41
41
คำอธิบำยลักษณะกระบวนวิชำ

001101 ม.อ. 101 ภำษำอังกฤษพื้นฐำน 1 3(3-0-6)


(Fundamental English 1)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
การสื่อสารภาษาอังกฤษ เพื่อการปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจาวัน ทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียนในระดับ
เบื้องต้น ในบริบททางสังคมและวัฒนธรรมที่หลากหลายเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต

001102 ม.อ. 102 ภำษำอังกฤษพื้นฐำน 2 3(3-0-6)


(Fundamental English 2)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 001101 หรือตามความเห็นชอบของภาควิชา
การสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจาวัน ทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียนในระดับที่
ซับซ้อนขึ้นในบริบททางสังคมและวัฒนธรรมที่หลากหลายเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต

001201 ม.อ. 201 กำรอ่ำนเชิงวิเครำะห์และกำรเขียนอย่ำงมีประสิทธิผล 3(3-0-6)


(Critical Reading and Effective Writing)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 001102 หรือตามความเห็นชอบของภาควิชา
ทักษะภาษาอังกฤษสาหรับการอ่านเชิงวิเคราะห์จากแหล่งข้อมูลและสื่อต่างๆ และการเขียนอย่างมี
ประสิทธิผล ในหัวข้อตามความสนใจของผู้เรียน

001224 ม.อ. 224 ภำษำอังกฤษสำหรับสังคมศำสตร์ 3(3-0-6)


(English for Social Sciences)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 001102 หรือตามความเห็นชอบของภาควิชา
ทักษะ องค์ประกอบ และหน้าที่ของภาษาเฉพาะทาง เพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพในบริบททาง
สังคมศาสตร์

204100 ว.คพ. 100 เทคโนโลยีสำรสนเทศและชีวิตสมัยใหม่ 3(3-0-6)


(Information Technology and Modern Life)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
คอมพิวเตอร์กับการใช้งานในชีวิตประจาวัน เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์ เน็ต องค์ประกอบสาคัญ
ของการออนไลน์ การทางานร่วมกันแบบออนไลน์ ซอฟต์แวร์ช่วยเพิ่มประสิทธิผลในสานักงานสาหรับชีวิตสมัยใหม่
ความปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การรู้สารสนเทศ

42
42
050103 ม.ศท. 103 สังคมและวัฒนธรรมไทย 3(3-0-6)
(Thai Society and Culture)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
การศึกษาเชิงแนะนาเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรมไทย โดยอาศัยเครื่องมือการวิเคราะห์ที่มาจากมรดก
ทางปัญญาของไทย รวมทั้งการเสนอในเชิงวิพากษ์เกี่ยวกับทฤษฎีที่มาจากโลกทรรศน์ตะวันตกที่ใช้ในการศึกษาสังคม
และวัฒนธรรมไทย และทางเลือกอื่น ๆ ของความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมของไทย

159100 ส.สม. 100 โลกสมัยใหม่ในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)


(Modern World in Everyday Life)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
โลกาภิวัตน์กับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรม ปัญหาสิ่งแวดล้อม ความ
ขัดแย้งทางชาติพันธุ์ ความมั่นคงของมนุษย์ สังคมเสี่ยง วัฒนธรรมการบริโภค สื่อสมัยใหม่ และชีวิตประจาวันของผู้คน
ที่เปลี่ยนแปลงไปในโลกสมัยใหม่

201100 ว.วท. 100 วิทยำศำสตร์บูรณำกำร 3(3-0-6)


(Integrated Science)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
วิวัฒนาการของวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โลกและจักรวาล แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ
การนาไปใช้และการอนุรักษ์ รูปแบบและแหล่งพลังงาน การนาไปใช้และการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและมลพิษ ร่างกาย
ของเรา อาหารและยา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านการคมนาคม การสื่อสาร คอมพิวเตอร์ โสตทัศนูปกรณ์ เครื่อง
อานวยความสะดวก วิทยาศาสตร์และสังคม

206100 ว.คณ. 100 คณิตศำสตร์ในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)


(Mathematics in Everyday Life)
เงื่อนไขที่ตอ้ งผ่านก่อน : ไม่มี
การแก้โจทย์ปัญหาและการคิดเชิงวิพากษ์ เซตและการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ตรรกศาสตร์และ
การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน จานวนและการคานวณ ระบบจานวนจริงและการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
คณิตศาสตร์สาหรับผู้บริโภคและการจัดการทางการเงิน การวัดในชีวิตประจาวัน คณิตศาสตร์กับอารยธรรม

208101 ว.สถ. 101 สถิติสำหรับกำรดำรงชีวิตและกำรทำงำน 3(2-2-5)


(Statistics for Everyday Life and Work)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
สถิติกับการดารงชีวิตและการทางาน สถิติและสารสนเทศกับการแก้ปั ญหา การอธิบายเหตุและผลของ
ปรากฏการณ์ต่างๆ การจัดทาข้อสรุปข้อมูล โอกาสและความไม่แน่นอน จากตัวอย่างไปสู่ประชากร การทดสอบ
สมมุติฐาน การสารวจด้วยตัวอย่าง การพล็อตจุดและเส้น การประยุกต์ใช้ข้อสรุปทางสถิติ
43
43
400110 ก.กษ. 110 พัฒนำกำรทำงเทคโนโลยีกับกำรเปลี่ยนแปลงของโลก 3(3-0-6)
(Technology Development and Global Change)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
ผลของพัฒนาการทางด้านเทคโนโลยีต่อสังคมมนุษย์และการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคต่างๆ พัฒนาการ
ของเทคโนโลยี ท างการเกษตรต่ อ การเกิ ด สั ง คมมนุ ษ ย์ ยุ ค เครื่ อ งจั ก รกั บ การปฏิ วั ติ เ ขี ย ว ปฏิ ชี ว นะสารกั บ การ
เปลี่ยนแปลงของโลก ยีนเทคโนโลยีกับชีวิตยุคใหม่ ผลของพัฒนาการทางอุตสาหกรรมกับมลภาวะและปัญหาโลกร้อน
แนวทางในการแก้ปัญหาในปัจจุบันและอนาคต

751100 ศศ. 100 เศรษฐศำสตร์ในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)


(Economics for Everyday Life)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ที่นาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การบริโภค ตลาด รายได้
ประชาชาติ การคลังสาธารณะ การเงินและการธนาคาร ภาวะเงินเฟ้อและเงินฝืด การจ้างงาน เศรษฐกิจการค้าและ
การเงินระหว่างประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม

703103 บธ.กจ. 103 กำรเป็นผู้ประกอบกำรและธุรกิจเบื้องต้น 3(3-0-6)


(Introduction to Entrepreneurship and Business)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
บทบาทการเป็ น ผู้ ป ระกอบการกั บ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของประเทศ โอกาสในการประกอบธุ ร กิ จ
คุณลักษณะและแรงจูงใจในการเป็นผู้ประกอบการ สภาพแวดล้อม ประเภท รูปแบบและแผนธุรกิจ หลักการจัดการ
การจัดการด้านการตลาด การผลิต การเงิน บัญชี ภาษี กฎหมายธุรกิจ ธุรกิจระหว่างประเทศ และจริยธรรมสาหรับ
ผู้ประกอบการ

013110 ม.จว. 110 จิตวิทยำกับชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)


(Psychology and Daily Life)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี และสาหรับนักศึกษานอกวิชาเอกเท่านั้น
จิตวิทยากับชีวิตประจาวัน ปัจจัยด้านลักษณะส่วนบุคคล ปัจจัยด้านสัมพันธภาพระหว่างบุคคล ปัจจัย
ด้านสังคม

201114 ว.วท. 114 วิทยำศำสตร์สิ่งแวดล้อมในโลกปัจจุบัน 3(3-0-6)


(Environmental Science in Today’s World)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
สิ่งแวดล้อมและผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์ ความตระหนักเรื่องสิ่งแวดล้อมในเวทีนานาชาติ
ความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ; การอนุรักษ์เพื่ออนาคต การใช้ทรัพยากร การเติบโตของประชากรและ
44
44
มลพิษ การแตกตัวของโอโซน ภาวะโลกร้อนและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ วิกฤติพลังงาน การพัฒนาอย่าง
ยั่งยืนเพื่อรักษาสมดุลในการบริโภคทรัพยากรธรรมชาติและการทดแทน สถานการณ์สิ่งแวดล้อมปัจจุบัน

140104 ร.ท. 104 กำรเป็นพลเมือง 3(3-0-6)


(Citizenship)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
ความหมาย นิยาม และแนวคิดเกี่ยวกับการเป็นพลเมือง แนวคิดสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่พลเมือง การ
สร้างความตระหนักถึงปัญหารอบตัวทั้งในระดับท้องถิ่น ประเทศ และนานาชาติ การสร้างจิตสานึกและศีลธรรมอันดี
ในความรับผิดชอบต่อสังคมและผลประโยชน์ส่วนรวม การเป็นพลเมืองกับการเรียนรู้และการดารงตนในพหุวัฒนธรรม
และความหลากหลายทางสังคม การสร้างทัศนคติเชิงบวกเพื่อการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธี การแสดงออก
ทางการเมืองภายใต้กฎหมาย ระเบียบ และค่านิยมของชุมชนและสังคม การเป็นพลเมืองที่มีความรู้และความเข้าใจใน
ขนบธรรมเนียมทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น การเรียนรู้จริยธรรมในวิชาชีพของตน

057131 ศ.ล. 131 กำรออกกำลังกำยและสุขภำพ 3(3-0-6)


(Exercise and Health)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
ความสาคัญของการออกกาลังกายและสุขภาพ แนวทางในการออกกาลังกาย การออกแบบการออก
กาลังกายเพื่อสุขภาพ การออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ การประเมินผลการออกกาลังกายและภาวะสุขภาพ

211100 ว.ชท. 100 กินดี : กำรมีชีวิตที่ดีขึ้นและกำรป้องกันโรค 3(3-0-6)


(Eating Well : Better Living and Disease Prevention)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
โภชนาการและตัวเรา : สุขภาพ วิทยาศาสตร์ และวิถีชีวิต อาหารที่ควรรับประทาน : ความต้องการแต่
ละวันและฉลากอาหาร อาหารให้พลังงาน วิตามิน เกลือแร่ น้าและเส้นใย อาหารเสริม สารปรุงแต่งอาหาร โรคใน
สังคมสมัยใหม่ : มะเร็ง โรคอ้วน เบาหวาน เครียด อาหารไม่ย่อย ท้องผูก อาการแก่เกินวัย ภูมิคุ้มกันต่าและภูมิแพ้

571113 พย.ศท. 113 กำรรักษำสมดุลแห่งชีวิตวัยรุ่น 3(3-0-6)


(Maintaining the Equilibrium in Adolescent Life)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลในการดารงชีวิตของวัยรุ่น ครอบคลุมทั้งปัจจัยด้านบวก และปัจจัยด้านลบ การ
รักษาสมดุลในการดารงชีวิตวัยรุ่น การป้องกัน และการจัดการกับปัญหาในการดารงชีวิตของวัยรุ่น ด้านร่างกาย จิต
อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณ

45
45
702101 บธ.กง. 101 กำรเงินในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
(Finance for Daily Life)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
ความรู้เบื้องต้นของการบริหารการเงินในชีวิตประจาวัน การสร้างฐานะมั่นคงทางการเงิน การสารวจ
สุขภาพทางการเงิน การวางแผนทางการเงิน การบริหารรายได้ รายจ่าย และภาระหนี้สิน บริการของสถาบันการเงิน
การออมเงิน การให้เงินทางาน การวางแผนการเงินสาหรับเหตุการณ์ของชีวิต การประกันความเสี่ยง การวางแผนภาษี
และการเตรียมความพร้อมเพื่อความสุข

705191 บธ.กต. 191 ผู้บริโภคที่ชำญฉลำด 3(3-0-6)


(Smart Consumer)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
บทบาทของการตลาดในชีวิตประจาวัน เข้าใจกลยุทธ์การตลาดของธุรกิจ สิทธิและหน้าที่ของผู้บริโภค
การเป็นผู้บริโภคที่ชาญฉลาดตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

801100 สถ.ส. 100 สถำปัตยกรรมในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)


(Architecture in Everyday Life)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
ความแตกต่างระหว่างอาคาร และสถาปัตยกรรม ศาสตร์และศิลป์พื้นฐานทางสถาปัตยกรรม สุนทรียะ
ในงานสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมในชีวิตประจาวัน รูปแบบสไตล์ แฟชั่น และศิลปะสถาปัตยกรรมในแบบต่างๆ
บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของวิชาชีพสถาปนิก เริ่มต้นอย่างไรกับการทางานกับสถาปนิก สถาปนิกในอุดมคติ
ของลู ก ค้ า และลู ก ค้ า ในอุ ด มคติ ข องสถาปนิ ก กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การก่ อ สร้ า งเบื้ อ งต้ น วั ส ดุ ที่ ใ ช้ ใ นงาน
สถาปัตยกรรมเบื้องต้น การอ่านแบบและการทาความเข้าใจแบบสถาปัตยกรรมเบื้องต้น ฮวงจุ้ย และความเชื่อใน
มุมมองของสถาปนิก อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของสถาปัตยกรรมไทย และสถาปัตยกรรมล้านนา สถาปัตยกรรมสี
เขียวกับการรักษาสิ่งแวดล้อม

050121 ม.ศท. 121 พลเมืองไทยในประชำคมอำเซียน 3(3-0-6)


(Thai People in the ASEAN Community)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
กาเนิดและพัฒนาการของประชาคมอาเซียน สถานภาพและบทบาทของประเทศไทยกับพลเมืองไทยใน
ประชาคมอาเซียน แนวทางที่สร้างสรรค์ในการปรับตัวให้อยู่ร่วมกันในประชาคมอาเซียนอย่างสันติสุข มุมมองต่อ
อนาคตของประชาคมอาเซียน

46
46
127100 ร.ปค.100 กำรเมืองในชีวิตประจำวัน 3(3-0-6)
(Politics in Everyday Life)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมือง: ความหมายและความสาคัญ แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐ ชาติ และ
ระบบการเมือง ระบอบการปกครองรูปแบบต่างๆ ความเป็นพลเมือง การมีส่วนร่ วมทางการเมืองของประชาชน
กระแสโลกาภิวัตน์ การเมืองในเรื่องสิ่งแวดล้อม การเมืองในเรื่องความหลากหลายทางวัฒนธรรม การเมืองในเรื่อง
ข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยี การเมืองในเรื่องความเท่าเทียม การเมืองในชีวิตประจาวัน: ผลกระทบและการปรับตัว

128100 ร.รปศ. 100 กำรบริหำรงำนตำมหลักธรรมำภิบำลพื้นฐำน 3(3-0-6)


(Basic Good Governance in Administration)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
ความหมายและแนวคิดของหลักธรรมาภิบาล สภาพปัญหาและการพัฒนาจริยธรรมในภาครัฐ ตัวชี้วัด
หรือองค์ประกอบธรรมาภิบาลในภาครัฐ คุณธรรมของการเป็นนักศึกษา กรณีศึกษาการใช้หลักธรรมาภิบาลในองค์การ
ภาครัฐ การนาเสนองานกลุ่ม

177103 น.กม. 103 หลักกฎหมำยเบื้องต้นและบุคคล 3(3-0-6)


(Basic Principle of Law and Persons)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
ความหมาย กาเนิดและที่มาของกฎหมาย วิวัฒนาการของกฎหมายไทยและกฎหมายสากล การจัดทา
กฎหมาย การใช้กฎหมาย ประเภทของกฎหมาย สิทธิ และบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลตาม
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

177104 น.กม. 104 นิติตรรกศำสตร์และภำษำกฎหมำย 3(3-0-6)


(Legal Reasoning and Legal Language)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ไม่มี
การให้เหตุผลทางกฎหมาย คาศัพท์และสานวนเฉพาะทางกฎหมาย การค้นคว้าและการอ่านเอกสารทาง
กฎหมายประเภทต่างๆ การเขียนเอกสารทางกฎหมาย การเขียนบทความวิชาการทางกฎหมาย การให้ลาดับขั้นเป็นที่
น่าพอใจ (Satisfactory:S) หรือไม่เป็นที่น่าพอใจ (Unsatisfactory:U)

47
47
177113 น.กม. 113 กฎหมำยว่ำด้วยนิติกรรมและสัญญำ 3(3-0-6)
(Law of Juristic Acts and Contract)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103 หรือตามความเห็นชอบของภาควิชา
(1) ศึกษาหลักทั่วไปของกฎหมายว่าด้วยนิติกรรม การแสดงเจตนา โมฆะกรรม และโมฆียกรรม เงื่อนไข
และเงื่อนเวลา ระยะเวลา อายุความ
(2) ศึกษากฎหมายว่าด้วยสัญญาในเรื่องเกี่ยวกับการก่อให้เกิดสัญญา ผลแห่งสัญญา มัดจา และเบี้ยปรับ
การเลิกสัญญา

177114 น.กม. 114 กฎหมำยว่ำด้วยทรัพย์สิน 3(3-0-6)


(Property Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103 หรือตามความเห็นชอบของภาควิชา
หลักกฎหมายและบทบัญญัติว่าด้วยทรัพย์และทรัพย์สินในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ในส่วนที่
เกี่ยวกับความหมาย ประเภท ส่วนประกอบของทรัพย์และทรัพย์สิน และทรัพยสิทธิประเภทต่างๆ ได้แก่ กรรมสิทธิ์
สิทธิครอบครอง ภาระจายอม สิทธิอาศัย สิทธิเหนือพื้นดิน สิทธิเก็บกิน และภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์

177142 น.กม. 142 หลักกฎหมำยมหำชนและกฎหมำยรัฐธรรมนูญ 3(3-0-6)


(Public Law Principles and Constitutional Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103 หรือตามความเห็นชอบของภาควิชา
แนวคิดเกี่ยวกับรัฐ การแบ่งแยกกฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชน นิติบุคคลตามกฎหมายมหาชน
ความหมายของรัฐธรรมนูญ หลักรัฐธรรมนูญนิยม สถาบันการเมือง หลักการแบ่งแยกและถ่วงดุลอานาจ อุดมการณ์
และระบบการเมืองตามรัฐธรรมนูญ สิทธิและหน้าที่ของประชาชน และนิติวิธีทางกฎหมายรัฐธรรมนูญ และกฎหมาย
มหาชน ตลอดจนประวัติศาสตร์รัฐธรรมนูญไทย

177181 น.กม.181 กฎหมำยอำญำภำคบทบัญญัติทั่วไป 3(3-0-6)


(Criminal Law: General Provisions)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103 หรือตามความเห็นชอบของภาควิชา
ศึกษาถึงกฎหมายอาญาในเรื่องคานิยาม การใช้กฎหมายอาญา โทษ และวิธีการเพื่อความปลอดภัย
ความรับผิดในทางอาญา การพยายามกระทาความผิด ตัวการและผู้สนับสนุน การกระทาความผิดหลายบทหรือหลาย
กระทง การกระทาความผิดอีก อายุความ และบทบัญญัติที่ใช้กับความผิดลหุโทษ ตามประมวลกฎหมายอาญา เล่ม 1

177214 น.กม. 214 กฎหมำยว่ำด้วยหนี้ 3(3-0-6)


(Law of Obligations)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103 หรือลงทะเบียนเรียนพร้อมกับ 177103
ศึกษาบทบัญญัติของกฎหมายว่าด้วยหนี้ในเรื่องเกี่ยวกับวัตถุแห่งหนี้ ผลแห่งหนี้ ลูกหนี้ และเจ้าหนี้หลาย
คน การโอนสิทธิเรียกร้อง ความระงับหนี้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
48
48
177215 น.กม.215 กฎหมำยว่ำด้วยละเมิด จัดกำรงำนนอกสั่งและลำภมิควรได้ 3(3-0-6)
(Torts, Management of Affairs without Mandate
and Undue Enrichment)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103 หรือลงทะเบียนเรียนพร้อมกับ 177103
ศึกษาถึงกฎหมายว่าด้วยละเมิด จัดการงานนอกคาสั่ง และลาภมิควรได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์

177216 น.กม. 216 กฎหมำยครอบครัว 3(3-0-6)


(Family Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103 หรือลงทะเบียนเรียนพร้อมกับ 177103
กฎหมายครอบครัว ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 5 การสมรส ในเรื่องที่เกี่ยวกับการ
หมั้น เงื่อนไขการสมรส ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภริยา ความเป็นโมฆะของการสมรส และการสิ้นสุดแห่งการสมรส
บิดามารดากับบุตร ในเรื่องบิดามารดา สิทธิและหน้าที่ของบิดามารดาและบุตร ความปกครอง และบุตรบุญธรรม และ
ค่าอุปการะเลี้ยงดู

177217 น.กม. 217 กฎหมำยมรดก 3(3-0-6)


(Law of Succession)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103 หรือลงทะเบียนเรียนพร้อมกับ 177103
บทบัญญัติที่เกี่ยวกับมรดก และบทบัญญัติว่าด้วยมรดกตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ในเรื่อง
บทเบ็ดเสร็จทั่วไป สิทธิโดยธรรมในการรับมรดก พินัยกรรม วิธีการจัดการและปันทรัพย์มรดก มรดกที่ไม่มีผู้รับและ
อายุความ

177220 น.กม. 220 กฎหมำยสัญญำทำงธุรกิจ 3(3-0-6)


(Law on Business Contracts)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177113
บทบัญญัติและการปรับใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพ 3 ซึ่งได้แก่ สัญญาซื้อขาย สัญญาเช่า
ทรัพย์ สัญญาเช่าซื้อ สัญญายืม สัญญาฝากทรัพย์ สัญญาค้าประกัน สัญญาจานอง และสัญญาจานา

177222 น.กม. 222 กฎหมำยองค์กรทำงธุรกิจ 3(3-0-6)


(Law on Business Organizations)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177113 หรือตามความเห็นชอบของภาควิชา
บทบัญญัติและการปรับใช้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เกี่ยวกับสัญญาตัวแทน กิจการร่วมค้า นิติ
บุคคลตามกฎหมายเอกชน การก่อตั้งและอานาจในการบริหารจัดการองค์กรธุรกิจ นิติสัมพันธ์ระหว่างองค์กรธุรกิจ

49
49
177281 น.กม. 281 กฎหมำยอำญำภำคควำมผิด 1 3(3-0-6)
(Criminal Offences 1)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103 หรือลงทะเบียนเรียนพร้อมกับ 177103
ความผิ ด เกี่ ย วกั บ การปกครอง ความผิ ด เกี่ ย วกั บ การยุ ติ ธ รรม ความผิ ด เกี่ ย วกั บ ความสงบสุ ข ของ
ประชาชน ความผิดเกี่ยวกับการปลอมแปลง ความผิดเกี่ยวกับเพศ ความผิดเกี่ยวกับชีวิตร่างกาย ความผิดเกี่ยวกับ
ทรัพย์ ลหุโทษตามประมวลกฎหมายอาญา

177300 น.กม.300 นิติปรัชญำ 3(3-0-6)


(Philosophy of Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
แนวความคิ ด พื้ น ฐานของส านั ก ความคิ ดทางกฎหมายต่ างๆ เช่ น ส านั ก กฎหมายบ้ า นเมื อ ง ส านั ก
กฎหมายธรรมชาติ ส านั กกฎหมายประวัติศาสตร์ แนวความคิดของสั จนิยมทางกฎหมาย เป็ น ต้น โดยพิจ ารณา
คาอธิบ ายของแนวความคิดต่างๆ ต่อกฎหมาย กฎหมายที่แท้จริง การเข้าถึงและรับรู้กฎหมายของมนุษย์ และ
ความสัมพันธ์ของกฎหมายกับความยุติธรรม

177321 น.กม. 321 กฎหมำยแรงงำน 3(3-0-6)


(Labor Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
ศึกษาถึงหลักทั่วไปของกฎหมายแรงงาน ประวัติความเป็นมาของกฎหมายแรงงานในประเทศไทย หลัก
กฎหมายแรงงานของไทย สัญญาจ้างแรงงาน กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์
การจัดหางาน การประกอบอาชีพ คนต่างด้าว การพิจารณาปัญหาต่างๆ ที่เกี่ยวกับแรงงาน

177330 น.กม. 330 กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง 1 3(3-0-6)


(Civil Procedural Law I)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
ศึกษาถึงบทบัญญัติทั่วไปในการดาเนินคดีแพ่ง ศาล คู่ความ การยื่ นและส่งคาคู่ความและเอกสารคา
พิพากษา และคาสั่ง วิธีพิจารณาสามัญและวิสามัญในศาลชั้นต้น ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งภาค 1
และภาค 2

177332 น.กม. 332 กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง 2 3(3-0-6)


(Civil Procedural Law 2)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177330 หรือตามความเห็นชอบของภาควิชา
ศึกษาถึงอุทธรณ์ ฎีกา วิธีการชั่ว คราวก่อนพิพากษาและการบั งคับ ตามคาพิพากษาหรือคาสั่ ง ตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งภาค 3 และภาค 4
50
50
177341 น.กม. 341 กฎหมำยปกครอง 1 3(3-0-6)
(Administrative Law 1)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
หลักกฎหมายปกครองในระบบต่างๆ ความหมายและที่มาของกฎหมายปกครอง แนวคิดและทฤษฎีที่
สาคัญของกฎหมายปกครอง การจัดโครงสร้างองค์กรของฝายปกครอง นิติสัมพันธ์ระหว่างองค์กรของรัฐและระหว่าง
องค์กรของรัฐกับเอกชน การใช้อานาจของฝ่ ายปกครอง การควบคุมตรวจสอบฝ่ายปกครอง และการพิจารณาคดี
ปกครอง

177350 น.กม. 350 กฎหมำยวิธีสบัญญัติในทำงมหำชน 3(3-0-6)


(Public Procedural Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177142 และ 177341 หรือตามความเห็นชอบของภาควิชา
หลักการพื้นฐานของกฎหมายวิธีพิจารณาความในทางมหาชน ลักษณะร่วมและลั กษณะเฉพาะของ
กฎหมายวิธีพิจารณาความในทางมหาชนกับกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและวิธีพิจารณาความอาญา กฎหมายวิธี
พิจารณาความของศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ และศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง

177352 น.กม. 352 องค์กรระงับข้อพิพำทและจริยธรรมทำงกฎหมำย 3(3-0-6)


(Dispute Settlement Organizations and Legal Ethics)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
หลักการเบื้องต้นในการสร้างองค์กรระงับข้อพิพาทขึ้นเพื่อบังคับตามกฎหมาย หลักการแบ่งแยกอานาจ
หลักการตรวจสอบการใช้อานาจ องค์กรที่ใช้อานาจวินิจฉัยข้อพิพาท องค์กรตุลาการ องค์กรกึ่งตุลาการ เขตอานาจ
ศาลและการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าที่ระหว่างศาล โครงสร้างอานาจหน้าที่ขององค์กรอิสระ จริย ธรรมทางกฎหมาย
จริยธรรมในวิชาชีพทางกฎหมาย และกลไกตรวจสอบจริยธรรม

177361 น.กม. 361 กฎหมำยระหว่ำงประเทศแผนกคดีเมืองและคดีอำญำ 3(3-0-6)


(Public International Law and Criminal International Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
1. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง บุคคลระหว่างประเทศ รัฐ องค์การสหประชาชาติ กฎหมาย
สนธิสัญญา กฎหมายทะเล กฎหมายสงคราม ความสัมพันธ์ทางการทูต สิทธิมนุษยชน ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
2. กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญา หลักในการใช้อานาจกฎหมายลงโทษผู้กระทาความผิด การ
ส่งผู้ร้ายข้ามแดน การลี้ภัย

51
51
177362 น.กม. 362 กฎหมำยระหว่ำงประเทศแผนกคดีบุคคล 3(3-0-6)
(Private International Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
แนวความคิด หลักกฎหมาย กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ และปัญหาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายระหว่าง
ประเทศแผนกคดีบุคคล อันได้แก่ การจัดสรรเอกชนระหว่างประเทศโดยสัญชาติและภูมิลาเนา สิทธิ หน้าที่ และ
สถานภาพของบุ คคลในทางกฎหมายระหว่างประเทศ และการขัดกันของกฎหมายที่ใช้บังคับกันนิติสัมพัน ธ์ อั นมี
องค์ประกอบระหว่างประเทศ

177393 น.กม. 393 กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ 3(3-0-6)


(Criminal Procedural Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
การดาเนินคดีอาญา เริ่มต้นจากการร้องทุกข์ กล่าวโทษ การสอบสวนคดีอาญา อานาจในการสืบสวน
สอบสวนคดีอาญา การชันสูตรพลิกศพ อานาจศาลในการพิจารณาพิพากษาคดี การออกหมายเรียกและหมายอาญา
ต่างๆ การฟ้องคดีอาญา การฟ้องคดีแพ่งที่เกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา การไต่สวนมูลฟ้อง อานาจในการพิจารณาและ
พิพากษาคดีในศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา

177401 น.กม. 401 ประวัติศำสตร์กฎหมำยต่ำงประเทศ 3(3-0-6)


(Legal History)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
ศึกษาถึงประวัติศาสตร์กฎหมายต่างประเทศยุคโบราณและกลุ่มกฎหมายสาคัญๆ ได้แก่ กลุ่มกฎหมาย
ลายลักษณ์อักษร (กลุ่มกฎหมายโรมัน) กลุ่มกฎหมายจารีตประเพณี (กลุ่มกฎหมายคอมมอนลอว์) กลุ่มกฎหมายสังคม
นิยม กลุ่มกฎหมายศาสนา หรือปรัชญา และกฎหมายในประเทศเอเซีย

177404 น.กม. 404 กฎหมำยกับสังคม 3(3-0-6)


(Law and Society)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103 และเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 3
ลักษณะทั่วไปของกฎหมายและความสัมพันธ์ของกฎหมายกับสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ศาสนา และ
วัฒนธรรม รวมทั้งความประพฤติของมนุ ษย์ การเคารพ และการละเมิดกฎหมาย กฎหมายกับปัญหาสังคม และ
สถานภาพของกฎหมายในสังคมที่กาลังเปลี่ยนแปลง

52
52
177405 น.กม. 405 ประวัติศำสตร์กฎหมำยไทย 3(3-0-6)
(Thai Legal History)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
ประวัติและวิวัฒนาการของกฎหมายไทย นับแต่ก่อนสมัยสุโขทัยถึงต้นรัตนโกสินทร์ การปฏิรูปกฎหมาย
สมัยรัชกาลที่ 4 และรัชกาลที่ 5 วิวัฒนาการกฎหมายหลังการเปลี่ยนแปลงระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พ.ศ. 2475
จนถึงปัจจุบันรวมทั้งบทบาทและสถานภาพของกฎหมายในประวัติศาสตร์และสังคมไทย

177409 น.กม. 409 กำรศึกษำกฎหมำยเชิงคลินิก 3(1-6-2)


(Clinical Legal Education)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
กฎหมายเชิงปฏิบั ติ ทักษะในการประกอบวิชาชีพทางกฎหมายและค่านิยมเชิงจริยธรรม โดยใช้วิธี
การศึกษาเชิงคลินิกที่นักศึกษาต้องมีส่วนร่วมในการประชุมเชิงปฏิบัติการ การสัมมนา การค้นคว้าหาข้อมูล การ
บรรยายพิเศษ การบรรยายโดยใช้กรณีศึกษา การบรรยายสรุป และการฝึกภาคสนามด้วยการให้ความช่วยเหลือทาง
กฎหมายแก่ประชาชน โดยการให้คาแนะนาและคาปรึกษาทางกฎหมายและการสอนกฎหมายแก่ชุมชนโดยเน้นที่กลุ่ม
ผู้ด้อยโอกาสในสังคมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มบุคคลเหล่านี้ เช่น กฎหมายอาญา กฎหมายเกี่ยวกับสิทธิเด็ก
สิทธิมนุษยชน สิทธิของชนกลุ่มน้อย สิทธินักโทษและผู้ต้องขัง ความไม่เสมอภาคระหว่างเพศ HIV/AIDS และการ
สาธารณสุข

177410 น.กม. 410 สัมมนำสัญญำทำงธุรกิจ 3(3-0-6)


(Seminar in Commercial Contracts)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103 หรือ 177113
สัมมนาประเด็นต่างๆ ในสัญญาทางธุรกิจ และวิเคราะห์ปัญหาที่สาคัญในสัญญาทางธุรกิจเพื่อนาไปสู่
การแก้ไขปัญหาและการพัฒนาสัญญาทางธุรกิจ เช่น ปัญหาหลักประกันทางธุรกิจ ปัญหาเกี่ยวกับสัญญาเช่าซื้อ ปัญหา
เกี่ยวกับตราสารทางการเงิน และปัญหาอื่นๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันที่สาคัญและมีผลกระทบต่อระบบธุรกิจ

177411 น.กม. 411 สัมมนำกฎหมำยแพ่ง 3(3-0-6)


(Seminar on Civil Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : นักศึกษาชั้นปีที่ 3
วิ เ คราะห์ ปั ญ หาที่เ กิ ด จากบทบั ญญั ติ ก ฎหมายแพ่ ง และแนวค าพิ พ ากษาฎี ก าในหั ว ข้ อ ส าคั ญ ๆ ให้
นักศึกษาค้นคว้าและร่วมอภิปรายในประเด็นต่างๆ

53
53
177413 น.กม. 413 กฎหมำยเทคโนโลยีข้อมูลข่ำวสำร 3(3-0-6)
(Information Technology Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
ปัญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสารซึ่งประกอบไปด้วยกลุ่มเนื้อหาเรื่อง
สาคัญต่างๆ เช่น กฎเกณฑ์เกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต การตรวจสอบสิทธิส่วนบุคคลและข้อมูล กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการ
ป้องกันข้อมูลข่าวสาร การเคลื่อนย้ายของข้อมูลข้ามประเทศ การใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่ผิดและเพื่อฉ้อโกงและ
การศึกษาในรายละเอียดถึงแง่มุมของกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสารและการพาณิชย์
อิเล็กทรอนิกส์

177414 น.กม. 414 กำรให้คำปรึกษำทำงกฎหมำยแก่ลูกควำมต่ำงชำติ 3(3-0-6)


(Legal Advice for Foreign Clients)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177214 หรือ 177285
วิ ธี ก ารและทั ก ษะวิ ช าชี พ กฎหมายต่ า งๆ ที่ น าไปปรั บ ใช้ กั บ การให้ ค าปรึ ก ษาลู ก ความต่ า งชาติ ใ น
สถานการณ์ต่างๆ รวมถึงการนาความรู้ทางกฎหมาย ภาษาอังกฤษเพื่องานกฎหมาย เทคนิคการให้คาปรึกษามาปรับ
ใช้ในการทางานระดับสากล ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับลูกความต่างชาติในประเทศไทย

177420 น.กม. 420 กฎหมำยไซเบอร์ 3(3-0-6)


(Cyber Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
ระบอบการกากับควบคุมกิจกรรมของบุคคลและนิติบุคคลที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ไซเบอร์ การนากฎหมาย
มาปรับใช้กับนิติสัมพันธ์ที่มีลักษณะข้ามรัฐชาติตลอดเวลา ความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมในพื้นที่ไซเบอร์และผลทา ง
กฎหมายในโลกจริง การปรับใช้กฎหมายเข้ากับนิติกรรมและนิติเหตุทั้งในแง่มหาชนและเอกชน อาทิ สิทธิเสรีภาพใน
ยุคดิจิทัล อาชญากรรมไซเบอร์ ระบบกรรมสิทธิ์ เนื้อหาในโลกดิจิทัล สัญญาออนไลน์และการคุ้มครองผู้บริโภค และ
ความรับผิดของผู้ให้บริการและควบคุมระบบ

177423 น.กม. 423 กฎหมำยว่ำด้วยฟื้นฟูกิจกำร 3(3-0-6)


(Reorganization Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177333 หรือ 177431 หรือลงทะเบียนเรียนพร้อมกับ 177333 หรือ 177431
บทบัญญัติของกฎหมายล้มละลายภายใต้พระราชบัญญัติล้มละลาย พ.ศ. 2483 ในหมวดที่ 3/1 กระบวน
พิจารณาเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ ตั้งแต่การขอและการให้ฟื้นฟูกิจการ การตั้งผู้ทาแผน การขอรับชาระหนี้
ในการฟื้นฟูกิจการ การชี้แจงเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สินของลูกหนี้ การเพิกถอนนิติกรรมที่ได้กระทาไปแล้ว การ
ประชุมเจ้าหนี้เพื่อพิจารณาแผนฟื้นฟูกิจการ การพิจ ารณาให้ความเห็นชอบแผนฟื้นฟูกิจการ การดาเนินการภายหลัง
ศาลมีคาสั่งเห็นชอบแผนฟื้นฟูกิจการ การยกคาร้องขอให้ฟื้นฟูกิจการ การยกเลิกคาสั่งให้ฟื้นฟูกิจการและการยกเลิก
การฟื้นฟูกิจการ การขอรับชาระหนี้เมื่อศาลสั่งพิทักษ์ของลูกหนี้เด็ดขาด จนถึงการอุทธรณ์และบทกาหนดโทษว่ าด้วย
กระบวนพิจารณาเกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้
54
54
177424 น.กม. 424 สัมมนำทำงกฎหมำยธุรกิจ 3(3-0-6)
(Seminar on Business Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
ศึกษาเกี่ยวกับปัญหาทางกฎหมายที่เกิดขึ้นในกิจกรรมทางธุรกิจ กฎเกณฑ์ของการทาธุรกิจ การจัดตั้ง
องค์กรธุรกิจที่หลากหลาย การแบ่งปันผลประโยชน์จากสินทรัพย์ การทาสัญญาทางธุรกิจที่ยืดหยุ่น การเรียกร้องสิทธิ
จากการละเมิดทางธุรกิจและความรับผิดในผลิตภัณฑ์ วิธีการแข่งขันทางการค้าตามกรอบของกฎหมาย การแปรรูป
รัฐวิสาหกิจ การทาธุรกิจตามข้อตกลงระหว่างประเทศ และการสัมมนาในประเด็นที่นักศึกษาเลือก

177425 น.กม. 425 กฎหมำยเกี่ยวกับตรำสำรเปลี่ยนมือ 3(3-0-6)


(Laws of Negotiable Instruments)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
หลักกฎหมายเกี่ยวกับตราสารเปลี่ยนมือ ลักษณะทั่วไปของตราสารเปลี่ยนมือ ชนิดของตราสารเปลี่ยน
มือที่สาคัญ ตราสารเปลี่ยนมือตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

177426 น.กม. 426 กฎหมำยประกันภัย 3(3-0-6)


(Insurance Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
บทบัญญัติกฎหมายเอกเทศสัญญาว่าด้วยการประกันภัยตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ซึ่ง
ประกอบด้วยสัญญาประกันวินาศภัยและสัญญาประกันชีวิต และกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการประกันภัย

177427 น.กม. 427 กฎหมำยกำรธนำคำรพำณิชย์และสถำบันกำรเงินของไทย 3(3-0-6)


(Thai Banking Law and Financial Institutions Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
ระบบการธนาคารพาณิ ช ย์ และสถาบั น การเงิ น ของไทย โดยพิ จ ารณาถึ ง รากฐานการก่ อ ตั้ ง แ ละ
พัฒนาการโครงสร้าง การกากับดูแล การบริหารจัดการ การดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับตลาดทางการเงินของธนาคาร
พาณิชย์ และสถาบันการเงินต่างๆ รวมทั้งการวิเคราะห์ประเด็นปัญหากฎหมายและนโยบายทางการเงินของรัฐบาล
ผลกระทบของเศรษฐกิจโลกต่อการพัฒนาระบบการธนาคารพาณิชย์ และสถาบั นการเงินต่างๆ และนโยบายการเงิน
ระหว่างประเทศของไทย

177428 น.กม. 428 กฎหมำยพำณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 3(3-0-6)


(Electronic Commerce Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
การทาธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ โดยพิจารณาจากลักษณะของการประกอบการ การทาสัญญา การชาระ
ราคา การส่งมอบสินค้าในพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ หน้าที่และความรับผิดของผู้ประกอบการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ใน
ประเทศ การวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมกากับดูแลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โดยหน่วยงานรัฐ ลักษณะข้อพิพาท
55
55
อันเกี่ยวกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนถึงปัญหาในกระบวนการยุติธรรมอันเกี่ยวกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ใน
ประเทศไทย

177429 น.กม. 429 กฎหมำยกำรแข่งขันทำงกำรค้ำ 3(3-0-6)


(Competition Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : นักศึกษาชั้นปีที่ 3
แนวความคิดพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายการแข่งขันทางการค้า บทบัญญัติว่าด้วยการแข่งขันทาง
การค้ า โดยศึ ก ษาถึ ง ขอบเขตการบั ง คั บ ใช้ พฤติ ก รรมการแข่ ง ขั น ทางธุ ร กิ จ ที่ ก ฎหมายห้ า ม องค์ ก รบั ง คั บ ใช้
กระบวนการบังคับใช้ และบทกาหนดโทษตามพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2542 ตลอดจนปัญหาที่
สัมพันธ์เกี่ยวข้องกับการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ

177430 น.กม. 430 วิชำว่ำควำม 3(3-0-6)


(Counsel Practice)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : นักศึกษาชั้นปีที่ 3
ศึกษาถึงวิธีดาเนินงานของทนายความนับตั้งแต่การเตรียมคดีไปจนถึงการบังคับคดี

177431 น.กม. 431 กฎหมำยล้มละลำย 3(3-0-6)


(Bankruptcy Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
บทบัญญัติทั่วไปของกฎหมายล้มละลาย กระบวนการพิจารณาคดีล้มละลาย ตั้งแต่การขอให้ล้มละลาย
จนถึงศาลสั่งให้มีการพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด กระบวนหลังจากลูกหนี้ถูกพิทักษ์ทรัพย์จนถึงคาพิพากษาให้ล้มละลาย การ
ปลดจากล้มละลาย กระบวนพิจารณาในกรณีที่ลูกหนี้ตาย กระบวนพิจารณาในกรณีที่ลูกหนี้เป็นนิติบุคคล วิธีการ
จัดการทรัพย์สินลูกหนี้ เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ อานาจศาล การสอบสวนและบทลงโทษ

177433 น.กม. 433 กำรระงับข้อพิพำททำงเลือก 3(3-0-6)


(Alternative Dispute Resolution)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
การระงับข้อพิพาททางเลือกทั้งหลายที่ใช้ในการบริหารจัดการความขัดแย้งในมิติทางสังคม การเมือง
เศรษฐกิจ กระบวนการระงับข้อพิพาททางเลือกรูปแบบต่างๆ ที่สามารถนามาปรับใช้ในกรณีศึกษา ทั้งในประเทศ
ต่างประเทศและระหว่างประเทศ กลไกระงับข้อพิพาทอย่างเป็นทางการ ทั้งในระบบกฎหมาย เช่น การไกล่เกลี่ย
ประนีประนอมโดยเจ้าพนักงานและศาล การอนุญาโตตุลาการ และในทางปฏิบัติ เช่น การเจรจาต่อรอง กระบวนการ
ยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ฟื้นฟู กระบวนการยุติธรรมชุมชน

56
56
177434 น.กม. 434 พยำน 3(3-0-6)
(Evidence)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
ระบบของกฎหมายพยานหลักฐาน ประวัติความเป็นมาของกฎหมายพยานหลักฐาน กฎเกณฑ์ต่างๆ ใน
การนาพยานเข้าสืบในศาลและการซักถามพยาน การชั่งน้าหนักกฎหมายพยานหลักฐานในคดีแพ่งและคดีอาญา

177440 น.กม. 440 กฎหมำยมหำชนทำงเศรษฐกิจและกำรคลัง 3(3-0-6)


(Public Economic and Finance Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177341
พัฒ นาการของแนวความคิดที่ส าคัญๆ ทางกฎหมายเกี่ยวกับบทบาทและหน้าที่ ของรัฐ ในทางด้ า น
เศรษฐกิจและการจัดทาบริการสาธารณะภายใต้บริบทของสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและสังคมช่วงเวลาต่างๆ รวมถึง
ระบบการคลังและวิธีการงบประมาณของรัฐและกลไกทางกฎหมายที่รัฐนามาใช้เพื่อบรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ

177441 น.กม. 441 สัมมนำกฎหมำยรัฐธรรมนูญ 3(3-0-6)


(Seminar in Constitutional Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176241 หรือ 177242 และนักศึกษาชั้นปีที่ 4
วิเคราะห์ ปั ญหาที่เกิดจากบทบั ญญัติของรัฐ ธรรมนูญ การตีความ และการบังคับใช้รัฐ ธรรมนูญ ใน
ประเด็นที่มีความสาคัญ โดยให้นักศึกษาค้นคว้าและร่วมอภิปรายในประเด็นต่างๆ

177442 น.กม. 442 กฎหมำยข้อมูลข่ำวสำร 3(3-0-6)


(Information Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารราชการและข้อมูลที่อยู่ในการควบคุมของภาคเอกชนทุกมิติ อันได้แก่
การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารสาธารณะที่อยู่ในการควบคุมของรัฐ และการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่อยู่ในการควบคุมของ
รัฐและเอกชน การแบ่งแยกลักษณะข้อมูลสาธารณะกับข้อมูลส่วนบุคคล การเข้าถึงข้อมูลสาธารณะและการร้องทุกข์
การรักษาความสมบูรณ์ของระบบข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงการเยียวยาความเสียหายจากการรั่วไหลโดยมิชอบด้วย
กฎหมาย

177444 น.กม. 444 กฎหมำยประกอบรัฐธรรมนูญ 3(3-0-6)


(Organic Laws)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
แนวคิดและการใช้กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ได้แก่ กฎหมายเลือกตั้ง กฎหมายพรรคการเมื อง
กฎหมายว่าด้วยองค์กรตามรัฐธรรมนูญ และกฎหมายว่าด้วยระบบการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ รวมถึงการใช้บังคับ
กฎหมายเหล่านั้นและกรณีศึกษาต่างๆ

57
57
177445 น.กม. 445 กฎหมำยพลังงำน 3(3-0-6)
(Energy law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101
หลั ก กฎหมายและข้ อ ก าหนดที่ ส าคั ญ ในกิ จ การพลั ง งาน กฎหมายและนโยบายในการพั ฒ นา
ประสิทธิภาพภาคธุรกิจพลังงานโดยตลาดเสรี กฎหมายและการกากับกิจการพลังงาน กฎหมายการจัดตั้งกองทุน
พลังงานและการอนุรักษ์พลังงาน กฎหมายพลังงานกับการพัฒนาภาคธุรกิจพลังงาน เศรษฐกิจและสังคม

177446 น.กม. 446 กฎหมำยกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)


(Law and Environment)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
ความส าคั ญ ของสภาพแวดล้ อ มต่ อ มนุ ษ ย์ แ ละชุ ม ชน ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มในปั จ จุ บั น การอนุ รั ก ษ์
สิ่งแวดล้อมในชนบทและเมือง บทบาทของรัฐในการแก้ไขปัญหาและบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

177447 น.กม. 447 กฎหมำยที่ดิน 3(3-0-6)


(Land Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177114
แนวคิดทางกฎหมายในการจัดระบบที่ดิน การแบ่งประเภทของที่ดินตามกฎหมาย การก่อตั้ง การเกิดขึ้น
และผลในทางกฎหมายของที่ดินแต่ละประเภท ระบบเอกสารสิทธิในที่ดินและการจดทะเบียนสิทธิในที่ดิน ภายใต้
บทบัญญัติในประมวลกฎหมายที่ดิน และกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

177448 น.กม. 448 กฎหมำยปกครอง 2 3(3-0-6)


(Administrative Law 2)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177341
กฎหมายว่ า ด้ ว ยวิธี ป ฏิ บั ติ ร าชการปกครอง กฎหมายว่ า ด้ ว ยความรั บผิ ด ทางละเมิ ดของเจ้ าหน้าที่
กฎหมายข้อมูลข่าวสารของทางราชการ กฎหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความของศาลปกครอง ความสัมพันธ์ระหว่าง
กฎหมายทั้งสี่ฉบับ

177449 น.กม. 449 กฎหมำยเกี่ยวกับกำรจัดกำรอสังหำริมทรัพย์ 3(3-0-6)


(Real Estate Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177114
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการอสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ กฎหมายเกี่ยวกับการจัดสรรที่ดิน กฎหมายอาคารชุด
กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมอาหาร รวมตลอดถึงกฎหมายว่าด้วยผังเมือง

58
58
177460 น.กม. 460 กฎหมำยทรัพย์สินทำงปัญญำ 3(3-0-6)
(Intellectual Property Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
แนวคิดและวิวัฒนาการกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาของประเทศไทย
กฎหมายสิ ท ธิ บั ต ร สนธิ สั ญ ญาความร่ ว มมื อ ด้ า นสิ ท ธิ บั ต ร พ.ศ. 2513 กฎหมายความลั บ ทางการค้ า กฎหมาย
เครื่องหมายการค้าข้อตกลงมาดริด กฎหมายลิขสิทธิ์ กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยการคุ้มครองลิขสิ ทธิ์และสิทธิ
ข้างเคียง กฎหมายสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศกลางและการระงับข้อ
พิพาทนอกศาล กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากับประชาคมอาเซียน

177463 น.กม. 463 กฎหมำยทะเล 3(3-0-6)


(The Law of the Sea)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
ศึกษากฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยทะเล เส้นฐานทะเล อาณาเขต เขตเศรษฐกิจจาเพาะ เขตไหล่
ทวีป ทะเลหลวง การแบ่งสรรทรัพยากรธรรมชาติในพื้นทะเลลึกและพื้นสมุทร รัฐหมู่เกาะ สัญชาติของเรือ อานาจศาล
ในทะเล และมลภาวะในทะเล

177464 น.กม. 464 กฎหมำยว่ำด้วยสนธิสัญญำ 3(3-0-6)


(Law of Treaties)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177361 หรือ 177461 หรือตามความเห็นชอบของอาจารย์ผู้สอน
ศึกษาถึงความหมาย รูปแบบของสนธิสัญญา การจัดทาสนธิสัญญา การตั้งข้อสงวน การใช้และผลบังคับ
ของสนธิสัญญา การตีความสนธิสัญญา การแก้ไขเปลี่ยนแปลงสนธิสัญญา การเป็นโมฆะ การพักชั่วคราวและการ
สิ้นสุดของสนธิสัญญา การระงับกรณีพิพาทเกี่ยวกับสนธิสัญญาโดยทางศาล

177465 น.กม. 465 กฎหมำยว่ำด้วยสิทธิมนุษยชน 3(3-0-6)


(Human Rights Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
ศึกษาถึงปรัชญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ อนุสัญญา
ระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางแพ่ง ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ของยุโรป ศึกษาถึงการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนตามกฎหมายภายในและตามหลักกฎหมายระหว่างประเทศ

59
59
177466 น.กม. 466 กฎหมำยเศรษฐกิจระหว่ำงประเทศ 3(3-0-6)
(International Economic Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103 หรือ 126102
บทบัญญัติกฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยเรื่อง เศรษฐกิจ การค้า การเงิน ความสัมพันธ์ของกฎหมาย
เศรษฐกิจระหว่างประเทศพัฒนา ประเทศกาลังพัฒนา และประเทศสังคมนิยม กฎหมายทางการค้าระหว่างประเทศ
เช่น กฎหมายเกี่ยวกับภาษีศุลกากร การวิเคราะห์ลักษณะ ปัญหาผลกระทบของกฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศต่อ
ประเทศต่างๆ ที่อยู่ภายใต้พันธะกรณีของกฎหมายนั้นๆ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนระหว่างประเทศ เช่น การ
ลงทุนในรูปแบบของบรรษัทข้ามชาติ และผลกระทบของกฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศต่อประเทศไทย

177467 น.กม. 467 กฎหมำยกำรค้ำระหว่ำงประเทศ 3(3-0-6)


(International Trade Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177362 หรือลงทะเบียนเรียนพร้อมกับ 177362
กฎหมายเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศเกี่ยวกับการส่งสินค้าเข้าออกผ่านพรมแดนของรัฐ โดยพิจารณา
ถึ ง สั ญ ญาการส่ ง ออกและน าเข้ า ซึ่ ง สิ น ค้ า การขนส่ ง ทางทะเล การประกั น ภั ย ทางทะเล เลตเตอร์ อ อฟเครดิ ต
อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศในทางการค้า การรวบรวมกฎหมายเกี่ยวกับ การซื้อขายระหว่างประเทศ โดย
พิจารณาผ่านสนธิสัญญาระหว่างประเทศและบทบาทของศาลภายในเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวข้างต้น

177468 น.กม. 468 กฎหมำยระหว่ำงประเทศว่ำด้วยสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)


(International Environmental Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177361 หรือ 177461 หรือลงทะเบียนเรียนพร้อมกับ 177361 หรือ 177461
กฎหมายระหว่างประเทศ ว่าด้วยสิ่งแวดล้อมในเรื่องเกี่ยวกับความรับผิดชอบของรัฐในความเสียหายต่อ
สิ่งแวดล้อม การคุ้มครองชั้นบรรยากาศ การควบคุมการใช้พลังงานนิวเคลียร์และภัยจากพลังงานดังกล่าว การจัดการ
มลพิษในแม่น้าระหว่างประเทศ การอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรที่มีชีวิต การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรที่
มีชีวิตในทะเล การควบคุมการทิ้งและการค้ากากและสารอันตรายและองค์การระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย
และนโยบายทางสิ่งแวดล้อม

177469 น.กม. 469 กฎหมำยสหภำพยุโรป 3(3-0-6)


(European Union Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177361 หรือ 177461 หรือลงทะเบียนเรียนพร้อมกับ 177361 หรือ 177461
ลักษณะ หน้าที่ และโครงสร้างทางกฎหมายของสหภาพยุโรปโดยเน้นประเด็นทางกฎหมายที่ก่อให้เกิด
ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศไทย เช่น กฎเกณฑ์การค้าของสหภาพยุโรป การเคลื่อนย้ายของ
สินค้า การบริการและบุคคล การตรากฎหมายเกี่ยวกับการแข่งขันทางการค้าทรัพย์สินทางปัญญา สิ่งแวดล้อม ความ
ปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ และความสัมพันธ์ระหว่างสหภาพยุโรปกับประเทศและองค์กรนอกสหภาพยุโรป

60
60
177470 น.กม. 470 กฎหมำยพำณิชย์นำวี 3(3-0-6)
(Maritime Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : ลงทะเบียนเรียนพร้อมกับ 177362
ความรู้พื้นฐาน แนวความคิด กฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่มีความสัมพันธ์กับส่วนต่างๆ ของการ
พาณิชย์นาวี เช่น การเดินเรือ การจดทะเบียนและสัญชาติของเรือ การประกันภัยทางทะเล บุริมสิทธิทางทะเล เรือ
โดนกัน การกักเรือ การขนส่งในรูปแบบต่างๆ องค์การระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งปัญหาและมุมมองในอนาคต
ของกฎหมายพาณิชย์นาวีในประเทศไทยและระหว่างประเทศ

177471 น.กม. 471 กฎหมำยกับสังคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 3(3-0-6)


(Law and Society in Southeast Asia)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103 และเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 3
พัฒนาการและลักษณะทั่วไปของกฎหมาย ความสัมพันธ์ของกฎหมายกับสังคม เศรษฐกิจ การเมือง
ศาสนา และวัฒนธรรม รวมถึงกฎหมายที่กาหนดพฤติกรรมของผู้คนในสังคมในประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียง
ใต้ รวมทั้งปรากฏการณ์ทางกฎหมายที่เกิดขึ้นในสังคมที่กาลังเปลี่ยนแปลงในประเทศต่างๆ นั้น

177472 น.กม. 472 กฎหมำยประชำคมอำเซียน 3(3-0-6)


(ASEAN Community Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177361 หรือ ลงทะเบียนเรียนพร้อมกับ 177361
พัฒนาการของการรวมตัวทางกฎหมายของอาเซียน รูปแบบความร่วมมือของอาเซียน บ่อเกิดของ
กฎหมายอาเซียน โครงสร้างและอานาจหน้าที่ของสถาบัน กลไกระงับข้อพิพาทของอาเซียน การเคลื่อนย้ายโดยเสรี
ของปัจจัยการผลิต กฎหมายการแข่งขัน สิทธิมนุษยชน ผลกระทบของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนต่อระบบกฎหมาย
ของรัฐสมาชิก และประเด็นทางกฎหมายที่น่าสนใจ

177474 น.กม. 474 กฎหมำยมนุษยธรรมระหว่ำงประเทศ 3(3-0-6)


(International Humanitarian Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177361
พั ฒ นาการของกฎหมายมนุ ษ ยธรรมระหว่ า งประเทศหรื อ กฎหมายพิ พ าททางอาวุ ธ โดยมี เ นื้ อ หา
ครอบคลุมถึงรากฐาน ที่มา การบังคับใช้ และความสัมพันธ์ของกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศกับกฎหมาย
ระหว่างประเทศแขนงอื่น

61
61
177475 น.กม. 475 กฎหมำยขององค์กำรระหว่ำงประเทศ 3(3-0-6)
(Law of International Organizations)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177361
พัฒนาการและลักษณะทั่วไปของกฎหมายขององค์การระหว่างประเทศ การก่อตั้ง การมีส่วนร่วม สภาพ
ผู้ทรงสิทธิ ความสามารถ เอกสิทธิ์และความคุ้มกัน ความรับผิดชอบ และการควบคุมองค์การระหว่างประเทศ โดย
ศึกษาองค์การสหประชาชาติ องค์การการค้าโลก กองทุนการเงินระหว่างประเทศ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ และศาลอาญาระหว่างประเทศ

177476 น.กม. 476 กฎหมำยอำญำระหว่ำงประเทศ 3(3-0-6)


(International Criminal Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177361
พัฒนาการและหลักทั่วไปของกฎหมายอาญาระหว่างประเทศ ซึ่งครอบคลุมถึงอาชญากรรมสงคราม
อาชญากรรมต่อมวลมนุษยชาติ การล้างเผ่าพันธุ์มนุษย์ อาชญากรรมรุกราน การทรมาน และการก่อการร้าย แนวคิด
เรื่องความรับผิดและการยกเว้นความรับผิดทางอาญาระหว่างประเทศ ตลอดจนถึงข้อจากัดในการบังคับใช้กฎหมาย
อาญาระหว่างประเทศ

177481 น.กม. 481 สัมมนำกฎหมำยอำญำ 3(3-0-6)


(Seminar on Criminal Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : นักศึกษาชั้นปีที่ 3
วิเคราะห์หลักเกณฑ์ที่สาคัญๆ ของกฎหมายอาญาตลอดจนปัญหาที่เกิดจากบทบัญญัติประมวลกฎหมาย
อาญา

177483 น.กม. 483 อำชญกรรมทำงเศรษฐกิจ 3(3-0-6)


(Economic Crime)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
ความเป็ น มาและปั จ จั ยในการก่ อ ให้ เ กิ ด อาชญากรรมทางเศรษฐกิ จ ความหมายและลั ก ษณะของ
อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ประเภทของอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ลักษณะของผู้กระทาผิด ผลกระทบและความ
เสี ยหายจากอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ การบั งคับใช้กฎหมายในการให้ ความคุ้มครองผู้ เสี ยหายที่ตกเป็น เหยื่ อ
อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ องค์กรที่กากับดูแลคดีอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ รวมทั้งความร่วมมือระหว่างชาติในการ
ปราบปรามอาชญากรรมทางเศรษฐกิจในลักษณะข้ามชาติ

62
62
177484 น.กม. 484 กฎหมำยอำชญำกรรม สงครำม และควำมมั่นคงไซเบอร์ 3(3-0-6)
(Law on Cybercrime, Cyber Warfare and Cybersecurity)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
การรักษาระบบปฏิบัติการและโครงสร้างการสื่อสารด้านโทรคมนาคมผ่านโครงข่ายข้ามเขตอานาจศาล
ของรัฐตลอดเวลา เพื่อสร้างระบอบป้องกันการโจมตีบนโลกไซเบอร์ รวมทั้งการกาหนดความผิดและโทษต่อการโจมตี
หรือก่ออาชญากรรมต่อระบบ อันได้แก่ การก่ออาชญากรรมต่อเครือข่ายการสื่อสาร หรื อการกระทาความผิ ดทาง
คอมพิวเตอร์ การทาสงครามระหว่างประเทศ หรือการโจมตีระบบโดยองค์กรอาชญากรรม หรืออาชญากรข้ามชาติ

177485 น.กม. 485 อำชญวิทยำในกระบวนกำรยุติธรรม 3(3-0-6)


(Criminology in Criminal Justice)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
แนวความคิดและวิธีการทางทฤษฎีต่างๆ เกี่ยวกับอาชญากรรมและการลงโทษ ความหมายที่แตกต่างกัน
ของนโยบายด้านกฎหมายอาญาที่ประกอบด้วย นิยามในทางนิติบัญญัติ เครื่องมือการบังคับใช้กฎหมาย และดุลพินิจ
ของศาล

177491 น.กม. 491 กฎหมำยว่ำด้วยกระทำผิดของเด็กและเยำวชน 3(3-0-6)


(Law of Juvenile Delinquency)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
ศึกษาถึงสาเหตุแห่งการกระทาผิดของเด็ก การควบคุมและแก้ไขเด็กกระทาผิดด้วยวิธีการของศาลคดี
เด็กและเยาวชน กฎหมายวิธีพิจารณาคดีเด็กและเยาวชน และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

177494 น.กม. 494 กำรสืบสวน-สอบสวนคดีอำญำและนิติวิทยำศำสตร์ 3(3-0-6)


(Criminal Investigation and Forensic Science)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177391 หรือ 177393
ก. ศึกษาถึงวิธีการสื บสวนและสอบสวนคดี อาญาโดยอาศัย หลั กการทางวิ ทยาศาสตร์ เทคนิ ค การ
สอบสวน การตรวจสอบลายพิมพ์นิ้วมือ และรูปพรรณหลักฐาน
ข. ศึกษาในแง่ของนิติเวชวิทยา โดยอาศัยหลักทางการแพทย์เพื่อประโยชน์ในทางกฎหมาย ในการพิสูจน์
ความจริงเกี่ยวกับสาเหตุและระยะเวลาการตาย ตลอดจนการพิสูจน์เพื่อยืนยันความผิดในคดีทางเพศ

177495 น.กม. 495 กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำในชั้นศำล 3(3-0-6)


(Criminal Procedural Law in the Part of Criminal Trial)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177393
การดาเนินกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในชั้นพิจารณา และพิพากษาคดีในศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์
และศาลฎีกา การบังคับตามคาพิพากษา ค่าธรรมเนียม การอภัยโทษ การเปลี่ยนโทษหนักเป็นเบา

63
63
179400 นศ.กม. 400 สหกิจศึกษำสำหรับนักกฎหมำย 6 หน่วยกิต
(Cooperative Education for Lawyers)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : นักศึกษาชั้นปีที่ 4 และตามความเห็นชอบของภาควิชา
นักศึกษาต้องปฏิบั ติงานด้านกฎหมายที่มีหน้าที่รับผิดชอบเสมือนพนักงานในหน่ว ยงานภาครัฐ หรือ
เอกชนภายใต้การควบคุมดูแลของพนักงานที่ปรึกษาที่ได้รับมอบหมายจากทางสถานประกอบการร่วมกับอาจารย์ที่
ปรึกษาสหกิจศึกษาตามกรอบการปฏิบัติงานที่ผ่านการพิจารณาของคณะนิติศาสตร์ร่วมกับสถานประกอบการเป็น
ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์อย่างต่อเนื่อง การให้ลาดับขั้นเป็นที่พอใจ (Satisfactory: S) และไม่เป็นที่พอใจ
(Unsatisfactory: U) โดยคณะนิติศาสตร์จะพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานและรายงานสหกิจศึกษา

179402 นศ.กม. 402 ภำษำกฎหมำยต่ำงประเทศเพื่อกำรสื่อสำร 3(3-0-6)


(Foreign Legal Language for Communication)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
การพัฒนาทักษะในการสื่อสารด้านกฎหมายในภาษาต่างประเทศ ตลอดจนร่วมสร้างความมั่นใจในการ
สื่อสารภาษากฎหมายในภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพให้แก่นักศึกษา โดยครอบคลุมการสื่อสารในทุกรูปแบบ
ทั้งการสื่ อสารด้ว ยวาจาและอย่ างเป็ นลายลักษณ์อักษรโดยเน้นการพัฒนาทักษะด้านการอ่านในบริบทกฎหมาย
โดยเฉพาะศัพท์และสานวนกฎหมายเป็นสาคัญ การให้ลาดับขั้นเป็นที่น่าพอใจ (Satisfactory: S) หรือไม่เป็นที่น่า
พอใจ (Unsatisfactory: U)

179403 นศ.กม. 403 กำรเขียนภำษำกฎหมำยต่ำงประเทศ 3(3-0-6)


(Foreign Legal Writing)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
การเสริ มสร้ างทักษะด้ านการเขีย นเชิง กฎหมายในภาษาต่างประเทศ โดยใช้ศัพท์และส านวนทาง
กฎหมายอย่างถูกต้องและอย่างมีประสิทธิภาพผ่านแบบฝึกหัดในการร่างเอกสารทางกฎหมาย สัญญา จดหมาย และ
อีเมล การให้ลาดับขั้นเป็นที่น่าพอใจ (Satisfactory: S) หรือไม่เป็นที่น่าพอใจ (Unsatisfactory: U)

179404 นศ.กม. 404 ระเบียบวิธีวิจัยทำงกฎหมำย 3(3-0-6)


(Legal Research Methodology)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : นักศึกษาชั้นปีที่ 3
บทนาการวิจัยทางกฎหมายเบื้องต้น ความหมาย ขอบเขต ประเภท การค้นคว้า การเก็บข้อมูลในมุมมอง
ทางกฎหมาย การเขียนรายงานผลการวิจัย รวมถึงจริยธรรมในการทาวิจัย

64
64
179405 นศ.กม. 405 ควำมรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมำยโรมัน 3(3-0-6)
(Introduction to the Roman Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176100 หรือ 176101 หรือ 177103
กฎหมายโรมัน ไวยากรณ์เบื้องต้น การอ่านเอกสารทางกฎหมาย หลักการและแนวคิดทางกฎหมายโรมัน
และอิทธิพลต่อกฎหมายสมัยใหม่

179406 นศ.กม. 406 กฎหมำยจีน 3(3-0-6)


(Chinese Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176100 หรือ 176101 หรือ 177103
ประวัติศาสตร์ พัฒนาการ และสถานะปัจจุบันของกฎหมายจีน โดยมุ่งเน้นศึกษาประเด็นที่มีผลกระทบ
ต่อผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศไทย เช่น กฎหมายการค้าของจีน การส่งออกและการนาเข้า
สินค้าและบริการ กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา การลงทุนและสิ่งแวดล้อม

179430 นศ.กม. 430 กฎหมำยลิขสิทธิ์ในยุคดิจิทัล 3(3-0-6)


(Copyright in the Digital Age)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
ประเด็นกฎหมายลิขสิทธิ์ในสื่อใหม่และโลกออนไลน์ เช่น เกมออนไลน์และโลกเสมือนจริง สื่อสังคม
ออนไลน์ เว็บไซต์ที่เผยแพร่วิดีโอออนไลน์ การแชร์เนื้อหาออนไลน์ การสร้างสรรค์งานโดยผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต สัญญา
เกี่ยวกับสิทธิในงานสร้างสรรค์และการใช้บริการแพลตฟอร์มออนไลน์ และประเด็นเกี่ยวกับผู้ให้บริการบนอินเทอร์เน็ต
รวมถึงข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ โดยศึกษาวิเคราะห์ในประเด็นการใช้งานอย่างเป็นธรรมและประโยชน์สาธารณะใน
โลกดิจิทัลทั้งปัจจุบันและอนาคต เช่น ข้อยกเว้นประเด็นเกี่ยวกับหนังสือทางอิเล็กทรอนิกส์ และห้องสมุดดิจิทัล

179441 นศ.กม. 441 กฎหมำยกับควำมยำกจน 3(3-0-6)


(Poverty Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
พัฒนาการและลักษณะทั่วไปของกฎหมายกับความยากจน ความสัมพันธ์ของกฎหมายกับความยากจน
ในสังคม การกาหนดเกณฑ์และการจัดการความยากจนโดยกฎหมายผ่านทางสวัสดิการสังคม ระบบยุติธรรม รวมทั้ง
การใช้ความยากจนเพื่อผลประโยชน์ของรัฐและภาคธุรกิจ

179442 นศ.กม. 442 กฎหมำยเกี่ยวกับกำรย้ำยถิ่นข้ำมแดนของคนและทุน 3(3-0-6)


(Law on Migration and Border-Crossing of People and Capital)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103 และเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 4 หรือตามความเห็นชอบของภาควิชา
บริบทและสาเหตุของการย้ายถิ่น การข้ามแดน ของคนและทุนที่ส่งผลให้เกิดความท้าทายต่อกฎหมาย
นโยบายรัฐเจ้าของดินแดนในการจัดการประชากรต่างชาติ รวมถึงความรับผิดของรัฐ โดยใช้แนวคิด สิทธิมนุษยชน
และหลักการอื่นๆ ที่น่าสนใจในแต่ละช่วงเวลา และใช้กรณีศึกษาที่เป็นปัจจุบันเป็นประกอบ
65
65
179444 นศ.กม. 444 กฎหมำยคุ้มครองผู้บริโภค 3(3-0-6)
(Consumer Protection Law)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 176101 หรือ 177103
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายที่เกี่ยวกับผู้บริโภค นิยามของผู้บริโภค นิยามของผู้ประกอบธุรกิจ
สิทธิของผู้บริโภค ข้อบังคับในตลาดผู้บริโภค กฎหมายที่เกี่ยวกับสินค้าที่ไม่ปลอดภัย กฎหมายที่เกี่ยวกับข้อสัญญาที่ไม่
เป็ น ธรรม วิ ธี ส บั ญ ญั ติ ข องกฎหมายคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภค การบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายโดยรั ฐ การบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายโดย
ภาคเอกชน การเยียวยาความเสียหายตามกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค การดาเนินคดีแบบกลุ่ม

179445 นศ.กม. 445 กฎหมำยในกำรจัดกำรทรัพยำกร 3(3-0-6)


(Law on Natural Resources)
เงื่อนไขที่ต้องผ่านก่อน : 177114
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ นับตั้งแต่ที่ดิน ป่าไม้ แร่ธาตุ น้า และความหลากหลาย
ทางชี ว ภาพ รวมถึ ง บทบั ญ ญั ติ ท างกฎหมาย และหน่ ว ยงานที่ มี อ านาจหน้ า ที่ ต ามกฎหมายในการดู แ ลรั ก ษา
ทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงการจัดการของชุมชน ข้อพิพาทเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากร รวมถึงผลกระทบของการ
จัดการทรัพยากรข้ามพรมแดน และการจัดการทรัพยากรอันเป็นมรดกร่วมกันของมวลมนุษยชาติด้วย

66
66
การขอรับอนุปริญญานิติศาสตร์
นักศึกษาสามารถยื่นขอรับอนุปริญญาเมื่อได้ลงทะเบียนเรียนและสอบผ่านรายวิชาต่างๆ โดยได้
หน่วยกิตสะสมทั้งหมด ไม่น้อยกว่า 108 หน่วยกิต ตามเงื่อนไข ต่อไปนี้
(1) วิชาศึกษาทั่วไปของมหาวิทยาลัยครบตามหลักสูตร รวม 30 หน่วยกิต
(2) หมวดวิช าเฉพาะ วิ ช าแกนและวิ ช าเอกบั ง คั บ ทางกฎหมาย ในระดับ ชั้น ปี ที่ 1 ถึงปี ที่ 3
รวม 69 หน่วยกิต 23 วิชา ในรายวิชาดังต่อไปนี้
177103 น.กม.103 หลักกฎหมายเบื้องต้นและบุคคล 3(3-0-6)
177113 น.กม.113 กฎหมายว่าด้วยนิติกรรมและสัญญา 3(3-0-6)
177114 น.กม.114 กฎหมายว่าด้วยทรัพย์สิน 3(3-0-6)
177181 น.กม.181 กฎหมายอาญาภาคบทบัญญัติทั่วไป 3(3-0-6)
177142 น.กม.142 หลักกฎหมายมหาชนและกฎหมายรัฐธรรมนูญ 3(3-0-6)
177104 น.กม.104 นิติตรรกศาสตร์และภาษากฎหมาย 3(3-0-6)
177214 น.กม.214 กฎหมายว่าด้วยหนี้ 3(3-0-6)
177215 น.กม.215 กฎหมายว่าด้วยละเมิด จัดการงานนอกสั่งและลาภมิควรได้ 3(3-0-6)
177216 น.กม.216 กฎหมายครอบครัว 3(3-0-6)
177217 น.กม.217 กฎหมายมรดก 3(3-0-6)
177281 น.กม.281 กฎหมายอาญาภาคความผิด 1 3(3-0-6)
177220 น.กม.220 กฎหมายสัญญาทางธุรกิจ 3(3-0-6)
177222 น.กม.222 กฎหมายองค์กรทางธุรกิจ 3(3-0-6)
177321 น.กม.321 กฎหมายแรงงาน 3(3-0-6)
177341 น.กม.341 กฎหมายปกครอง 1 3(3-0-6)
177361 น.กม.361 กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมืองและคดีอาญา 3(3-0-6)
177330 น.กม.330 กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง 1 3(3-0-6)
177393 น.กม.393 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา 3(3-0-6)
177434 น.กม.434 พยาน 3(3-0-6)
177362 น.กม.362 กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล 3(3-0-6)
177300 น.กม.300 นิติปรัชญา 3(3-0-6)
177350 น.กม.350 กฎหมายวิธีสบัญญัติในทางมหาชน 3(3-0-6)
177352 น.กม.352 องค์กรระงับข้อพิพาทและจริยธรรมทางกฎหมาย 3(3-0-6)
(3) วิชาเลือกทางกฎหมาย ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต ในรายวิชาดังต่อไปนี้
177430 น.กม.430 วิชาว่าความ 3(3-0-6)
ให้นักศึกษาเลือกเรียนกระบวนวิชาเอกเลือกเพิ่มเติมอีก 1 กระบวนวิชา 3(3-0-6)
(4) วิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต
(5) ได้ค่าระดับ เฉลี่ ย สะสมของวิช าที่ ศึก ษาทั้ ง หมดตลอดหลั ก สู ต ร ไม่ ต่ า กว่ า 2.00 ในภาค
การศึกษาสุดท้ายที่ขออนุปริญญา
67
67
68
68
หลักสูตรปริญญาโท
(หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต)

หลักสูตรปริญญาโทของคณะนิติศาสตร์ เปิดรับนักศึกษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 จนถึงปัจจุบัน โดย


ผู้สมัครเข้าศึกษาต่อต้องสำ�เร็จการศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต และเปิดรับในแผนวิทยานิพนธ์
โครงสร้างหลักสูตรเรียนทั้งหมดจำ�นวน 39 หน่วยกิต ประกอบด้วยกระบวนวิชาเรียน 27 หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต แนวทางการศึกษาหลักสูตร มุ่งศึกษาถึงบทบัญญัติทางกฎหมายและ
ผลที่เกิดขึ้นแก่สังคม ซึ่งเป็นความพยายามที่จะทำ� ให้นิติศาสตร์มีความเชื่อมโยงกับสังคมศาสตร์
มากกว่าที่เคยเป็นตลอดจนนำ� เอาระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์มาใช้ในการวิจัยด้านกฎหมาย
มากขึ้น หรือที่เรียกว่าเป็นการศึกษากฎหมายและสังคม (Law and Society) โดยพิจารณาเงื่อนไขทาง
เศรษฐกิจ และสังคมในแง่มุมต่างๆ สามารถติดตามการรับสมัครได้ที่ www.lawcmu.ac.th

หลักสูตรปริญญาเอก
(หลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต)

หลักสูตรปริญญาเอกเปิดรับนักศึกษาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2564 เปิดรับฐานปริญญาโท โดยผู้สมัคร


เข้าศึกษาต่อต้องสำ�เร็จการศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต โครงสร้างหลักสูตรเรียนทั้งหมด
จำ�นวน 48 หน่วยกิต ประกอบด้วยกระบวนวิชาเรียน 12 หน่วยกิต ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต แนวทาง
การศึกษาหลักสูตร มุ่งเน้นการวิจัยกฎหมายที่ใช้แนวคิดทางด้านสังคมศาสตร์/มนุษยศาสตร์ เช่น
การวิจัยกฎหมายเชิงประวัติศาสตร์ การวิจัยกฎหมายเชิงสตรีนิยม การวิจัยกฎหมายแนวนิติ
เศรษฐศาสตร์ (Law and Economics) การวิจัยกฎหมายแนวนิติสำ�นึก (Legal Consciousness) การ
วิจัยกฎหมายด้วยมุมมองนิติศาสตร์แนววิพากษ์ (Critical Legal Studies) การวิจัยกฎหมายเชิง
เปรียบเทียบ เป็นต้น แนวทางการศึกษาในลักษณะดังกล่าวจึงให้ความสำ�คัญกับปรากฏการณ์ใน
ระบบกฎหมายที่ไม่ได้จำ�กัดไว้เพียงกับกฎหมายของรัฐเท่านั้น หากยังรวมไปถึงการทำ�ความเข้าใจกับ
โครงสร้าง อุดมการณ์ มุมมอง พัฒนาการ และความเปลี่ยนแปลง รวมทั้งตำ�แหน่งแห่งที่ของระบบ
กฎหมายซึ่งการศึกษาในแนวทางดังกล่าวจำ�เป็นที่จะต้องใช้แนวคิดทฤษฎี มุมมอง จากสาขาวิชา
ความรู้ด้านต่างๆ เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งการวิเคราะห์
69
69
หลักสูตรกฎหมายปกครอง
และวิธีพิจารณาคดีปกครอง

หลักสูตรกฎหมายปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง เป็นหลักสูตรที่มุ่งเสริมสร้าง
ความรู้ ความเข้าใจในทฤษฏี แนวคิดและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับกฎหมายปกครอง เพื่อลดและป้องกัน
ปัญหาความขัดแย้งที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชน หรือปัญหาความขัดแย้ง
ภายในหน่วยงาน ผู้อบรมสามารถนำ�ความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานในส่วนที่ตนเกี่ยวข้อง
และเท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน ทั้งนี้หลักสูตรดังกล่าวได้รับการรับรองจากคณะกรรมการ
ศาลปกครอง (ก.ศป.) แล้ว ผู้ที่เข้าอบรมได้ตามเงื่อนไขของหลักสูตรจะได้รับวุฒิบัตรผ่านการ
อบรมหลักสูตร นอกจากนี้หากผู้เข้าอบรมเข้าทำ�การสอบภาคบรรยายและได้คะแนนตามเงื่อนไขของ
หลักสูตรจะได้รับประกาศนียบัตรรับรองและสามารถนำ�ไปต่อยอดในการสอบที่เกี่ยวข้องต่อไปได้

70
70
71
71
ปฏิทินการศึกษา ประจําปการศึกษา 2564
กําหนดการปฏิทินการศึกษา ปการศึกษา 2564
กิจกรรม กําหนดการ
1. วันลงทะเบียนกระบวนวิชา วันที่ 17 - 18 มิถุนายน 2564
นักศึกษาใหม รหัส 64 ทาง Internet
2. วันเพิ่ม-ถอนกระบวนวิชา/ลงทะเบียนสําหรับนักศึกษา วันที่ 19 – 27 มิถุนายน 2564
ทุกระดับทาง Internet
3. วันเพิ่มกระบวนวิชาที่ภาควิชาเจาของกระบวนวิชา วันที่ 28 มิถุนายน – 02 กรกฎาคม 2564
(Add มือ)
4. วันถอนกระบวนวิชาโดยไมไดรับอักษร W วันที่ 19 มิถุนายน – 02 กรกฎาคม 2564
5. วันถอนกระบวนวิชาโดยไดรับอักษร W วันที่ 05 กรกฎาคม – 10 กันยายน 2564
4. วันชําระเงินคาธรรมเนียมการศึกษา วันที่ 05 – 09 กรกฎาคม 2564

• สามารถอานเพิ่มเติม หรือดาวนโหลดปฏิทินการศึกษา 2564 ไดที่ https://cmu.to/HM3BC

QR Code สําหรับดาวนโหลดปฏิทินการศึกษา 2564

• อัพเดทเกี่ยวกับปฏิทินการศึกษาไดที่ https://cmu.to/QXIXQ

QR Code สําหรับอัพเดทปฏิทินการศึกษา
72
72
ตารางเรียนและตารางสอบ
คนหารายวิชา

กรอกรหัสวิชา

การดูตารางเรียน

ตารางสอบไล
เวลาเรียน MTh = วันจันทรและวันพฤหัสบดี -สอบกลางภาค วันที่ 19 ส.ค. 64 เวลา 15.30-18.30 น.
-สอบปลายภาค วันที่ 17 ต.ค. 64 เวลา 12.00-15.00 น.
09.30 – 11.00 น. หอง LB 1404

73
73
ตารางสอบ Regular ในกรณีที่บางกระบวนวิชาไมไดระบุวันเวลาในการสอบไล

เรียน วันจันทรและวันพฤหัสบดี 16.00 – 17.30 น.


สอบไล วันจันทรที่ 18 ตุลาคม เวลา 15.30 – 18.30 น.

74
74
การตรวจสอบตารางเรียน ตารางสอบ และเอกสารสําหรับดาวโหลด ในเวบไซตคณะนิติศาสตร
www.law.cmu.ac.th

1. เขาเว็บไซต คณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม www.law.cmu.ac.th แลวคลิกที่ “สําหรับ


นักศึกษา”

ยินดีต้อนรับนักศึกษาใหม่คณะนิติศาสตร์
ประจำ�ปีการศึกษา 2564

2. เลือกหัวขอที่นักศึกษาตองการทราบตามชองสีแดง

75
75
การลงทะเบียน
กระบวนวิชาที่นักศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (ภาคปกติ) คณะนิติศาสตร์
ต้องลงทะเบียนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2564
รหัส 64
CREDIT SECTION
COURSE CODE วัน/เวลาเรียน
TOT LECT LAB LECT
001101 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 3 3 0
177103 หลักกฎหมายเบื้องต้นและบุคคล 3 3 0 001 We 09.30 - 12.30
177104 นิติตรรกศาสตร์และภาษากฎหมาย 3 3 0 001 Su 09.00 - 12.00
204100 เทคโนโลยีสารสนเทศและชีวิตสมัยใหม่ 3 3 0
วิชาเลือกกลุ่มผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม 3 3 0
วิชาศึกษาทั่วไป (เลือกจาก 2 กลุ่มวิชา) 3 3 0
วิชาศึกษาทั่วไป (เลือกจาก 2 กลุ่มวิชา) 3 3 0
รวม 21 21 0

กระบวนวิชาที่นักศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (ภาคพิเศษ) คณะนิติศาสตร์


ต้องลงทะเบียนในภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2564
รหัส 64
CREDIT SECTION
COURSE CODE วัน/เวลาเรียน
TOT LECT LAB LECT
001101 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 3 3 0 807 Mo 16.30 – 19.30
(ให้นักศึกษาเลือกลง 1 section) 808 Mo 16.30 – 19.30
809 Mo 16.30 – 19.30
177103 หลักกฎหมายเบื้องต้นและบุคคล 3 3 0 801 Fr 16.30 - 19.30
177104 นิติตรรกศาสตร์และภาษากฎหมาย 3 3 0 801 Su 09.00 - 12.00
204100 เทคโนโลยีสารสนเทศและชีวิตสมัยใหม่ 3 3 0 801 Sa 09.00 – 12.00
751100 เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจาวัน 3 3 0 801 Th 16.30 – 19.30
(ให้นักศึกษาเลือกลง 1 section) 802 Th 16.30 – 19.30
571113 การรักษาสมดุลแห่งชีวิตวัยรุ่น 3 3 0 801 Su 13.00 – 16.00
(ให้นักศึกษาเลือกลง 1 section) 802 Su 13.00 – 16.00
127100 การเมืองในชีวิตประจาวัน 3 3 0 801 Tu 16.30 – 19.30
รวม 21 21 0
76
76
ค่าธรรมเนียมการศึกษา

ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับนักศึกษาปริญญาตรี
หลักสูตรนิตศิ าสตรบัณฑิต (ภาคปกติ)

ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับนักศึกษาปริญญาตรี ภาคปกติ
ค่าธรรมเนียมการศึกษาแบบเหมาจ่ายเป็นรายภาคการศึกษา
ภาคการศึกษาปกติ ภาคการศึกษาละ 15,000 บาท
ภาคการศึกษาฤดูร้อน 7,500 บาท
ค่ารักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา
ภาคการศึกษาปกติ ภาคการศึกษาละ 500 บาท
ค่าธรรมเนียมการใช้บริการของมหาวิทยาลัย
ภาคการศึกษาปกติ ภาคการศึกษาละ 500 บาท
ภาคการศึกษาฤดูร้อน ภาคการศึกษาละ 250 บาท

ระเบียบมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระเบียบมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ว่าด้วยค่าธรรมเนียมการศึกษาระดับปริญญาตรี ว่าด้วยค่าธรรมเนียมการใช้บริการของ
พ.ศ.2556 มหาวิทยาลัยฯ พ.ศ.2555

77
77
ค่าธรรมเนียมการศึกษา

ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับนักศึกษาปริญญาตรี
หลักสูตรนิตศิ าสตรบัณฑิต (ภาคพิเศษ)

ค่าธรรมเนียมการศึกษาสาหรับนักศึกษาปริญญาตรี ภาคพิเศษ
ค่าธรรมเนียมการศึกษาแบบเหมาจ่ายเป็นรายภาคการศึกษา
ภาคการศึกษาปกติ ภาคการศึกษาละ 22,000 บาท
ภาคการศึกษาฤดูร้อน 11,000 บาท
ค่ารักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษา
ภาคการศึกษาปกติ ภาคการศึกษาละ 5,000 บาท
ค่าธรรมเนียมการใช้บริการของมหาวิทยาลัย
ภาคการศึกษาปกติ ภาคการศึกษาละ 5,000 บาท
ภาคการศึกษาฤดูร้อน ภาคการศึกษาละ 2,500 บาท

ระเบียบมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระเบียบมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ว่าด้วยค่าธรรมเนียมการศึกษาระดับปริญญาตรี ว่าด้วยค่าธรรมเนียมการใช้บริการของ
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยฯ พ.ศ.2555
คณะนิติศาสตร์ พ.ศ.2555

78
78
- สําเนา -
ประกาศสํานักทะเบียนและประมวลผล
เรื่อง แนวปฏิบัติการลาออกจากการเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี
ผ่านระบบ INTERNET
----------------------------------------------------------
สํานักทะเบียนและประมวลผล ได้พัฒนาระบบการลาออกจากการเป็นนักศึกษาระดับปริญญา
ตรีผ่านระบบ INTERNET โดยกําหนดให้นกั ศึกษาทีป่ ระสงค์จะลาออกจากการเป็นนักศึกษาระดับ
ปริญญาตรีในภาคการศึกษานั้นๆ แสดงเจตนาการลาออกจากการเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีโดย
ดําเนินการบันทึกคําขอ ผ่านระบบ INTERNET และให้นกั ศึกษาพิมพ์เอกสารใบคําขอการจากการเป็น
นักศึกษาระดับปริญญาตรี เพื่อขอความเห็นชอบ และนํามายืน่ ต่อสํานักทะเบียนและประมวลผล เพื่อ
ยืนยันการลาจากการเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรีให้เป็นไปตามเงื่อนไขของข้อบังคับฯ และประกาศ
ว่าด้วยการศึกษาทีใ่ ช้บงั คับ โดยเริม่ ดําเนินการตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2556 เป็นต้นไป
และให้นักศึกษาปฏิบตั ิ ดังนี้
ขั้นตอนการขอลาออกจากการเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี
1. ให้นกั ศึกษาเข้าระบบการลาออกจากการเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่
www.reg.cmu.ac.th หัวข้อลงทะเบียน และเข้าสู่ระบบการลาออกจากการเป็น
นักศึกษาระดับปริญญาตรี โดยใช้รหัสผ่านลงทะเบียนของปีการศึกษานั้นๆ และ
ดําเนินการตามรายละเอียดที่แจ้งตามลําดับ
2. เมื่อนักศึกษาดําเนินการบันทึกคําขอลาออกจากการเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี
ผ่านระบบ INTERNET แล้ว ให้นักศึกษาพิมพ์เอกสารใบคําขอลาออกจากการเป็น
นักศึกษาระดับปริญญาตรีจากระบบ INTERNET และนําไปขอความยินยอม
และลายมือชื่อจากผู้ปกครอง เสนอผ่านอาจารย์ทปี่ รึกษา และคณบดี เพื่อพิจารณา
อนุมตั ิ สําหรับนักศึกษาทีบ่ รรลุนิติภาวะ สามารถลาออกได้โดยไม่ต้องมีหนังสือ
ยินยอมจากผู้ปกครอง กรณี นักศึกษาเป็นผู้ลาศึกษาต่อต้องมีหนังสือยินยอมจาก
หัวหน้าหน่วยงานต้นสังกัด
3. นําเอกสารใบคําขอลาออกจากการเป็ นนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี ยื่นผ่านคณะ
เพื่อออกเลขที่หนังสือ ตามระเบียบฯ ว่าด้วยงานสารบรรณ

79
79
-2–

4. หากนักศึกษาดําเนินการไม่ครบเงือ่ นไขทีก่ ําหนดไว้ แสดงว่านักศึกษาไม่ประสงค์จะ


ลาออกจากการเป็ นนักศึกษาระดับปริ ญญาตรี

จึงประกาศมาเพื่อทราบโดยทั่วกัน

ประกาศ ณ วันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2556

(ลงนาม) ทศพร พิชยั ยา


(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทศพร พิชัยยา)
ผู้อํานวยการสํานักทะเบียนและประมวลผล

80
80
�1bU1

'U"a�fl1�'ih,rfl'Yl�LUtJ'J.ALL��'U"a�3-l'l�t:,.I�

L�'fl-!I LL'J.A'l'Ull'U�fl1"a�1�flfl1"a�fl�1L�'fl'jfl�1�fl1'J.Afl1�fl1"aLtl'J.A,rfl�fl�1"a��\J'U�qJ{lj1(Pl�

f-111-A"a�\J\J INTERNET
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------

�1unY1�LUt1'WLL��tJ-=j�a-l'J�t,.J� 1��oom1"j�UUfl1"j�1�flfl1"jAfl�1L�'f1frn�n'tlfl1'Wfl1�

fl')"jbU'WUflAfl�')"j�{PlUU�qJqJ1�� vJ1'W"j�UU INTERNET l'91tlflTVlt-.!'91lV1UflAfl�1�tl"j�'&{��IQ/��1�fl

fl1"jAmnL�'f1ffl�1�fl1'Wfl1�fl1"jLU'WUflAfl�1l'Wfl1(Plfl1"jAfl�1Ju1 LL'tl'9l�LIQ/�'W1fl1"j�1�flfl1"jAmn

L�'f1fn�1�t11'Wfl1�fl1"jLU'WUflAfl�1 L'91t1�1Lil'Wfl1"ju'WvimhoZJ'f1 vJ1u"j�uu INTERNET LL��LviunAn�1

'Wa-l'Wb'f)fl'&{')"jLU011°lJ'f)fl')"j�')�flfl1"jAfl�1b�'f),rfl�1�fl1'Wfl1�fl')"j bU'WUflAfl�1 b�'f)°l]'f)(Pl'J13-I b'Vl'W°ll''fJ'U Lb��

i!1a-11fil'W{?l'fJ'chUfl'Yl�b'Utl'Wbb��tJ-=j�3-l'J�t,.J� b�'f)�'WtJ'Wfl1"j�')�flfl1"jAfl�1b�'f)ffl�1'tlfl1'Wfl1�fl1"jbU'W

unAn�1LviLU'W 1t1�1a-1 d'fJu1oZJ°ll'f1��'f1u��u'1 LL��tJ-=j�f1101�1�'lt1fl1"jAfl�1�1iu��u L'91ti L�a-1�1Lil'Wfl1"j

��LL{?lfl1(Plfl1"jAfl�1� \§'.) Ufl1"jAfl�1 \§'.Jct'ct'cr LU'W�u1tl LL��LviunAn�1unu� {91�-d

Co). -i'J.A(Pl'fl'J.Afl1"a°lJ'fl�1�flfl1"a�fl�1L�'fl'jfl�1�fl1'J.Afl1�fl1"aLtl'J.A,rfl�fl�1
I

G).G) 1viunAfl�1L�1"j�uJn1"j�1�flfl1"jAmnL�'f1fn�1'tlt11'Wfl1�fl1"jLU'WUflAfl�1 ท .<::I

www.reg.cmu.ac.th Vl'J°lJ'f)��Yl�bUtl'W bb��b°ll1�"j�UUfl1"j�')�flfl1"jV'lfl�1b�'f)


CV 'ii .<::I 'ii I CV � ""J

fn�1'tlt11'Wfl1�fl1"jLU'WUflAfl�1 L'91ti l°lf-=j�'tlvJ1u��Yl�Lut1'W°ll'fJ�Ufl1"jAfl�1Ju1 u��

G) .\§'.:! Lri'f1trnAn�1�1b uuก 1-=juuvin011°lJ'f1�1�nn1"jAf1�1b�'f)-rn�1'clf11'Wfl1�n1"jbuu


Uf1Afl�1 vJ1'W"j�UU INTERNET bb�'J lV1UflAfl�1'W3-l'Wb'f)fl'&{')"jlU011°ll'f1�1�flfl1"jAfl�1

b�'f)-rn�1'tlf11'Wfl1�fl')"jbuuirnAn�11Q/1fl"j�uu INTERNET bb��u11u°lJ'fJ(Pl'J13-l�'Wtl'f13-I

81
81
tJ1b'flfl'iN1'JLU�1°ll'fl�1�flfl1'J�fl'l�1b�'f)'jfl�1'iNtl1'Wf11'v'lfl1'Jbtl'W'Wfl�fl�1 fili.it-h'W'°1ill�

b�'f)'f)'f)flb�°ll�'Vl'W��'f) {Pl1:).,j'J�LUUU'1 'J1�'JU�1'W'iN1'JU'J'Jill

Co). er i-!1L'flfl'iN1"JLu �1°ll'fl�1�flfl1"J�fl�1L�'flffl�1'iNtl1'Wf11'v'lfl1"JL'Ll'W'WflAfl'r:l� ยื่นต่อ


I

�1'WflVl�bUU'Wbb��t.h�:l--l'J� y,J�b �'f)°lf1'J�'°11ti'J'J:l--l bilu :l--1 {P)1:l--l'J�bUUU°ll'fl�:l--l'Vl1'JVJmiu

Co). ct' tJ1b'flfl'iN1'JLU�1°ll'fl�1�flfl1'J�fl�1b�'f)'jfl�1'iNtl1'Wf11'v'lfl1'Jbtl'W'WflAfl�1 Lb��

Lu L'iN�ro;fu (�tJ'°11n"J"J:l--l Lilu:J.-1L�'flffl'r:l1'iNtl1'Wf11'v'l fili.i{Pl'fl�1'WflVl�Luui.iu��th�:l--l'J�t-J�

b�'flbtl'W'Vlifl�1'Wfil'WtJ'Wb�{P)'W1�1�flfl1'J�fl'l�1b�'flffl'r:l1'iNtl1'Wf11'v'lfl1'Jbtl'W'Wfl�fl'r:l1

f11UL'Wf11'Vl'W'91b'J�1 1'W�'W'iNtl1'Wf11'v'l'Wfl�fl�1°ll'fl�'Wfl�fl�1'Yl1a.J:J.-11��Vl�LUU'Wbb���1�

�1�flfl1'JAfl�1 f11UL'W Q10 ')'j,J 'WUlol1fl')'WbU'91f11'°1fl1'JAfl'r:l1'Ufl� {P)1:l--l'Ufl'Yl'W

fl1�Afl�1tJ"J��1ufl1"JAfl�1Ji.i1

�1�flfl1'JAfl�1b�'flffl�1'iNtl1'Wf11'v'lfl1'Jb 'W'Wfl�fl�1 tJ Lb��'Wfl�fl�1'fl11ol lol ��'fl�

�'W'iNt11'Wf11'v'l'WflAfl'r:l1 �'Jm'Vl{P)1a.J��Vl�Luui.ifl"J�ur;ii.i1Jazf1f11u
ุ Li.i"J�U�Lr;i�1

�:l--l'Vl1'JVlmiunTVl'W'91bb���1���Vl�bUU'Wb�'f) L°lfU�fl1'J°lJ'f)�:J.-l'Vl1'JVJmiu bb��/'Vl�'fl�l�

�1�flfl1'J�fl�1 f11UL'W Q10 ')'j,J 'WUlol1fl1'WbU'91f11'°1fl1'J�fl'r:l1'Ufl�

�- fl1ViU�b'l�1fl1"a�U�1°lJ'fl'flU���1�flfl1"a�fl�1b�'flffl�1'n�1Ufl1�fl1"abtJU'Ufl�fl�1

f11'Vl'W'91b'J�1fl1�b°ll1'tf'J�UU
ู fl1'JU'W'Vlfl�1°ll'fl�1�flfl1'J�fl�1b�'f)'jfl�1'iNtl1'Wf11'v'l

fl1'Jbtl'W'Wfl�fl'r:l1 fl1�fil'WL'flfl'iN1'JLU�1°ll'flb�'f)fl1'J'fl'W��
ุ bb��fl1'J°lf1'J�'°11ti'J'J:l--l LilU:!--1 b�'fl

'jfl'r:J1'iNtl1'Wf11'v'l ��1'WflVl�bUU'Wbb��th�:l--l'J� y,J� LVl�1bil'Wfl1'Jf11UL'Wf11Vl'W'91b'J�1

1'W�'W'iNtl1'Wf11'v'l'WflAfl�1°ll'fl�'Wfl�fl�1'Yl1a.J:J.-11��Vl�bUU'Wbb���1��1�flfl1'J�fl�1 f11UL'W

Q10 ')'j,J 'WUlol1fl1'WbU'91f11'°1fl1'J�fl'r:l1'Ufl� {PJ1:J.-1Ufl'Yl'Wfl1'JAfl�1'U'J��1Ufl1'J�fl�1Ji.i1

m. fl1"alPl"a'J�'n'fl'Ufl1"a�1�flfl1"a�fl�1b�'flffl�1'n�1Ufl1�fl1"abtJUUfl�fl�1

vii�lol1fl'Wfl�fl�1fili.i b'flfl'iN1�LU�1°ll'fl�1�flfl1'JAfl�1b�'f)'jfl�1'iNtl1'Wf11'v'lfl1'Jbtl'W

'Wfl�fl�1 bb��LUb'iN�lol'jUb�'W'°11ti'J'J:l--l bi'.lU:l--1 b�'f)'jfl�1'iNtl1'Wf11'v'l {Pl'f)�1'WflVl�bUU'Wbb��

'U'J�:l--l'J� y,J�Lb 1h LVl'Wfl�fl�1{P)'J'Jlol'iN'flUfl1��1�flfl1'J�fl�1b�'f)'jfl�1'iNtl1'Wf11'v'lfl1'Jbtli.i

'Wfl�fl'r:l1�'iN:l--lU"Jill1���d
ู 82
82
Q1.(o) b'?J1�";i�UUfl1";i�1�flfl1";i�fl'l:J1b�'ftfo'l:J1'fffl1'Wfl1YJfl1";ibtl'W'Wfl�fl'l:J1
'IJ
Vl1flfl1";i�1�fl

fl1";i�fl'l:J1b�'flffl�1'tffl1'Wfl1YJfl1";ibtl'W'Wfl�fl�1'tf�U<;iDJbb�'1
'IJ
"v�th1flilcP1111
dJ
"'tf�U<;iDJ
'IJ

bb�'1" btl'W{91'1flfl�";i�fo'91-.:J Vli-.:J'tffl1'W�fl1";i�1�flfl1";i�fl'l:J1b�'flffl�1'tftl1'Wfl1YJfl1";ibtl'W

'Wfl�fl�1 Vl�'fl

th��'1�v-l�b�'fl'1 bb�-.:J<;i1t.lt'fl'Wfl�fl�1��1�flfl1";i�fl�1b�'flffl�1'tffl1'Wfl1YJ'Wfl�fl�1

th��1fl1�fl1";i�fl�1

LVl'Wfl�fl�1�'9l�'fl�1t.l'Vl�b'Ut.l'Wfl1";j�fl�1U�qJqJ1{Pl�

([', fl1"atJflb�flfl1"a�1�flfl1"aRfltl1b�'flfflt11ff(l11J.fl1�fl1ibtllJUflRfltl1

vi1n«irn�n�1�ah1t.Jt'flL'WU";i�n1'°1�1-wn'Vl�but.J'Wu��tJ<;j��11�v-1� b�'fl-.:Jbb�-:J";j1t.Jt'fl

'Wfl�fl�1��1�flfl1";j�fl�1b�'flffl�1'tftl1'Wfl1YJ'Wfl�fl'l:J1U";i��1fl1�fl1";j�fl�1 bb�U";i�'c{-.:J�"v�

t.lflb�flfl1";i�1�flfl1";j�fl'l:J1b�'flffl�1'6{fl1'Wfl1YJfl1";ibtl'W'Wfl�fl�1C?l-.:Jfl'ch'1 'Wfl�fl�1�'fl-:Jfil'W

cP11�'fl-.:Jvi1�fu �'11��'Wt.l'fl� bb���1t.Jtl'f!t'fl"v1fl �Ufl


'IJ
�";j'fl-.:) b'tf'W'fl f.-J1'W'f11"v1";itJ�tl�rn:i1

bb���rnu�h�'fl�"v1";iill1'fl'Wir� �-:i�1-wn'Vl�b'Lit.J'Wbb��tJ<;j��11� v-i� i-:itl LV1'9i1Lil'Wfl1";ifl1t.JL'W



fl1'Vl'W'9lb'1�1 ')'W�'W'tftl1'Wfl1YJ'Wfl�fl'!:JT'll'fl'1'Wfl�fl�1vi1:J-J�1�-.:J'Vl�b'Ut.l'Wbb���l��1�fl

tJ<;j�fl1'°1 rn rY'Wvi (o)bfY

(�'1'W1�) 'Vl'°1YJ";j �°6t.lt.l1

(�°lf'1t.l
'IJ
'°11'tf{Pl";j1"v1";itJ'Vl'°1YJ";i �°6t.lt.l1)

YJ-wn-.:i1'Wtl!)u�-:i1'W (°lf1'W1tl.Jfl1"J)
83
83
แนวปฏิบตั ิในการขอรับอักษรลำดับขั้น I (การวัดผลยังไม่สนิ้ สุด)
สำหรับนักศึกษา

1. นักศึกษาสามารถขอรับอักษรลำดับขั้น I (การวัดผลยังไม่สิ้นสุด) และสามารถยกเลิกคำขอได้ภายในวัน


สุดท้ายของการขอรับอักษรลำดับขั้น I อย่างไรก็ตาม หากนักศึกษาเข้ารับการวัดและประเมินผลครบตามที่
อาจารย์ผู้สอนหรือผู้รับผิดชอบกระบวนวิชากำหนดแล้ว จะไม่สามารถขออักษรลำดับขั้น I ได้
2. การขอรั บ อั ก ษรลำดั บ ขั ้ น I ให้ น ั ก ศึ ก ษา LOGIN เข้ า สู ่ ร ะบบงานทะเบี ย นการศึ ก ษาในเว็ บ ไซต์
www.reg.cmu.ac.th เลือกเมนูสำหรับนักศึกษา ระดับปริญญาตรี หรือ ระดับบัณฑิตศึกษา
3. นักศึกษาเลือกเมนูการขออักษรลำดับขั้น I และเลือกกระบวนวิชาที่ประสงค์จะขอรับอักษรลำดับขั้น I เมื่อ
เลือกกระบวนวิชาแล้ว นักศึกษาต้องระบุเหตุผลความจำเป็นพร้อมทั้งแนบเอกสารประกอบเหตุผล เพื่อ
ประกอบการตัดสินใจของอาจารย์ผู้สอน/ผู้รับผิดชอบกระบวนวิชา เมื่อนักศึกษากดปุ่ม “Click to confirm
your request” จึงจะถือว่านักศึกษาได้ขออักษรลำดับขั้น I ครบทุกขั้นตอน นักศึกษาจะได้รับอีเมลยืนยัน
การยื่นคำขออักษรลำดับขั้น I และข้อมูลการอักษรลำดับขั้น I จะถูกส่งไปให้อาจารย์ผู้สอน/ผู้รับผิดชอบ
กระบวนวิชาเพื่อพิจารณา การดำเนินการขออักษรลำดับขั้น I จะสมบูรณ์ เมื่อได้รับการพิจารณาเห็นชอบจาก
อาจารย์ผู้สอน/ผู้รับผิดชอบกระบวนวิชา และคณบดีเจ้าของกระบวนวิชาพิจารณาอนุมัติ ตามลำดับ นักศึกษา
ต้องแจ้งให้อาจารย์ผู้สอน/ผู้รับผิดชอบกระบวนวิชาทราบความประสงค์ พร้อมทั้งติดตามและตรวจสอบผล
การพิจารณาทางเว็บไซต์ ผ่านระบบการขอรับอักษรลำดับขั้น I
4. ผลการพิ จ ารณาของอาจารย์ ผ ู ้ ส อน/ผู ้ ร ั บ ผิ ด ชอบกระบวนวิ ช าอาจเป็ น “เห็ น ชอบ” หรื อ
“ไม่เห็นชอบ” หากผลการพิจารณาเป็น “เห็นชอบ” หมายถึง การขอรับอักษรลำดับขั้น I จะถูกส่งไปให้
คณบดีเจ้าของกระบวนวิชาพิจารณาต่อไป “ไม่เห็นชอบ” หมายถึง กระบวนวิชานั้นไม่ได้รับความเห็นชอบให้
ได้รับอักษรลำดับขั้น I และคำขอถูกยกเลิก นักศึกษาต้องเข้ารับการวัดและประเมินผลตามเงื่อนไขของ
กระบวนวิชา นักศึกษาจะได้รับอีเมลแจ้งผลการพิจารณาไม่เห็นชอบการได้รับอักษรลำดับขั้น I
5. ผลการพิจารณาของคณบดีเจ้าของกระบวนวิชาอาจเป็น “อนุมัติ” หรือ “ไม่อนุมัติ” หากผลการพิจารณา
เป็น “อนุมัติ” หมายถึง การขอรับอักษรลำดับขั้น I สมบูรณ์ “ไม่อนุมัติ” หมายถึง กระบวนวิชานั้นไม่ได้รับ
การอนุมัติให้ได้รับอักษรลำดับขั้น I และคำขอถูกยกเลิก นักศึกษาต้องเข้ารับการวัดและประเมินผลตาม
เงื่อนไขของกระบวนวิชา
6. หลังจากคณบดีเจ้าของกระบวนวิชาอนุมัติแล้ว นักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา และอาจารย์ผู้สอน/ผู้รับผิดชอบ
กระบวนวิชาจะได้รับอีเมลแจ้งผลการพิจารณาให้ได้รับอักษรลำดับขั้น I หากนักศึกษาประสงค์จะยกเลิกเพื่อ
รับการวัดและประเมินผลภายในภาคการศึกษาที่ยื่นคำขอ สามารถดำเนินการได้ ตามช่วงเวลาการขอรับ
อักษรลำดับขั้น I ตามปฏิทินการศึกษา เมื่อนักศึกษายกเลิกการขอรับอักษรลำดับขั้น I แล้ว นักศึกษา
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ผู้สอน/ผู้รับผิดชอบกระบวนวิชา และคณบดีเจ้าของกระบวนวิชาจะได้รับอีเมล
ยืนยันการยกเลิกการขอรับอักษรลำดับขั้น I
กรณี คณบดี เจ้ าของกระบวนวิ ช า ไม่ อนุ ม ั ติ การขอรั บอั ก ษรลำดั บขั ้ น I นั ก ศึ ก ษา และอาจารย์ผ ู ้ ส อน/
ผู้รับผิดชอบกระบวนวิชาจะได้รับอีเมลแจ้งผลการพิจารณาการไม่อนุมัติให้ได้รับอักษรลำดับขั้น I

84
84
คู่มือการใช้ระบบการขอรับอักษรลำดับขั้น I (การวัดผลยังไม่สิ้นสุด)
สำหรับนักศึกษา

1. หน้าเว็บไซต์สำนักทะเบียนและประมวลผล https://www1.reg.cmu.ac.th
เลือกรายการ “นักศึกษาระดับปริญญาตรี” หรือ “นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา” และ “Login เข้า
สู่ระบบงานทะเบียนการศึกษา”

2. Login เข้าสู่ระบบลงทะเบียนโดยใช้รหัสผ่านสำหรับอีเมลของมหาวิทยาลัย
(IT ACCOUNT @cmu.ac.th)

ข้อมูล ณ ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึก85ษา 2563


85
3. เลือกรายการ “ขอรับอักษรลำดับขั้น I (การวัดผลยังไม่สิ้นสุด)”

4. ศึกษาขั้นตอนในการขอรับอักษรลำดับขั้น I อย่างละเอียด
หลังจากนั้นเลือกรายการ “คลิกที่นี่…เพื่อเริ่มขอรับอักษรลำดับขั้น I”

86
ข้อมูล ณ ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึ86
กษา 2563
5. เลือกกระบวนวิชาที่ต้องการขอรับอักษรลำดับขั้น I โดยกด “Request to defer evaluation”

6. กรอกเหตุผลความจำเป็นในการขอรับอักษรลำดับขั้น I และเบอร์โทรศัพท์ พร้อมทั้งแนบเอกสาร


ประกอบเหตุผล กด “Choose File” เพื่ออัพโหลดเอกสาร และกดยืนยัน “Click to confirm
your request”

87
ข้อมูล ณ ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา
872563
7. ระบบจะแสดงข้อความ “Submitted successfully!” เมื่อนักศึกษาดำเนินการในแต่ละกระบวน
วิชาเสร็จสิ้น และนักศึกษาสามารถเลือกกระบวนวิชาอื่นที่ต้องการขอรับอักษรลำดับขั้น I เพิ่มเติมได้
โดยทำตามขั้นตอนในข้อ 5.

นักศึกษาจะได้รับอีเมลยืนยันการขออักษรลำดับขั้น I และข้อมูลการขออักษรลำดับขั้น I จะ
ถูกส่งไปให้อาจารย์ผู้สอน/ผู้รับผิดชอบกระบวนวิชาเพื่อพิจารณา

8. การดำเนินการขออักษรลำดับขั้น I จะสมบูรณ์ เมื่อได้รับการพิจารณาเห็นชอบจากอาจารย์ผู้สอน/


ผู้รับผิดชอบกระบวนวิชา และการพิจารณาอนุมัติจากคณบดีเจ้าของกระบวนวิชา ตามลำดับ ให้
นักศึกษาติดตามและตรวจสอบผลการพิจารณา ผ่านระบบการขอรับอักษรลำดับขั้น I หรือสอบถาม
ผลการพิจารณาเพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้สอน/ผู้รับผิดชอบกระบวนวิชา และคณะเจ้าของกระบวนวิชา

88
88
ข้อมูล ณ ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563
9. ถ้าผลเป็น “อนุมัติ” และนักศึกษาประสงค์จะยกเลิกการขอรับอักษรลำดับขั้น I สามารถทำได้โดยกด
ปุ่ม “Cancel the Approval” การยกเลิกจะถูกส่งไปแจ้งนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์
ผู้สอน/ผู้รับผิดชอบกระบวนวิชา และคณบดีเจ้าของกระบวนวิชา

89
89
แนวปฏิบัติในการถอนกระบวนวิชาโดยได้รับอักษรลำดับขั้น W
สำหรับนักศึกษา

1. นักศึกษาสามารถขอถอนกระบวนวิชาโดยได้รับอักษรลำดับขั้น W ในช่วงเวลาตามปฏิทินการศึกษา
2. นักศึกษา LOGIN เข้าสู่ระบบงานทะเบียนการศึกษาใน WEBSITE www.reg.cmu.ac.th เมนูระบบ
ลงทะเบียน เลือกเมนูสำหรับนักศึกษา
3. นักศึกษาเลือกเมนูการถอนกระบวนวิช าและเลือกกระบวนวิชาที่ประสงค์จะขอถอน เมื่อเลือก
กระบวนวิชาที่ประสงค์จะถอนทั้งหมดแล้ว นักศึกษาต้องกดปุ่ม “คลิกที่น ี่เ พื่อยืน ยัน การถอน
กระบวนวิชา” จึงจะถือว่านักศึกษาได้ทำการขอถอนครบทุกขั้นตอน นักศึกษาจะได้รับอีเมลยืนยัน
การถอน และข้อมูล การขอถอนจะถูกส่งไปให้อาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อพิจารณา การดำเนินการถอน
กระบวนวิช าจะสมบู รณ์ เมื่อได้รับ การอนุ มัติ จ ากอาจารย์ ที่ ปรึ ก ษา นักศึกษาต้ องติด ตามและ
ตรวจสอบผลการพิจารณาจากอาจารย์ที่ปรึกษาภายใน 5 วันทำการ
4. ผลการพิจารณาของอาจารย์ที่ปรึกษาอาจเป็น “อนุมัติ” “ไม่อนุมัติ” หรือ “ให้เข้าพบอาจารย์
ที่ปรึกษา” หากผลการพิจารณาเป็น
“อนุมัติ” หมายถึง การถอนกระบวนวิชาสมบูรณ์ ได้รับอักษรลำดับขั้น W ในวิชานั้นๆ
“ไม่อนุมัติ” หมายถึง กระบวนวิชานั้นไม่ได้รับการอนุมัติให้ถอน และคำขอถูกยกเลิก
“ให้เข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษา” หมายถึง อาจารย์ที่ปรึกษาต้องการพบนักศึกษา เพื่อให้คำปรึกษา
ก่อนให้ผ ลการพิจารณา อาจารย์ที่ปรึกษาสามารถเปลี่ยนผลการพิจ ารณาเป็ น “อนุมัติ ” หรื อ
“ไม่อนุมัติ”ภายในระยะเวลาตั้งแต่เริ่มถอนกระบวนวิชาถึง 5 วันทำการหลังวันสุดท้ายของการถอน
กระบวนวิชา หากผลการพิจารณาไม่มีการเปลี่ยนแปลง ถือว่าการถอนกระบวนวิชานั้น ไม่สมบูรณ์
และคำขอถูกยกเลิก นักศึกษาต้องเข้ารับการวัดและประเมินผลตามเงื่อนไขของกระบวนวิชา
5. หลังจากอาจารย์ที่ปรึกษาให้ความเห็นชอบ อนุมัติการถอนกระบวนวิชาโดยได้รับอักษรลำดับขั้น W
แล้ว หากนักศึกษาประสงค์จะยกเลิกการถอนกระบวนวิชานั้น สามารถดำเนินการได้ ตามช่วงเวลา
การถอนกระบวนวิชาโดยได้รับอักษรลำดับขั้น W ตามปฏิทินการศึกษากำหนด
6. นักศึกษาสามารถขอถอนกระบวนวิชาซ้ำ กรณีที่อาจารย์ที่ปรึกษาเคยไม่อนุมัติ หรือ กรณียกเลิก
กระบวนวิ ช าที ่ ไ ด้ ร ั บ อนุ ม ั ต ิ จ ากอาจารย์ ท ี ่ ป รึ ก ษาแล้ ว ในช่ ว งเวลาตามปฏิ ท ิ น การศึ ก ษา
หากอาจารย์ให้ความเห็นภายใน 5 วันทำการหลังวันสุดท้ายของการถอนกระบวนวิชา ว่า “อนุมัติ”
หรือ “ไม่อนุมัติ” ถือเป็นที่สิ้นสุด

90
90
คู่มอื การใช้ โปรแกรมการถอนกระบวนวิชาโดยได้ รับอักษรลาดับขั้น W สาหรับนักศึกษา

1. หน้าเว็บไซต์สานักทะเบียนและประมวลผล https://www.reg.cmu.ac.th เลือกรายการ “สาหรับนักศึกษา”

2. เลือกรายการระดับการศึกษา เช่น “ระดับปริญญาตรี”

91
91
3. กดปุ่ ม “Login with CMU Account”

4. Login เข้าสู่ ระบบลงทะเบียนโดยใช้รหัสผ่านสาหรับอีเมลของมหาวิทยาลัย (IT ACCOUNT @cmu.ac.th)

92
92
5. เลือกรายการ “ถอนกระบวนวิชา ( Drop W )”

6. ศึกษาขั้นตอนการขอถอนกระบวนวิชา แล้วเลื่อนลงไปด้านล่ างสุ ด (แถบสี น้ าเงิน) กด “คลิ กที่นี่..เพื่อเริ่ มถอน


กระบวนวิชา Click Here to Withdraw”

93
93
7. เลือกกระบวนวิชาที่ตอ้ งการถอนโดยได้รับอักษรลาดับขั้น W “Request to Withdraw”

8. เลือกเหตุผลในการถอน ทาเครื่ องหมาย √ หน้าข้อความสี แดง “ข้าพเจ้าได้เลือกกระบวนวิชาที่จะขอถอนแล้ว ...”


และกด “Add to basket/หยิบใส่ ตะกร้ า”

94
94
9. นักศึกษาตรวจสอบกระบวนวิชาที่ได้กดขอถอนทั้งหมด หากต้องการยกเลิกการขอถอนในกระบวนวิชานั้นๆให้
กดปุ่ ม“Click to cancel” และเมื่อนักศึกษาเลือกกระบวนวิชาที่ประสงค์จะขอถอนทั้งหมดแล้ว นักศึกษาต้องกด
ปุ่ ม “คลิกทีน่ ี่เพือ่ ยืนยันการถอนกระบวนวิชา” (ด้านล่างสุ ดของตาราง)

10. ระบบจะสรุ ป ข้อ มู ล กระบวนวิ ช าที่ นัก ศึ ก ษากดถอนทั้ง หมด ให้ นัก ศึ ก ษากดปุ่ ม “√ Click to confirm your
request”

95
95
11. เมื่อนักศึกษาทาครบทุกขั้นตอนสมบูรณ์แล้ว นักศึกษาจะได้รับอีเมลแจ้งยืนยันการขอถอน และข้อมูลกระบวน
วิชาที่ นักศึ กษาขอถอนกระบวนวิชาได้ถูกส่ งไปให้อาจารย์ที่ป รึ กษาเพื่อพิ จารณา (รอการพิจารณาหลัง จาก
นักศึกษากดยืนยันภายใน 5 วันทาการ)

12. ถ้าผลเป็ น “อนุ มตั ิ ” ช่ อง WITHDRAWAL STATUS จะเป็ นแถบสี เขียวมีขอ้ ความว่า“approval” และนักศึกษา
สามารถยกเลิ ก การขอถอนกระบวนวิช าโดยได้รั บ อัก ษรล าดับ ขั้น W ได้โ ดยกดปุ่ ม “Click to cancel the
approve”

96
96
13. ถ้า ผลเป็ น “ไม่ อ นุ ม ัติ ” ช่ อ ง WITHDRAWAL STATUS จะเป็ นแถบสี แ ดงมี ข ้อ ความว่า “Disapproved” และ
นัก ศึ ก ษาสามารถกดขอถอนกระบวนวิชาโดยได้รับ อัก ษรล าดับ ขั้น W อี ก ครั้ งได้โดยกดปุ่ ม “Re-request to
Withdraw” ในช่อง WITHDRAWAL

14. ถ้า ผลเป็ น “ให้เ ข้า พบอาจารย์ที่ ป รึ ก ษา” ช่ อ ง WITHDRAWAL STATUS จะเป็ นแถบสี เ หลื อ งมี ข ้อ ความว่า
“See your adviser” นักศึกษาต้องเข้าพบอาจารย์ที่ปรึ กษา หากนักศึกษาไม่ติดต่อกลับ อาจารย์ที่ปรึ กษาสามารถ
พิจารณาให้ความเห็นเป็ น “อนุ มตั ิ” หรื อ “ไม่อนุ มตั ิ” และหากอาจารย์ไม่ดาเนิ นการให้ความเห็ นชอบภายใน
ระยะเวลา 5 วันทาการหลังวันสุ ดท้ายของการถอนกระบวนวิชา ถือว่าการถอนกระบวนวิชาไม่สมบูรณ์ คาขอ
ถอนกระบวนวิชาถูกยกเลิก และนักศึกษาต้องเข้ารับการวัดและประเมินผลตามเงื่อนไขของกระบวนวิชา

15. สิ้ นสุ ดขั้นตอนการถอนกระบวนวิชาโดยได้รับอักษรลาดับขั้น W 97


97
การคานวณเกรด

เกณฑ์การพ้นสภาพนักศึกษาด้วยผลการศึกษา
1. เมื่อเรียนมาแล้วครบสองภาคการศึกษาปกติ ยังมีค่าลาดับขั้นสะสมเฉลี่ยทั้งหมดไม่ถึง 1.50 ไม่รวมภาคฤดูร้อน
2. เมื่อเรียนมาแล้วครบสี่ภาคการศึกษาปกติ ยังมีค่าลาดับขั้นสะสมเฉลี่ยทั้งหมดไม่ถึง 1.75 ไม่รวมภาคฤดูร้อน
3. เมื่อเรียนมาแล้วสี่ภาคการศึกษาปกติขึ้นไป ยังมีค่าลาดับขั้นสะสมเฉลี่ยทั้งหมดไม่ถึง 1.75 ติดต่อกันถึงสองภาค
การศึกษาปกติ
4. เมื่อได้เคยลงทะเบียนกระบวนวิชาเรียนและได้รับการโอนหรือ เทียบโอนหน่วยกิต โดยได้รับอักษรลาดับขั้นที่มีค่า
ลาดับขั้น รวมทั้งอักษรลาดับขั้น S, U, V, CE, CP, CS, CT และ CX มาแล้วถึง 240 หน่วยกิต สาหรับหลักสูตร 4 ปี

ปี 1 ภาคการศึกษาที่ 1
ภาคการศึกษาที่ 2 เกรดเฉีย่ สะสมตอนปี 1 ภาคการศึกษาที่ 2
ภาคการศึกษาฤดูร้อน ไม่ถึง 1.50

ปี 2 ภาคการศึกษาที่ 1
ภาคการศึกษาที่ 2 เกรดเฉีย่ สะสมตอนปี 2 ภาคการศึกษาที่ 2
ภาคการศึกษาฤดูร้อน ไม่ถึง 1.75

ปี 3 ภาคการศึกษาที่ 1
ภาคการศึกษาที่ 2
ตั้งแต่ปี 3 ภาคการศึกษาที่ 3 เป็นต้นไป
ภาคการศึกษาฤดูร้อน
เกรดเฉีย่ สะสมในภาคการศึกษานัน้ ไม่ถึง 1.75
ปี 4 ภาคการศึกษาที่ 1 ติดกัน 2 เทอม (ในภาคการศึกษาปกติ)
ภาคการศึกษาที่ 2
ภาคการศึกษาฤดูร้อน

เมื่อหลักสูตร 4 ปี เรียนไปถึง 240 หน่วยกิต และ เกรดเฉลี่ยสะสม ไม่ถึง 2.00

เกณฑ์และเงื่อนไขของผลการศึกษาในการสาเร็จการศึกษา
1. มีค่าลาดับขั้นสะสมเฉลี่ยตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 2.00
2. มีค่าลาดับขั้นสะสมเฉลี่ยในวิชาเอก ไม่น้อยกว่า 2.00
3. ไม่ติด F ในกระบวนวิชาแกนและวิชาเอกบังคับหรือหากกรณีติด F ในกระบวนวิชาแกนและวิชาเอกบังคับ ต้อง
ลงทะเบียนซ้าจนกว่าจะผ่านในรายวิชานั้น

98
98
การคานวณเกรดเพื่อสาเร็จการศึกษา
1. มีค่าลาดับขั้นสะสมเฉลี่ยตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 2.00

หมวดวิชาโท (ถ้ามี)
15 หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือกเสรี หมวดวิชาเอก 63 หน่วยกิต
ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต - เอกบังคับ 42 หน่วตกิต
- เอกเลือก ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
30 หน่วยกิต

หมวดวิชาแกน
39 หน่วยกิต รวมไม่น้อยกว่า138 หน่วยกิต

2. มีค่าลาดับขั้นสะสมเฉลี่ยในวิชาเอก ไม่น้อยกว่า 2.00

วิชาเอกเลือก
ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต
วิชาเอกบังคับ
42 หน่วยกิต

รวมไม่น้อยกว่า 63 หน่วยกิต

99
99
ลาดับขั้น
ระบบลาดับขั้น กาหนดเป็นสัญลักษณ์ A,B+,B,C+,C,D+,D, และ F ซึ่งแสดงผลการศึกษาที่ได้รับการประเมินแต่ละ
กระบวนวิชา และมีค่าลาดับดังนี้
ลาดับขั้น A มีค่าลาดับขั้นเป็น 4
ลาดับขั้น B+ มีค่าลาดับขั้นเป็น 3.5
ลาดับขั้น B มีค่าลาดับขั้นเป็น 3
ลาดับขั้น C+ มีค่าลาดับขั้นเป็น 2.5
ลาดับขั้น C มีค่าลาดับขั้นเป็น 2
ลาดับขั้น D+ มีค่าลาดับขั้นเป็น 1.5
ลาดับขั้น D มีค่าลาดับขั้นเป็น 1
ลาดับขั้น F มีค่าลาดับขั้นเป็น 0
หมายเหตุ :
- ลาดับขั้น F จะนามาคานวณหาค่าลาดับขั้นสะสมเฉลี่ย
- อักษร S, U, I, P, V และ W จะไม่ถูกนามาคานวณหาค่าลาดับขั้นสะสมเฉลี่ย
- มหาวิทยาลัยจะคานวณค่าลาดับขั้นสะสมเฉลี่ยจากหน่วยกิต และค่าลาดับขั้นของกระบวนวิชาทั้งหมดที่นักศึกษา
ได้ลงทะเบียนเรียน หากกระบวนวิชาใดลงทะเบียนเรียน มากกว่า 1 ครั้ง ให้คิดทุกครั้ง
- สามารถดูข้อมูลผลการเรียนและโปรแกรมคิดเกรดได้ที่ เว็บไซต์คณะนิติศาสตร์
http://www.law.cmu.ac.th/REG_LAW/SISLAW/

100
100
วิธีการคํานวณเกรด
การคํานวณหาคาลําดับขั้นสะสมเฉลี่ย ใหนําเอาผลคูณของจํานวนหนวยกิตกับคาลําดับขั้นของทุกๆ กระบวนวิชามา
รวมกัน แลวหารดวยผลบวกของหนวยกิต ของกระบวนวิชาทั้งหมด ในการหารนี้ใหมีทศนิยม ตําแหนงโดยไมมีการปดเศษ 2

สูตร = ((คาลําดับขั้นวิชาที่ 1x หนวยกิตวิชาที่1) + (คาลําดับขั้นวิชาที่2 x หนวยกิตวิชาที่2)+...))


( หนวยกิตวิชาที่1 + หนวยกิตวิชาที่ 2+ ...)

รหัสวิชา ชื่อกระบวนวิชา หนวยกิต ลําดับขั้น (หนวยกิต x ลําดับขั้น)

177103 หลักกฎหมายเบื้องตนและบุคคล 3 A (3 x 4) = 12
177104 นิตติ รรกศาสตรและภาษากฎหมาย 3 S ไมคํานวณ
177113 กฎหมายวาดวยนิติกรรมและสัญญา 3 B (3 x 3) = 9
177114 กฎหมายวาดวยทรัพยสิน 3 B (3 x 3) = 9
177141 กฎหมายมหาชนเบื้องตน 3 C+ (3 x 2.5) = 7.5

177181 กฎหมายอาญาภาคบทบัญญัติทั่วไป 3 F (3 x 0) = 0
057122 วายน้ําเพื่อชีวิตและการออกกําลังกาย 1 C (1 x 2) = 2
รวม 15 37.5
ลําดับขั้นสะสมเฉลี่ย ((3 x 4)+(3 x 3)+(3 x 3)+(3 x 2.5)+(3 x0)+(1 x2)) = 39.5 = 2.46875
( 3 +3 +3 +3 +3+ 1) = 16
ปดเปน 2.47

101
101
วิธีการคานวณเกรดในเว็บไซต์สานักทะเบียน
1. นักศึกษา Login เข้าระบบสานักทะเบียน https://www1.reg.cmu.ac.th/

2. เลือก “ผลการเรียน”

102
102
3. เลือก กระบวนวิชา และลาดับขั้น เพื่อคานวณเกรด

103
103
เกียรตินิยมและเหรียญรางวัลเรียนดีตลอดหลักสูตร

คุณสมบัติของนักศึกษาที่จะได้รับการเสนอให้ได้รับปริญญาเกียรตินิยม
1. ใช้เวลาศึกษาในมหาวิทยาลัยภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ในแผนการศึกษาของสาขาวิชานั้น โดยเริ่มนับตั้งแต่ภาค
การศึกษาแรกที่ขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา ทั้งนี้ ไม่นับรวมภาคการศึกษาที่ได้รับอนุมัติให้ลากพักการศึกษา
2. สาหรับนักศึกษาที่ย้ายสาขาวิชา ให้นับเวลาที่ศึกษาในสาขาวิชาเดิมและสาขาวิชาใหม่ ซึ่งเมื่อรวมกันแล้วต้องไม่เกิน
ระยะเวลาที่กาหนดไว้ในแผนการศึกษาของสาขาวิชาใหม่
3. สาหรับนักศึกษาที่ได้รับอนุมัติมให้โอนหรือเทียบโอนหน่วยกิต หรือได้รับการยกเว้นการเรียนโดยได้รับอักษรลาดับขั้น
CE, CP, CS, CT, CX ต้ อ งมี จ านวนการโอนหรื อ การเที ย บโอนหน่ ว ยกิ ต หรื อ การยกเว้ น หน่ ว ยกิ ต ตามประกาศ
มหาวิทยาลั ย รวมไม่เกิน 12 หน่ ว ยกิต และไม่เคยได้รับอักษรล าดับ ขั้น F หรือ U หรืออักษรล าดับขั้นอื่น ใดที่
เทียบเท่าในกระบวนวิชาใด ทั้งในสถาบันอุดมศึกษาเดิมและในมหาวิทยาลัย
4. ไม่เคยได้รับอักษรลาดับขั้น F หรืออักษรลาดับขั้น U ในกระบวนวิชาใด

เกรดเฉลี่ยรวม 3.50 ขึ้นไป : เกียรตินิยมอันดับ 1


เกรดเฉลี่ยรวม 3.25 ขึ้นไป : เกียรตินิยมอันดับ 2

คุณสมบัติของนักศึกษาที่จะได้รับเหรียญเรียนดีตลอดหลักสูตร
1. เหรียญทอง
- จะต้องเป็นผู้ได้รับเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง และมีค่าลาดับขั้นสะสมเฉลี่ยทั้งหมดตั้งแต่ 3.75 ขึ้นไป
2. เหรียญเงิน
- จะต้องเป็นผู้ได้รับเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง และมีค่าลาดับขั้นสะสมเฉลี่ยทั้งหมดตั้งแต่ 3.50 ถึง 3.75

104
104
หลักเกณฑ์การขอเปิดกระบวนวิชาในภาคฤดูร้อน
หลักเกณฑการขอเปดกระบวนวิชาในภาคฤดูรอน

1. กระบวนวิชาที่เปดสอนสําหรับนักศึกษานอกคณะนิติศาสตร
คณะนิติศาสตรพิจารณาเปดกระบวนวิชาที่เปดสอนสําหรับนักศึกษานอกคณะนิติศาสตรจากหนังสือแจง
ความประสงคขอเปดกระบวนวิชาจากคณะอื่น โดยไดรับความยินยอมของอาจารยประจําวิชา กระบวนวิชาที่เปด
สอนใหมีการเรียนการสอนครบ 45 ชั่วโมง
2. กระบวนวิชาแกนและวิชาเอกบังคับตามหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต
คณะนิติศาสตรพิจารณาเปดกระบวนวิชาแกนและวิชาเอกบังคับตามหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตใหเฉพาะ
สําหรับนักศึกษาที่เคยไดรับอักษรลําดับขั้น F ในกระบวนวิชานั้นและคาดวาจะสําเร็จการศึกษาในภาคฤดูรอน และ
อนุญาตใหเฉพาะนักศึกษาที่เคยไดรับอักษรลําดับขั้น F ในกระบวนวิชานั้นที่คาดวาจะสําเร็จการศึกษาเทานั้น
สามารถลงทะเบียนเรียนได กระบวนวิชาที่เปดสอนอาจจัดการเรียนการสอนในรูปแบบการทบทวนเนื้อหาได
3. กระบวนวิชาเอกเลือกตามหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต
คณะนิ ติ ศาสตร พิจ ารณาเป ด กระบวนวิ ช าเอกเลื อกตามหลั กสู ต รนิ ติ ศาสตรบั ณ ฑิ ต ให เ ฉพาะสํ า หรั บ
นักศึกษาชั้นปที่ 3 และนักศึกษาชั้นปที่ 4 ที่แสดงความประสงคขอเปดกระบวนวิชา โดยไดรับความยินยอมของ
อาจารยประจําวิชา กระบวนวิชาที่เปดสอนใหมีการเรียนการสอนครบ 45 ชั่วโมง
4. การพิจารณากําหนดอาจารยผูสอนภาคฤดูรอน
คณะนิติศาสตรพิจารณากําหนดอาจารยผูสอนโดยสอบถามอาจารยประจําวิชาที่สอนกระบวนวิชานั้นใน
ภาคการศึกษาปกติเปนอันดับแรก ทั้งนี้ หากอาจารยประจําวิชานั้นไมสามารถจัดการเรียนการสอนในภาคฤดูรอน
ได คณะนิติศาสตรอาจใชดุลพินิจพิจารณาดําเนินการเชิญอาจารยพิเศษไดตามความเหมาะสม

105
105
โทษการทุ
โทษการทุจจริริต
ตสอบ
สอบ

กรณีเกิดการทุจริตสอบ ซึ่งนับ
เป็นการทำสำ�� คัวิญ
นัยมาก !
กรณีเกิดการทุจริตสอบ ซึ่งนับเป็นการทำ�ผิดวินัยร้ายแรงตาม ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่าด้วยวินัยและการดำ�เนินการ

ผิด ร้ายแรงตาม ข้อ


ทางวินัยนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ คณะนิติศาสตร์จะดำ�เนินตามขั้นตอนทางวินัยนักศึกษา และหากสอบสวนแล้วพบว่า นักศึกษากระทำ�ผิด
จริงจะถูกลงโทษ โดยได้รับลำ�ดับขั้น F ในกระบวนวิชาที่ทุจริต ให้พักการศึกษาอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา และทำ�กิจกรรมบริการสังคม
หรือ สาธารณะประโยชน์จำ�นวน 1 กิจกรรม

กรณี บัเกิงดคั บมหาวิ


การทุ จริตสอบทยาลั ยนเชี
ซึ่งนับเป็ ยงใหม่
การทำ �ผิดวินัยร้าว่ยแรง

ตามด้วข้ยวิ อบังคันบัย และการดำ
มหาวิ �เนิน
ทยาลัยเชียงใหม่ ว่าการทาง
ด้วยวินัยและการ
ดำ�เนินการทางวินัยนักศึกษา พ.ศ. 2553 คณะนิติศาสตร์
จะดำวิ นนัยตามขั
�เนิ นัก้นศึ กษา นพ.ศ.
ตอนทางวิ 2553
ัยนักศึกษา คณะ
และหากสอบสวน
นิ
แล้ต ิศาสตร์
วพบว่ า นักศึกจ ะดำ�เนิ
ษากระทำ �ผิดน จริตามขั ้นตอนทาง
งจะถูกลงโทษ โดยได้รับ
ลำ�ดับขั้น F ในกระบวนวิชาที่ทุจริต ให้พักการศึกษาอย่าง
วิน้อนยัย1นัก ศึกษา
ภาคการศึ กษาและหากสอบสวนแล้
และทำ�กิจกรรมบริการสังคมหรือว
พบว่า นักจำ�ศึนวน
สาธารณประโยชน์ กษากระทำ
1 กิจกรรม �ผิดจริงจะ
ถูกลงโทษ โดยได้รับลำ�ดับขั้น F ใน
กระบวนวิชาที่ทุจริต ให้พักการศึกษา
อย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา
และทำ�กิจกรรมบริการสังคมหรือ
สาธารณประโยชน์จำ�นวน 1 กิจกรรม

106
106
107
107
108
108
นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีสิทธิในการรับ 2. สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า
บริการด้านสุขภาพ ดังนี้ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

1. สิทธิประกันสุขภาพนักศึกษา หรือสิทธิบริการอนามัย
นักศึกษาชัน้ ปีท่ี 1 ทีม่ สี ญั ชาติไทยทุกคนจะได้ขน้ึ ทะเบียน
สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าโรงพยาบาลมหาราช
นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่จะได้รับสิทธิบริการอนามัยในวงเงิน
นครเชี ย งใหม่ ใ นวั น รายงานตั ว ขึ้ น ทะเบี ย นเป็ น
20,000 บาท/ คน/ ปีการศึกษา หากเข้ารับการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาล
นักศึกษาใหม่ โดยนักศึกษาเป็นผูก้ รอกข้อมูลในระบบ
มหาราชนครเชียงใหม่ หรือศูนย์สภาพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยจ่ายเกินจาก
การรายงานตัวเป็นนักศึกษาใหม่ และนักศึกษาจะ
สิทธิที่รัฐจัดให้ (ส่วนเกินสิทธิที่รัฐจัดให้เช่น ค่ายานอกบัญชียาหลัก ค่าวัสดุ
ได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระกั น สุ ข ภาพถ้ ว นหน้ า โรงพยาบาล
อุปกรณ์การแพทย์ ค่าห้องพิเศษ และอาหารพิเศษกรณีนอนโรงพยาบาล เป็นต้น)
มหาราชนครเชียงใหม่ (ถึงแม้จะไม่ย้ายทะเบียนบ้าน
เข้ามหาวิทยาลัยเชียงใหม่) ควบคู่กับสิทธิบริการ
3. สิทธิเบิกจ่ายตรง
อนามัย ยกเว้น นักศึกษาใช้สิทธิบุตรข้าราชการ หรือ
สิทธิประกันสังคม โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
สำ�หรับนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่เป็นบุตรข้าราชการ งานเวชระเบียนและสถิติจะขึ้นทะเบียนโครงการหลัก
ซึ่งอายุไม่เกิน 20 ปี หรือเป็นข้าราชการที่ขึ้นทะเบียนเบิกจ่ายตรง ไม่ต้อง ประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้เมือ่ สิทธิดงั กล่าวสิน้ สุดลง
ชำ�ระเงินค่ารักษาพยาบาล กรณีไม่ได้ขึ้นทะเบียนเบิกตรงให้
สำ�รองจ่ายค่ารักษาพยาบาล แล้วนำ�ใบเสร็จรับเงินไปเบิกเงิน 4. สิทธิประกันสังคม
คืนตามสิทธิบุตรข้าราชการ และสิทธิข้าราชการต่อไป(ยกเว้น กรณีนกั ศึกษาใช้สทิ ธิประกันสังคม หากต้องการ
กรณีอุบัติเหตุจากรถไม่สามารถใช้สิทธิได้) ใช้สิทธิบัตรทองร่วมกับการใช้สิทธิประกันสุขภาพ
นักศึกษา(สิทธิบริการอนามัย) ให้ยกเลิกสิทธิบัตร
การขึ้นทะเบียนโครงการเบิกจ่ายตรง โรงพยาบาล ประกันสังคม ที่สำ�นักงานประกันสังคมจังหวัดที่
มหาราชนครเชียงใหม่
สังกัด แล้วนำ�หลักฐานจากสำ�นักงานประกันสังคม
นักศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่มีสิทธิเป็นบุตรของข้าราชการ
จังหวัด พร้อมสำ�เนาบัตรนักศึกษา และสำ�เนาบัตร
หรือเป็นข้าราชการ (ยกเว้นรัฐวิสาหกิจ องค์การบริหาร
ส่วนตำ�บล (อบต.) และเทศบาล) สามารถขึ้นทะเบียนได้ในวัน ประชาชน อย่างละ 1 ชุด ติดต่อที่งานเวชระเบียน
รายงานตัว โดยนักศึกษาเป็นผู้กรอกข้อมูลของตนในระบบ ชั้น 2 อาคารเฉลิมพระบารมี หลังจากนั้น 6 เดือน
การรายงานตัวการเป็นนักศึกษาใหม่ และเมื่อนักศึกษามีอายุ จึงจะสามารถใช้สิทธิบัตรทองได้ (สิทธิประกันสังคม
ครบ 20 ปีขึ้นไป โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่จะลง ไม่สามารถใช้ร่วมกับสิทธิบัตรทอง ต้องเลือกอย่าง
ทะเบียนบัตรหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้ทันที ใดอย่างหนึ่ง)

5. สิทธิประกันอุบัติเหตุ
นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่ประสบอุบัติเหตุ
สามารถเบิกค่าประกันรักษาพยาบาลได้ ในวงเงิน 4,000.-
บาท/กรณี (ค่าใช้จ่ายส่วนเกินจาก 4,000.-บาท พิจารณาตาม
ประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
ร่วมกับสิทธิบริการอนามัย และสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า)

109
109
ในวันที่นักศึกษาไม่สบายใจไม่ว่าจะพบเจอปัญหาใดมา แล้วต้องการผู้รับฟัง และแบ่ง
เบาความรู้สึกหนักอึ้งในใจ จุดพักใจ เป็นบริการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาที่คณะนิติศาสตร์จัดขึ้น
เพื่อช่วยเหลือน้อง ๆ ให้ผ่านพ้นช่วงเวลาที่ไม่สบายใจไปได้ ไม่ว่าปัญหานั้นจะเป็นเรื่องเรียน หัวใจ
ความสัมพันธ์ การใช้ชีวิต ประเมินความเครียด คัดกรองซึมเศร้า ฯลฯ สามารถพูดคุยและร่วมกัน
หาทางออกได้ และหากน้อง ๆ ต้องการพัฒนาศักยภาพตนเองก็สามารถพบปะพูดคุยกันได้เช่นกัน
ขอรับบริการโดยแจ้งนัดหมายผ่าน โทร. 053-942919 หรือ http://www.law.cmu.ac.th/law2011/life.php
หรือเดินมาพบปะกันที่ห้องพัฒนาคุณภาพนักศึกษา ได้จ้า

CMU MIND เป็นหนึ่งช่องทางที่จะช่วยเหลือน้อง ๆ ให้เกิดรอยยิ้มและพลังใจ


ด้วยบริการจากพี่ ๆ นักจิตวิทยา สามารถติดต่อขอรับบริการได้โดยโทร. 053 -943043,
097 - 9248000 หรือ in box เพจ CMU Mind นอกจากนี้ CMU Mind ยังมีบริการวัดระดับ
พลังใจที่สามารถเข้าไปทำ�และรู้ผลได้ทันที ทั้งยังมีข้อแนะนำ�สำ�หรับคะแนนในแต่ละช่วงด้วย
ซึ่งนักศึกษาสามารถประเมินพลังใจของตนได้ที่ https://sis.cmu.ac.th/cmusis

บ้านหลังที่สอง เป็นโครงการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยา โดยภาควิชาจิตวิทยา


คณะมนุษยศาสตร์ ที่ให้บริการการปรึกษาเชิงจิตวิทยา และจัดกิจกรรมเชิงจิตวิทยาเพื่อพัฒนาศักยภาพ
แห่งตนสำ�หรับนักศึกษา และบุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งสามารถติดต่อขอรับบริการได้ที่ โครงการ
บ้านหลังที่สอง ณ ภาควิชาจิตวิทยา อาคาร HB 1 ชั้น 1 หรือติดต่อนัดหมายผ่าน inbox เพจ บ้านหลัง
ที่สอง หรือโทร. 083 - 5856046
110
110
กองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.)

คุณสมบัติผู้กู้กลุ่มขาดแคลนทุนทรัพย์ จานวนเงินที่กู้ยืมได้ การคืนเงิน


1. เป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1. ค่าธรรมเนียมการศึกษา 2 ภาค ปลอดหนี้ 2 ปีหลัง
อายุไม่เกิน 30 ปี มีสัญชาติไทย การศึกษา จบการศึกษา
2. ผู้ ป กครองมี ร ายได้ ร วมกั น ไม่ เ กิ น 2. ค่าครองชีพ จานวน 36,000.- บาท/ปี กาหนดการใช้คืน
360,000.- บาท/ปี (นั บ รายได้ เ ต็ ม (นักศึกษาสามารถเลือกได้ว่าจะกู้ทั้งสอง 15 ปี อัตรา
จานวนมิใช่รายได้หลังหักค่าใช้จ่ายใดใด) รายการ หรือกู้แต่รายการใดรายการหนึ่ง) ดอกเบี้ย 1% ต่อปี
3. เป็นผู้ทากิจกรรมจิตอาสา (อย่างน้อย โดยชาระคืนทุก
1 กิจกรรมไม่จากัดจานวนชั่วโมง) วันที่ 5 กรกฎาคม
ทาการสมัครได้ที่ ของปี
https://wsa.dsl.studentloan.or.th
ข้อควรรู้
1. ห้ามย้ายทะเบียนบ้านโดยเด็ดขาด นักศึกษาสามารถย้ายทะเบียนได้เมื่อทาสัญญากู้ฯแล้วเสร็จ)
2. สัญญากู้ยืมเงินทาเพียง 1 ครั้ง คือ ในภาคการศึกษาแรกของปีที่ขอกู้ยืมเงินเท่านั้น แต่ต้องยืนยันการกู้ยืม
ทุกภาคการศึกษาโดยนักศึกษาต้องลงทะเบียน/แบบยืนยันจานวนเงินค่าเล่าเรียนและค่าครองชีพต้องทาทุก
ภาคการศึกษาที่ประสงค์จะขอกู้ยืมเงิน หากไม่ยืนยันการกู้ยืมตามกาหนดเวลาจะไม่สามารถกู้ยืมได้
3. ค่าครองชีพ แบ่งเป็น 2 ภาคการศึกษา ๆ ละ 6 เดือน เดือนละ 3,000.- บาท
4. นักศึกษาที่ส่งสัญญาแล้วจะได้รับการผ่อนผันเงินค่าธรรมเนียมการศึกษาภาคเรียนที่ 1/2564 ห้าม
นักศึกษาชาระค่าธรรมเนียมการศึกษาโดยเงินสด หรือสั่งตัดเงินจากบัญชีโดยเด็ดขาด
5. ผู้กู้รายใหม่ต้องมีชั่วโมงกิจกรรมอาสาอย่างน้อย 1 กิจกรรม ทั้งนี้สามารถใช้ชั่วโมงจิตอาสาจากโรงเรียน
เดิมได้ หรือทากิจกรรมอาสาออนไลน์ได้ ทั้งนี้ขอให้นักศึกษาบันทึกภาพ หรือเอกสารอันเป็นหลักฐานยืนยัน
การทากิจกรรมจิตอาสาเพื่อใช้ประกอบการกู้ยืมฯ
6. นักศึกษาที่ผู้ปกครองสามารถเบิกเงินค่าเทอมบุตรได้จากหน่วยงานต้นสังกัด นักศึกษาจะสามารถกู้ยืมได้
เพียงบางส่วนเท่านั้น คือไม่สามารถกู้ยืมค่าธรรมเนียมการศึกษาได้เต็มจานวน แต่สามารถขอกู้ยืมเงินเฉพาะ
ค่าครองชีพได้เต็มจานวน
แหล่งข้อมูลเพิ่มเติม
 กยศ. Call center 0-2016-4888
 เว็บไซต์กยศ. https://eservices.studentloan.or.th/SLFSTUDENT/html/index.html
 เว็บไซต์กองพัฒนานักศึกษา http://sdd.oop.cmu.ac.th/th/studentloan
 หน่วยพัฒนาคุณภาพนักศึกษานักศึกษาคณะนิติศาสตร์ โทร. 053 942919 หรือ Facebook group :
กยศ.นิติศาสตร์ มช.
111
111
ทุนการศึกษา

ประเภทของทุน คุณสมบัติ การสมัคร มูลคาทุน


ทุนผูข าดแคลน เปนนักศึกษาคณะนิติศาสตร เปดรับสมัครผานระบบ จํานวนทุน และมูลคาทุน
ทุนทรัพย ที่ขาดแคลนทุนทรัพย CMUSIS ขึ้นอยูกับจํานวนนักศึกษา
เวลาการรับสมัคร ผูขอรับทุน และการ
เดือนมิถุนายน 2564 พิจารณาตามหลักเกณฑ
(เปดรับสมัครและพิจารณาจัดสรร ของกรรมการทุนประจํา
ทุน 1ครั้ง/ปการศึกษา)
คณะฯ
ทุนนักศึกษา เปนผูมีเวลาวางสามารถ รับสมัครในภาคเรียนที่ 1 ชั่วโมงละ 40 บาท
ชวยงาน ชวยเหลืองานอาจารย/ และ 2 ของปการศึกษา ปฏิบัติงาน 100 ชั่วโมง/
หนวยงานในสังกัดคณะ ภาคการศึกษา
นิติศาสตรได
ทุนนักกิจกรรม เปนนักศึกษาชั้นปที่ 3 ขึ้น รับสมัคร ณ หนวยพัฒนา 3,000. บาท/ ทุน
ดีเดน ไปมีผลงานดานผูนําองคกร คุณภาพนักศึกษา ในภาค
หรือการทํากิจกรรม เรียนที่ 2 ของปการศึกษา
ทุนรางวัลเรียนดี เปนผูมีเกรดเฉลี่ยสะสม ไมมีการรับสมัคร คณะฯ
3.50 ขึ้นไป เปนผูคัดเลือกตามเกณฑ
ทุนจากหนวยงาน มีเงื่อนไขและรายละเอียด สมัครผานคณะนิติศาสตร จํานวน และมูลคาทุน
ภายนอกที่มอบให แตกตางกันขึ้นอยูกับเจาของ เวลาการรับสมัคร เดือน ขึ้นอยูกับเจาของ
คณะนิติศาสตร ทุน มิถุนายน 2564 ทุนการศึกษา
จัดสรร/พิจารณา (อาจมีการรับสมัครในชวงอื่นได
หากมีหนวยงานมอบทุนเพิ่มเติม
ภายหลังระยะเวลาดังกลาว)
ทุนมหาวิทยาลัยฯ เปนนักศึกษาภาคปกติ เปดรับสมัครผานระบบ ขึ้นอยูกับลําดับคะแนน
คณะนิติศาสตรที่ขาดแคลน CMUSIS ของผูขอทุนซึ่งพิจารณา
ทุนทรัพย เวลาการรับสมัคร เดือน จากขอมูลในแบบสมัครฯ
มิถุนายน 2564 และการสัมภาษณโดย
คณะกรรมการทุน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม
เคล็ดลับอยากบอกต่อ.....
นักศึกษาสามารถสมัครขอทุนการศึกษาของคณะฯ และทุนมหาวิทยาลัยฯ ได้พร้อมกัน แต่หาก
ผ่านการพิจารณาให้ได้รับทั้งทุนคณะฯ และทุนมหาวิทยาลัยพร้อมกัน นักศึกษาจะต้องเลือกรับเพียงทุนเดียว
เท่านั้นโดยเป็นทุนที่มีมูลค่าสูงที่สุด นอกจากนี้นักศึกษายังสามารถขอรับทุนได้แม้จะกู้กยศ.
112
112
เงินยืมฉุกเฉิน

เงินยืมฉุกเฉิน เงินยืมฉุกเฉินของคณะนิติศาสตร์เป็นเงินยืมที่มีวัตถุประสงค์เพื่อบริการให้กับนักศึกษา
ที่ประสบปัญหาขาดสภาพคล่องทางการเงิน เช่น ผู้ปกครองส่งเงินค่าครองชีพให้ไม่ทัน นักศึกษาทำ�เงินหาย เป็นต้น
โดยเงินยืมในส่วนนี้จะไม่มีการคิดดอกเบี้ยใดๆทั้งสิ้น ในส่วนของการยืมเพื่อนำ�ไปชำ�ระค่าเทอมนั้น ไม่สามารถทำ�ได้
แต่หากนักศึกษามีเงินชำ�ระค่าเทอมอยู่จำ�นวน 80% หรือมากกว่า ของจำ�นวนค่าเทอมทั้งหมด หรือตามเห็นสมควร
จากคณะกรรมการผู้มีอ�ำ นาจพิจารณา นักศึกษาสามารถทำ�เรื่องร้องขอยืมเงินฉุกเฉินจากคณะนิติศาสตร์ได้เป็น
กรณีพิเศษ

การยืม
นักศึกษาที่ต้องการจะยืมเงินฉุกเฉินสามารถทำ�เรื่องร้องขอและรับแบบฟอร์มยืมเงินฉุกเฉินได้ที่หน่วยพัฒนาคุณภาพ
นักศึกษา คณะนิติศาสตร์ ชั้น 1 ฝั่งสำ�นักงาน (พี่บลู)
หมายเลขโทรศัพท์ 053-942919
การคืน
เมื่อถึงกำ�หนดชำ�ระ นักศึกษาสามารถคืนได้ทั้งเงินสด และการโอนผ่านบัญชี โดยต้องมาทำ�การติดต่อเจ้าหน้าที่ก่อนคืน
เงินทุกครั้ง ที่หน่วยพัฒนาคุณภาพนักศึกษา คณะนิติศาสตร์ ชั้น 1 ฝั่งสำ�นักงาน (พี่บลู)
หมายเลขโทรศัพท์ 053-942919

การผ่อนผันการเกณฑ์ทหาร

นักศึกษาชายซึ่งไม่ได้ศึกษาวิชาทหาร หรือศึกษาแต่ไม่สำ�เร็จการศึกษาชั้นปีที่ 3 เมื่ออายุครบ 20 ปี บริบูรณ์


จะต้องเข้ารับการตรวจเลือกเข้ารับราชการทหารกองประจำ�การในปีถัดไป ทั้งนี้นักศึกษาสามารถดำ�เนินการขอผ่อนผัน
การเกณฑ์ทหารได้ โดยแจ้งความประสงค์ขอผ่อนผันฯ และส่งเอกสารตามกำ�หนดการประจำ�ปี ติดตามข่าวสารการขอ
ผ่อนผันฯ ได้จาก Facebook page : ผ่อนผันทหารฯ CMU
เอกสารที่ใช้ประกอบการขอผ่อนผันฯ
1. หนังสือรับรองสถานภาพนักศึกษา ฉบับจริง 1 ฉบับ
1.1 ระดับปริญญาตรี ขอได้ที่สำ�นักทะเบียนและประมวลผล มช.
1.2 ระดับบัณฑิตศึกษา ต้องติดภาพถ่ายขนาด 1 นิว้ พร้อมประทับตราของบัณฑิตศึกษาทีม่ มุ ล่างด้านขวาของรูปถ่าย
2. สำ�เนาหนังสือรับรองสถานภาพนักศึกษา 1 ฉบับ (ลงนามรับรอง)
3. สำ�เนา สด.9 ถ่ายให้อยูใ่ นกระดาษแผ่นเดียวกัน(คนละหน้า) ***ถ่ายแบบหน้า-หลัง*** 1 ฉบับ (ลงนามรับรองทัง้ 2 ด้าน)
4. สำ�เนา สด.35 ด้านหน้าอย่างเดียว 1 ฉบับ (ลงนามรับรอง)
5. สำ�เนาบัตรประจำ�ตัวประชาชน 1 ฉบับ *** เห็นหน้าชัดเจน*** (ลงนามรับรอง)
6. สำ�เนาทะเบียนบ้าน หน้าที่ระบุบ้านเลขที่ และหน้าที่มีชื่อนักศึกษา 1 ฉบับ (ลงนามรับรอง)
7. สำ�เนาใบเปลี่ยนชื่อ-สกุล (ถ้ามีการเปลี่ยนชื่อ-สกุล)

113
113
คณะนิติศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรซึ่งส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาในด้านทักษะในศตวรรษ
ที่ 21 และการเป็นพลเมือง ตลอดทั้งสอดคล้องตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษา (TQF) โดยนักศึกษาสามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ตามความสนใจ อาทิ ค่ายLaw อาสาพัฒนาชนบท
ชมรมAlsa กิจกรรมSportday&Spiritnight กิจกรรมขันโตกนิติศาสตร์ เป็นต้น

114
114
115
115
สโมสรนักศึกษาคณะนิติศาสตร์

นายพรชัย อินบุญ
นายกสโมสรนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ ประจำ�ปีการศึกษา 2564

“พี่ต๋องแต๋ง”
ในนามนายกสโมสรนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่ ปีการศึกษา 2564 ขอแสดงความยินดีแก่น้อง ๆ นักศึกษา
ใหม่คณะนิติศาสตร์ทุกคน ที่เข้ามาเป็นลูกช้างในรั้วสีม่วงแห่งนี้
ในการเรียนระดับมหาวิทยาลัยย่อมมีความแตกต่างไปจากระดับมัธยม
เป็นธรรมดา ซึ่งน้อง ๆ ทุกคนอาจต้องมีการปรับตัวเพื่อให้เข้ากับทั้ง
สภาพการเรียนรวมถึงสภาพสังคม
หนึ่งในจุดเด่นของคณะนิติศาสตร์เราที่พี่สามารถเห็นได้ชัดตั้งแต่เข้ามาศึกษาเมื่อครั้งยังเป็นนักศึกษาใหม่เหมือนน้องทุกคนคือ
คณะเราเป็นคณะที่อบอุ่น สภาพสังคมภายในคณะเอื้อแก่การทำ�ความรู้จักมักคุ้นกัน มีการช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ซึ่งกันและกัน ถือว่าเป็น
ปัจจัยที่จะทำ�ให้น้องนักศึกษาใหม่สามารถปรับตัวเข้าสู่สภาพการดำ�รงชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัยได้อย่างมีคุณภาพและไม่ติดขัด
ทางสโมสรนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ก็ได้มีการจัดเตรียมกิจกรรมโดยคาดหวังให้เป็นสื่อกลางให้น้องนักศึกษาใหม่ทุกคนสามารถ
ทำ�ความรู้จักกันได้ง่ายยิ่งขึ้น ทั้งยังเป็นการส่งเสริมและพัฒนาทักษะในการดำ�รงชีวิตในคณะนิติศาสตร์ทั้งด้านเรียนและการใช้ชีวิตอีก
ประการหนึ่ง
นโยบายผลักดันของสโมสรนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ในวาระดำ�รงตำ�แหน่งปีการศึกษา 2564 นี้ มุ่งเน้นให้เกิดการเสริมสร้างความ
สัมพันธ์ระหว่างนักศึกษาภายในคณะ ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมนักศึกษาสัมพันธ์ระหว่างรุ่นเดียวกัน รุ่นพี่ รวมถึงชมรมและกลุ่มกิจกรรม
นักศึกษาต่าง ๆ ให้มีการทำ�ความรู้จักกันอย่างทั่วถึง สามารถเป็นที่พึ่งพาซึ่งกันและกันได้ดีในการเรียนระดับมหาวิทยาลัย ทั้งยังส่งเสริม
คุณภาพผู้เรียนและเป็นส่วนหนึ่งในการประชาสัมพันธ์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผ่านกิจกรรมวันวิชาการ ซึ่งกลุ่มเป้าหมาย
คือนักศึกษาภายในคณะ รวมไปถึงนักเรียนในระดับมัธยมทั่วประเทศมากกว่าการสร้างเสริมคุณภาพและความสัมพันธ์ของนักศึกษา คือ
การประกันคุณภาพชีวิตและประโยชน์ของนักศึกษาที่พึงได้รับ ทางสโมสรนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ได้มีการจัดเตรียมในการสร้างสื่อกลาง
ในการเผยแพร่ข้อมูล ประชาสัมพันธ์และตอบข้อซักถามรายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำ�เนินชีวิตของนักศึกษาคณะนิติศาสตร์
ในรูปแบบของไลน์ NITI BOT ซึ่งอยู่ในขั้นตอนการศึกษาและทดลองใช้งาน โดยหวังจะเป็นแนวทางแก่สโมสรนักศึกษาในวาระต่อไปเพื่อ
อำ�นวยความสะดวกแก่นักศึกษาคณะนิติศาสตร์ทุกคนทุกชั้นปี ทั้งในปีการศึกษาดังกล่าว จะมีผลักดันการจัดระเบียบการใช้บริการอาคาร
เรียนและบริหารคณะนิติศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็นที่จอดรถ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานที่อ่านหนังสือ โดยผลักดันให้มีสถานที่อ่านหนังสือในช่วง
การสอบนอกเหนือจากห้องอ่านหนังสือชั้นลอยเพื่อสงวนสิทธิ์แก่นักศึกษาศึกษาคณะนิติศาสตร์ ทั้งยังเพื่อให้เพียงพอและตอบสนองต่อ
ความต้องการของนักศึกษา และส่งเสริมสิทธิ เสรีภาพทางความคิดและการแสดงออกของนักศึกษาภายใต้อตั ลักษณ์ “นิตศิ าสตร์เพือ่ สังคม”

116
116
สโมสรนักศึกษาคณะนิติศาสตร์

ในส่วนของนโยบายสานต่อทีไ่ ด้มกี ารจัดกิจกรรมต่อเนือ่ งเป็นประจำ�ทุกปี สโมสร


นักศึกษาคณะนิติศาสตร์ได้มีการพัฒนา ปรับปรุงแก้ไขกิจกรรมให้มีความสอดคล้อง
ต่อสถานการณ์และยุคสมัยที่เปลี่ยนไป โดยพัฒนากิจกรรมขันโตกสัมพันธ์และ
กิจกรรมทูตกิจกรรมแห่งคณะนิติศาสตร์เป็นกิจกรรม LAW CMU Cheer Show เพื่อให้
นักศึกษาคณะนิติศาสตร์ทุกคนสามารถมีส่วนร่วม แสดงศักยภาพและความสามารถ
พิเศษของตนได้ในกิจกรรมดังกล่าวอย่างเต็มที่ ทั้งยังพัฒนากิจกรรมสืบสาน
ปณิธานตราชูให้อยู่ร่วมสมัย โดยให้ความสำ�คัญกับสิ่งที่เป็นปณิธานตราชู ที่แท้จริง
มากไปกว่ า นั้ น ให้ คื อ การไม่ ใ ห้ กิ จ กรรมดั ง กล่ า วเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง การลดทอนสิทธิ
มนุษยชนทั้งทางตรงและทางอ้อม นายธนบูรณ์ชัย สิทธิปัญญา
รองนายกฯฝ่ ายกีฬาและนันทนาการ และพัสดุ
นอกจากนี้สโมสรนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ได้สานต่อกิจกรรมที่สร้างสรรค์ที่ได้มี
การจัดสืบต่อมากันมา โดยเป็นในรูปแบบการพัฒนากิจกรรม ได้แก่
- พัฒนาค่ายนักกฎหมาย (Law camp) เพื่อให้นักเรียนในชั้นมัธยมปลายที่มี
ความสนใจเกี่ยวกับการศึกษากฎหมายได้เข้าร่วม
- พัฒนากิจกรรมค่ายพัฒนานักศึกษาใหม่และกิจกรรมเปิดโลกชมรม
เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษาใหม่ รวมถึงชี้แจงรายละเอียด แนวทางการ
ศึกษาในคณะนิ ติ ศ าสตร์ ม หาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ อี ก ทั้งประชาสัมพันธ์ชมรมเพื่อให้
นักศึกษาใหม่มีแนวทางอย่างหลากหลายในการเลือกชมรมตามความสนใจและไม่จำ�กัด
เพราะชมรมคือกลุ่มคนที่มีความสนใจในสิ่งเดียวกัน
- พัฒนากิจกรรมตราชูพี่ติวน้องในรูปแบบใหม่ ให้สอดรับกับสถานการณ์
นางสาวณัฐนันท์ แสงสุวรรณ โรคระบาดและความสนใจของนักศึกษาในปัจจุบัน
รองนายกฯฝ่ายบริหารงานทั่วไป
- สานต่อกิจกรรม รอ (LAW) อาสาพัฒนาชนบท
- พัฒนากิจกรรม LAW CMU E-Sport และบอร์ดเกม
ท้ายนี้สโมสรนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ วาระดำ�รงตำ�แหน่งปีการศึกษา 2564
คาดหวังให้นโยบายที่ตั้งไว้ ทั้งนโยบายผลักดันและสานต่อ บรรลุตามความประสงค์
ของนโยบาย เป็นไปเพื่อประโยชน์ของนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ทุกคน มากไปกว่านั้น
เรามีความคาดหวังให้นักศึกษาคณะนิติศาสตร์ทุกคนเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อน
นโยบายเหล่านี้เช่นเดียวกัน

นางสาวปรางวลัย มั่นสุ่ม นางสาวฤทัยชนก ศรีคำ�ม้วน - นางสาวรวมหทัย บุญสม


รองนายกฯฝ่ายวิชาการ เลขานุการ 117
117
118
118
ALSA

เทนนิส

119
119
บอร์ดเกมส์

ฟุตบอล

120
120
บาสเกตบอล

แบดมินตัน

121
121
เปตอง

รักบี้

122
122
ผู้นำ�เชียร์

พยาบาล

123
123
มวย

สันทนาการ

124
124
125
125
ถาม... อะไรความแตกต่าง และความเหมือนระหว่างการ
เรียนของนิติศาสตร์ภาคปกติ และภาคพิเศษ ?

ตอบ...
- ความแตกต่างระหว่างนักศึกษาภาคปกติและภาคพิเศษ คือ

1. ค่าธรรมเนียมการศึกษา ทั้งสองหลักสูตรมีการชำ�ระค่าธรรมเนียมแบบเหมาจ่าย
โดยมีรายละเอียด ดังนี้
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ภาคปกติ
ภาคการศึกษาปกติ ภาคการศึกษาละ 15,000.- บาท
ภาคฤดูร้อน ภาคการศึกษาละ 7,500.- บาท
หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ภาคพิเศษ
ภาคการศึกษาปกติ ภาคการศึกษาละ 22,000.- บาท
ภาคฤดูร้อน ภาคการศึกษาละ 11,000.- บาท
2. เวลาในการเข้าชัน้ เรียน โดยนักศึกษาภาคปกติจะเข้าชัน้ เรียนในวันจันทร์ถงึ วันศุกร์เวลา
08.00-16.00 น. และภาคพิเศษนักศึกษาจะเข้าชั้นในวันจันทร์ถึงวันศุกร์เวลา 16.30-
19.30 น. และวันเสาร์ถึงวันอาทิตย์ ในเวลา 09.00-16.00 น. ทั้งนี้นักศึกษาภาคปกติ
อาจมีการเรียนร่วมกับนักศึกษาภาคพิเศษในเวลานอกราชการในกรณีที่คณะฯได้มีการ
เชิญอาจารย์พิเศษ หรือผู้ทรงคุณวุฒิมาสอนในบางรายวิชา

- ความเหมือนของนักศึกษาภาคปกติและภาคพิเศษ คือ
1. เมื่อจบการศึกษานักศึกษาจะได้รับปริญญาบัตร นิติศาสตรบัณฑิต ซึ่งทรงศักดิ์และ
สิทธิแห่งปริญญาบัตรเท่าเทียมกัน
2. นักศึกษาทั้งภาคปกติ และภาคพิเศษ เรียนในหลักสูตรเดียวกันซึ่งหมายความว่า
นักศึกษามีกระบวนวิชาเรียนที่เหมือนกัน และมีสิทธิ์เลือกแผนการศึกษาของตนเมื่อ
ศึกษาในชั้นปี 3 ได้เหมือนกัน

126
126
ถาม... ค่าธรรมเนียมการศึกษา(ค่าเทอม)ของ
นั ก ศึ ก ษาผู้ ป กครองสามารถนำ � ใบเสร็ จ ไปเบิ ก
จ่ายกับหน่วยงานของตนได้หรือไม่ ?
ตอบ...ได้ ซึ่งมีขั้นตอนการดำ�เนินการ ดังนี้
- นักศึกษาสามารถใช้ใบ มชท.50 ในการเบิกจ่ายฯได้โดยแนบอัตรา
และเกณฑ์ ก ารจั ด สรรค่ า ธรรมเนี ย มการศึกษาระดับปริญญาตรี
ของคณะนิตศิ าสตร์ ซึง่ download ได้จากเว็บไซต์คณะนิตศิ าสตร์
www.law.cmu.ac.th
หมายเหตุ:การเบิกจ่ายนั้นจะเป็นไปตามระเบียบของหน่วยงานที่
ผู้ปกครองสังกัด

ถาม... สามารถขอผ่อนผันการชำ�ระ
ค่าธรรมเนียมการศึกษาได้หรือไม่
ตอบ...ในช่วงเวลาปกติไม่สามารถทำ�ได้ทั้งนี้หากเลยกำ�หนด
นักศึกษาจะถูกยกเลิกการทะเบี ยน และต้ องติ ดต่ องานบริ การ
การศึกษาเพื่อดำ�เนินการขอลงทะเบียนหลังกำ�หนดเป็นกรณีพิเศษ
พร้อมชี้แจงเหตุผลที่ไม่สามารถชำ�ระค่าธรรมเนียมการศึกษาตาม
กำ�หนด แต่ในปีการศึกษา 2564 เกิดสถานการณ์ไม่ปกติเนื่องจาก
การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 ทางมหาวิทยาลัยได้ออก
มาตรการช่วยเหลือนักศึกษา โดยนักศึกษาสามารถยื่นคำ�ร้องขอรับ
การช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนฯได้ในระบบ CMU Scholarship
(http://scholarship.mis.cmu.ac.th)

127
127
ถาม...ค่าธรรมเนียมการศึกษา(ค่าเทอม)ของ
นักศึกษาสามารถชำ�ระได้ในช่องทางใดบ้าง ?
ตอบ...
1. การตัดเงินผ่านบัญชีนักศึกษา ในการรายงานเป็นนักศึกษา
นักศึกษาจะได้เปิดบัญชีออมทรัพย์ และทำ�บัตรนักศึกษาโดยธนาคารไทย
พาณิชย์ซึ่งเป็นบัตร ATM ด้วย ซึ่งนักศึกษาสามารถแจ้งกับทางธนาคาร
ให้ตัดค่าธรรมเนียมการศึกษาผ่านบัญชีได้ โดยมีค่าธรรมเนียม 10 บาท
ดังนั้นยอดเงินต้องต้องมีเพียงพอกับค่าเทอมและค่าธรรมเนียม หาก
ยอดเงินในบัญชีไม่เพียงพอทางธนาคารจะไม่ดำ�เนินการตัดบัญชี (การ
ชำ�ระเงินโดยวิธีการนี้หากผู้ปกครองต้องการเอกสารไปเบิกจ่ายกับต้น
สังกัด ทางนักศึกษาจะต้องนำ�สมุดบัญชีไปขอใบเสร็จรับเงินจากกองคลัง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
2. การชำ�ระเงินสดที่เคาเตอร์ธนาคาร นักศึกษา หรือผู้ปกครองสั่ง
พิมพ์ใบมชท.50 (แบบสรุปการลงทะเบียน) จากเว็บไซต์ของสำ�นักทะเบียน
http://www1.reg.cmu.ac.th แล้วนำ�ไปจ่ายที่เคาเตอร์ธนาคารตามที่แจ้ง
ในเอกสารดังกล่าว ซึ่งเมื่อชำ�ระเงินแล้วผู้ปกครองสามารถใช้เอกสารดัง
กล่าวเพื่อเบิกจ่ายค่าเทอมกับต้นสังกัดได้เลย
3. การชำ�ระผ่านบัตรเครดิต เจ้าของบัตรเครดิตต้องไปทำ�การชำ�ระที่
กองคลังมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เท่านัน้
4. การชำ�ระค่าธรรมเนียมการศึกษาผ่าน QR CODE นักศึกษา หรือ
ผู้ปกครองสั่งพิมพ์ใบมชท.50 (แบบสรุปการลงทะเบียน) จากเว็บไซต์ของ
สำ�นักทะเบียน http://www1.reg.cmu.ac.thแล้วสแกน QR CODE เพื่อชำ�ระ
เงิน
หมายเหตุ : ผู้ปกครองที่ต้องใช้เอกสารเพื่อเบิกจ่ายกับต้นสังกัด ขอ
แนะนำ�การชำ�ระโดยการชำ�ระเงินสดที่เคาเตอร์ธนาคารเพื่อความสะดวกใน
การรับเอกสารเพื่อการเบิกจ่าย

128
128
ถาม... นักศึกษาที่ เป็ นบุ ตร หลานของข้ า ราชการ
ส า ม า ร ถ ข อ กู้ ยื ม เ งิ น ก อ ง ทุ น ใ ห้ กู้ ยื ม เ พื่ อ ก า ร
ศึกษา (กยศ.) ได้ ห รื อไม่ ?

ตอบ... ได้ หากรายได้ของผู้ปกครอง และคู่สมรส มีรายได้รวม


กันแล้วไม่เกิน 360,000.- บาท/ปี ทั้งนี้การนับรายได้จะนับรายได้
เต็ม มิได้นับรายได้ที่หักค่าใช้จ่ายแล้ว

ถาม... หากนักศึกษาทำ � การกู ้ ย ื มกองทุ นให้ ก ู ้ ย ื ม


เพื่อการศึกษา (กยศ.) แล้ ว จะสามารถขอทุ นการ
ศึก ษาได้ห รือ ไม่ ?
ตอบ.. ได้ เนื่องจากการกู้กยศ. ไม่นับว่าเป็นทุนนักศึกษา นักศึกษา
จึงสามารถสมัครขอรับทุนการศึกษาของคณะฯ และมหาวิทยาลัยได้
เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระของผู้ปกครองอีกทางหนึ่ง

ถ า ม . . . ค ณ ะ นิ ติ ศ า ส ต ร์ มี ทุ น ก า ร ศึ ก ษ า สำ � ห รั บ
นักศึกษาในสังกัด หรื อไม่ ?
ตอบ.. มี คณะนิติศาสตร์ได้มีการจัดสรรทุนการศึกษาสำ�หรับนักศึกษาผู้
ขาดแคลนทุนทรัพย์ทุกปีการศึกษา ทั้งนี้หากนักศึกษามีความจำ�เป็นต้อง
ใช้เงินฉุกเฉิน อาจเพราะทางบ้านส่งเงินมาให้ไม่ทัน, กระเป๋าสตางค์หาย
หรือด้วยเหตุผลอันสมควรนักศึกษาสามารถทำ�เรื่องขอยืมเงินฉุกเฉิน
จากคณะฯ (ปลอดดอกเบี้ย) ได้ แล้วนำ�เงินมาคืนคณะฯตามที่ได้ตกลงไว้
ในสัญญาฯ
129
129
ถ า ม . . . ห า ก นั ก ศึ ก ษ า มี ปั ญ ห า ด้ า น ก า ร เ รี ย น
หรื อ การใช้ ช ี วิ ต ในมหาวิ ท ยาลั ย สามารถปรึ ก ษา
ใครได้บ้าง ?
ตอบ...
1. อาจารย์ที่ปรึกษา นักศึกษาใหม่ทุกคนจะมีอาจารย์ที่ปรึกษา ซึ่ง
นักศึกษาสามารถขอรับคำ�ปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษาได้ทั้งปัญหาด้าน
การเรียน และการใช้ชีวิต
2. ฝ่ายให้คำ�ปรึกษาด้านการเรียน และการใช้ชีวิต ในบางครั้งที่
นักศึกษามีปัญหาอาจไม่สามารถติดต่ออาจารย์ที่ปรึกษา หรืออาจเป็น
ปัญหาเร่งด่วน นักศึกษาสามารถขอรับคำ�ปรึกษาจากฝ่ายให้คำ�ปรึกษา
ด้านการเรียน และการใช้ชีวิต โดยนักศึกษาสามารถเข้าไปกรอกข้อมูล และ
วัน เวลาที่ต้องการนัดหมายเพื่อขอรับคำ�ปรึกษาได้ในเว็บไซต์ http://www.
law.cmu.ac.th/law2011/life.php
3. รุ่นพี่ และเพื่อน
4. อาจารย์ประจำ�กระบวนวิชา

130
130
131
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ว่าด้วยเครื่องแบบนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่
พ.ศ. ๒๕๕๕
-----------------

เพื่อให้การแต่งกายของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย เหมาะสม
และสวยงาม เป็นที่ยอมรับแก่สังคม เป็นเกียรติและศักดิ์ศรีแก่นักศึกษาและมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และ
สอดคล้องกับการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๒๕ (๓) และมาตรา ๗๐ แห่งพระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๑ และมติที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในคราวประชุมครั้งที่
๑/๒๕๕๕ เมื่อวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๕ จึงออกข้อบังคับว่าด้วยเครื่องแบบนักศึกษา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ข้อบังคับนีเ้ รียกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่าด้วยเครื่องแบบนักศึกษา มหา-
วิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๕”
ข้อ ๒ ข้อบังคับนีใ้ ห้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ในข้อบังคับนี้
“มหาวิทยาลัย” หมายความว่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
“คณะ/วิทยาลัย” หมายความว่า ส่วนงานวิชาการที่มีการเรียนการสอนนักศึกษา
“อธิการบดี” หมายความว่า อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
“นักศึกษา” หมายความว่า นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่
“เครื่องแบบ” หมายความว่า เครื่องแบบนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ข้อ ๔ ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามข้อบังคับนี้ ในกรณีมีปัญหาในทางปฏิบัติตามข้อบังคับนี้
ให้อธิการบดีเป็นผู้วนิ ิจฉัยชี้ขาด

หมวด ๑
บททั่วไป

ข้อ ๕ นักศึกษามีสทิ ธิใช้เครื่องแบบนักศึกษาตามแบบที่กาหนดในข้อบังคับนี้


ข้อ ๖ นักศึกษาที่เข้าชัน้ เรียน เข้าห้องสอบ หรือติดต่อหน่วยงานของมหาวิทยาลัย ให้แต่งกาย
ดังนี้
132
132

(๑) ในวันและเวลาราชการ ให้นักศึกษาแต่งกายด้วยเครื่องแบบปกติ เว้นแต่นักศึกษาที่


ฝึกงานภาคปฏิบัติ ให้สวมใส่ชุดฝึกงานตามแบบที่คณะ/วิทยาลัยกาหนด
(๒) ในวันหยุดราชการ หรือนอกเวลาราชการ ให้นักศึกษาแต่งกายด้วยชุดสุภาพ
ในวันศุกร์ของทุกสัปดาห์นักศึกษาอาจแต่งกายด้วยชุดไทยหรือชุดพืน้ เมืองตามที่มหาวิทยาลัย
กาหนด
ข้อ ๗ นักศึกษาที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานพิธีการ งานพระราชพิธี งานรัฐพิธี หรืองาน
พิเศษอื่น ๆ ให้แต่งกายด้วยเครื่องแบบในโอกาสพิเศษ หรือตามแบบที่กาหนดไว้ในแต่ละพิธี หรือแต่ละ
โอกาสนั้น ๆ

หมวด ๒
เครื่องแบบปกติ
ส่วนที่ ๑
นักศึกษาระดับปริญญาตรี

ข้อ ๘ เครื่องแบบนักศึกษาชาย ประกอบด้วย


(๑) เสื้อเชิต้ สีขาวเกลีย้ งไม่มีลวดลาย ปกเสื้อแบบคอเชิ้ตปลายแหลม ตัวเสือ้ ผ่าอกโดย
ตลอด ติดกระดุมสีขาวขนาดเล็ก มีกระเป๋าติดแนวอกด้านซ้าย ขนาดพอเหมาะกับเสื้อ แขนเสือ้ ใช้แบบ
ธรรมดาไม่พับแขนเสื้อ ความยาวของตัวเสื้อให้ยาวพอเหมาะ เพื่อให้ขอบกางเกงทับได้โดยเรียบร้อย
(๒) กางเกงขายาวแบบสากล สีดา สีเทา สีน้าตาล หรือสีกรมท่า
(๓) เข็มขัดหนังหรือหนังกลับสีดา มีหัวเข็มขัดทาด้วยโลหะสีเงิน เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
มีตรามหาวิทยาลัยหรือตราประจาคณะ/วิทยาลัย
(๔) รองเท้าหุ้มส้นสีและแบบสุภาพ
(๕) ถุงเท้าสีและแบบสุภาพ
สาหรับนักศึกษาชั้นปีที่ ๑ ให้ผูกเนคไทสีมว่ ง และใช้หัวเข็มขัดตรามหาวิทยาลัย
ข้อ ๙ เครื่องแบบนักศึกษาหญิง ประกอบด้วย
(๑) เสื้อเชิต้ สีขาวเกลีย้ งไม่มีลวดลาย ปกเสื้อแบบคอเชิ้ตปลายแหลม ตัวเสือ้ ผ่าอกโดย
ตลอด มีสาบเสื้อ ติดกระดุม ๔ หรือ ๕ เม็ด กระดุมเสือ้ ให้ใช้กระดุมโลหะสีเงินดุนเป็นรูปตรา
มหาวิทยาลัย แขนเสื้อใช้แบบแขนสัน้ ธรรมดา ความยาวของตัวเสื้อให้ยาวพอเหมาะ เพื่อให้ขอบ
กระโปรงทับได้โดยเรียบร้อย
(๒) เข็มกลัดเสือ้ ตรามหาวิทยาลัย กลัดเหนืออกเบือ้ งซ้าย
(๓) กระโปรงแบบเรียบสุภาพ สีดา สีเทา สีน้าตาล หรือสีกรมท่า ความยาวคลุมเข่า
(๔) เข็มขัดหนังหรือหนังกลับสีดา มีหัวเข็มขัดทาด้วยโลหะสีเงิน เป็นรูปสี่เหลี่ยม มีตรา
มหาวิทยาลัยหรือตราประจาคณะ/วิทยาลัย
133
133

(๕) รองเท้าหุ้มส้นสีและแบบสุภาพ
สาหรับนักศึกษาชั้นปีที่ ๑ ให้สวมรองเท้าหุม้ ส้นสีขาว ถุงเท้าสั้นสีขาวไม่มีลวดลาย และ
ใช้หัวเข็มขัดตรามหาวิทยาลัย

ส่วนที่ ๒
นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

ข้อ ๑๐ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาชายและหญิง ให้แต่งกายสุภาพ สวมรองเท้าหุ้มส้น สี


และแบบสุภาพ

หมวด ๓
เครื่องแบบในโอกาสพิเศษ
ส่วนที่ ๑
นักศึกษาระดับปริญญาตรี

ข้อ ๑๑ เครื่องแบบนักศึกษาชายที่ใช้ในโอกาสพิเศษ ประกอบด้วย


(๑) เสื้อเชิต้ สีขาวแขนยาวไม่มีลวดลาย
(๒) กางเกงขายาวแบบสากลสีขาว
(๓) รองเท้าหุ้มส้นสีดา ไม่มีลวดลาย มีเชือกผูก
(๔) ถุงเท้าสีดา
(๕) เข็มขัดหนังหรือหนังกลับสีดา มีหัวเข็มขัดทาด้วยโลหะสีเงินเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าดุน
เป็นรูปตรามหาวิทยาลัย
(๖) เนคไทสีมว่ ง
(๗) เข็มกลัดเนคไทตรามหาวิทยาลัย
ข้อ ๑๒ เครื่องแบบนักศึกษาหญิงที่ใช้ในโอกาสพิเศษ ประกอบด้วย
(๑) เสื้อทาด้วยผ้าสีขาวเกลี้ยง ไม่มลี วดลาย มีความหนาพอสมควร ปกเสื้อแบบคอเชิ้ต
ปลายแหลม ตัวเสื้อผ่าอกโดยตลอด มีสาบเสื้อ ติดกระดุม ๔ หรือ ๕ เม็ด กระดุมให้ใช้กระดุมโลหะสีเงินดุน
เป็นรูปตรามหาวิทยาลัย แขนเสือ้ สั้นเหนือศอก ความยาวของตัวเสือ้ ให้ยาวพอเหมาะ เพื่อให้ขอบ
กระโปรงทับได้โดยเรียบร้อย
(๒) กระโปรงสีม่วงแบบเรียบทรงตรง ความยาวคลุมเข่า ผ่าด้านหลัง
(๓) เข็มขัดหนังหรือหนังกลับสีดา หัวเข็มขัดทาด้วยโลหะสีเงินเป็นรูปสี่เหลี่ยมดุนเป็นรูป
ตรามหาวิทยาลัย
134
134

(๔) เข็มกลัดเสือ้ ตรามหาวิทยาลัย กลัดเหนืออกด้านซ้าย


(๕) รองเท้าหุ้มส้นสีดา

ส่วนที่ ๒
นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

ข้อ ๑๓ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาชายและหญิง ให้ใช้เครื่องแบบในโอกาสพิเศษเช่นเดียวกับ


นักศึกษาระดับปริญญาตรี

หมวด ๔
บทลงโทษ

ข้อ ๑๔ นักศึกษาผูใ้ ดที่มีเจตนาฝ่าฝืนการแต่งกายตามข้อบังคับนี้ ให้ดาเนินการทางวินัย ตาม


ข้อบังคับว่าด้วยวินัยและการดาเนินการทางวินัยนักศึกษา
ข้อ ๑๕ ผูใ้ ดใช้เครื่องแบบนักศึกษา หรือแต่งกายนักศึกษาตามข้อบังคับนี้ โดยไม่มีสทิ ธิที่จะใช้
ให้ดาเนินการตามบทกาหนดโทษ แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. ๒๕๕๑

ประกาศ ณ วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕

(ลงนาม) เกษม วัฒนชัย


(ศาสตราจารย์เกียรติคุณเกษม วัฒนชัย)
นายกสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่

135
135
ข้ อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ว่ าด้ วยวินัยและการดาเนินการทางวินัยนักศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๓
------------------------------

เพื่อให้บรรลุตามปณิ ธานของมหาวิทยาลัยในการสร้างคนดี รักษาไว้ซ่ ึ งชื่อเสี ยง เกียรติคุณของ


มหาวิทยาลัย ส่ งเสริ มการสร้างความมีวนิ ยั ความรัก ความสามัคคี และการมีมารยาทอันดีของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๒๕ (๓) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ.
๒๕๕๑ และมติที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในการประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๒๗ มีนาคม
๒๕๕๓ จึงให้ตราข้อบังคับว่าด้วยวินยั และการดาเนินการทางวินยั นักศึกษาไว้ดงั ต่อไปนี้
ข้อ ๑ ข้อบังคับนี้เรี ยกว่า “ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ว่าด้วยวินยั และการดาเนิ นการทาง
วินยั นักศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓”
ข้อ ๒ ข้อบังคับนี้ให้ใช้บงั คับตั้งแต่วนั ถัดจากวันประกาศเป็ นต้นไป
ข้อ ๓ บรรดาความในข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่ง หรื อประกาศอื่นใดที่มีกล่าวไว้ในข้อบังคับนี้
แล้ว หรื อที่ขดั หรื อแย้งกับความในข้อบังคับนี้ ให้ใช้ขอ้ บังคับนี้แทน
ข้อ ๔ ในข้อบังคับนี้
“มหาวิทยาลัย” หมายถึง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
“คณะ” หมายถึง ส่ วนงานวิชาการที่มีนกั ศึกษาอยูใ่ นสังกัด
“สภามหาวิทยาลัย” หมายถึง สภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่
“อธิ การบดี” หมายถึง อธิ การบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
“หอพักนักศึกษา” หมายถึง หอพักที่สานักงานหอพักนักศึกษารับผิดชอบ
“นักศึกษา” หมายถึง นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ข้อ ๕ ให้อธิ การบดีเป็ นผูร้ ักษาการตามข้อบังคับนี้ และให้มีอานาจวินิจฉัยชี้ขาด ออกประกาศ
กาหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบตั ิเพื่อให้การเป็ นไปตามข้อบังคับนี้

หมวด ๑ วินัยและโทษทางวินัย
ส่ วนที่ ๑ วินัย

ข้อ ๖ นักศึกษาต้องปฏิบตั ิตามข้อบังคับ ระเบียบและประกาศของมหาวิทยาลัยทุกประการ และ


ต้องรักษาวินยั ที่กาหนดไว้ในส่ วนนี้ โดยเคร่ งครัดอยูเ่ สมอ

136
136

ข้อ ๗ นักศึกษาต้องรักษาความสามัคคีระหว่างกัน ต้องประพฤติตนเป็ นสุ ภาพชนพลเมืองที่ดี


ไม่กระทาการใด ๆ อันจะนาความเสื่ อมเสี ยแก่มหาวิทยาลัย และต้องรักษาไว้ซ่ ึ งความสงบเรี ยบร้อย และ
เกียรติภูมิของมหาวิทยาลัยในฐานะที่เป็ นสถาบันการศึกษาชั้นสู ง
ข้อ ๘ นักศึกษาจะต้องดารงตนให้เป็ นแบบอย่างที่ดีแก่สังคม ไม่แสดงตนหรื อกระทาการใด ๆ
ซึ่งเป็ นการวางตนเป็ นอภิสิทธิ์ ชนและทาให้ผอู้ ื่นเดือดร้อนหรื อเสี ยหาย
ข้อ ๙ นักศึกษาต้องเชื่อฟัง และแสดงความเคารพต่อคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยและต้องปฏิบตั ิ
ตามคาสั่งหรื อคาตักเตือนของผูป้ ฏิบตั ิงานในมหาวิทยาลัยที่ปฏิบตั ิหน้าที่โดยชอบ
ข้อ ๑๐ นักศึกษาต้องแต่งกายให้สุภาพเรี ยบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ ผูป้ ฏิบตั ิงานใน
มหาวิทยาลัยมีสิทธิ ที่จะไม่ให้บริ การแก่นกั ศึกษาที่แต่งกายไม่สุภาพเรี ยบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ
ข้อ ๑๑ นักศึกษาต้องแสดงบัตรประจาตัวนักศึกษา กรณี ถูกเรี ยกให้แสดงบัตรประจาตัวนักศึกษา
เพื่อการรักษาความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สินในบริ เวณพื้นที่ของมหาวิทยาลัย เพื่อความเป็ นระเบียบ
เรี ยบร้อยในการใช้บริ การใด ๆ ของมหาวิทยาลัย หรื อเพื่อความถูกต้องในตัวบุคคลเกี่ยวกับการทดสอบ
วัดผลอย่างใด ๆ
ข้อ ๑๒ นักศึกษาผูใ้ ดไม่ถือปฏิบตั ิตามข้อ ๖ ถึงข้อ ๑๑ ดังกล่าวข้างต้น หรื อกระทาการหรื อมี
พฤติการณ์ ดังต่อไปนี้ ให้ถือว่ากระทาผิดวินยั
(๑) ประพฤติผดิ ศีลธรรม จริ ยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ
(๒) ประพฤติตนหมกมุ่นในอบายมุข การพนัน การเที่ยวเตร่ สถานบริ การกลางคืน
เป็ นอาจิณ หรื อมีหนี้สินล้นพ้นตัว
(๓) ดื่มสุ รา หรื อของมึนเมา หรื อเสพสารเสพติดทุกชนิดภายในมหาวิทยาลัย
(๔) ก่อความขัดแย้ง สนับสนุน หรื อเป็ นผูย้ ยุ งส่ งเสริ มให้เกิดความไม่สงบเรี ยบร้อยใน
บริ เวณมหาวิทยาลัย เช่น การทะเลาะวิวาทระหว่างนักศึกษาในบริ เวณมหาวิทยาลัย
การส่ งเสี ยงดังหรื อการตะโกนส่ งเสี ยงยามวิกาล หรื อจงใจขับขี่ยานพาหนะใน
ลักษณะที่ก่อให้เกิดความไม่สงบเรี ยบร้อยภายในมหาวิทยาลัย ในลักษณะที่ก่อให้
เกิดความเดือดร้อนราคาญ
(๕) กระทาการใด ๆ อันเป็ นเหตุให้ทรัพย์สิน ประโยชน์ และความเป็ นปกติสุขของ
ส่ วนรวม หรื อของมหาวิทยาลัย ได้รับความเสี ยหาย
(๖) กระทาความผิดตามกฎหมายมีโทษทางอาญา เว้นแต่ความผิดที่กระทาโดยประมาท
(๗) กระทาการที่ก่อให้เกิดความเสี ยหายหรื อกระทบต่อความสงบเรี ยบร้อยภายใน
มหาวิทยาลัยหรื อก่อให้เกิดความเสื่ อมเสี ยต่อชื่อเสี ยงเกียรติคุณของมหาวิทยาลัย เช่น
ก. การครอบครอง พกพาอาวุธร้ายแรงโดยสภาพ เช่น ดาบ ปื น อาวุธที่ใช้
ในราชการสงคราม และวัตถุระเบิด
ข. การบุกรุ กเข้าไปในพื้นที่ซ่ ึงไม่ได้เปิ ดใช้เป็ นพื้นที่สาธารณะของมหาวิทยาลัย
หรื อเข้าไปในที่พกั อาศัย หรื อเข้าไปในที่รโหฐานอันเป็ นการรบกวนความ
เป็ นอยูโ่ ดยปกติสุขของผูอ้ ื่น

137
137

ค. กระทาผิดเกี่ยวกับทรัพย์ เช่น การลักทรัพย์ วิง่ ราวทรัพย์ การฉ้อโกง


การยักยอกทรัพย์ การทาให้เสี ยทรัพย์
ง. การปลอมแปลงเอกสาร และหรื อการใช้เอกสารปลอมเพื่อประโยชน์
แก่ตนเองหรื อผูอ้ ื่น
จ. จาหน่ายหรื อครอบครองสารเสพติดทุกชนิด เพื่อเสพ จาหน่าย หรื อจ่ายแจก
(๘) ประพฤติตนในลักษณะที่เป็ นปฏิปักษ์ต่อเกียรติศกั ดิ์ของความเป็ นนักศึกษา
หรื อเป็ นปฏิปักษ์ต่อการศึกษา เช่น
ก. ทุจริ ต หรื อกระทาการใดซึ่งเป็ นการทุจริ ตในการสอบ
ข. จงใจกระทาการ คัด ลอกเลียนแบบงานใด ๆ มาเป็ นวิทยานิพนธ์ หรื อ
การค้นคว้าอิสระของตนโดยมิชอบ
ข้อ ๑๓ การกระทาความผิดทางวินยั ในข้อ ๑๒ (๖) ถึง (๘) ให้ถือเป็ นการกระทาผิดวินยั ร้ายแรง
การกระทาความผิดทางวินยั ในข้อ ๑๒ (๑) ถึง (๕) กรณี เกิดผลเสี ยหายต่อชื่อเสี ยงเกียรติคุณของ
มหาวิทยาลัย หรื อความสงบเรี ยบร้อยของสังคมอย่างร้ายแรง ให้ถือเป็ นการกระทาผิดวินยั ร้ายแรง

ส่ วนที่ ๒ โทษทางวินัย

ข้อ ๑๔ โทษทางวินยั มี ๕ สถาน คือ


(๑) ทาทัณฑ์บน
(๒) ภาคทัณฑ์
(๓) ภาคทัณฑ์ และคุมความประพฤติเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตั้งแต่หนึ่งภาคการศึกษา
ถึงสองภาคการศึกษา
(๔) พักการศึกษา มีกาหนดตั้งแต่หนึ่งภาคการศึกษาถึงสี่ ภาคการศึกษา หรื อระงับ
การเสนอชื่อให้สาเร็ จการศึกษา มีกาหนดตั้งแต่หนึ่งภาคการศึกษาถึงสี่ ภาค
การศึกษา ในกรณี ที่ไม่สามารถพักการศึกษาได้
(๕) ลบชื่อออกจากการเป็ นนักศึกษา
การลงโทษต้องลงโทษให้เหมาะสมกับกรณี ความผิด หากมีเหตุอนั ควรปรานี จะงดโทษหรื อ
ลดโทษให้ก็ได้ เช่น ความผิดที่ไม่ร้ายแรงอาจงดโทษทาทัณฑ์บน ให้เหลือเพียงว่ากล่าวตักเตือนหรื อลดโทษ
ภาคทัณฑ์เป็ นทาทัณฑ์บน เป็ นต้น สาหรับความผิดวินยั ร้ายแรงการพิจารณาลงโทษจะลดโทษสถานเบากว่า
(๓) มิได้ เมื่อนักศึกษาถูกลงโทษทางวินยั ให้นกั ศึกษาผูน้ ้ นั ทางานบริ การสังคมหรื อสาธารณะประโยชน์
ด้วย
ข้อ ๑๕ ในกรณี การกระทาความผิดวินยั ที่ไม่ร้ายแรง ให้รองอธิการบดีที่รับผิดชอบด้านวินยั นักศึกษา
คณบดี ผูอ้ านวยการสานักงานหอพักนักศึกษา หรื อผูท้ ี่ได้รับมอบหมาย เป็ นผูส้ ั่งลงโทษ
ในกรณี การกระทาความผิดวินยั ร้ายแรง ให้อธิการบดี หรื อรองอธิการบดีที่อธิการบดีมอบหมาย
เป็ นผูส้ ั่งลงโทษ
138
138

สาหรับการพิจารณาโทษวินยั ของนักศึกษาที่มีอายุต่ากว่าสิ บแปดปี บริ บูรณ์ ให้ปฏิบตั ิตาม


ระเบียบกระทรวงศึกษาธิ การว่าด้วยการลงโทษนักเรี ยนและนักศึกษา ซึ่งออกตามความในกฎหมาย ว่าด้วย
การคุม้ ครองเด็ก

หมวด ๒
การรักษาวินัย
ส่ วนที่ ๑ คณะกรรมการวินัยนักศึกษา

ข้อ ๑๖ ให้มีคณะกรรมการวินยั เพื่อกากับดูแลเกี่ยวกับวินยั นักศึกษา ดังนี้


(๑) คณะกรรมการวินยั นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(๒) คณะกรรมการวินยั นักศึกษาประจาคณะ
(๓) คณะกรรมการวินยั หอพักนักศึกษา
ข้อ ๑๗ คณะกรรมการวินยั นักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประกอบด้วย
(๑) รองอธิการบดีที่รับผิดชอบด้านวินยั นักศึกษา เป็ นประธานกรรมการ
(๒) ผูช้ ่วยอธิการบดีที่รับผิดชอบด้านวินยั นักศึกษา (ถ้ามี) เป็ นรองประธานกรรมการ
(๓) ผูท้ รงคุณวุฒิทางด้านกฎหมาย ด้านพัฒนานักศึกษา
ด้านจิตวิทยา หรื อมีความเชี่ยวชาญทางการให้คาปรึ กษา
แก่เด็กและเยาวชน ซึ่ งอธิการบดีแต่งตั้ง จานวนไม่เกิน
๑๐ คน เป็ นกรรมการ
(๔) ผูอ้ านวยการกองกฎหมาย หรื อหัวหน้างานวินยั กองกฎหมาย เป็ นกรรมการ
(๕) ผูอ้ านวยการกองพัฒนานักศึกษา เป็ นกรรมการและเลขานุการ
(๖) หัวหน้างานวินยั กองพัฒนานักศึกษา เป็ นกรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ
ข้อ ๑๘ คณะกรรมการวินยั นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) เสนอการปรับปรุ งแก้ไขข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรื อคาสั่ง เกี่ยวกับงาน
วินยั นักศึกษาต่อมหาวิทยาลัย
(๒) จัดทาหลักเกณฑ์และวิธีพิจารณาสอบสวนทางวินยั นักศึกษา รวมทั้งหลักเกณฑ์
และวิธีพิจารณาอุทธรณ์ เสนอต่อมหาวิทยาลัย
(๓) พิจารณาเสนอการออกระเบียบ ประกาศ คาสั่งใด ๆ ที่เกี่ยวกับกิจการของงาน
วินยั นักศึกษาโดยไม่ขดั แย้งกับข้อบังคับนี้
(๔) เสนอแนวทางและมาตรการเกี่ยวกับการพัฒนาความมีระเบียบวินยั ของนักศึกษา
(๕) พิจารณาผลการสอบสวนวินยั ร้ายแรง และวินิจฉัยเสนอโทษที่เหมาะสมและ
เป็ นธรรมกับการกระทาผิดวินยั นักศึกษา ต่อมหาวิทยาลัย
(๖) ควบคุมกากับการสอบสวนและการพิจารณาโทษวินยั ของคณะกรรมการวินยั
นักศึกษาประจาคณะ และคณะกรรมการวินยั หอพักนักศึกษา เพื่อให้อยูใ่ น

139
139

มาตรฐานการดาเนินการและตั้งอยูบ่ นบรรทัดฐานที่เป็ นธรรม


(๗) แต่งตั้งคณะทางาน หรื อ คณะอนุกรรมการเพื่อช่วยปฏิบตั ิงานตามความจาเป็ น
(๘) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์โดยสื่ อต่าง ๆ เพื่อให้นกั ศึกษาและผูป้ กครองทราบถึง
กฎระเบียบเกี่ยวกับวินยั นักศึกษา กระบวนการและวิธีการพิจารณาโทษทางวินยั
รวมถึงสิ ทธิข้นั พื้นฐานของนักศึกษา ตลอดจนระบบการคุม้ ครองสิ ทธิซ่ ึงมหา-
วิทยาลัยจัดให้สาหรับนักศึกษา
(๙) ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้องหรื อตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย
ข้อ ๑๙ คณะกรรมการวินยั นักศึกษาประจาคณะ ประกอบด้วย
(๑) คณบดี เป็ นประธานกรรมการ
(๒) รองคณบดีหรื อผูช้ ่วยคณบดีที่รับผิดชอบ
ด้านวินยั นักศึกษา เป็ นรองประธาน
(๓) ผูแ้ ทนจากคณาจารย์ภาควิชาหรื อสานักวิชาต่าง ๆ
ภายในคณะ จานวนไม่เกิน ๕ คน ตามที่คณบดีแต่งตั้ง เป็ นกรรมการ
(๔) ผูป้ ฏิบตั ิงานในมหาวิทยาลัยที่รับผิดชอบด้าน
กิจการนักศึกษาของคณะ ตามที่คณบดีแต่งตั้ง เป็ นกรรมการและเลขานุการ
ข้อ ๒๐ คณะกรรมการวินยั นักศึกษาประจาคณะมีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) จัดทา กฎ ระเบียบ ประกาศ คาสั่งใด ๆ ที่เกี่ยวกับงานด้านวินยั นักศึกษาในระดับ
คณะ เพื่อนาเสนอต่อมหาวิทยาลัย โดยไม่ขดั หรื อแย้งกับข้อบังคับ ฉบับนี้
(๒) เสนอแนวทางและมาตรการเกี่ยวกับการพัฒนาความมีระเบียบวินยั ของนักศึกษา
ในระดับคณะ
(๓) ดูแลความประพฤตินกั ศึกษาของคณะให้เป็ นไปตามข้อบังคับฉบับนี้ และตาม (๑)
(๔) ดาเนินการสอบสวน หรื อแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน เพื่อพิจารณา และ
กาหนดลงโทษ และรายงานผลต่อมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับการดาเนินการทางวินยั
สาหรับการกระทาความผิด ดังนี้
ก. กรณี ไม่ร้ายแรงให้คณะดาเนินการทุกขั้นตอน พร้อมทั้งลงโทษ และ
รายงานให้มหาวิทยาลัยทราบ
ข. กรณี ร้ายแรงให้คณะดาเนินการทุกขั้นตอนแล้ว ให้นาเสนอโทษต่อ
มหาวิทยาลัยพิจารณาต่อไป
(๕) ดาเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องหรื อตามที่คณะกรรมการวินยั นักศึกษา มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่ หรื อมหาวิทยาลัยมอบหมาย
ข้อ ๒๑ คณะกรรมการวินยั หอพักนักศึกษา ประกอบด้วย
(๑) ผูอ้ านวยการสานักงานหอพักนักศึกษา เป็ นประธานกรรมการ
(๒) อาจารย์ประจาหอพักหรื ออาจารย์ที่ปรึ กษาหอพักนักศึกษา
ตามที่ผอู้ านวยการสานักงานหอพักนักศึกษาแต่งตั้ง จานวน

140
140

ไม่เกิน ๓ คน เป็ นกรรมการ


(๓) ผูจ้ ดั การหอพักหรื อผูป้ กครองหอพักนักศึกษา
จานวนไม่เกิน ๓ คน เป็ นกรรมการ
(๔) ผูป้ ฏิบตั ิงานในมหาวิทยาลัยที่รับผิดชอบงาน
ด้านหอพักนักศึกษา ตามที่ผอู ้ านวยการสานักงาน
หอพักนักศึกษาแต่งตั้ง เป็ นกรรมการและเลขานุการ
ข้อ ๒๒ คณะกรรมการวินยั หอพักนักศึกษามีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) พิจารณาเสนอ กฎ ระเบียบ ประกาศ คาสั่งใดๆที่เกี่ยวกับงานด้านวินยั นักศึกษา
ในหอพักนักศึกษา เพื่อนาเสนอต่อมหาวิทยาลัย โดยไม่ขดั หรื อแย้งกับ
ข้อบังคับฉบับนี้
(๒) เสนอแนวทางและมาตรการเกี่ยวกับการพัฒนาความมีระเบียบวินยั ของ
นักศึกษาในหอพัก
(๓) ดูแลความประพฤตินกั ศึกษาภายในหอพักให้เป็ นไปตามข้อบังคับฉบับนี้ และ
ตาม (๑)
(๔) ดาเนินการสอบสวนหรื อแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน เพื่อพิจารณา และ
กาหนดลงโทษ และรายงานผลต่อมหาวิทยาลัยเกี่ยวกับการดาเนินการทาง
วินยั สาหรับการกระทาผิด ดังนี้
ก. กรณี ไม่ร้ายแรงให้สานักงานหอพักนักศึกษา ดาเนิ นการทุกขั้นตอน
พร้อมทั้งลงโทษ และรายงานให้มหาวิทยาลัยทราบ
ข. กรณี ร้ายแรงให้สานักงานหอพักนักศึกษา ดาเนินการทุกขั้นตอนแล้ว ให้
นาเสนอโทษต่อมหาวิทยาลัยพิจารณาต่อไป
(๕) ดาเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง (ตามที่คณะกรรมการวินยั นักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
หรื อมหาวิทยาลัยมอบหมาย)
ข้อ ๒๓ ให้งานวินยั กองพัฒนานักศึกษา มีหน้าที่ให้คาปรึ กษาแนะนาแก่คณะกรรมการวินยั
นักศึกษาประจาคณะ และคณะกรรมการวินยั หอพักนักศึกษา เพื่อให้การดาเนินการเป็ นไปด้ว ยความ
เรี ยบร้อยถูกต้อง

ส่ วนที่ ๒ การดาเนินการด้ านวินัยนักศึกษา

ข้อ ๒๔ ในกรณี ที่ขอ้ เท็จจริ งปรากฏโดยแจ้งชัดว่านักศึกษาผูใ้ ดมีพฤติกรรมหรื อกระทาความผิด


ทางวินยั ซึ่ งเป็ นความผิดเล็กน้อยหรื อมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม ให้ประธานคณะกรรมการวินยั มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่ ประธานคณะกรรมการวินยั ประจาคณะ ประธานคณะกรรมการวินยั หอพักนักศึกษา หรื อ
บุคคลซึ่ งประธานมอบหมาย แล้วแต่กรณี เรี ยกนักศึกษาผูน้ ้ นั มาว่ากล่าวตักเตือนให้ยตุ ิหรื อระงับการ

141
141

กระทา หรื อพฤติการณ์ที่กระทานั้นเสี ย และให้มีการบันทึกไว้เป็ นลายลักษณ์อกั ษร โดยไม่ตอ้ งแต่งตั้ง


คณะกรรมการสอบสวนและงดโทษเสี ยก็ได้
ข้อ ๒๕ ในกรณี ที่ปรากฏข้อเท็จจริ งเกี่ ยวกับการกระทาความผิดทางวินยั ของนักศึกษา ต่อ
มหาวิทยาลัย คณะ สานัก งานหอพักนักศึกษา หรื อต่อกรรมการวินยั มหาวิทยาลัย กรรมการวินยั ประจา
คณะ หรื อต่อกรรมการวินยั หอพักนักศึกษา ว่ามีการกระทาความผิดทางวินยั และไม่ควรดาเนิ นการ ตาม
ข้อ ๒๔ ให้คณะกรรมการวินัยประจาคณะ หรื อ คณะกรรมการวินัยหอพักนักศึ กษา แล้วแต่กรณี เป็ น
ผูด้ าเนินการทางวินยั แก่นกั ศึกษา
ในกรณี ที่การกระทาความผิดทางวินยั ตามวรรคหนึ่ งมีนกั ศึกษาที่เป็ นผูก้ ระทาความผิดทางวินยั
เกี่ยวข้องกันหลายคณะ ให้คณะกรรมการวินยั นักศึกษามหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ดาเนิ นการทางวินยั หรื ออาจ
แต่งตั้งคณะกรรมการวินยั ร่ วมจากคณะกรรมการวินยั ประจาคณะที่เกี่ยวข้องเพื่อดาเนิ นการก็ได้
ข้อ ๒๖ ในกรณี ผมู ้ ีอานาจตามข้อ ๒๕ เห็นว่าพยานหลักฐานยังไม่ชดั เจนเพียงพอ อาจแต่งตั้ง
คณะกรรมการสื บสวนข้อเท็จจริ งเบื้องต้นก่อนก็ได้
ข้อ ๒๗ ให้คณะกรรมการวินยั นักศึกษาประจาคณะ คณะกรรมการวินยั หอพักนักศึกษา หรื อ
คณะกรรมการสอบสวนดาเนินการสอบสวนให้แล้วเสร็ จภายใน ๓๐ วัน นับแต่วนั ที่ได้รับทราบการกระทา
ความผิดทางวินยั นักศึกษา หรื อคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน แล้วแต่กรณี
ในกรณี การสอบสวนดาเนิ นการไม่เสร็ จภายในกาหนดเวลาตามวรรคหนึ่ ง ให้ขยายระยะเวลา
การสอบสวนออกไปได้อีก ๒ ครั้ง ๆ ละไม่เกิน ๑๕ วัน
กรณี ที่ได้ขยายเวลาตามวรรคสองแล้ว การสอบสวนยังไม่แล้วเสร็ จ ให้เสนอขอขยายเวลาต่อ
คณะกรรมการวินยั นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้อีกไม่เกิน ๓๐ วัน
ข้อ ๒๘ ให้แจ้งข้อกล่าวหาพร้อมทั้งสรุ ปพยานหลักฐานให้แก่นกั ศึกษาผูถ้ ูกกล่าวหา โดยทา
เป็ นหนังสื อ ระบุพฤติกรรมหรื อการกระทาโดยสังเขปพร้อมทั้งระบุขอ้ หาที่ถูกกล่าวหาด้วย โดยการแจ้ง
ให้กระทาเป็ นรายคน และส่ งสาเนาไปให้ผปู ้ กครองหรื อบุคคลที่ทาหน้าที่ดูแลนักศึกษาด้วย
ในกรณี ที่นักศึกษาที่ ถูกกล่าวหาบ่ายเบี่ ยง หรื อจงใจหลบเลี่ ยงการแจ้งข้อกล่าวหา หรื อไม่ให้
ความร่ วมมืออย่างใด ๆ ให้บนั ทึกไว้เป็ นส่ วนหนึ่งของรายงานการสอบสวนด้วย
ข้อ ๒๙ ในการสอบสวนให้ดาเนินการโดยตั้งอยูบ่ นความอิสระปราศจากอคติ และดาเนินการ
สอบสวนตามมาตรฐานที่เป็ นธรรมดังนี้
(๑) แจ้งรายชื่อคณะกรรมการสอบสวน พร้อมทั้งอธิ บายถึงขั้นตอนต่าง ๆ ของ
การดาเนินการทางวินยั ด้วย
(๒) แจ้งสิ ทธิ และหน้าที่ของนักศึกษาที่เกี่ยวกับกระบวนการพิจารณาโทษทางวินยั
นักศึกษา
(๓) แจ้งกาหนดวันเวลาสถานที่ และประเด็นซึ่ งคณะกรรมการสอบสวนจะดาเนินการ
สอบสวน
(๔) เปิ ดโอกาสให้นกั ศึกษาที่ถูกกล่าวหาให้ถอ้ ยคา หรื อโต้แย้งข้อกล่าวหา นาพยาน
หลักฐานต่าง ๆ ทั้งพยานบุคคล พยานเอกสาร หรื อพยานวัตถุที่เกี่ยวข้อง

142
142

กับข้อกล่าวหาหรื อการกระทามาประกอบการพิจารณาสอบสวน
(๕) เปิ ดโอกาสให้นกั ศึกษาที่ถูกกล่าวหา สามารถที่จะตรวจสอบเอกสารเฉพาะ
ที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาความผิดวินยั ซึ่ งนักศึกษาถูกกล่าวหา ทั้งนี้จะต้อง
คานึงถึงผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นต่อความปลอดภัยของพยาน หรื อสิ ทธิ ของ
บุคคลภายนอกด้วย
(๖) การสอบปากคานักศึกษา หรื อพยาน ต้องบันทึกไว้เป็ นหลักฐานและให้ผใู้ ห้
ถ้อยคารวมทั้งผูส้ อบสวนลงชื่อไว้ดว้ ย
ข้อ ๓๐ ผูส้ อบสวนมีอานาจที่จะเรี ยกพยานหลักฐานที่ อยู่ในความครอบครองของบุคคลที่
เกี่ยวข้อง หรื อเรี ยกบุคคลที่เกี่ยวข้องมาให้ถอ้ ยคา หรื อออกไปตรวจสถานที่ เพื่อประกอบการพิจารณา
สอบสวนได้
ข้อ ๓๑ นักศึกษาผูถ้ ูกกล่าวหาว่ากระทาความผิดวินยั มีสิทธินาพยานหลักฐานทั้งหมดมาเสนอ
ต่อผูส้ อบสวน ก่อนเสร็ จสิ้ นการพิจารณาสอบสวน
ข้อ ๓๒ เมื่อผูส้ อบสวนดาเนินการรวบรวมพยานหลักฐานต่างๆ เสร็ จสิ้ นแล้ว ให้ทาความเห็น
แล้วรายงานผลและสานวนการสอบสวนเสนอต่อผูม้ ีอานาจลงโทษ เพื่อพิจารณาดาเนินการต่อไป
ข้อ ๓๓ คาสั่งลงโทษ จะต้องประกอบด้วยข้อเท็จจริ ง กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง เหตุผลในการ
ออกคาสั่ง และกาหนดระยะเวลาในการอุทธรณ์ดว้ ย
ข้อ ๓๔ เมื่อได้ดาเนินการทางวินยั แล้ว ให้คณะกรรมการวินยั นักศึกษาประจาคณะ คณะกรรมการ
วินยั หอพักนักศึกษา หรื อมหาวิทยาลัยแจ้งผลการดาเนินการพร้อมทั้งกาหนดเวลาและวิธีการในการใช้สิทธิ
ในการโต้แย้งคาสั่งหรื อการใช้สิทธิ ในการอุทธรณ์ให้นกั ศึกษาทราบด้วย

หมวด ๓ การอุทธรณ์
ส่ วนที่ ๑ คณะกรรมการอุทธรณ์

ข้อ ๓๕ ให้มีคณะกรรมการอุทธรณ์ โดยอธิการบดีเป็ นผูแ้ ต่งตั้งจากบุคคลซึ่งประกอบด้วย


คณาจารย์หรื อผูป้ ฏิบตั ิงานในมหาวิทยาลัย หรื อจะแต่งตั้งผูท้ รงคุณวุฒิดา้ นจิตวิทยา ด้านพัฒนานักศึกษา
ด้านกฎหมาย หรื อมีความเชี่ยวชาญทางการให้คาปรึ กษาแก่เด็กและเยาวชนที่เห็นสมควร จานวนไม่นอ้ ยกว่า
๕ คน แต่ไม่เกิน ๗ คน เป็ นคณะกรรมการอุทธรณ์
กรรมการอุทธรณ์ผมู้ ีส่วนได้เสี ยกับนักศึกษาผูก้ ล่าวหาหรื อผูถ้ ูกกล่าวหา หรื อเคยร่ วมพิจารณา
ในการดาเนินการทางวินยั เรื่ องนั้นมาก่อน จะไม่มีสิทธิ์ เข้าร่ วมประชุมในเรื่ องนั้น
ข้อ ๓๖ คณะกรรมการอุทธรณ์ มีอานาจดังต่อไปนี้
(๑) ดาเนินการพิจารณาอุทธรณ์คาสั่งลงโทษ ข้อเท็จจริ ง ระเบียบและความเหมาะสม
ของการกาหนดโทษ และมีมติ ดังนี้
ก. ถ้าเห็นว่าอุทธรณ์ฟังขึ้น ให้มีมติให้เพิกถอนคาสั่งหรื อเปลี่ยนแปลงคาสั่ง
ข. ถ้าเห็นว่าอุทธรณ์ฟังไม่ข้ ึน ให้มีมติยกคาอุทธรณ์

143
143

ค. ถ้าเห็นว่าการสอบสวนไม่ชอบ หรื อ ขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งไม่ชอบ ให้มี


มติให้ดาเนินการใหม่ให้ถูกต้อง
(๒) ดาเนินการอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง หรื อตามที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย การมีมติของ
คณะกรรมการดังกล่าวให้ใช้เสี ยงข้างมาก
เมื่อดาเนินการแล้วให้แจ้งมหาวิทยาลัยเพื่อดาเนินการต่อไป

ส่ วนที่ ๒ การอุทธรณ์คาสั่ งลงโทษ

ข้อ ๓๗ การอุทธรณ์คาสั่งลงโทษ ให้ดาเนินการด้วยตนเองเท่านั้น


ข้อ ๓๘ ให้นกั ศึกษาที่ถูกลงโทษ มีสิทธิยนื่ อุทธรณ์ต่อคณะกรรมการอุทธรณ์ ภายใน ๓๐ วัน
นับแต่วนั รับทราบคาสั่งลงโทษ โดยคาร้องต้องทาเป็ นหนังสื อพร้อมเหตุผลประกอบ และยืน่ เรื่ องผ่าน
งานวินยั กองพัฒนานักศึกษา และให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ พิจารณาให้แล้วเสร็ จภายใน ๓๐
วัน นับตั้งแต่วนั ที่ได้รับหนังสื ออุทธรณ์ ทั้งนี้อาจขยายเวลาได้ไม่เกิน ๓๐ วัน โดยได้รับความเห็นชอบ
จากอธิการบดี
ข้อ ๓๙ เมื่อคณะกรรมการอุทธรณ์ มีมติเป็ นประการใดแล้ว ให้แจ้งมหาวิทยาลัยทราบ และให้
บุคคลตามข้อ ๑๕ ดาเนินการตามมติต่อไป
ข้อ ๔๐ คาวินิจฉัยของคณะกรรมการอุทธรณ์ ถือเป็ นที่สิ้นสุ ด

ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓

(ลงนาม) เกษม วัฒนชัย


(ศาสตราจารย์ เกียรติคุณเกษม วัฒนชัย)
นายกสภามหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่

144
144
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการโอนย้ายนักศึกษาจากภาคพิเศษไปยังภาคปกติ
ในหลักสูตรนิติศาสตร์บัณฑิต

b�'flLV!f11"jl'fl'Wi111:J'Wfl�fl'l:l1faJ1flfl1Y'lVh�');j1tlt1�fl1Y'!Ufl�"ll'fl�Y'lru�n��1�\?14\u'I-J1tl�hl:JY'l'J1a-.l

b�l:J'U;'fll:J bb'!N��'f)� Y'l�'fl�flU'I-Jl1:JU11:Jf11"jv-J�\?1Ulli6n(?l'fl�1��Y'lllifl1Y'J"ll'fl�


q
Y'llli�U� �1�\?1{ 'fl10l
l:Jfl1'1-J1faJ

\?11a-.lY'l'J1a-.ll'W�'fl 18 bbvl��'flU��'Ua-.!Vl1'1'Vll:J1im�l:JLVla-J r;hJhtJf11"j�fl');j1"j��utl�qJt)d1\?1� Y'J.�.2561

'lh�fl'fl'UflUa-.!��'Lb�azfa-.lY'lill�fl"j"ja-.!fl1";iU";i�laJ1'c{'J'j,J�1'1-JY'llli�U��1�\?1{ l'WY'l";i1'JU"j�6lfa-.lY'l?�� 6/2562


q q

b�'fl')'j,J� 19 �t1'1-J11:J'I-J 2562 bb'!N�Y'llli�fl"j"ja-.lf11";iU";i�/oJ1Vlifl�(?l"jU��1�\?l";iUD.l6n\?l Y'l";i1'JU"j�6lfa-.lY'l?��


q 'IJ q

7/2562 b�'fl')'j,J� 17 �t1'1-J11:J'I-J


q
Y'J.�. 2562 ��1�n1Vl'I-J�Vlimnru6Vlbb'!N�d'f)'I-J1"llf11"j"lJ'f)l'fl'Wi111:JfaJ1flfl1Y'l

�b�');j1tlt1�f11Y'!Ufl� 1���d

1. Lvi1:Jm�ntl"j�fl1� Y'!ru�u�m�\?1{ a-.ivi1"JY1mim°il1:J�Lvia-J b�'fl� Vlimnru6Vl bb'EN�b�'fl'W1"llf11"j

l'fl'I-Ji111:J'Wfl�fl'l:l1faJ1flfl1Y'l�b�');j1t1tT�rr1Y'ltln� L'Wviin�\?l";iU��1�\?l{uru6n\?1 'EN�'1


'IJ
'W� 27 ��Vl1Y'la-.l

2561

2. uflAfl'i:11�i'.li'Vli"ll'fl1'B«JJ�1��1fl.fl'l'°1'Wb�'i:I1ui'1fl'l'°1'Uflw �'fl�bu'Wcwn�n'l:l1i'Wu� 1 bb'!N�

'EN�'Vl�biJ1:J'Wfl";i�U'J'W"J6lf1\?11a-.1bbv-J'Wf11"j�fl'l:l1 L'Wviin�\?l";iU�m�\?l";iUru6n\?1 13-JiJ'fl1:Jn�1 39 Vl'W'JtJfl\?1


'IJ

l�tJ13-JcwU";i'Ja-.lfl";i�U'J'W'16lf1�1�fufln');j"j�1�ui'W v Vl�'fl w
3. LVIUflAfl'i:l'l�'JJ�'l�'fl'1fl'l";i'7J'f)l'B'JJ�'l�fl'l'°1'Wb�'i:I1tJ i'1fl'l'°1'Uflw 1���1'1-JU�f11";if11"j�fl');j1bb'!N�

�{PJ.fW1Y'lllifl1Y'J'Wfl�fl'l:l1 \?11a-.!fl1Vl'I-J�f11";iU";i�f11�"ll'fl�Y'lru�n��1�\?1{ b�'fl� fl1Vl'I-J�f11"j"lJ'f)l'fl'Wi111:J

fl1Y'l�b�'l:l1UbU'I-Jfl1Y'lUfl�

4. UflAfl'i:l'l��1�.rufl'l";i"W�'l";iOJ'llvil'B«JJ�'l��'lflfl'l'°1"Wb�'i:I1tJi'1fl'l'°1'UflW �'la-JVl,;m flOJ611 (Pl'1tl'

4.1. �'fl��v-l'!Nf11";ib�l:J'W �1�Ui'W���mQ�mr�via-.i� (GPA) 13-i�'lfl'l'l 2.75

4.2. �'fl��ih�ui'W 13-i�1fl,;i1 c "ll'fl�fl"j�U'J'W"J6lf1 ��(?)'fl1ud

4.2.1. '1-J.fla-.!.103 (177103) Vliflfl!JVla-.111:JbU'fl��'I-Jbb'!N�lJY'lY'l'!N

4.2.2. '1-J.fla-.!.113 (177113) fl!]Vla-.!11:J�1�'Jl:JU�fl"j"ja-.lbb'!N�tffqJqJ1

4.2.3. '1-J.fla-.!.114 (177114) fl!)Vla-.111:J�1�'Jl:J'VlfYJtJ�'I-J

4.2.4. '1-J.fla-.!.181 (177181) fl!JVla-.111:J'fl1qJ1fl1Y'l'U'VlUt)dt1J


�Jr;i 1tl

4.2.5. '1-J.fla-.1.142 (177142) Vliflfl!]Vla-.!11:Ja-.!Vl16lf'I-Jbb'!N�fl!JVla-.!11:Jfl'fi"j"ja-.11-Jt)d

4.3. bb'!N�fl"j�'LJ'J'I-J'16lf1 '1-J.fla-.1.104 (177104) U�(?l"j"jf1�1'!N'\?1{bb'EN�fl1'l:l1fl!]Vla-.!11:J ���'fl")L�'flfl'i:l";i

145
145
5. fl'l"a��'l"aOJ'l�'liJ'HJfl'l"aful'BiJfi'lti V'lru�'tl��1'6{(wffo1'fl'Wtht:1irn�n'l:l1rcv1nfl1V'l�b�'l:l1tltT-:i

fl1V'lun� (911�1aJ1'W'"J'W� bb'�-:i1�1'Wui�m�

- niru�1aJ1'W'"J'WNv-l1'Wvi"i(mnruevi' L'W�'fl 3 �1nn�11aJ1'Wr;i't-.l{u L'WUi�n1� V'lru�°1 rcv��rcv1iru1N�


� �
!II I !II

'tl1tP1U"n'W'6{�'6{mQ�m-1-:i'Vl�'91 (GPA)
- fl"jll�'tl1tP1Uaff't,!'6{�'6{� bQ�mr-:iVl�'91 (GPA) b'Vl1f1'Wl'W'tl1tPlU'6{'9JV11t:l"ll'fl-:l'aJ1'W'"J'W{'U V'lfil�'W��1'6{(91{
q

tli�n1� ru '1'Wvi 30 flifl!J1Y'l� 2562

146
146
ประกาศคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
เรื่อง มาตรฐานการศึกษาในระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2564
---------------------------------------

เพื่อใหการศึกษาในระดับปริญญาตรีมีมาตรฐานและมีความชัดเจนแกคณาจารยและนักศึกษา เพื่อใหการ
ปฏิบัติงานของคณะนิติศาสตรมีประสิทธิภาพ และเพื่อประโยชนในการพัฒนาการเรียนการสอนและการประกัน
คุณภาพการศึกษา ที่ประชุมคณาจารยเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2564 โดยความเห็นชอบของคณบดีจึงออกประกาศ
กําหนดหลักเกณฑในเรื่องมาตรฐานการศึกษาในระดับปริญญาตรีของคณะนิติศาสตรไว ดังตอไปนี้
ขอ 1 ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศคณะนิติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เรื่อง มาตรฐานการศึกษา
ในระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2564”
ขอ 2 ประกาศนี้ใหใชบังคับตั้งแตปการศึกษา 2564 เปนตนไป

หมวด 1
การเรียนการสอน
__________________________

ขอ 3 ใหอาจารยผูสอนจัดทําเคาโครงการสอนในวิชาที่รับผิดชอบเพื่อเผยแพรใหแกนักศึกษาในการ
สอนสัปดาหแรกของภาคการศึกษา
ให อ าจารย ผู ส อนจั ด ให มี ก ารแนะนํ า เอกสารประกอบการสอน หนั ง สื อ หรื อ ตํ า ราในวิ ช าที่
รับผิดชอบตามความเหมาะสม ทั้งนี้ ใหคณะนิติศาสตรดําเนินการสงเสริมและสนับสนุนอาจารยผูสอนในการจัดทํา
เอกสารประกอบการสอน หนังสือหรือตําราดังกลาวดวย
ขอ 4 ใหอาจารยผูสอนเขาสอนและเลิกสอนตามวัน เวลาและสถานที่ที่กําหนดไวในตารางการศึกษา
ตามที่คณะนิติศาสตรกําหนด
ขอ 5 การงดสอนจะกระทํ า ได เ มื่ อมี เ หตุ อัน ควรและให อาจารย ผู ส อนแจ งต องานบริ การการศึ กษา
ลวงหนาอยางนอยหนึ่งวันทําการ ใหงานบริการการศึกษาแจงงดสอนใหนักศึกษาทราบโดยเร็ว เวนแตกรณีมีเหตุ
จําเปนอันไมอาจหลีกเลี่ยงได ใหอาจารยผูสอนแจงตองานบริการการศึกษากอนเวลาเริ่มสอน โดยใหงานบริการ
การศึกษาบันทึกไวเปนหลักฐานและแจงงดสอนใหนักศึกษาทราบโดยเร็ว

/ขอ 6...
147
147
ขอ 6 ใหอาจารยผูสอนสอนชดเชยเทา ที่จํ าเปนโดยมี เหตุ อันสมควร และหลีกเลี่ยงการสอนชดเชย
ในชวงทายภาคการศึกษา ทั้งนี้ ใหอาจารยผูสอนแจงวัน เวลาและสถานที่ที่จะสอนชดเชยตองานบริการการศึกษา
และใหงานบริการการศึกษาแจงการสอนชดเชยใหนักศึกษาทราบโดยเร็ว

หมวด 2
การประเมินการสอน
__________________________

ขอ 7 การประเมินการสอนมีสองรูปแบบ คือ การจัดประเมินการสอนโดยมหาวิทยาลัยซึ่ งเป น การ


ประเมินการสอนตลอดภาคการศึกษา และการจัดประเมินการสอนโดยคณะนิติศาสตรซึ่งเปนการประเมินการสอน
ในชวงทายของภาคการศึกษา
ขอ 8 ใหงานบริการการศึกษาของคณะนิติศาสตรจัดใหมีการประเมินการสอนในทุกกระบวนวิชาในชวง
ท า ยของภาคการศึ ก ษา โดยอาจารย ผู ส อนจะได รั บ ผลการประเมิ น เมื่ อส งผลการศึ กษาในภาคการศึ ก ษานั้ น
เรียบรอยแลว ทั้งนี้ เพื่อประโยชนในการพัฒนาการเรียนการสอนและการประกันคุณภาพการศึกษาของคณะ
นิติศาสตร
ใหงานบริการการศึกษาแจงวันและเวลาประเมินการสอนตออาจารยผูสอนลวงหนาอยางนอยหา
วันทําการกอนวันประเมินการสอน หากอาจารยผูสอนตองการใหประเมินการสอนในวันและเวลาอื่นใหแจงตองาน
บริการการศึกษาโดยกําหนดวันและเวลาที่ประสงคตองานบริการการศึ กษาไมน อยกวาสามวัน ทําการก อนวั น
ประเมินผลการสอนตามที่ไดรับแจง

หมวด 3
การจัดสอบและการวัดผลการศึกษา
__________________________

ขอ 9 ใหอาจารยผูสอนแจงเกณฑการวัดผลและรูปแบบการวัดผลการศึกษาที่ชัดเจนในวิชาที่รับผิดชอบ
แกนักศึกษาในการสอนสัปดาหแรกของภาคการศึกษา
ขอ 10 ใหอาจารยผูสอนรับผิดชอบออกขอสอบและตรวจกระดาษคําตอบดวยตนเอง ในกรณีที่มีอาจารย
ผูสอนหลายคนใหปรึกษาหารือรวมกันเกี่ยวกับเนื้อหาและสัดสวนการออกขอสอบ
ใหอาจารยผูสอนสงขอสอบใหคณะกรรมการพิจารณาขอสอบเพื่อตรวจสอบและแนะนําถึงความ
เหมาะสมและความสมบูรณของขอสอบภายในระยะเวลาที่กําหนดกอนการสอบวัดผล ทั้งนี้ การแกไขปรับปรุง
ขอสอบตามคําแนะนําของคณะกรรมการพิจารณาขอสอบเปนดุลพินิจของอาจารยผูสอน
อาจารยผูสอนตองนําสงขอสอบในวิชาที่รับผิดชอบแกหัวหนางานบริการการศึกษากอนวันสอบ
วิชานั้นลวงหนาไมนอยกวาสามวัน

/ขอ 11...
148
148
ขอ 11 คณะนิติศาสตรจะจัดสอบวัดผลกลางภาคและปลายภาคตามวันและเวลาที่ประกาศตามตาราง
สอบอยางเปนทางการ ทั้งนี้ กําหนดวันเวลาการจัดสอบเก็บคะแนนเปนดุลพินิจของอาจารยผูสอน
คณะนิติศาสตรจ ะไมจัดสอบนอกเวลาที่กํ าหนดขางตน เวน แตมีเหตุสุดวิสัย ที่ไมไดเ กิ ด จาก
ความผิดของนักศึกษาหรือที่ไมอาจปองกันไดตามมาตรฐานของวิญูชนอันทําใหนักศึกษาไมสามารถมาสอบตาม
เวลาที่กําหนดได การพิจารณาคํารองขอสอบนอกเวลาของนักศึกษาตามเงื่อนไขขางตนใหเปนอํานาจของคณบดี
หรือผูที่คณบดีมอบหมาย ทั้งนี้ การจัดสอบนอกเวลาตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารยผูรับผิดชอบวิชาดวย
ขอ 12 ภายหลังการสอบวัดผล ใหงานบริการการศึกษาสงสมุดคําตอบแกอาจารยผูสอนภายในสามวันทํา
การนับแตวันสอบวิชานั้น
ขอ 13 การสอบวัดผลปลายภาคการศึกษา ใหอาจารยผูส อนสงกระดาษคําตอบปลายภาค สรุ ป ผล
คะแนนรายขอที่วัดผลทั้งกระบวนวิชาของนักศึกษาทุกคน และแนวทางการตอบขอสอบโดยไมจําตองระบุเกณฑ
การใหคะแนน ใหแกงานบริการการศึ กษาพรอมกับการสงผลการศึกษาของวิชาที่รับผิดชอบนั้ น และให คณะ
นิติศาสตรประกาศแนวทางการตอบขอสอบพรอมทั้งผลคะแนนรายขอใหนักศึกษาทราบ
การสอบวัดผลกลางภาคการศึกษาหรือการสอบวัดผลอื่นนอกจากวรรคกอน ใหเปนดุลพินิจของ
อาจารยผูสอนในการจัดเก็บกระดาษคําตอบและการแจงผลคะแนนแกนักศึกษา
ขอ 14 ใหงานบริการการศึกษาจัดเก็บขอสอบกลางภาคและปลายภาคของทุกกระบวนวิชารวบรวมไวใน
คลังขอสอบและเผยแพรแกนักศึกษา
ขอ 15 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตอาจแจงใหอาจารยผูรับผิดชอบกระบวนวิชา
ชี้แจงการประเมินวัดผลการศึกษาและการออกลําดับขั้น ในกรณีดังตอไปนี้
(1) ในกระบวนวิชาแกนและวิชาเอกบังคับ มีนักศึกษาที่ไดลําดับขั้น A เกินรอยละ 20 หรือลําดับ
ขั้น F เกินรอยละ 20 ของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนทั้งหมดในวิชานั้น
(2) ในกระบวนวิชาเอกเลือก และวิชาที่เปดสอนสําหรับนักศึกษานอกคณะนิติศาสตร มีนักศึกษา
ที่ไดลําดับขั้น A เกินรอยละ 30 หรือลําดับขั้น F เกินรอยละ 30 ของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนทั้งหมดในวิชานั้น
ขอ 16 การออกลําดับขั้น ใหอาจารยผูรับผิดชอบวิชากําหนดใหนักศึกษาไดลําดับขั้น F เมื่อนักศึกษามี
คะแนนรวมทั้งหมดในกระบวนวิชานอยกวารอยละ 50 หากมีเหตุอันสมควรในการกําหนดใหนักศึกษาไมไดลําดับ
ขั้น F เมื่อมีคะแนนรวมทั้ งหมดในกระบวนวิชาน อยกวาร อยละ 50 ใหอาจารยผูรับผิดชอบวิช าเสนอต อ คณะ
กรรมการบริหารหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตเพื่อชี้แจงและขอความเห็นชอบ ทั้งนี้อาจารยผูรับผิดชอบวิชามีดุลพินิจ
ในการเลือกการออกลําดับขั้นแบบอิงเกณฑ แบบอิงกลุมหรือแบบอื่นๆ
ขอ 17 การวัดผลการศึกษาในกระบวนวิชาแกนและวิชาเอกบังคับ อาจารยผูรับผิดชอบวิชามีดุลพินิจให
มีสัดสวนคะแนนเก็บซึ่งเปนคะแนนที่ไมไดมาจากการสอบวัดผลตามตารางสอบกลางภาคและปลายภาคไดไมเกิน
รอยละ 20 ของคะแนนรวมทั้งหมด หากมีเหตุอันสมควรในการกําหนดสัดสวนคะแนนเก็บเกินรอยละ 20 ให
อาจารยผูรับผิดชอบวิชาเสนอตอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตเพื่อชี้แจงและขอความเห็นชอบ

/หมวด 4...
149
149
หมวด 4
การขอดูกระดาษคําตอบ
__________________________

ขอ 18 นักศึกษามีสิทธิขอดูกระดาษคําตอบของตนเอง โดยใหนักศึกษายื่นคํารองขอดูกระดาษคําตอบตอ


งานบริการการศึกษาภายในระยะเวลาที่กําหนด และใหงานบริการการศึกษาจัดใหนักศึกษาดูกระดาษคําตอบโดยมี
ระยะเวลาไมนอยกวา 2 วัน
ขอ 19 ภายหลังจากที่ดูกระดาษคําตอบตามขอ 18 ในกรณีที่นักศึกษามีขอสงสัย นักศึกษาสามารถยื่นคํา
รองขอใหอาจารยผูรับผิดชอบวิชานั้นชี้แจงไดโดยยื่นคํารองตองานบริการการศึกษาภายใน 3 วันทําการนับแตวัน
สุดทายที่งานบริการการศึกษาจัดใหนักศึกษาดูกระดาษคําตอบ ทั้งนี้ การชี้แจงขอสงสัยแกนักศึกษาเปนดุลพินิจ
ของอาจารยผูรับผิดชอบวิชา
ขอ 20 ในกรณีที่นักศึกษายังมีขอสงสัยภายหลังไดรับการชี้แจงจากอาจารยผูรับผิดชอบวิชา หรือไมไดรับ
การตอบรับการชี้แจงจากอาจารยผูรับผิดชอบวิชาภายใน 1 สัปดาหนับแตวันสุดทายที่นักศึกษาสามารถยื่นคํารอง
ตามขอ 19 นักศึกษาสามารถยื่นคํารองตอคณะกรรมการบริหารหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตเพื่อตั้งคณะกรรมการ
สอบถามอาจารยผูรับผิดชอบวิชาในประเด็นขอสงสัยตามคํารองของนักศึกษา
ขอ 21 ใหงานบริการการศึกษาจําหนายกระดาษคําตอบเมื่อลวงพนระยะเวลาสองปการศึกษานับแตวัน
สุดทายของการสอบในแตละปการศึกษา

หมวด 5
การขอเปดกระบวนวิชาในภาคฤดูรอน
__________________________

ขอ 22 กรณีกระบวนวิชาที่เปดสอนสําหรับนักศึกษานอกคณะนิติศาสตร คณะนิติศาสตรพิจารณาเปด


กระบวนวิชาที่เปดสอนสําหรับนักศึกษานอกคณะนิติศาสตรจากหนังสือแจงความประสงคขอเปดกระบวนวิชา
จากคณะอื่น โดยไดรับความยินยอมของอาจารยประจําวิชา กระบวนวิชาที่เปดสอนใหมีการเรียนการสอนครบ 45
ชั่วโมง
ขอ 23 กรณีกระบวนวิชาแกนและวิชาเอกบังคับตามหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต คณะนิติศาสตรพิจารณา
เปดกระบวนวิชาแกนและวิชาเอกบังคับตามหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตใหเฉพาะสําหรับนักศึกษาที่เคยไดรับอักษร
ลําดับขั้น F ในกระบวนวิชานั้นและคาดวาจะสําเร็จการศึกษาในภาคฤดูรอน และอนุญาตใหเฉพาะนักศึกษาที่เคย
ไดรับอักษรลําดับขั้น F ในกระบวนวิชานั้นที่คาดวาจะสําเร็จการศึกษาเทานั้นสามารถลงทะเบียนเรียนได กระบวน
วิชาที่เปดสอนอาจจัดการเรียนการสอนในรูปแบบการทบทวนเนื้อหาได

/ขอ 24...
150
150
ขอ 24 กระบวนวิชาเอกเลือกตามหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต คณะนิติศาสตรพิจารณาเปดกระบวน
วิชาเอกเลือกตามหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตใหเฉพาะสําหรับนักศึกษาชั้นปที่ 3 และนักศึกษาชั้นปที่ 4 ที่แสดง
ความประสงคขอเปดกระบวนวิชา โดยไดรับความยินยอมของอาจารยประจําวิชา กระบวนวิชาที่เปดสอนใหมีการ
เรียนการสอนครบ 45 ชั่วโมง
ขอ 25 การพิจารณากําหนดอาจารยผูสอนภาคฤดูรอน คณะนิติศาสตรพิจารณากําหนดอาจารยผูสอน
โดยสอบถามอาจารยประจําวิชาที่สอนกระบวนวิชานั้นในภาคการศึกษาปกติเปนอันดับแรก ทั้งนี้ หากอาจารย
ประจําวิชานั้นไมสามารถจัดการเรียนการสอนในภาคฤดูรอนได คณะนิติศาสตรอาจใชดุลพินิจพิจารณาดําเนินการ
เชิญอาจารยพิเศษไดตามความเหมาะสม

ประกาศ ณ วันที่ 7 มิถุนายน 2564

(ผูชวยศาสตราจารย ดร.นัทมน คงเจริญ)


คณบดีคณะนิติศาสตร

151
151
ประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

สามารถดาวน์โหลดเอกสารประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่


ได้ที่ https://cmu.to/Nrt3J
หรือสแกน QR CODE ด้านล่าง

152
152
153
CMU IT ACCOUNT

CMU IT ACCOUNT
ระบบสารสนเทศนั ก ศึ ก ษามหาวิ ท ยาลั ย
เชียงใหม่ เป็นระบบสารสนเทศส่วนบุคคลของ
นักศึกษา ประกอบด้วยข้อมูลทะเบียนประวัติ และ
ระบบสนับสนุนการพัฒนานักศึกษาด้านต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง อาทิ ระบบกิจกรรมนักศึกษา ระบบทุน
การศึกษา ระบบสำ�รวจปัญหานักศึกษา และระบบ
จองใช้สนามแบดมินตัน เป็นต้น และในปีการศึกษา
2561 ระบบสารสนเทศนักศึกษาได้รองรับการชำ�ระ
ค่าบำ�รุงหอพักนักศึกษาผ่านช่องทาง QR Payment
ด้วย Mobile Banking Application เพื่ออำ�นวย
ความสะดวกให้แก่นักศึกษาและสนับสนุนการเป็น
สังคมไร้เงินสด (Cashless Society) ตามนโยบาย
ของมหาวิทยาลัย และเพิ่มช่องทางการดูแล
นักศึกษาด้วยระบบวัดพลังใจ (แบบสำ�รวจภาวะซึม
เศร้า CMU MIND) โดยนักศึกษาทุกคนสามารถทำ�
แบบสำ�รวจได้เดือนละ 1 ครั้ง และผลการสำ�รวจจะ
ถูกปิดเป็นความลับ ระบบสารสนเทศนักศึกษามีการ
พัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อสนับสนุนการเป็น Smart
Student ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ทั้งนี้ นักศึกษาใหม่จะได้รับ CMU IT ACCOUNT
เมื่ อ รายงานตั ว กั บ ทางมหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่
ตอนแรกเข้า

154
154
FACEBOOK FANPAGE
สโมสรนักศึกษาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Pr_NITI (CMU 64)

Law Cmu

155
155
LINE OFFICIAL

LINE OFFICIAL : Academic Law CMU

ทุกปัญหา.....มีคำ�ตอบ.....
LINE OFFICIAL : Academic Law CMU ของงานบริการการศึกษาและพัฒนาคุณภาพนักศึกษา เป็น
ช่องทางการติดต่อสื่อสารระหว่างนักศึกษาและเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลเรื่องการเรียน ไม่ว่าจะเป็น การลงทะเบียน
เกินหน่วยกิต ลาพัก สหกิจศึกษา ทุนการศึกษา ทุน กยศ. ฯลฯ และเป็นช่องทางประชาสัมพันธ์ข่าวสารให้
นักศึกษาทราบอีกช่องทางหนึ่ง
ทั้งนี้หากนักศึกษาประสงค์จะติดต่อกับเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลในเรื่องที่กล่าวมาข้างต้น นักศึกษาสามารถดู
หน้าที่ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ ได้ที่หน้า 11-12 แล้ว Scan QR CODE เพื่อสอบถามเจ้าหน้าที่ได้ทันที

156
156

You might also like