You are on page 1of 13

28 | Academic MCU Buriram Journal

Vol. 5 No. 1 (2020) : January–June

ศึกษาแนวทางส่งเสริมการให้ทานของพุทธศาสนิกชน
ตาบลคูเมือง อาเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
A Study of Guideline for Promoting the Giving of Buddhists in
Khumueang Sub-district, Khumueang District, Buriram Province
พระอธิการบุญมี ตวีรโย
Phra Athikarn Boonmee Thitavirayo
วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Buriram Buddhist College, Mahachulalongkornrajavidyalaya
E-mail: boonmee.sawaspoon@gmail.com

ได้รับบทความ: 25 มีนาคม 2563; แก้ไขบทความ: 10 เมษายน 2563; ตอบรับตีพิมพ์: 22 เมษายน 2563


Received: March 25, 2020; Revised: April 10, 2020; Accepted: April 22, 2020

บทคัดย่อ
บทความวิจัยเรื่อง “ศึกษาแนวทางส่งเสริมการให้ทานของพุท ธศาสนิ กชน ต าบล
คูเมือง อาเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์” มีวัตถุประสงค์ ดัง นี้ 1) เพื่อศึกษาการให้ทานในคั มภี ร์
พระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการให้ทานของพุทธศาสนิกชน ตาบลคูเมือง อาเภอคูเมือง
จังหวัดบุรีรัมย์ และ3) เพื่อศึกษาแนวทางการส่ งเสริมการให้ทานของพุ ทธศาสนิ กชน ตาบล
คูเมือง อาเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
ผลการวิจัยพบว่า 1) พุทธศาสนิกชน ตาบลคูเมือง อาเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรั มย์
นั บ ถื อ พระพุ ท ธศาสนา เป็ น พุ ท ธมามกะ ให้ ท านตามเทศกาลและประเพณี ต ามหลัก พุทธ
ศาสนาในวันสาคัญ เช่น วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา วันพระหรือวันธรรมสวนะ
การทาบุญอุทิศส่วนกุศลต่าง ๆ เป็นต้น
2) การให้ทานตามหลักพุทธธรรมของพุทธศาสนิกชน ตาบลคูเมือง อาเภอคูเมื อ ง
จังหวัดบุรีรัมย์ ชาวบ้านยึดถือปฏิบัติตามประเพณีการปฏิ บัติเ กี่ยวกั บความเชื่อและศรั ท ธาใน
พระธรรมคาสอนของพระพุ ทธศาสนา เป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี นิยมทาบุญให้ทานแด่พระสงฆ์
เพื่อทานุบารุงพระพุ ทธศาสนา ช่วยเหลือสังคม แสดงความมีน้าใจต่อ เพื่อ นมนุ ษย์ใ นสั ง คม
เดียวกัน เพื่อทาตามประเพณีกิจกรรมการให้ทานตามญาติผู้ใหญ่ เคยนาปฏิบัติแ ละสั่ งสอนมา
3) แนวทางการส่งเสริมการให้ทานของพุทธศาสนิกชน ตาบลคูเมือง อาเภอคูเมือ ง
จังหวัดบุรีรัมย์ การส่งเสริมการให้ทานพุทธศาสนิกชนนั้น มีแนวทางการส่งเสริมอยู่ 4 แนวทาง
วารสารวิ ช าการ มจร บุ รี รั ม ย์ | 29
ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (2563) : มกราคม–มิถุนายน

คือ การส่งเสริมความรู้ แ ละความศรัท ธาเกี่ย วกับ การให้ ทาน การส่งเสริ มวิ ธี การให้ ท า นที่
ถูกต้อง การส่งเสริมการบาเพ็ญ กุศ ล และการส่งเสริมการให้ ทานตามเทศกาลและปร ะเพณี
เพื่อเป็นการส่งเสริมความสุขความสามัคคีให้เกิดในสังคมตามบรรพบุรุษที่ปฏิบัติสืบทอดกันมา
คาสาคัญ: แนวทางการส่งเสริม, การให้ทาน, พุทธศาสนิกชน

Abstract
Research article on “A Study of Guidelines for Promotion of the
Giving of Buddhist, Khumueang Sub-district, Khumueang District, Buriram
Province” have three objectives namely: (1) to study of giving in the scripture
of Theravada Buddhism, (2) to study of charity of Buddhists in Khumueang
sub-district, Khumueang district, Buriram province, (3) to study the guidelines
for promoting the giving of Buddhists, Khumueang Sub-district, Khumueang
District, Buriram province.
The result of study found that;
1) Buddhists in Khumueang sub-district, Khumueang district, Buriram
province respect Buddhism and are Buddhamamaka to giving according to
festivals and traditions according to Buddhism principles such as Makhapucha
Day, Visakhapucha Day, Atthamipucha Day, Buddhist Holy Day, Merit for passed
away persons and so on.
2) Giving according to the Buddhist principles of Buddhists in
Khumueang Sub-district, Khumueang District, Buriram Province follows the
tradition concerning belief and faith in teaching of Buddhism. People make the
merit for Buddhists, to monks, to uphold Buddhism, which is often doing the
activities as giving alms on the morning, give Sanghadana to Buddhist monks
and also helping the society, to share professional knowledge and Buddhist
knowledge, sacrifice property, have kindness to fellow human beings in the
same society according to mature relatives used to practice and teach.
3) the guidelines for the promotion of giving of Buddhists in
Khumueang Sub-district, Khu mueang District, Buriram Province, there are four
kinds of promotion such as (1) promote knowledge and faith in giving alms,
(2) promoting the correct method of giving, (3) promotion of charity and
30 | Academic MCU Buriram Journal
Vol. 5 No. 1 (2020) : January–June

(4) promotion of festivals and traditions in order to promote happiness and


unity in the society.
Keywords: Guidelines for Promotion, Giving, Buddhists

1. บทนา
การให้ ท านในสั ง คมไทยมี มาเป็ นของคู่ กัน ทุ ก ยุค ทุ ก สมั ย เพราะคนไทยได้รับ
อิทธิพลจากคาสอนของพระพุทธศาสนาที่ว่า การให้ทานจะทาให้มีความสุข การให้ทานจะทา
ให้ไปเกิดในสวรรค์ การให้ทานจะท าให้ไ ด้ มนุษ ย์ ส มบั ติ สวรรค์สมบั ติ และนิพพาน สมบั ติ
ความเชื่อเหล่านี้ล้วนเกิดจากหลักคาสอนทางพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น จะเห็นได้จากอุปนิสัยคน
ไทยในตอนเช้าทุก วัน ตื่นเช้ามามีการทาบุญ ตัก บาตร ซึ่งเป็น ภาพที่เห็ นกัน อยู่ ทั่ว ไป การให้
ทานนั้นถือว่าเป็นการทาความดีเบื้องต้นของชาวพุทธก็ว่าได้ การให้ทานย่อมมีอานิสงส์ ส่งผล
ดีงามแก่ผู้ให้ทานทั้งหลาย แม้แต่พระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ ที่มาตรัสรู้ก็ล้วนแต่มาจากการ
บาเพ็ญทานบารมีทั้งนั้น ทานจึงเป็นเบื้องต้นของการบาเพ็ญบารมีของพระโพธิ สัตว์ ที่จ ะเป็ น
พระพุทธเจ้าในอนาคตเบื้อ งหน้า เป็นการปลูกฝังอัธยาศัยรั กในการให้ทานในทุก ภพทุ ก ชาติ
ทานที่ท่านเหล่านั้นทาแล้วสั่งสมเกิดเป็นบุญ และบุญที่สั่งสมมากขึ้นก็ย่อมนาไปสู่วิถีทางที่ จ ะ
เข้ า ถึ ง ความเป็ น เลิ ศ การบริจ าคทานหรือ การให้ท านนั้ น ผู้ ใ ห้ ย่ อมได้ รั บ ความสุ ข ย่ อ มมี
ความสุ ข เป็ น สุ ข ที่ มั่น คง และถาวรยั่ ง ยื น เผื่ อ แผ่ ไ ด้ อ ย่ า งกว้ า งขวาง ยิ่ ง ให้ ก็ ยิ่ ง เกื้ อ กู ล
เป็นประโยชน์สุขแก่ชนทั้งหลายโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การยอมเสียสละความสุขของตน ซึ่งถือ
ว่าเป็นสุขส่วนน้อย เพื่อมุ่งประโยชน์สุขที่ยิ่ง ใหญ่ อันจะช่วยให้สรรพสัตว์ทั้งหลายพ้น ทุ ก ข์ ไ ด้
นั้นนับเป็นการเสียสละที่มีคุณค่า ที่ใสสะอาดบริสุทธิ์ พระโพธิสัตว์ทั้งหลายต่างก็ประพฤติ ต น
ในลั ก ษณะนี้ ดั ง พุ ท ธภาษิ ต ที่ ก ล่าวไว้ ว่า ถ้ า บุ ค คลพึ งเห็ นสุ ข อั นยิ่ ง ใหญ่ เพราะเสียสละสุข
เล็กน้อย ผู้มีปัญญาพึงเสียสละสุขเล็กน้ อย เพื่อให้เกิดสุขยิ่ งใหญ่ (พระมหาสุวิทย์ วิชฺเชสโก,
2541: 203-204)
การให้ ท านในทางพระพุ ท ธศาสนานั้ น เน้ น ที่ เ จตนาอัน บริ สุท ธิ์ คื อ ช่ ว ยเหลือ
เกื้อกูลผู้อื่นด้วยจิ ต เมตตา เพื่อขจัดความตระหนี่ ความเห็นแก่ตั ว ละความโลภ ความโกรธ
ความหลง ประสงค์มีชีวิตในปัจจุบันให้เป็นสุข อนาคตไปสู่สุคติ เพราะมีศรัทธา คือ ความเชื่ อ
เรื่ อ งของกรรม และผลของกรรม ประกอบด้ ว ยปั ญ ญาเป็น เครื่ องพิ จ ารณาด้ วยดี แล้วจึง
ให้ทาน ดังนั้น เจตนาในการให้ทานของทายกผู้ใ ห้ จึงนับได้ว่าเป็นส่ วนสาคั ญที่ สุด และเป็ น
เบื้องต้นของการสร้างความดี การให้ทานจะมีผลมากน้อยนั้น ขึ้นอยู่กับเจตนาและวัตถุทานที่
ทาไป การให้ทานถือว่าเป็นเรื่อ งสาคัญ อย่างหนึ่ งในการบาเพ็ญบารมี ครั้นบรรพกาลก่ อ นที่
พระสั มมาสั มพุ ท ธเจ้ า อุ บั ติ ขึ้ น คนอิ น เดี ย โบราณถื อ ว่ า การให้ ทานที่ไ ด้ อ านิส งส์ มากคือ
การฆ่ า คนและสั ต ว์ ค ราวละมาก ๆ เพื่ อ บู ช าเทพเจ้า เชื่ อ และปฏิบั ติ สืบ ต่ อ กัน มาอย่างนั้น
วารสารวิ ช าการ มจร บุ รี รั ม ย์ | 31
ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (2563) : มกราคม–มิถุนายน

จนกระทั้งพระพุทธเจ้าอุบั ติขึ้น พระองค์ตรัสและสั่งสอนใหม่ ว่า คนและสัตว์ทั้งหลายต่ า งรั ก


ตั ว กลั ว ตายกั น ทั้ งนั้ น รั ก สุ ข เกลีย ดทุ กข์ เ หมื อนกั น การท าทานที่ ไ ด้ บุ ญต้ อ งไม่ ใ ช่ ด้ วยการ
เบี ย ดเบี ย น หากแต่ ต้ อ งการฆ่า กิ เลสตั ณหาของตนเอง จึ ง เป็ นการให้ท านที่ มีแต่ ค วามสุข
โดยการให้เพื่อตนเองและผู้อื่นอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข การให้ ทานทางพระพุทธศาสนาแบ่ ง
ออกเป็น 3 ระดับ คือ 1) ระดับสามัญจัดเป็นทานบารมี 2) ระดับสูงขึ้นจัดเป็นทานอุป บาร มี
3) ระดับสูงสุดจัดเป็นทานปรมัตถบารมี (ขุ.จริยา. (ไทย) 33/776-778) การให้ทานผู้ให้ย่ อ ม
ก่อให้เกิดความปิติ และความสุ ขทางใจ ในทางพระพุทธศาสนา พระสัมมาสัมพุ ทธเจ้าได้ ต รั ส
ผลของการให้ทานไว้ 5 ประการ ในทานานิสังสูตร (องฺปญฺจก. (ไทย) 22/56) คือ
1. ผู้ให้ทานย่อมเป็นที่รักที่พึงพอใจของคนมาก
2. สัตบุรุษผู้สงบย่อมคบหาผู้ให้ทาน
3. กิตติศัพท์อันงามของผู้ให้ทานย่อมขจรไปไกล
4. ผู้ให้ทานย่อมไม่ห่างเหินจากธรรมของคฤหัสถ์
5. ผู้ให้ทานหลังตายไปแล้วย่อมเกิดในสุคติโลกสวรรค์
การให้ทานของพุทธศาสนิก ชนคนไทยในปัจจุบั นก็ มีการประพฤติปฏิ บัติสื บ ทอด
ตามพระพุทธศาสนามาตั้ งแต่ สมัย สุโขทัย อยุธยา จนถึ งยุครัตนโกสินทร์ตอนต้นก็ยังคงความ
เป็ น พุ ท ธ จุ ด หมายยั ง เป็ น ไปเพื่ อ พระนิ พพาน แม้ ก ระทั้ ง เด็ ด ดอกไม้ บู ช าพระก็ ยั ง มุ่ ง ถึ ง
ซึ่งพระนิพพาน การบริจาคทาน นอกจากจะหมายถึง อามิสทานแล้ว ยังหมายเอาอภัย ทาน
และวิทยาทานด้วย ซึ่งอามิสทาน อภัยทาน และวิทยาทานนี้ ใช่เพื่อหวังประโยชน์ ยังย่อ ม
เป็ น ที่ รั ก ของคนหมู่ มากได้ รั บ เกี ยรติ เจริ ญ ด้ ว ยยศเป็ น คุ ณธรรมส าคั ญ ของพระโพธิสัตว์
ตลอดจนถึงพระนิ พพาน ในคัมภีร์พระพุ ทธศาสนาแสดงไว้ ว่า การบริจาคทานที่ยิ่ งใหญ่มี 5
ประการ เรียกว่า ปัญจมหาบริจาค” (ขุ.พุทฺธ.อ. (ไทย) 9/2/44) คือ บริจาคทรัพย์ บริจาค
อวัยวะ บริจาคบุตรธิดา บริจาคภรรยาและบริจาคชีวิต ที่พระโพธิสัตว์ได้เ สวยพระชาติ ก็ ท รง
บาเพ็ญบารมีอันเนื่องปั ญจมหาบริจาคเป็นคุ ณธรรมที่พระโพธิสั ตว์จ ะขาดมิ ได้ ทานเป็นก้า ว
แรกแห่ ง การบ าเพ็ ญ ทานบารมี ของพระโพธิ สั ต ว์ผู้ ป ราถนาจะเป็ นพระพุ ท ธเจ้ าในอนาคต
(ที.สี.อ. (ไทย) 1/1/172)
ในคัมภีร์ชินาลังการฎีกา พระพุทธรักขิตาจารย์ได้อธิบายไว้ว่า พระพุทธองค์ไ ด้ รั บ
บริจาคพระมังสะและพระโลหิ ตเป็นทานเพื่อนาประโยชน์สุขแก้ส รรพสัตว์ ตลอดกาลทั้ ง ปวง
(พระพุทธรั กขิ ตาจารย์, 2548: 219) การบาเพ็ญบารมีต่า ง ๆ ของพระพุทธเจ้ากาหน ดนั บ
ไม่ได้ โดยกล่าวเป็นคาถาไว้ว่า พระโพธิสัตว์นั้นได้ให้โ ลหิต มากกว่าน้าทะเล ได้ให้เนื้อของตน
เป็นทานจนชนะแผ่น ดิ น ได้ให้นัยน์ตามากกว่า ดวงดาวในท้ อ งฟ้า (พระพุทธรั กขิ ตาจาร ย์ ,
2548: 229)
32 | Academic MCU Buriram Journal
Vol. 5 No. 1 (2020) : January–June

ส่วนการให้ทานของพุท ธศาสนิก ชน ตาบลคูเมือง อาเภอคูเมือง จังหวัดบุรี รั มย์


ซึ่งเป็นชุมชนอยู่ในเขตอาเภอเมือ งใกล้ ความเจริ ญ ชาวบ้านยังมีการทาบุญให้ทานตามจารี ต
ประเพณี คือ ตื่นเช้ามามีการทาบุญตักบาตร ไปวัด และทาบุญตามหลั กทางพระพุท ธศาสนา
ตามประเพณี ฮีตสิบสอง คลองสิบสี่ ทาบุญให้ทานในวันส าคั ญ ต่าง ๆ มีความสนใจท า บุ ญ
ตามหลักพระพุทธศาสนา คือ ทาบุญวันเข้าพรรษา บุญออกพรรษา บุญกฐิน บุญเทศมหาชาติ
เป็นต้น ตามหลักพระพุท ธศาสนาสอนให้ เสี ยสละให้แ ก่ผู้ อื่น แต่ปุถุชนทั่วไปยั ง มี ควา มโลภ
ความโกรธ ความหลงเป็น พื้น ฐานภายในจิต ใจอยู่ ดังนั้น การให้ทานย่อมมีแรงจู งใจต่ า งกั น
อย่างแน่นอน ส่วนบัณฑิตทั้งหลายที่ มีในอดี ตหรือปั จจุบัน ย่อมให้ทานโดยไม่ เห็ นแก่ สุ ข เจื อ
ด้วยกิเลส แต่ย่อมให้ทานเพื่อ กาจัด กิเ ลส กล่าวคือ บัณฑิตให้ทานเพื่อช่วยเหลือ ผู้อื่น เพราะ
เป็ น การก าจั ด ความตระหนี่ ภ ายในและซั ก ฟอกจิต ใจตนเองให้ บ ริสุ ท ธิ์ แต่ อ ย่ า งไรก็ตาม
เนื่องจากการให้ทานที่ดีย่อมจะเอื้อประโยชน์ตนเองและผู้อื่น แต่ในทางกลับกันถ้าให้ทานโดย
ผิ ด หลั ก การที่ ดี ที่ ถู ก ต้ อ งแล้ ว ย่ อ มมี ผ ลน้ อ ยและอาจไม่ เ กิ ด ประโยชน์ อั นใดต่ อ ผู้ ทาทาน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมไทยพุ ทธทั่ วทุกภาคของประเทศไทย คนไทยส่วนใหญ่ยินดีในการ
ท าบุ ญ ให้ ท าน แต่ ก ารให้ ท านในปั จ จุ บั น มี ป ระเด็ น ที่ ก่ อ ให้ เ กิ ด ปั ญ หาในการโต้ แ ย้ ง ทาง
ความคิดเกี่ยวกั บคาสอนและวิ ธีปฏิ บัติ ในการทาบุญให้ทาน เพราะมีแนวคิดจารี ตปร ะเพณี
และการปฏิ บั ติ ข องชุ มชนนั้ น ๆ เข้ า มาเกี่ ย วข้อ งกั บ หลั ก ศาสนา สาเหตุ นี้ จึง เป็น ประเด็น
เกี่ยวกับคุณค่าทางจริยธรรมในการให้ทานเสมอ
ดังนั้น ผู้วิจัยจึงเห็นว่า การศึกษาการให้ท านของพุท ธศาสนิก ชน ตาบลคู เ มื อ ง
อาเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อต้องการทราบประเด็น ปัญ หา ที่มีอิทธิพลต่อชุมชนมานาน
ตลอดถึงแนวคิดของผู้ ให้ทานว่า ได้รับอิทธิพลจากคาสอนจากศาสนาหรือได้รับ อิท ธิพ ลจาก
จารีตประเพณี จากวรรณกรรมพื้นบ้าน หรือว่าให้ทานตาม ๆ กันมา จึงเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่ ง
ที่นามาศึกษาเพื่อเป็นแนวทางแก้ ไขในอนาคตข้างหน้า แล้วนามาปรับประยุกต์ใช้เ พื่อ ให้ เ กิ ด
ประโยชน์ และน าไปสู่ ค าตอบทางวิ ช าการและเป็ นประเด็ นที่ น่ า สนใจในการท างานวิจัย
ทางด้านพระพุทธศาสนาแก่ผู้ที่สนใจสืบต่อไป
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาหลักการให้ทานตามหลักพุทธธรรมในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท
2. เพื่ อ ศึ ก ษาการให้ ท านของพุ ท ธศาสนิ ก ชน ต าบลคู เ มื อ ง อ าเภอคู เ มื อ ง
จังหวัดบุรีรัมย์
3. เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางส่ ง เสริ มการให้ ท านของพุ ท ธศาสนิ ก ชน ต าบลคู เ มื อ ง
อาเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
วารสารวิ ช าการ มจร บุ รี รั ม ย์ | 33
ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (2563) : มกราคม–มิถุนายน

3. วิ ธีดาเนิ นการวิ จัย


การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็น การศึ กษาวิจัยเชิง คุ ณภาพ คือ การศึกษาข้อมูลปฐมภู มิ
(Primary Sources) จากพระไตรปิ ฏ กภาษาไทยฉบั บ มหาวิ ท ยาลั ยมหาจุฬ าลงกรณราช
วิ ท ยาลั ย และข้ อ มู ล ทุ ติ ย ภู มิ (Secondary Sources) จากเอกสารงานวิ จั ย ต่ า ง ๆ และ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งผู้วิจัยได้ดาเนินการวิจัย (Reseach Process) ตามขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาหลักการให้ทานที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท
ผู้ วิ จั ย ได้ ด าเนิ น การศึ ก ษาวิ จั ย ปร ะวั ติ ก ารให้ ท าน ของพุ ท ธศาสนิ ก ชน ใน
พระพุทธศาสนาเถรวาท จากพระไตรปิ ฎก และเอกสารงานวิ ชาการต่า ง ๆ และงานวิ จั ย ที่
เกี่ยวข้อง
ขั้ น ตอนที่ 2 ผู้ วิ จั ย ลงมื อ ท าการสร้ า งเครื่ อ งมื อ แบบสั มภา ษณ์ โ ดยส่ ง ให้
ผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 ท่านตรวจสอบเครื่องมือแบบสัมภาษณ์
ขั้นตอนที่ 3 ผู้วิจัยนาเครื่ องมื อ แบบสั มภาษณ์ เก็ บ ข้อ มู ลโดยการเก็ บรวบรวม
ข้อมูลสัมภาษณ์แบบเจาะจงกลุ่มเป้าหมายดั งนี้
1. กลุ่มผู้นาพระสงฆ์ 5 รูป
2. กลุ่มผู้นาชุมชน 8 คน
3. กลุ่มอุบาสก-อุบาสิกา 10 คน
ขั้นตอนที่ 4 โดยวิธีการสัมภาษณ์รายบุ ค คลแล้ว ทาการบั นทึ ก ถ่ายภาพวี ดี โ อ
ภาพนิ่ง อัดเสียง
ขั้ น ตอนที่ 5 น าข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการสั มภาษณ์ มาพิ มพ์ เ รี ย บเรีย ง แยกแยะใน
ประเด็นต่าง ๆ ทีศึกษาความสาคัญของปัญหา ความสาคัญของการให้ทาน และหลักการของ
การให้ทาน
ขั้นตอนที่ 6 ผู้วิจัยนาผลการศึกษามาเผยแผ่ในรูปแบบของวิทยานิพนธ์
4. สรุปผลการวิจัย
จากการศึ ก ษาการให้ ท านของพุ ท ธศาสนิ ก ชน ต าบลคู เ มื อ ง อ าเภอคู เ มื อ ง
จังหวัดบุรีรัมย์ แนวทางการส่งเสริมให้ ความรู้แ ละความความศรัทธาในการให้ทานที่ถู ก ต้ อ ง
แนวทางการส่งเสริมวิธีการให้ ทานของพุ ทธศาสนิก ชนที่ถู กต้ อง แนวทางส่งเสริมการบ าเพ็ ญ
กุ ศ ลที่ ถู ก ต้ อ ง และแนวทางการส่ ง เสริ มการให้ ท านตามเทศกาลและประเพณี ที่ ถู ก ต้อง
ได้ผลสรุปดังนี้
4.1 การให้ทานในพระพุทธศาสนาเถรวาท
ถ้าจะถามว่าชี วิ ต ควรอยู่เ พื่ อ อะไร หากจะตอบตามหลั ก พุท ธธรรมก็ ตอบได้ ว่ า
ชี วิ ต ควรอยู่ เ พื่ อ บ าเพ็ ญ ประโยชน์ เพื่ อ สร้ า งความดี และเพื่ อ พั ฒ นาตนและสั ง คม ซึ่ ง ทั้ง 3
34 | Academic MCU Buriram Journal
Vol. 5 No. 1 (2020) : January–June

ประการนี้ นาไปสู่เป้าหมายสูงสุดคือความพ้นทุกข์ และทุกคนในสังคมยังคงแสวงหาควา มสุ ข


ที่แท้จริง ทั้งที่ความสุข อันแท้จริ ง ที่เ ป็น พื้น ฐานสาหรับ คนในสัง คม และเป็นความสุข ที่ เ ป็ น
ความดีที่ทาได้ง่าย ๆ นั่นก็คือทาน ซึ่งคนในสังคมยังมีความเข้าใจที่ผิด ไปจากหลัก พุทธศาสนา
คนในสั ง คมยั ง มี ทั ศ นคติ ใ นเรื่อ งทานที่เ ข้ าใจว่า การให้ ท านคือ อามิ สทาน การให้ สิ่ งของที่
มองเห็นว่าใหญ่โตเพื่อ แสดงถึ งฐานะบารมี แต่ทานในพุทธศาสนา หมายถึงการให้ด้วยความ
บริ สุ ท ธิ์ ใ จ ไม่ ห วั ง ผลตอบแทน ทานยั ง หมายถึ ง การสงเคราะห์ การบริ จ าค การแบ่งปัน
การเสี ย สละ ไม่ ว่ า จะเป็ นการให้ สิ่ ง ของ อั น เป็ นการเสีย สละทรัพย์ สิน ของตนให้ แก่คนอื่น
เป็ น การเฉลี่ ย ความสุข ที่ ต นมี ใ ห้ กั บคนอื่ น หรื อ เป็ น การบารุง ศาสนาให้ด ารงคงอยู่ ไ ด้ เพื่อ
ประโยชน์ของสั งคม การให้ทานมีทั้งอามิส ทาน (การให้สิ่งของหรือวัตถุที่ ควรให้) ธรรมทาน
(การให้พระธรรมคาสั่งสอน) หรือแม้กระทั่งการให้หนังสือที่ดี ๆ ซักเล่ม การให้ความรู้ และการ
ให้อภัยไม่ว่าคนหรือสัตว์ (อภัยทาน) หรือการให้ความปลอดภัย ความไม่มีภัยแก่ตนเองและผู้อื่น
พุทธศาสนาเน้น จุ ด มุ่ง หมายของการให้ ทาน ให้เพื่อบูช าคุ ณ ให้เพื่อสาธาร ณะ
ประโยชน์ (ส่วนรวม) ให้เพื่ออนุเคราะห์ ให้เพื่อสงเคราะห์ ให้เพื่อชาระกิ เลสหรื อ เพื่ อ สร้ า ง
ความดี จะเห็นได้ว่าการให้นั้นก็เพื่อขจัดความตระหนี่ ความหวง ความเห็นแก่ตัว ซึ่งก็คือการ
กาจัดกิเลสในจิตใจของตนเองนั่นเอง และเราก็รู้ว่าในทางพุทธศาสนาให้ค วามสาคัญแก่ ท าน
เพราะทานจั ด เป็น การท าบุ ญ อย่า งหนึ่ งในบุญ กิ ริย าวั ต ถุ 3 เป็ น การสั่ ง สมบุ ญบารมี ให้กับ
ตนเอง ในทัศนะของคนในสัง คมที่ เ ป็นชาวบ้า นในหมู่บ้า นที่ สืบ ต่ อกัน มาหลายช่ วงคนจ ะให้
ความสาคัญของทานในลักษณะที่ผิ ดไปจากหลั ก พุทธศาสนา หรือพระไตรปิฎกที่แตกต่ า งกั น
ในเรื่องของความเข้าใจในหลักปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้อ งกับแนวทางการให้ทาน
4.2 การให้ทานของพุทธศาสนิกชน ตาบลคูเมือง อาเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
พุ ท ธศาสนิ ก ชนต าบลคู เ มื อ ง อ าเภอคูเ มื อ ง จั ง หวั ด บุ รีรั มย์ เป็ น ชาวบ้า นที่ยัง
ยึดถือปฏิบัติต ามขนบธรรมเนี ย มประเพณี การปฏิ บั ติเ กี่ ยวกับ ความเชื่ อและศรัท ธาใน พร ะ
ธรรมคาสอนของพระพุทธศาสนา มิได้ละเลยต่อความเป็น พุท ธศาสนิก ชนที่ดี คือยังทาบุญให้
ทาน แด่พระภิกษุสงฆ์ตลอดถึงเพื่อนมนุษย์และสั พสั ตว์ทั้ง หลายตลอด แม้ว่าในปัจจุบันความ
เจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีจะเพิ่มขึ้น การใช้ชีวิตเริ่มปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัยที่ก้าวผ่านไป
ตามกระแสโลกาภิวัตน์แล้วก็ ตาม การทาบุญให้ทานก็ยัง เหนีย วแน่น คงอยู่คู่ ไปกับ จิต ใจของ
พุทธศาสนิกชนเสมอมา
พุทธศาสนิกชนตาบลคูเมือง อาเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ มีความเข้าใจตรงกันว่ า
ทาน คือ การให้ เช่น ให้ทานกับพระด้ วยการตั ก บาตรทุ กเช้าและไปวั ด การให้ทานสิ่ ง ของ
ชาวบ้ า นถิ่ น นี้ ดู ยั ง เป็ น การให้ ท านที่ เ ป็ น พื้ น ฐาน คื อ ปั จ จั ย 4 คื อ สิ่ ง ของ เครื่ อ งใช้
พวกอุ ป โภคบริ โ ภค เน้ น และคุ้ น เคยกั บ วิ ถี ป ฏิ บั ติ แ ห่ ง วั ฒ นธรรมสมั ย ก่ อ นมานานมา ก
แต่ ณ ปัจจุบัน ทานของชาวบ้านเริ่มมี ความหมายที่ก ว้างขึ้น ไม่จากัดเหมือนสมัย ก่อน เช่น
วารสารวิ ช าการ มจร บุ รี รั ม ย์ | 35
ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (2563) : มกราคม–มิถุนายน

ให้ความช่วยเหลือ ให้ความมีน้าใจให้การแบ่งปัน ให้คาปรึกษา ให้ความศรัทธา เพื่อสร้างบุ ญ


บารมี บุคคลที่ชาวบ้านส่วนใหญ่ใ ห้ทานจะแบ่ง ได้ 5 กลุ่ม คือ 1) พระสงฆ์ โดยให้เหตุผ ลว่ า
เป็นผู้ทรงศีล เป็นผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ มีความประพฤติถูกต้อง ดาเนินชี วิตตามหลักธรรมค า
สอนของพระศาสนา 2) ญาติ เช่น พ่อแม่ ครูบาอาจารย์และมิตรสหาย เนื่องจากบิดามารดา
เปรียบเหมือนดังพระอรหันต์ 3) คนชรา คนพิการ คนยากจน เด็กกาพร้า 4) หน่วยงานต่าง ๆ
เช่น มูลนิธิ โรงพยาบาล โรงเรียน มหาวิทยาลัย ฯลฯ และ 5) สัตว์เลี้ยงทั่วไป พุทธศาสนิกชน
ตาบลคูเมืองมองว่าการให้ทานเป็นส่วนหนึ่ง ของชี วิต การให้จึงมีวัตถุประสงค์มากมายแล้ ว แต่
บุคคล เช่น เพราะความสงสาร อยากช่วยเหลือ อยากได้บุญกุศล อยากมีความสุขปรารถนา
สวรรค์ พระนิพพาน อีกอย่างเคยเห็นพ่อ แม่ ตา ยาย พาปฏิบัติ ถือเป็นธรรมเนียมประเพณี
ที่ต้องทาสืบกันมา และส่วนหนึ่งมาจากจิต ใต้สานึกที่ถูกปลูกฝังของคนในครอบครั วเพื่ อ สื บ
ทอดวัฒนธรรมพระพุทธศาสนา และเห็นใจในฐานะที่เป็นเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน
นอกจากนี้ยังให้ทานตามหลักศาสนาของชาวพุทธแล้ว พุทธศาสนิกชนตาบลคูเมือง
มี เ หตุ ใ ห้ ท าน คื อ 1) เลื อ กก่ อ นให้ 2) คิ ด ก่ อ นให้ 3) ให้ ต ามความเหมาะสม 4) ดู จ าก
บุคลิกภาพลักษณะ 5) ให้ตามฤดูกาล มีการคัดเลือกผู้รับทานและผู้ให้ทาน ผู้รับทาน แบ่งได้
2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ไม่เลือกผู้รับทานกั บกลุ่ มที่ เลือ กผู้รับ ทาน เช่น พระสงฆ์ เลือกคนที่ยากจน
คนด้ อ ยโอกาส ผู้ ที่ เ ดื อ ดร้ อ นขาดแคลน คนขอทาน เด็ ก ก าพร้ า คนพิ ก าร และบุ ค คลที่
น่ า เชื่ อ ถื อ มากที่ สุ ด ไว้ ใ จที่ สุด มี ย กเว้ น ว่า คนดื่ มสุ รา คนขี้ ย า ไม่ มีคุ ณสมบั ติ เ ป็ นผู้รับทาน
ส่วนผู้ให้ทาน ควรเป็นผู้มีจิต ใจกว้า งขวาง สะอาด บริสุทธิ์ ทาแล้วไม่สร้างความเดือ ดร้ อ น
ให้กับตัวเองครอบครั วและผู้อื่ น ควรเป็นคนดี มีเจตนาจะให้ แบ่งปัน และมีความพอ เพี ย ง
ควรเป็นผู้ไม่มีความเดือ ดร้อน มีจิตใจใสสะอาด บริสุทธิ์ ควรมีจิตใจดีงาม มีศีล สร้างศรัทธา
ด้ ว ยความบริ สุ ท ธิ์ ไม่ คิ ด จะเอาเปรี ย บ (เอาหน้ า) หรื อ สร้ างความเดื อ ดร้ อ นให้ กั บคนอื่น
เป็ น คนมี ค วามเมตตา ชอบท าบุ ญ ให้ ท าน เป็ น ผู้ มีบุ ญ บารมี สู ง มี บุ ญ เก่ า ควรเป็ น ผู้
ประกอบด้ว ยศรั ทธามีศี ล สุจริ ต ไม่โ กงไม่ ลั กขโมย มีวุฒิภาวะสูง น่าเคารพนับ ถือ ต้องเป็ น
เหมือนพระภิกษุหรือมีจิตใจเหมือนพระ และมีความแตกต่างไปตามวิถีชีวิ ต และความเป็น อยู่
ให้ความสาคัญด้านเจตนา และความเมตตาต่อ ทุก ๆ ชีวิต และมีบางกลุ่มที่ให้ความเห็น ว่ า ไม่
จากัดคุณสมบัติผู้ให้ทาน ทุกคนสามารถทาทานได้
วิธีให้ทานของพุทธศาสนิกชน ตาบลคูเมือง อาเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ก่อนให้
ทาน ขณะให้ทาน หลังให้ทาน ชาวบ้านตาบลคูเมือ ง รู้สึกยินดีและปีติ มีความดีใจ และเบิ ก
บานใจ โดยมีเจตนาเป็น ที่ตั้ ง เพราะการให้ไม่จาเป็น ต้ องเป็น เรื่ องทรั พย์สิ นเงิน ทอง ถ้ามีใจ
เจตนาแล้ว ทานที่ให้ยิ่งสร้างพลั งแห่ง ความสุ ข การให้ล้วนแต่ผ่านการคั ดเลือ กเป็ นอย่ า งดี
มีความเหมาะสม ถึงแม้จะทาด้วยตนเองหรื อฝากกั บคนอื่ นก็ตาม สิ่งของที่ให้ต้องสุจริต ไม่ ลั ก
ขโมยและตามกาลเวลา เป็นการให้ทานที่ดี ส่วนการให้ทานที่ไม่ดีนั้นคือ สิ่ งของที่ลักขโมยมา
36 | Academic MCU Buriram Journal
Vol. 5 No. 1 (2020) : January–June

ทานที่ให้แล้วสร้างความทุ กข์ภายหลัง เพราะทาเกินกาลังและบางคนให้ทานเพื่อเอาหน้ า เอา


ตา ไม่ ค วรที่ จ ะท าอย่ างยิ่ง และอานิส งส์ข องทานที่ มีมาก คื อ ท าทานด้ ว ยความบริสุทธิ์ใจ
ไม่ ส ร้ า งความเดื อ ดร้ อ นให้ แ ก่ ต นเองและผู้ อื่น การสั่ งสอน อบรมคนให้ อ ยู่ใ นศี ลในธรรม
(ธรรมทาน) การให้อภัยกัน ไม่ถือโทษโกรธกัน การรักษาศีล 5 (อภัยทาน) ทานประเภทนี้ย่อม
ได้รับอานิสงส์มาก ไม่สร้างความแตกแยกหรือเบียดเบียนกัน มีความสามัคคี ปรองดองกัน
ประโยชน์สูงสุดของการให้ทานของชาวตาบลคูเ มือง คือ ความสุขที่เกิดจากให้ ไ ด้
เป็นบุญกุศลทั้งในปัจจุบัน ชาติ และอนาคตชาติ เกิดชาติหน้าจะได้มีสุ ขความพร้ อมทุก อย่ า ง
กระทั่ ง ความสบายใจ ประโยชน์สูงสุดคือการสะสมเสบียงบุญไว้เ พื่ อเตรียมพร้ อมในการออก
เดินทาง ทั้งในปัจจุบันชาติ หรืออนาคตชาติ ให้ความสาคัญกั บ พระนิ พพานทาให้มีค วา มสุ ข
กาย สบายใจ ซึ่งก็จะส่งผลชีวิ ต ดาเนินไปอย่ างมี ความสุ ข รวมทั้งเป็นการให้ผู้ อื่น มีค วา มสุ ข
ด้วย ซึ่งภาษาสมัยใหม่เรียกว่า เป็นการเฉลี่ยความสุขให้กัน
ในวิ ถี ชี วิ ต ของชาวบ้ า นต าบลคู เ มื อ งในปั จ จุ บั น ที่ เ ปลี่ ย นจากชุ ม ชนเล็ ก ๆ
จนกระทั่งเป็นชุมชนขนาดกลาง จึงต้องตระหนักถึงความสาคัญของการเป็นผู้ให้ วัฒนธรรมการ
เคารพผู้อาวุโส การขอพร และคาสั่งสอนให้ประพฤติ ปฏิบั ติให้ ถูก ต้อ งตามทานองคลองธร รม
ยังมีให้เห็นอยู่ เป็น ประจา ยังคงเหนียวแน่ นกั บการเข้าวั ด ฟัง ธรรม เป็นตัวอย่างให้ เห็ น และ
ปฏิบัติตามอยู่เ สมอ แม้ว่าทุกวันนี้ผู้อาวุโ ส หรือผู้นาชุมชนจะลดน้อ ยถอยลง แต่ยังมีค นรุ่ น
ใหม่ที่มีการศึกษาและคนที่ ได้รับ การปลูกฝั งให้รั กษาขนบธรรมเนียม ประเพณีที่ดีงามถู ก ต้ อ ง
ยั ง พากั น ยึ ด ถื อ ตามฮี ต ตามคองของรุ่นเก่ า ที่ น่ าจะเรี ยกว่ า เป็ นการส่ งผ่ านความเชื่อความ
ศรัทธาของรุ่นต่อรุ่น เป็นการแสดงให้เห็นว่า การให้แม้เป็นเพียงจุดเริ่มที่ เล็ก ๆ ที่อาจไม่มีใ คร
คิด แต่นั่นคือจุดเริ่มต้นที่ยิ่งใหญ่ของคนในสังคม คนในประเทศ
ดั ง นั้ น การให้ ท านจึง เป็ นก้ าวแรกแห่ งการพั ฒ นาคุ ณภาพชี วิ ต ให้ ต ระหนักใน
ประโยชน์สุขที่เกิดจากการให้ ส่งเสริมให้ทุกคนรัก การให้ เป็นผู้ให้อยู่เสมอ จนมีการให้เ ป็ น
หลักสาคัญในการดาเนินชีวิต ซึ่งจะทาให้ประสบความสุข ความสาเร็จ มีคุณภาพชีวิต ที่ ดี ขึ้ น
ในที่สุด
4.3 แนวทางการส่ งเสริ มการให้ ท านของพุ ทธศาสนิ กชน ตาบลคู เมื อง อาเภอคู
เมือง จังหวัดบุรีรัมย์
แนวทางการส่ ง เสริ มให้ค วามรู้ แ ละความความศรัท ธาในการให้ ท านที่ถู กต้อง
การที่จะส่งเสริมความรู้และความศรั ทธาต้อ งส่งเสริมให้ พุทธศาสนิกชนให้รู้ถึงความหมายของ
การให้ทานที่ถูกต้องตามหลักพุทธศาสนา คือ 1) ให้ความรู้และความศรัทธาที่ถูกต้อง 2) มีการ
จัดกิจกรรมการทาบุญ ให้ ทานในวัน สาคัญ ทางพระพุท ธศาสนา 3) มีการประชาสั มพั น ธ์ ใ ห้
ทั่วถึง และให้ความรู้ความเข้าใจในลักษณะการให้ทานที่ ดี วิธีการให้ทาน และจุดมุ่งหมายของ
วารสารวิ ช าการ มจร บุ รี รั ม ย์ | 37
ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (2563) : มกราคม–มิถุนายน

การให้ทานทาการให้ทานแล้วได้อ ะไร ทานคือการให้ด้วยความบริสุ ทธิ์ การให้โดยไม่ห วั ง สิ่ ง


ตอบแทน ทาให้เกิดผลบุญ ผลบุญที่ทาให้เรามีชีวิตสมบูรณ์ขึ้น ดังนั้น ทานเป็นพื้นฐานของการ
พั ฒ นาคุ ณภาพชี วิ ต ให้ ใ นสิ่ งที่ ค วรให้ กั บ คนที่ ควรได้ การผลบุ ญจากการให้ ท านจะนามา
ซึ่งความสุขของเรา การให้ทานควรให้ด้วยลัก ษณะการให้ทาน 5 ประการ ดังนี้ การให้ทาน
ควรให้ด้วยศรัทธา ให้ทานโดยความเคารพ ให้ทานตามกาลอันควร ให้ทานด้วยจิตอนุเคราะห์
และให้ทานไม่กระทบตนและคนอื่น ซึ่งการให้ทาน มีจุดมุ่งหมายการให้ทานเพื่ อมุ่ งปรั บ ปรุ ง
จิตใจให้สูงขึ้น ละเว้นการยึ ดติ ด กับ ทรั พย์ สิน ละเว้นต่อกิ เ ลส ซึ่งนี่คือจุดมุ่ งหมายในการ ให้
ทาน ซึ่งพุทธศาสนิกชนตาบลคูเมื อง อาเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ มีความรู้และความศรั ท ธา
ในการให้ทาน คือ การเสียสละทรั พย์ สิน ช่วยเหลือผู้ที่ เ ดือ ดร้ อน กรรมดีจากให้ ทาน ไปจ ะ
ส่งผลดี ละจากกิเลส บาเพ็ญบุญกุศล ซึ่งเป็นความรู้และความศรัทธาที่ถู กต้ องแต่ยั งไม่ ค รบ
ซะทีเดียว ควรจะส่งเสริมความรู้ ความศรัทธา ความเข้าใจเพิ่มเติมเรื่อ ง ลักษณะการให้ ท าน
5 ประการ ให้ ด้ ว ยศรั ท ธา ให้ โ ดยความเคารพ ให้ ท านตามกาลอั น ควร ให้ ท านด้ ว ยจิต
อนุเคราะห์ และให้ทานไม่กระทบตนและคนอื่น เท่านี้ พุทธศาสนิกชนจะได้ความรู้และความ
ศรัทธาในการให้ทานความถูกต้องและครบถ้วน
แนวทางส่ ง เสริมการบาเพ็ ญ กุ ศ ลที่ ถู ก ต้อ ง ต้ อ งเข้ าใจว่า พิ ธีก ารบาเพ็ ญกุ ศลที่
ถูกต้องมีอะไรบ้า ง แต่ละพิธีบาเพ็ญกุ ศล มีความหมายและจุ ดประสงค์ ทแี่ ตกต่า งกัน เพราะ
ทุกศาสนามีพิธีกรรมเป็นเครื่ องมือ ให้ พุทธศาสนิ กชนใช้ เป็นแนวทางปฏิ บัติ เป็นศาสนพิธี จ น
กลายมาเป็น วั ฒนธรรมและจารี ต ประเพณี ของชาติที่ มีการถ่ ายทอดจากรุ่น สู่รุ่ นเป็ น ร ะยะ
เวลานาน ซึ่ ง ศาสนพิ ธี มี ค วา มเป็ น ร ะเบี ย บแบบแผนและแบบอย่ า งที่ พึ่ง ปฏิ บั ติ ใ น
พระพุ ท ธศาสนา ซึ่ ง ศาสนพิ ธี แ ยกได้ ห ลายประเภท ได้ แ ก่ ประเภทของศาสนพิ ธี ท า ง
พระพุทธศาสนาและประเภทของงานศาสนพิธี ประเภทของศาสนพิ ธีทางพระพุท ธศาสนา
ประกอบด้วยกุศ ลพิธี พิธีกรรมเฉพาะตั วบุ คคล เช่น การรักษาศีล 5 การปฏิบัติตัวแสดงตั ว
เป็นพุทธมามกะที่ ดี เป็นต้น บุญพิธี เป็นการทาบุญเป็น แบบครอบครั ว ในสังคม ประเพณี
วิถีชีวิต มี 2 ประเภท พิธีทาบุญงานมงคลและพิ ธีทาบุญ งานอวมงคล และทานพิธี คือการ
ถวายสังฆทาน กฐิน ถวายผ้าอาบน้าฝน ประเภทของงานศาสนพิธีนั้ นประกอบด้ วย งานพระราชพิ ธี
งานที่พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าฯ ให้จัดขึ้น งานพระราชกุล เป็นงานที่พระมหากษัตริ ย์ ท รง
บาเพ็ญ พระราชกุศล งานรัฐพิธี เป็นงานที่รัฐบาลจัดเป็นประจาและทูล เชิญ พระมหากษั ต ริ ย์
และงานราษฎร์พิธี งานที่ ต ามความเชื่อ ในสัง คม ชุ มชนนั้ น งานที่ ราลึก ผู้ ล่ ว งลั บ ไปแล้ว
เป็นต้น ซึ่งในแต่ละพิธีนั้นมีองค์ประกอบที่ขาดไม่ ได้ ดังนี้ พิธีกรรม การกระทาวิธีในแต่ล ะพิ ธี
นั้น ๆ พิธีการ ขั้นตอนที่กาหนดเป็นขั้น ตอนลาดับ ตั้ง แต่ ต้นยั งจบพิธี และพิธีกรผู้ดาเนิ น การ
ประกอบพิธีนั้น
38 | Academic MCU Buriram Journal
Vol. 5 No. 1 (2020) : January–June

การบาเพ็ญกุศลของพุ ทธศาสนิ กชน ตาบลคูเมือง อาเภอคูเมือง จังหวัดบุรี รั มย์


ส่วนมากเป็นบุญพิธี งานอวมงคล งานพระราชทานน้าหลวงอาบศพ การเตรียมการทาบุญงาน
บาเพ็ญศพ 7 วัน 50 วัน หรือ 100 วัน งานมงคลของพระพุทธศาสนาเทศกาลและพิธีต่า ง ๆ
ส่ ว นงานการทาบุญ ของพระพุ ท ธศาสนา 3 ประการ คื อ ทานมั ย บุ ญ เกิ ด จากการให้ทาน
ศีลมัย บุญสาเร็จ ด้วยการรักษาศีล ภาวนามัย การถวายทาน ซึ่งพุทธศาสนิกชนตาบลคู เ มื อ ง
นั้นนิยมทาสังฆทานเป็นประจา ให้ทานโดยที่วัดประจาชุมชน ปาฏิบุคลิกทาน ให้ทานระบุผู้รบั
อานิ ส งส์ ที่ พุท ธศาสนิ ก ชนจะได้ รั บ คื อ ได้ ค วามสงบสุ ข ความสามั ค คี ใ นชุ มชน เนื่ อ งจาก
พุทธศาสนิกชนนั้นนิย มให้ทานเป็ นชี วิต ประจาวัน ทาบุญตักบาตรเป็น ที่ป ฏิ บัติ ดีแ ละปฏิ บั ติ
ชอบ ทาให้ชุมชนนั้นเต็มไปด้วยความสุข ซึ่งการทาบุญด้วยการให้ทานนั้นจุดมุ่งหมายคื อ การ
แบ่งปันเสียสละต่อสังคม ให้กับบุคคลที่เดือดร้อน สั่งสมคุณงามความดี ซึ่งพุทธศาสนิกชนนั้ น
เชื่อว่า อานิสงส์การทาบุญจะติดตัวไปทุ กที่ไ ม่เ หมื อนทรั พย์ส มบัติ ที่ห มดอายุขัยแล้ วนาติ ด ตั ว
ไปไม่ ไ ด้ ซึ่ ง จากที่ ก ล่ า วมา พุ ท ธศาสนิ ก ชน ต าบลคู เ มื อ งนั้ น ได้ บ า เพ็ ญ กุ ศ ลกั น เป็ น
ชีวิตประจาวัน เป็นสังคมที่ ควรนาเป็น แบบอย่ าง เพราะฉะนั้น เมื่ อรู้ ว่าจุ ด มุ่ง หมายของการ
ทาบุญคือแก่นไม้แล้ว เราควรส่งเสริมด้วยเปลือ กไม้นั่น ก็คื อศาสนพิธีต่า ง ๆ เช่น งานบุญพิ ธี
ส่วนมาก พุทธศาสนิกชนจะนิยมทางานอวมงคลแก่ญาติ พี่ผู้ล่ว งลั บ ไปส่ วนใหญ่ ควรส่งเสริ ม
ให้มีงานศาสนพิธี งานมงคลต่า ง ๆ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งยิ่งจัดศาสนพิ ธี กุศลพิธี บุญพิธี ทานพิ ธี
ให้มากขึ้น เป็นการส่งเสริมการบาเพ็ญกุศล
แนวทางการส่ ง เสริ มการให้ ทานตามเทศกาลและประเพณี ที่ถู ก ต้ อง ตามหลั ก
พระพุทธศาสนา โดยแนะนาให้ พุทธศาสนิ ก ชน เข้าใจว่า แต่ล ะเทศกาลนั้น มี ประวั ติ ค วาม
เป็ น มา มี ค วามส าคั ญ และที่ ส าคั ญ คื อ ให้ เ ข้ า ใจการท าบุ ญ ท าแล้ ว ได้ รับ ประโยชน์ไ ด้รับ
อานิสงส์จากการทาบุญ ทาบุญอย่างไรบ้าง ประเทศไทยเป็นประเทศเมืองพุท ธ จึงมีเทศกาล
ประเพณี แ ละวั ฒ น ธรร มทางพุ ท ธศาสนา ซึ่ ง ประเพณี แ ละวั ฒ น ธรร มเป็ น สิ่ ง ที่ ดี งา ม
เป็นเอกลั กษณ์ ท้ อ งถิ่ น ถือว่าเป็นพิธี กรรมที่สาคั ญทางศาสนา มีระเบียบแบบแผนเป็ น วิ ธี
เพื่อให้เป็นพฤติกรรมที่พุทธศาสนิกชนปฏิบัติตาม ความเชื่อและความศรัทธา
ซึ่ ง พุ ท ธศาสนิ ก ชน ต าบลคู เ มื อ ง อ าเภอคู เ มื อ ง จั ง หวั ด บุ รี รั ม ย์ นั บ ถื อ
พระพุทธศาสนา เป็นพุทธมามกะ การเชิญชวนพุทธศาสนิก ชนมาบาเพ็ ญกุ ศล สะสมผลบุ ญ
ให้ทานตามเทศกาลและประเพณีตามหลักพุทธศาสนา วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา
วันพระหรือวันธรรมสวนะ เข้าพรรษา ออกพรรษา ประเพณีการถวายผ้าอาบน้าฝน ประเพณี
ตักบาตรเทโว ประเพณีสลากภัต ประเพณีการทอดกฐิน ประเพณีทอดผ้าป้า ประเพณีทาบุ ญ
วันสารทไทย ประเพณีการบวชนาค ประเพณีขึ้นบ้านใหม่ ประเพณี แต่งงาน ประเพณีการจั ด
งานศพ การท าบุ ญ อุ ทิ ศ สวดกุ ศ ล โดยรวมแล้ ว ประเพณี ที่ สื บ ทอดกั บ มาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง
การทาบุญ ฮีต 12 คอง 14 ที่สืบทอดกันมาของคนในตาบลคูเมื อง บุญพระเวส บุญสงกรานต์
วารสารวิ ช าการ มจร บุ รี รั ม ย์ | 39
ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 (2563) : มกราคม–มิถุนายน

บุญเข้าพรรษา บุญข้าวประดับดิน บุญสลาก บุญออกพรรษา บุญกฐินและบุญประจาหมู่บ้ า น


ด้วยที่พุทธศาสนิกชนตาบลคูเ มือ ง เข้าวัดทาบุญกันอย่างต่อเนื่ องอยู่แล้ว เวลามีงานเทศกาล
พุ ท ธศาสนา คนในหมู่ บ้ า นจะรวมตั ว กั นมาช่ว ยกั นจั ด กิจ กรรม ช่ ว ยกั นมาเตรีย มสถานที่
อุปกรณ์ และดาเนินลาดับพิธีกรรมศาสนา ไม่ว่าจะเป็นงานบุญอื่น ๆ พุทธศาสนิกชนตาบลคู
เมือง ก็จะให้ความสนใจและความร่ว มมือเสมอ การที่จะส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชนให้ท านนั้ น
มีแนวทางที่ส่งเสริมการให้ทานตามเทศกาลและประเพณี จัดเป็นจารีตประเพณี ทีป่ ฏิบัติสื บ
ทอดกันมา เป็นการให้ความรู้ความชั ดเจนเกี่ ยวกั บความเป็น มาว่า เพราะอะไรแต่ล ะเทศกาล
จึงจัดพิธีกรรมแบบนั้น ๆ เมื่อเวลาพุทธศาสนิ กชนร่ ว มเทศกาลและประเพณี ทาให้รู้ประวั ติ
และความเป็น มา จนทาให้รู้สึกในการอยากมีส่ วนร่ว มในกิ จกรรมและร่ว มสืบทอดปร ะเพณี
มากยิ่ ง ขึ้ น และอบรมให้ ค วามรู้ แก่ เ ยาวชนและองค์ กร ทั้ ง ในโรงเรียน ชุ มชนหมู่ บ้า น และ
หน่วยงานรัฐทุกภาคส่วน ให้สามารถนาไปปฏิบั ติ เ องได้ หมายความว่า ทาให้เป็นรูป ธร รม
อย่างชัดเจน เกิดความชานาญ และ แนะนาผู้อื่นได้ ที่สาคัญคือการปฏิบั ติใ ห้เ ป็น มาตร ฐาน
เดียวกัน เพื่อให้เยาวชน ประชาชนในท้ อ งถิ่ น มีความรู้ใ นการท าพิธี อ ย่างถู ก ต้อ งและเกิ ด
ประโยชน์ในเชิงวิชาการ เป็นการรักษาเอกลักษณ์ข องท้อ งถิ่น ที่มีความหลากหลายให้ ค งอยู่
อย่างยั่งยืน ส่งผลให้สังคมไทยมีจารี ตขนบธรรมเนีย มประเพณีที่ ดีงาม และเป็นการอนุ รั ก ษ์
วัฒนธรรมประเพณีของชาติ ให้ดารงอยู่สืบไป และที่สาคัญคือการทานุบารุงพระพุท ธศาสนา
ให้มีการสืบทอดและพัฒนาอย่างยั่งยืนสืบต่อไป
5. ข้อเสนอแนะ
ศึกษาการให้ทานของพุ ทธศาสนิ กชนตาบลคู เมื อง อาเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรั มย์
พบว่า ยังมีประเด็นน่าสนใจควรแก่การวิจัยเพิ่มเติม ดังนี้
5.1 ข้อเสนอแนะในการนาผลวิจัย ไปปฏิบั ติ
1. แนวทางการส่ ง เสริมให้ ค วามรู้แ ละความความศรั ท ธาในการให้ทาน
ตากหลักพระพุทธศาสนาเถรวาทว่า ผู้วิจัยจึงมีข้อเสนอแนะให้นาผลวิจัยไปปฏิบัติ เพื่อจะได้
เข้าใจและนาผลวิจัยไปปฏิบัติอย่างถูกต้องและมีเป้าหมายวิธีการอย่างชัด เจน
2. แนวทางการส่ ง เสริ มวิ ธี การให้ ทานของพุ ท ธศาสนิ ก ชน ต าบลคู เ มื อ ง
อาเภอคูเมื อง จังหวัดบุรีรัมย์ ผู้วิจัยจึงมีข้อเสนอแนะให้ นาผลวิจัย ไปปฏิบั ติ วิธีการให้ทานที่
ถูกต้อง ลดความเห็นแก่ตัว ลดการยึดติดวัตถุ ให้ทานวัตถุสิ่งของที่ดี สะอาดและจาเป็ น หรื อ
บรรเทาความเดื อดต่อ ผู้รับ ทาน ให้วิทยาทานและสอนธรรมะ ให้เป็นธรรมะทาน เพื่อสร้ า ง
ความสัมพันธ์ที่ดี สร้างความสามัคคี และสร้างความดีต่อคนในตาบลคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
3. แนวทางส่งเสริ มการบาเพ็ญกุ ศล ต้องส่งเสริ มให้ พุทธศาสนิ กชน ตาบลคู เมื อง
อ าเภอคู เ มื อ ง จั ง หวั ด บุรี รัมย์ ผู้ วิ จั ยจึ ง มี ข้อ เสนอแนะให้ นาผลวิ จัย ไปปฏิ บัติ ส่ ง เสริ มการ
บาเพ็ญกุศล เพิ่มวิธีการบาเพ็ญ กุศ ล งานมงคล งานอวมงคล ทานพิธี การถวายสังฆทานแก่
40 | Academic MCU Buriram Journal
Vol. 5 No. 1 (2020) : January–June

กลุ่ มพระสงฆ์ เพื่ อ ให้ พุท ธศาสนิ ก ชน เสี ย สละวั ต ถุ เ พื่ อ บ าเพ็ ญ บุ ญ กุ ศ ล และเสริ มสร้ า ง
สุขภาพจิตที่ดี
4 . แน วทา งกา รส่ ง เสริ ม กา รให้ ท าน ตามเทศกาลและปร ะเพณี ใ ห้
พุทธศาสนิกชนตาบลคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ให้ความสาคัญวันสาคัญต่าง ๆ ทางพระพุทธศาสนา
เป็นแบบอย่างที่ดีให้ สัง คม ลูกหลานและเยาวชนในสัง คมเพื่อจะเป็น พุ ทธศาสนิ กชน เวลามี
ประเพณีงานบุ ญ ชวนเยาวชนมาช่ วยกันจั ด กิจ กรรม เช่น บุญเข้าพรรษา บุญออกพรรษา
วันวิสาขบูชา เป็นต้น ให้ผู้ใหญ่ในครอบครัวชุมชนหมู่บ้าน ครูในโรงเรียน ให้ร่วมกิจกรรมงาน
บุญในหมู่บ้านเพื่อสืบทอดประเพณีไ ด้อย่างถูก ต้องต่ อไป
5.2 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
1. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น คณะสงฆ์ สานักงานพระพุทธศาสนาแห่ง ชาติ
สานักงานวัฒนธรรมจังหวัด ควรให้ความร่วมมือในการนาแนวคิดที่ได้จากการศึกษาวิจัยครั้ ง นี้
ไปปรับใช้ในการส่งเสริมการให้ทานของชาวพุทธในท้องที่ต่าง ๆ ของประเทศไทย
5.3 ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่ อไป
การศึกษาวิจัยเรื่องแนวทางส่งเสริมการให้ทานของพุทธศาสนิกชน ตาบลคู
เมือง อาเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ ผู้วิจัยได้พบว่า ยังมีประเด็นที่ควรศึกษาวิจัย เพิ่มเติม ดังนี้
1. ศึกษาทัศนคติของเยาวชนต่อการให้ทานในพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท
2. ศึกษาการบาเพ็ญทานบารมีของพระโพธิสัตว์: กรณีศึกษาพระเวสสันดร
3. ศึกษาเปรียบเทีย บแนวทางการให้ทานของพุท ธศาสนิก ชนอาเภออื่ น ๆ
ของจังหวัดบุรีรัมย์

เอกสารอ้างอิง
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย . (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาสุวิทย์ วิชฺเชสโก. (2541). ทาน: ก้าวแรกแห่งการพั ฒนาคุณภาพชี วิต . พิมพ์ครั้ ง ที่
4. ปทุมธานี: มูลนิธิธรรมกาย.
พระพุ ท ธรั ก ขิ ต าจารย์ . (2548). คั ม ภี ร์ ชิ น าลั งการฎีก า. แปลโดย รั ง ษี สุ ท นต์ แ ละคณะ.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ.
พระธรรมปิ ฎ ก (ป.อ.ปยุ ต โต). (2543). พุ ท ธธรรม. พิ มพ์ ค รั้ ง ที่ 9. กรุ ง เทพมหานคร:
โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย .
เสฐียร พันธรังษี. (2516). ศาสนาเปรียบเทียบ. กรุงเทพมหานคร: ผดุงวิทยาการพิมพ์.
สุ ชี พ ปุ ญ ญานุ ภ าพ. (2533). พระไตรปิ ฎ ก ฉบั บสาหรั บประชาชน. พิ มพ์ ค รั้ ง ที่ 12.
กรุ ง เทพมหานคร: โรงพิ มพ์ มหามกุ ฎ ราชวิ ท ยาลั ย .

You might also like