You are on page 1of 31

รายงานการวิจัย

เรื่อง

โดย
(ชื่อ)........................................................................................

วิทยาลัย...........................................................................................
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ภาคเรียนที่..............................ปีการศึกษา.........................................
รายงานการวิจัย
เรื่อง
....................................................................................................................................................................................

โดย
(ชื่อ)........................................................................................
(ตาแหน่ง)...............................................................................

วิทยาลัย...........................................................................................
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ภาคเรียนที่..............................ปีการศึกษา.........................................
คานา

......................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
.
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

.......................................................................
ผู้วิจัย
บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิง..............................................................................................................
มีวัตถุประสงค์เพื่อ..............................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
เรื่อง...............................................................................วิชา........................................................................ ......
ตามหลักสูตร.....................................................................................................................................................
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ.............................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่...........................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ.................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................. ....................................
ผลการวิจัยปรากฎว่า.............................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................... ..............................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................
สารบัญ
หน้า

คานา......................................................................................................................
บทคัดย่อ...............................................................................................................
บทที่ 1 บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา....................................................
วัตถุประสงค์ของการวิจัย...........................................................................
สมมติฐานการวิจัย (ถ้ามี) ..........................................................................
ขอบเขตของการวิจัย..................................................................................
นิยามศัพท์เฉพาะ.......................................................................................
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ.......................................................................

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เอกสารที่เกี่ยวข้อง.....................................................................................
งานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง..............................................................................

บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
แบบแผนการวิจัย......................................................................................
ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง.............................................................................
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย...........................................................................
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ........................................................................
การดาเนินการวิจัย/การเก็บรวบรวมข้อมูล...............................................
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล................................................................

บทที่ 4 ผลการวิจัย.............................................................................................
สารบัญ (ต่อ)
หน้า

บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ............................................................................
วัตถุประสงค์ของการวิจัย...........................................................................
ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง...............................................................................
สรุปผลการวิจัย..........................................................................................
อภิปรายผล.................................................................................................
ข้อเสนอแนะ..............................................................................................

บรรณานุกรม...........................................................................................................

ภาคผนวก.................................................................................................................
บทที่ 1
บทนา
รูปแบบตัวอักษร ให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New เท่านั้น
ขนาดตัวอักษร 18 pt. (ตัวหนา)
จัดกึ่งกลางหน้ากระดาษ
1.1 ที่มาและความสาคัญของปัญหา
ส่วนที่ 1 เป็นการบรรยายถึงสภาพปัจจุบัน เป็นการบรรยายสภาพทั่วไปของสิ่งที่สนใจจะศึกษา/และการ
บรรยายถึงปัญหา เป็นการบรรยายปัญหาของของสิ่งที่สนใจจะศึกษา ได้แก่
1) ปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการทางานในสถานประกอบการ
2) การลดต้นทุนกระบวนการผลิตในสถานประกอบการ
3) การเพิ่มมูลค่าของสินค้าจากกระบวนการผลิต
4) นโยบายและยุทธศาสตร์
ส่วนที่ 2 เป็นการบรรยายถึงสาเหตุของปัญหา/การลดต้นทุน/การเพิ่มมูลค่า เป็นการบรรยายถึงสาเหตุที่
นามาซึง่ ปัญหาของของสิ่งที่สนใจจะศึกษา หรือหาทางแก้ไขปัญหา)
ส่วนที่ 3 เป็นการบรรยายถึงแนวทางแก้ไขปัญหา/การลดต้นทุน/การเพิ่มมูลค่า เป็นการบรรยายถึง
แนวทางโดยการพัฒนา หรือสร้างนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์
ส่วนที่ 4 เป็นการบรรยายถึงการสรุปที่มาและความสาคัญของปัญหา/การลดต้นทุน/การเพิ่มมูลค่า โดย
อาจสรุปได้ว่า ผู้จัดทามีความประสงค์ที่จะจัดสร้างหรือพัฒนาโครงงาน
ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา (Analysis) การกาหนดปัญหาและหัวข้อโครงงานเป็นสิ่งที่ต้องให้
ความสาคัญ เพราะนั่นคือจุดเริ่มต้นของการทาโครงงาน หากเริ่มต้นผิดหรือไม่รอบคอบการดาเนินงาน
ต่อไปก็จะพบกับอุปสรรคหรือปัญหาไม่สามารถปิดโครงงานได้หรือไม่เสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กาหนดได้
เนื่ อ งจากการด าเนิ น งานโครงงานส่ ว นใหญ่ จ ะใช้ ชื่ อ โครงงานเป็ น แนวทางในการก าหนดทิ ศ ทาง
วัตถุประสงค์หรือขอบเขตในการทาโครงงาน เช่น การออกแบบและพัฒนา.... การศึกษาผลกระทบต่อ....
การศึกษาแนวทางในการ.....ฯลฯ เมื่อมีการกาหนดชื่อแล้วก็ต้องไปเกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของโครงงาน
หรือวัตถุประสงค์ของการทาวิจัยและการกาหนดขอบเขตของโครงงานหรือขอบเขตที่ต้องการศึกษา
การกาหนดให้นักศึกษาในระดับปริญญาตรีได้ทาโครงงาน เพื่อต้องการให้นักศึกษาได้นาองค์
ความรู้จากรายวิชาต่างๆที่เรียนผ่านมาแล้ว มาทาการบูรณาการกับการทางานหรือต้องการพิสูจน์หลักการ
หรื อทฤษฎีต่างๆว่าเป็ น ไปตามที่คิดหรือเปล่ า ดัง นั้นการเลื อกหั ว ข้อโครงงานส าหรับนักศึกษาระดั บ
ปริญญาตรี มักจะมาจาก 3 แหล่งหลักๆ คือ
จากตัวนักศึกษาเอง นักศึกษาบางรายมีความคิดที่จะทดลองหรือพิสูจน์จากสิ่งที่นักศึกษาได้ไปพบ
ไปเห็นมา เช่น การสร้างอุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆรอบตัวนักศึกษาเอง เช่นที่บ้านประกอบอาชีพทานามีหอย
เชอรี่เยอะ ต้องการนาหอยมาบดเพื่อทาปุ๋ย หรือได้เรียนมาบางวิชาแล้วอาจารย์ได้พูดเพื่อยกตัวอย่างทา
ให้นักศึกษาเกิดความคิดที่จะทาโครงงาน
จากอาจารย์ผู้สอนในรายวิชาต่างๆที่มี ความสนใจ ลักษณะงานที่มาจากอาจารย์ส่วนใหญ่จะมี 2
ประเด็น คือ อาจารย์มีความสนใจในการทาวิจัยแล้วเขียนโครงงานขอทุนสาหรับการทาวิจัยได้แล้ว แต่
ต้องการให้นักศึกษาลงมาเป็นผู้ดาเนินงานหรือทดลองและเก็บข้อมูลแทนอาจารย์ หรืออาจารย์ปฏิบัติการ
สอนอยู่ในห้องเรียนหรือโรงฝึกงานแต่ขาดเครื่องมือ อุปกรณ์ช่วยประกอบการสอนจึงมีความต้องการที่จะ
สร้างอุปกรณ์หรือเครื่องมือดังกล่าวโดยให้นักศึกษาได้ทาเป็นลักษณะโครงงาน ซึ่งจะได้ประโยชน์ทั้งสอง
ฝ่าย เช่นการสร้างชุดสื่อการสอนหรือสร้างเครื่องจักร เครื่องทดสอบบางอย่าง
จากผู้ใช้งานวิจัยนั้นๆ เช่นสถานประกอบการหรือกลุ่มเกษตรกรต้องการพัฒนาหรือให้ออกแบบและสร้าง
เครื่องจักรต่างๆที่ใช้ในทางการเกษตรหรือในครัวเรือนหรือวิสาหกิจชุมชน เช่นการสร้างเครื่องอบสมุนไพร
เครื่องกวนขนม เครื่องตีขุยจากเปลือกมะพร้าว ฯลฯ ซึ่งการนาหัวข้อจากผู้ใช้ไปทาโครงงานส่วนใหญ่
นักศึกษาจะได้รับงบประมาณสนับสนุน และเครื่องมือต่างๆที่ได้จากการทาโครงงานก็จะเป็นเครื่องที่
สามารถนาไปใช้งานได้จริง ไม่เหมือนบางโครงงานที่ทาโครงงานเพื่อต้องการพิสูจน์อย่างเดียว ส่วนใหญ่
มักจะทาในระดับห้องปฏิบัติการ ไม่สามารถนาไปใช้งานได้โดยตรง
แหล่งที่มาของหัวข้อโครงงาน
1. ให้สังเกตสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวที่เป็นปัญหา การสังเกตสิ่งแวดล้อมทั่วไปรอบ ๆ ตัวนักศึกษาที่
เป็นปัญหา เช่น เครื่องมือ เครื่องจักรภายในโรงปฏิบัติงาน อุปกรณ์ประกอบการสอนในห้องเรียน ห้อง
ประลอง สิ่งแวดล้ อมรอบบ้านนั กศึกษาเอง อาชีพของชาวบ้าน เช่นเกษตรกร งานก่อสร้าง ช่างซ่อม
สิ่งแวดล้อมทั่วไป เช่น ในวิทยาลัยมีขยะเยอะ มีเศษไม้ เศษหญ้า หรือวัสดุต่าง ๆ ที่ไม่สามารถนากลับมา
ใช้ให้ประโยชน์ได้แล้ว แล้วคิดหาวิธีให้สามารถนากลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์อีกครั้ง เช่นการนาขยะ
พลาสติกมาทาการใช้ใหม่ (Recycle)
2. ให้สารวจปัญหาที่เกิดจากอาชีพในท้องถิ่น การประกอบอาชีพในชุมชนหรือท้องถิ่นว่ามี
ปัญหาเกิดขึ้น อย่างไรบ้าง เช่น ปัญหาจากภัยแล้ง ควรหาวิธีในการปลูกพืช ที่ใช้น้าน้อยหรือออกแบบ
อุปกรณ์เพื่อประหยัดน้า พืชผลทางการเกษตรล้นตลาด จะหาวิธีการแปรรูปหรือเพิ่มมูลค่าของสินค้า
เกษตรให้สูงขึ้นหรือยืดอายุการเก็บรักษาไว้ให้ได้นานยิ่งขึ้น ปัญหาจากแมลงศัตรูพืช วัชพืชต่าง หาวิธีใน
การกาจัดศัตรูพืช วัชพืชต่าง ๆ หรือนาสิ่งเหล่านั้นนามาใช้ให้เกิดประโยชน์ หรือวิธีในการเพิ่มจานวน
ผลผลิตของ อาชีพต่าง ๆ หาวิธีในการลดค่าใช้จ่ายการการผลิต หาวิธีในการลดเวลา จานวนต้นทุน ฯลฯ
3. สารวจปัญหาของอาชีพเสริม การสารวจปัญหาจากการประกอบอาชีพเสริมของตัวนักศึกษา
เองหรือชุมชน โดยการหาวิธีในการเพิ่มปริมาณผลผลิต คุณภาพผลของผลผลิต หรือปรับปรุงวิธีการต่าง ๆ
ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เช่น การเลี้ยงปลาสวยงาม ให้คิดหาวิธีในการทาให้ปลามีสีสวย คิดหาวิธีคิดสูตร
อาหาร คิดหาวิธีในการเพาะพันธุ์ปลา เป็นต้น
4. ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ ตาราทางวิทยาศาสตร์ หนังสือพิมพ์หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ
การที่จะได้หัวข้อของโครงงาน ที่ได้มามากอีกทางหนึ่งคือ การศึกษาหาความรู้จากหนังสื อ หรือตาราที่
เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ หนังสือพิมพ์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆที่ได้นาเสนอเกี่ยวกับการทาโครงงาน ซึ่ง
เราจะนาแนวคิดจากสื่อเหล่านั้นมาดัดแปลงหรือคิดเป็นหัวข้อโครงงานได้
5. ชม ฟัง รายการวิทยุ หรือโทรทัศน์ รายการวิทยุ หรือโทรทัศน์ หลายรายการ ได้นาเสนอ
เกี่ยวกับการทาโครงงานของนักเรียนนักศึกษา ต่าง ๆ ที่ได้จัดทาประสบความสาเร็จได้นามาเสนอสู่สายตา
บุคคลทั่วไป เช่น รายการคนไทยวันนี้ รายการเกษตร รายการดินดาน้าชุ่ม รายการของกระทรวงเกษตร
ต่าง ๆ โดยนาแนวคิดต่าง ๆ มาปรับปรุงเพื่อคิดเป็นหัวข้อโครงงานได้
6. ศึกษาจาก นิทรรศการ หรือโครงงานของผู้อื่น การเข้าศึกษาดูงานจาก นิทรรศการต่าง ๆ
ตามหน่วยงานหรือสถาบันทางการศึกษา ได้จัดขึ้น เช่นตามมหาวิทยาลัย ต่าง ๆ หรือหน่วยงานของทาง
ราชการ หรือเอกชน จะมีการนาโครงงานประเภทต่าง ๆ เข้ามาประกวด หรือแข่งขัน ซึ่งนักเรียนสามารถ
ติดตามหรือศึกษาจากโครงงานต่าง ๆได้ แล้ว นาแนวคิดที่ได้จากการศึกษา มาปรับปรุงคิดเป็นหั วข้อ
โครงงานของเราได้
จากที่กล่าวมาสรุปได้ว่า ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหานี้จะได้ปัญหาอันจะนาไปสู่หัวข้อในการทา
โครงงาน ส่วนใหญ่หัวข้อโครงงานเป็นปัญหาที่เน้นลดต้นทุนการผลิต แก้ปัญหาการปฏิบัติงาน เพิ่มมูลค่า
ของผลิตภัณฑ์ เพิ่มจานวนผลผลิต
1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดสร้างโครงงาน
1) เพื่อออกแบบสร้างและหรือพัฒนา ชื่อสิ่งประดิษฐ์ หรือนวัตกรรม
2) เพื่อหาประสิทธิภาพของ ชื่อสิ่งประดิษฐ์ หรือนวัตกรรม
3) เพื่อ………………………………………………………………
1.3 ขอบเขตของการจัดสร้างโครงงาน
1) ขอบเขตความสามารถของโครงการเกี่ยวกับการทางานที่สามารถทาได้ หรือทาไม่ได้
(สิ่งประดิษฐ์/นวัตกรรมในการแก้ปัญหา/การลดต้นทุน/การเพิ่มมูลค่าสินค้า)
2) ขอบเขตการทางานของโครงการ (สิ่งประดิษฐ์/นวัตกรรมในการแก้ปัญหา/การลดต้นทุน/การ
เพิ่มมูลค่าสินค้า) ได้แก่ เวลา สถานที่ ปริมาณ ที่แสดงถึงขอบเขตขอจากัดของโครงการ
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
(เขียนจากวัตถุประสงค์ของการจัดสร้างและหรือพัฒนาโครงงาน หรือขอบเขตของการจัดสร้างและหรือ
พัฒนาโครงงาน)
1.4.1 บรรยายถึงประโยชน์ของการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากนานวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์ ไปใช้ใน
การแก้ปัญหา (สามารถแก้ปัญหา...ได้)
1.4.2 บรรยายถึงประโยชน์ของการลดต้นทุนที่เกิดขึ้นจากนานวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์ ไปใช้ในการ
ลดต้นทุนการผลิต เช่น ลดจานวนบุคลากร ลดเวลา (สามารถลดต้นทุนการผลิต...ได้)
1.4.3 บรรยายถึงประโยชน์ของการเพิ่มมูลค่าสินค้า ที่เกิดขึ้นจากนานวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์ ไป
ใช้ในการเพิ่มมูลค่าสินค้า (สามารถเพิ่มมูลค่าสินค้า...ได้)
1.5 นิยามศัพท์เฉพาะ
นิยามศัพท์ หมายถึง การให้ความหมายคาเฉพาะที่ใช้ในการวิจัย หรือการสร้าง/พัฒนานวัตกรรม
สิ่งประดิษฐ์ด้ว ยกระบวนการวิจัย เพื่อให้ผู้วิจัยและผู้อ่านงานวิจัย เข้าใจ ความหมายคาเฉพาะที่นิยาม
ตรงกัน คานิยามต้องคานึงถึงการนิยามตัวแปรที่นามาใช้ในงานวิจัย เช่น ตัวอย่าง.......
1. นวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์ (ชื่อนวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์ หมายถึง ....
2. ประสิทธิภาพ หมายถึง... (เป็นการบอกถึงประสิทธิภาพของนวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์ ที่สร้าง/
พัฒนา)
3. ความพึงพอใจต่อนวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์ หมายถึง ... (เป็นการบอกถึงความรู้สึก/ความคิดเห็น
ต่อนวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์ ด้านต่างๆ)
การจัดลาดับและการจัดวางหัวข้อ ใช้หลักปฏิบัติต่อไปนี้
1. การลาดับหัวข้อกรณีมีเลขข้อกากับ ให้ใช้ระบบตัวเลข โดยใส่มหัพภาคหลังตัวเลข และเว้น 1 ช่วง
ตัวอักษร ก่อนเริ่มคาหรือข้อความต่อไป
2. การจัดวางหัวข้อให้เป็นไปตามระดับความสาคัญของหัวข้อ ดังนี้
3. หัวข้อใหญ่ หัวข้อระดับนี้วางชิดขอบหน้า ถ้าไม่ได้อยู่ในบรรทัดแรกของหน้าให้เว้นจากข้อความ
ข้างบน 1 บรรทัด ทั้งนี้ หัวข้อใหญ่นี้ไม่นิยมใส่ตัวเลขกากับ คาอธิบายของหัวข้อใหญ่ให้ขึ้นบรรทัดใหม่ย่อ
หน้า 1.25 ซม. โดยเว้นบรรทัดปกติ ให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16
pt. (ตัวหนา)
4. หัวข้อรอง หัวข้อระดับนี้ให้เริ่มอักษรตัวแรกของหัวข้อหรือเลขกากับหัวข้อ โดยเว้นจากขอบหน้า
1.25 ซม. หรือย่อหน้าปกติ ให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16 pt.
5. คาอธิบายของหัวข้อรองอาจอยู่ในบรรทัดเดียวกัน หรือขึ้นย่อหน้าใหม่ ตามความเหมาะสมแก่
บริบท
6. เนื้อหาให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16 pt. (ตัวธรรมดา)
กรณีมีหลายคาให้วรรค 1 เคาะระหว่างคา
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
รูปแบบตัวอักษร ให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New เท่านั้น
ขนาดตัวอักษร 18 pt. (ตัวหนา)
จัดกึ่งกลางหน้ากระดาษ
เนื้อหาของบทที่ 2 เป็นการนาเสนอแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่ใช้เป็นกรอบในการ
วิจัย หรือการสร้าง/พัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ด้วยกระบวนการวิจัย ต้องเรียบเรียงสรุปกรอบความคิด
หลักการ การเขียนต้องเป็นการเรียบเรียงเนื้อหาเหมือนกับการเขียนบททางความวิชาการ ซึ่งต้องมีการ
วิเคราะห์ และสังเคราะห์เนื้อหาที่ได้มาจากการค้นคว้าไม่ควรลอกเนื้อหามาต่อกันเป็น ส่วนๆ หัวข้อสาคัญ
น่าจะประกอบด้วย
1. แนวความคิดหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้องที่นามาใช้ในงานวิจัย หรือการสร้าง/พัฒนานวัตกรรม
สิ่งประดิษฐ์ด้วยกระบวนการวิจัย
2. ผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่นามาใช้ในการแก้ปัญหา การลดต้นทุน การเพิ่มมูลค่า ของ
งานวิจัย หรือการสร้าง/พัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์
2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนา
การวิจัยและพัฒนา (Research and Development) เป็นการวิจัยลักษณะหนึ่งที่มีประโยชน์
อย่างยิ่งต่อการพัฒนางาน พัฒนาวิชาชีพ หรือการพัฒนาวิถีชีวิตของมนุษย์ ซึ่งในปัจจุบันองค์กรจานวน
มากได้พยายามส่งเสริมให้บุคลากรในสังกัดมีความรู้ความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนา โดยเชื่อว่าการ
วิจัยและพัฒนาจะช่วยให้ได้ทางเลือกหรือวิธีการใหม่ๆ ที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพเพิ่มมาก
ขึ้นเป็นลาดับ
การวิจัย และพัฒ นาเป็ น การนากระบวนการวิจัยมาเป็นแนวทางในการพัฒนานวัตกรรมหรือ
ผลิ ตภัณฑ์ที่ยั งไม่เคยมีมาก่อนขึ้น มาใหม่ หรื อเป็นการปรั บปรุงแก้ไขสิ่ ง ที่มีอยู่เดิม ให้ ดี ขึ้น ซึ่งการน า
กระบวนการวิจัยมาใช้ในการพัฒนานวัตกรรมหรือผลิตภัณฑ์ จะทาให้กระบวนการดาเนินการเป็นลาดับ
ขั้นตอน สามารถตรวจสอบได้ มีความน่าเชื่อถือ และสามารถนาไปใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ในวง
กว้าง
การวิจัยและพัฒนา เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยมีการพัฒนาต้น แบบนวัตกรรม (หมายถึงสื่อ/
สิ่งประดิษฐ์ หรือวิธีการ) แล้วมีการทดลองใช้เพื่อตรวจสอบคุณภาพในเชิงประจักษ์ ทั้งนี้นวัตกรรมที่
นามาทดลอง คือ ปฏิบัติการ(Treatment) หรือตัวแปรต้น โดยมี “ดัชนีชี้คุณภาพ” ในลักษณะใด
ลักษณะหนึ่งเป็นตัวแปรตาม
การวิจัยและพัฒนาจะให้ผลลัพธ์ที่สาคัญ 2 ลักษณะ คือ
(1) นวัตกรรมประเภทวัตถุที่เป็นชิ้นอัน (Materials) ซึ่งอาจเป็นประเภท วัสดุ / อุปกรณ์ /
ชิ้นงาน เช่น รถยนต์ คอมพิวเตอร์ ชุดการสอน สื่อการสอน ชุดกิจกรรมเสริมความรู้ ชุดเอกสารเสริม
ความรู้คู่มือประกอบการทางาน เป็นต้น
(2) นวัตกรรมประเภทที่เป็น รูปแบบ / วิธีการ / กระบวนการ / ระบบปฏิบัติการ
(Methods/Process/Procedure/Style) อาทิ รูปแบบการสอน วิธีส อน รูปแบบการบริห ารจัดการ
ระบบการทางาน Quality Control (Q.C.) Total Quality Management(TQM) The Balanced
Scorecard(BSC) ระบบมาตรฐาน ISO เป็นต้น
หากพิ จ ารณาความแตกต่ า งระหว่ า ง “การวิ จั ย และพั ฒ นา (The Research and
Development)” กับ “การวิจัยเพื่อพัฒนา (Research for Development)” จะพบว่ามีความแตกต่าง
กัน กล่าวคือ ถ้ากล่าวถึง “วิจัยเพื่อพัฒนา” จะหมายถึงการวิจัยหลายประเภท หลายรูปแบบ หรือการ
วิจัยทุกรูปแบบที่นามาใช้ประโยชน์เพื่อการพัฒนางาน ส่วนการวิจัยและพัฒนาหรือ R&D เป็นวิจัยที่
มุ่งเน้นพัฒนานวัตกรรมหรือทางเลือกใหม่ๆ เพื่อยกระดับคุณภาพงาน โดยผลลัพธ์ของการวิจัยจะปรากฏ
ให้เห็น 2 ลักษณะ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วในตอนต้น การวิจัยและพัฒนาเป็นทางเลือกสาคัญที่จะมีผลต่อการ
ยกระดับคุณภาพงานในองค์กร รวมทั้งการยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคคล หากองค์กร / หน่วยงาน /
กลุ่มนักวิชาชีพใดๆ มีการพัฒนาสื่อ คู่มือ อุปกรณ์ สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ตลอดจนวิธีการทางานใหม่ๆ แล้ว
นามาใช้ในการพั ฒนางานอย่างต่อเนื่อง จะส่งผลให้องค์กรหรือนักวิชาชีพกลุ่มนั้นๆ สามารถยกระดับ
คุณภาพงานได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ บุคลากรหรือคนในรุ่นหลังจะมีนวัตกรรมหรือทางเลือก
เพื่อใช้ในการดารงชีวิตที่หลากหลาย ช่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สรุป การวิจัยและพัฒนา เป็นลักษณะหนึ่งของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) ที่ใช้
กระบวนการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ มุ่งพัฒนาทางเลือกหรือวิธีการใหม่ๆ เพื่อใช้ในการยกระดับ
คุณภาพงานหรือคุณภาพชีวิต
2.2 ความหมายของการวิจัยและพัฒนา
มีผู้ได้ให้ความหมายของการวิจัยและพัฒนาเอาไว้ดังนี้
วรรณา โสมประยูร (2546: 12) [1] กล่าวว่า การวิจัยและพัฒนา หมายถึง การวิจัยที่
นาองค์ความรู้เดิมจากผลการวิจัยประเภทต่างๆ หรือนาสิ่งประดิษฐ์ที่มีอยู่แล้วไปจัดกระทาต่อเป็นระบบ
อย่างต่อเนื่อง ทั้งในกระบวนการวิจัยและกระบวนการพัฒนาที่เชื่อมโยงเข้าด้วยกัน เพื่อเป็นการต่อยอด
ของเดิมให้เพิ่มผลผลิตที่มีคุณค่าสูงส่ง เด่นชัด แน่นอน อันเป็นที่เชื่อถือหรือยอมรับทางวิชาการ และเป็น
ประโยชน์ต่อผู้ที่จะนาผลการวิจัยไปใช้
สุวิมล ว่องวาณิช (2554: 21) [2] กล่าวว่า การวิจัยและพัฒนา หมายถึง การแสวงหา
ความรู้ด้วยกระบวนการวิจัยนวัตกรรม (สิ่งประดิษฐ์) และนาไปทดลองปฏิบัติเพื่อให้เกิดการพัฒนางาน
แล้วสังเกตผลที่ทดลอง เพื่อวิจัยปรับปรุงต่อเนื่องกันไป
องอาจ นัยพัฒน์ (2554: 230) [3] กล่าวว่า การวิจัยและพัฒนา หมายถึง กระบวนการ
แสวงหาความรู้หรือความเข้าใจในแง่มุมใหม่ๆ เกี่ยวกับผลผลิต กระบวนการ และการบริการที่ดาเนินการ
อย่างเป็นระบบ แล้วประยุกต์ความรู้หรือความเข้าใจที่ได้จากการแสวงหาไปสร้างสรรค์หรือปรับปรุงให้
เกิดผลผลิต กระบวนการ และการบริการแบบใหม่ขึ้น
การเขียนอ้างอิงใส่ตัวเลขกากับไว้ในเครื่องหมาย [ ] ท้ายข้อความหรือบุคคลที่อ้างอิงโดยให้ตัวเลขอยู่
ในระดับบรรทัดเดียวกันกับเนื้อหา หรืออ้างอิงเอกสารหลายรายการในคราวเดียวกันให้ใส่หมายเลขของ
เอกสารที่อ้างอิงเรียงลาดับ โดยใส่เครื่องหมายจุลภาค (,) คั่นแต่ละรายการ เช่น [3,4]

รัตนะ บัวสนธ์ (2555: 13) [4] กล่าวว่า การวิจัยและพัฒนา หมายถึง การพัฒนา


นวัตกรรมโดยใช้กระบวนการวิจัยเป็นเครื่องมือดาเนินการในแต่ละขั้นตอน ทั้งนี้เป้าหมายสาคัญของการ
วิจัยก็คือ การได้นวัตกรรมที่เป็นต้นแบบ สามารถนาไปใช้แก้ปัญหาได้
นอกจากนี้องอาจ นัยพัฒน์ (2554: 232-234) [5] ได้กล่าวถึงลักษณะของการวิจัยและ
พัฒนาเอาไว้ ดังนี้
1) เป็นการนาความรู้หรือความเข้าใจใหม่ที่สร้างขึ้นมาพัฒนาเป็นต้นแบบใช้งาน จุดเน้น
ที่สาคัญ คือการทาวิจัยเพื่อแสวงหาหรือสร้างสรรค์ภูมิปัญญาใหม่ แล้วทาการพัฒนาด้วยการคิดค้น ต่อ
ยอดความรู้หรือความเข้าใจให้อยู่ในรูปของต้นแบบ (prototype)
2) เป็นการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เนื่องจากการวิจัยและพัฒนามี
จุดเน้นในการดาเนินงานที่ประกอบด้วย 3 กระบวนการหลัก คือ การวิจัย การพัฒนา และการเผยแพร่
3) มีการดาเนินงานวิจัยอย่างเป็นวัฏจักรด้วยวิธีการที่เชื่อถือได้
4) มักใช้การผสมผสานวิธีการเชิงประมาณและเชิงคุณภาพในการทาวิจัย ซึ่งจะได้ทั้ง
ความแกร่งและความยืดหยุ่น ที่เป็นจุดเด่นของทั้งสองรูปแบบ
5) มุ่งเน้นตอบสนองต่อผู้ต้องการใช้ผลการวิจัยและพัฒนา ต้องตอบสนองความต้องการ
จาเป็นของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลผู้ประสงค์จะนาผลผลิต กระบวนการ หรือการบริการจากการวิจัยและ
พัฒนาไปใช้งาน
6) ผลการวิจัยที่มีคุณค่าและมูลค่าสูงสามารถจดทะเบียนสิทธิบัตรได้ โดยเฉพาะงานวิจัย
ที่อยู่ในรูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ อันเป็นสิ่งที่เกิดจากการสร้างสรรค์ของนักวิจัย
วรรณา โสมประยูร (2546 : 12) [6] ได้กล่าวถึงลักษณะของการวิจัยและพัฒนาเอาไว้
ในลักษณะที่สอดคล้องกันดังนี้
1) เป็นการนาผลการวิจัยเดิมเหนือสิ่งประดิษฐ์มาทบทวนแล้วพัฒนาหรือต่อยอด เพื่อ
เพิ่มศักยภาพให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติอย่างแท้จริง
2) เป็นการศึกษาค้นคว้า ทดลองและตรวจสอบเพิ่มเติมของเดิมให้สมบูรณ์และเป็นไป
อย่ างครบวงจร ด้ว ยการจั ดกระทาซ้าๆ หลายครั้ง รวมทั้งส ารวจความคิดเห็ นของผู้ ใช้แล้ ว นาผลมา
ปรับปรุงเป็นระยะ จนกระทั้งเกิดความเชื่อมั่นและแน่ใจในผลผลิตขั้นสุดท้าย
3) เป็นการนากระบวนการวิจัยต่างๆ จากทั้งประเภทการวิ จัยเชิงปริมาณและการวิจัย
เชิงคุณภาพมาใช้ในโครงงานวิจัยและโครงงานพัฒนา โดยจัดแบ่งให้มีโครงงานวิจัยย่อยหรือโปรแกรมการ
วิจัยจานวนมาก เชื่อมโยงเข้าด้วยกันเป็นชุดโครงงานวิจัย
4) มุ่งพัฒนาความรู้ความสามารถหรือทักษะทางวิชาการ ทั้งทางด้านการวิจัย การ
พัฒนาและการปฏิบัติหน้าที่งานประจาให้แก่ทีมผู้ร่วมดาเนินการวิจัย ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการยอมรับ
ผลผลิตและเผยแพร่หรือขยายผลการวิจัยต่อไปด้วยพร้อมๆ กัน
5) สามารถยืดหยุ่นหรือปรับเปลี่ยนทั้งกระบวนการวิจัยและกระบวนการพัฒนาให้
เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของผู้ที่จะใช้ผลการวิจัยได้เสมอ เนื่องจากการวิจัยและพัฒนามุ่ง
ที่ผู้ใช้ผลผลิตเป้าหมายที่สาคัญที่สุด
6) ในระหว่างที่ดาเนินงานวิจัยและพัฒนาอยู่นั้น จาเป็นต้องเปิดโอกาสให้ผู้ร่วมผลิต
และ/หรือผู้ใช้ผลผลิตจากภาครัฐและภาคเอกชนทั่วไปได้มีส่วนร่วมดาเนินการด้วย ทั้ง นี้เพื่อให้เกิดการ
ยอมรับในความสาคัญของผลผลิตและเป็นการเผยแพร่ผลวิจัยไปในตัวด้วย
7) ระยะเวลาในการดาเนินงานวิจัยและพัฒนาจะต้องเป็นช่วงเวลาที่ต่อเนื่องกันยาวนาน
มากพอที่จะทาให้เกิดผลผลิตที่ได้มาตรฐานตามความต้องการของสังคม
8) การเผยแพร่และขยายผลของการวิจัยควรจะต้องกระทาอย่างต่อเนื่อง ทั้งในขณะที่
กาลังดาเนินการวิจัยอยู่และหลังจากการวิจัยได้เสร็จสิ้นลงทั้งหมดหรือบางส่วนก็ตาม เพื่อให้ผลผลิตไปสู่
ผู้ใช้อย่างกว้างขวางและเป็นรูปธรรมอย่างแท้จริง
สรุปได้ว่า การวิจัยและพัฒนา หมายถึง การใช้กระบวนการวิจัยเป็นเครื่องมือในการ
พัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ หรือการปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งจะทาให้ได้นวัตกรรมที่เป็นต้นแบบอัน
จะเป็ น ประโยชน์ ส าหรั บ ผู้ ที่ ส นใจจะนาไปใช้ และสามารถนาไปใช้ใ นการแก้ปั ญหาต่า งๆ ได้ ซึ่ ง
ประกอบด้วยขั้นตอนสาคัญ ได้แก่ การกาหนดเป้าหมาย การสารวจสภาพปัญหาหรื อความต้องการ การ
สร้างและพัฒนา การทดลองใช้ การประเมินผลหรือปรับปรุง และการเผยแพร่
2.3 แนวการปฏิบัติในการออกแบบวิจัยและพัฒนา
ในการออกแบบวิจัยและพัฒนา ซึ่งถือเป็นลักษณะหนึ่งของการศึกษา ค้นคว้าอย่างเป็นระบบ นักวิจัย
จะต้องกาหนดกรอบแนวทางในเรื่อง วัตถุประสงค์ของการวิจัย กลุ่มเป้าหมายในการทดลองใช้นวัตกรรม หรือ
ผู้ให้ข้อมูลหลักในการวิจัย (Sampling Design) การวัดตัวแปรหรือและการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัย
(Measurement Design) และแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล หรือออกแบบในเรื่องการใช้สถิติ (Statistical Design)
โดยนักวิจัยจะต้องกาหนดแนวทางในเรื่องเหล่านี้ไว้ล่วงหน้า ในตอนเริ่มต้นของการวางแผนวิจัยและพัฒนา จะต้อง
วางแผนให้ครอบคลุมการตรวจสอบคุณภาพ ทั้งด้วยวิธีการเชิงเหตุผล (Logical Approach ) และวิธีการเชิง
ประจักษ์ด้วยการทดลองใช้จริง (Empirical Approach) นวัตกรรมที่สามารถใช้งานได้ในเชิงประจักษ์ เท่านั้น จึง
จะถือว่าเป็นนวัตกรรมที่เหมาะสม (If it work, It is right)
2.4 เป้าหมายของการออกแบบการวิจัย
เป้าหมายของการออกแบบการวิจัยคือ เพื่อให้ได้คาตอบหรือข้อความรู้ หรือสิ่งประดิษฐ์ตรงตามปัญหา
วิจัยอย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล หมายถึง ได้ผลการวิจัยที่ตรงกับคาถามวิจัย มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ ทั้งในแง่ของความตรง
ภายใน และความตรงภายนอก
ประสิทธิภาพ หมายถึง ได้ผลการวิจัยที่ถูกต้องตรงประเด็น โดยใช้ทรัพยากรทุกประเภทอย่างประหยัด
และได้ผลคุ้มค่า
เกณฑ์ที่ใช้สาหรับการออกแบบการวิจัย
การออกแบบการวิจัยที่ดีจะทาให้ได้ผลการวิจัยที่ถูกต้อง เป็นจริง น่าเชื่อถือ ซึ่งพิจารณาได้จากเกณฑ์ 3
ประการ คือ
1. การออกแบบการวิจัยนั้นทาให้ได้คาตอบตรงกับปัญหาการวิจัยที่ต้องการ
2. การออกแบบการวิจัยนั้นทาให้ได้ผลงานวิจัยที่มีความตรงภายใน (Internal Validity)
และความตรงภายนอก (External Validity)
3. การออกแบบการวิจัยนั้นใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด
หลักการในการออกแบบการวิจัย
การออกแบบการวิจัยเป็นกิจกรรมที่พยายามเลือกแบบการวิจัยที่จะทาให้ได้ผลการวิจัยที่ถูกต้องและ
น่าเชื่อถือ การออกแบบวิธีดาเนินการวิจัย ซึ่งครอบคลุม 3 ส่วนสาคัญ ได้แก่ การออกแบบการสุ่ม การออกแบบ
การวัด และการออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล
1. การออกแบบการสุ่ม (Sampling Design) ผู้วิจัยต้องวางแผนการได้มาซึ่งประชากรและ
กลุ่มตัวอย่างซึ่งเกี่ยวข้องกับกิจกรรมต่าง ๆ ได้แก่
1.1 นิยามประชากรและกลุ่มตัวอย่างให้สอดคล้องกับปัญหาวิจัย
1.2 กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม ซึ่งต้องคานึงถึงหลักการทฤษฎีและหลักความ
เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
1.3 กาหนดวิธีการสุ่มที่จะช่วยให้ได้กลุ่มตัวอย่างเท่าขนาดที่กาหนดไว้ และได้ตัวแทนที่ดี
ของประชากรในการสุ่มผู้วิจัยควร
1.3.1 จัดทากรอบการสุ่มที่สมบูรณ์
1.3.2 แยกแยะจานวนประชากรย่อยตามตัวแปรที่ใช้ เพื่อให้แน่ใจว่าสุ่มได้กลุ่ม ตัวอย่าง
ในทุกระดับของตัวแปรที่ออกแบบไว้
2. การออกแบบการวัด (Measurement Design) เมื่อผู้วิจัยกาหนดกรอบการวิจัยจะมีตัวแปรใดเข้ามา
เกี่ยวข้องบ้าง ผู้วิจัยจะต้องออกแบบว่าตัวแปรแต่ละตัวจะวัดอย่างไร วัดได้ในระดับใด โดยทั่วไปผู้วิจัยต้องกระทา
การดังนี้
2.1 เขียนนิยามโครงสร้างของตัวแปร ทั้งตัวแปรต้นและตัวแปรตาม
2.2 กาหนดระดับการวัดของแต่ละตัวแปร และเลือกรูปแบบและสเกลของเครื่องมือ
2.3 จัดทาร่างเครื่องมือตามนิยามโครงสร้างของตัวแปรแต่ละตัว
2.4 การออกแบบทดลองใช้และหาคุณภาพของเครื่องมือ ได้แก่ ความตรงและความเที่ยง
2.5 การกาหนดวิธีการเก็บข้อมูลที่รัดกุมและพยายามลดความคลาดเคลื่อนในการวัด เช่น ใช้การเก็บ
ข้อมูลโดยแบบสอบถามด้วยตนเองแทนการส่งทางไปรษณีย์ ใช้การสัมภาษณ์แทนการใช้แบบสอบถาม แต่ทั้งนี้ต้อง
คานึงถึงข้อจากัดด้านค่าใช้จ่ายและเวลาด้วย
3. การออกแบบวิเคราะห์ (Analytical Design) การวิเคราะห์ข้อมูลจาแนกได้เป็น 2 แนวทางคือ
3.1 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณผู้วิจัยสามารถ เลือกใช้สถิติที่
เหมาะสมและให้เหตุผลการวิเคราะห์ที่ถูกต้องตามต้องการได้ โดยผู้วิจัยจะต้องมีความรู้ว่าสถิติใดใช้สาหรับสรุป
ข้อมูลเพื่อตอบคาถามลักษณะใด มีข้อตกลงเบื้องต้นอะไรบ้าง ประเภทของการวิเคราะห์ทางสถิติ
3.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณลักษณะ ใช้หลักความเป็นเหตุเป็นผลในการวิเคราะห์
(Logical Analysis) เช่น การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เป็นการสรุปประเด็นสาคัญที่ได้จากข้อมูลที่
รวบรวมมาทั้งหมด
2.5 กระบวนการของการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์
กระบวนการวิจัยและพัฒนา อาจเริ่มด้วยระบบของการวิเคราะห์สภาพปัญหาให้ชัดเจน แล้วเข้าสู่
ระยะของการพัฒนาทางเลือก หรือวิธีการใหม่ๆ ซึ่งระยะของการพัฒนาทางเลือกจะมีขั้นตอนคล้ายคลึงกับการวิจัย
โดยทั่ว ไป แต่ เป็ น การพั ฒ นาต้ น แบบนวั ต กรรมให้ ไ ด้ มาตรฐานก่อ นที่ จะท าการทดลองใช้ ใ นสภาพจริ ง เพื่ อ
ตรวจสอบคุณภาพของนวัตกรรม
ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ปัญหา (Analysis)
ขั้นตอนที่ 2 การออกแบบ (Design)
ขั้นตอนที่ 3 ขั้นตอนการสร้าง/พัฒนานวัตกรรม (Development)
ขั้นตอนที่ 4 การนาไปใช้และทดสอบหาประสิทธิภาพนวัตกรรม (Implement and Performance
Test)
การจัดลาดับและการจัดวางหัวข้อ ใช้หลักปฏิบัติต่อไปนี้
1. การลาดับหัวข้อกรณีมีเลขข้อกากับ ให้ใช้ระบบตัวเลข โดยใส่มหัพภาคหลังตัวเลข และเว้น 2 ช่วง
ตัวอักษร ก่อนเริ่มคาหรือข้อความต่อไป
2. การจัดวางหัวข้อให้เป็นไปตามระดับความสาคัญของหัวข้อ ดังนี้
3. หัวข้อใหญ่ หัวข้อระดับนี้วางชิดขอบหน้า ถ้าไม่ได้อยู่ในบรรทัดแรกของหน้าให้เว้นจากข้อความ
ข้างบน 1 บรรทัด ทั้งนี้ หัวข้อใหญ่นี้ไม่นิยมใส่ตัวเลขกากับ คาอธิบายของหัวข้อใหญ่ให้ขึ้นบรรทัดใหม่ย่อ
หน้า 1.25 ซม. โดยเว้นบรรทัดปกติ ให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16
pt. (ตัวหนา)
4. หัวข้อรอง หัวข้อระดับนี้ให้เริ่มอักษรตัวแรกของหัวข้อหรือเลขกากับหัวข้อ โดยเว้นจากขอบหน้า
1.25 ซม. หรือย่อหน้าปกติ ให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16 pt.
5. คาอธิบายของหัวข้อรองอาจอยู่ในบรรทัดเดียวกัน หรือขึ้นย่อหน้าใหม่ ตามความเหมาะสมแก่
บริบท
6. เนื้อหาให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16 pt. (ตัวธรรมดา)
กรณีมีหลายคาให้วรรค 1 เคาะระหว่างคา
บทที่ 3
วิธีดาเนินการ

รูปแบบตัวอักษร ให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New เท่านั้น


ขนาดตัวอักษร 18 pt. (ตัวหนา) จัดกึ่งกลางหน้ากระดาษ
เป็นการแสดงถึงขั้นตอนการออกแบบการจัดสร้าง หรือขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์
ตามวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ ซึ่งจะมีขั้นตอนหลักๆได้แก่ ขั้นตอนการออกแบบ ขั้นตอนการสร้าง หรือ
พัฒนา และขั้นตอนการนาไปใช้และทดสอบหาประสิทธิภาพนวัตกรรม โดยมีรายละเอียดแต่ละขั้นตอน
การอธิบ ายหลักการออกแบบที่ใช้ ตลอดจนวิ ธีการเก็บข้อมูล วิธีการทดลอง จานวนของชิ้น
ทดสอบ จานวนข้อมูล ฯลฯ เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจวิธีการทางานทั้งหมดของโครงงาน หรือในบางงานวิจัยจะ
ระบุถึง อุปกรณ์ เป็นส่วนที่กล่าวถึงอุปกรณ์เฉพาะที่สาคัญและจาเป็นสาหรับการทาโครงงาน ในบางกรณี
ควรบรรยายรายละเอียดต่าง ๆ ของอุปกรณ์นั้น รวมถึงการระบุถึง วิธีการ เป็นส่วนที่กล่าวถึงวิธีการทา
โครงงาน เช่น แผนการทาโครงงาน วิธีวิเคราะห์ หากเป็นวิธีการที่มีผู้เสนอแนะไว้แล้ว ให้อ้างอิงเอกสารที่
ได้บรรยายวิธีการนั้นและอาจบรรยายรายละเอียดของวิธีการนั้นไว้ในภาคผนวก
เนื้อหาให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16 pt. (ตัวธรรมดา)
กรณีมีหลายคาให้วรรค 1 เคาะระหว่างคา

3.1 ขั้นตอนการออกแบบ (Design)


3.1.1 การกาหนดหัวข้อโครงงาน
การกาหนดหัวข้อโครงงาน คือ การแสดงลักษณะของภาระงาน ชิ้นงาน หรือกิจกรรมที่ผู้ทาโครงงาน
ต้องทาหรือต้องการทดลอง การคัดเลือกหัวข้อโครงงานให้ประสบผลสาเร็จ ผู้ทาโครงงานจะต้องพิจารณาแรงจูงใจ
ของตนเอง เพื่อให้สามารถตอบคาถามสาคัญ คือต้องการศึกษาการแก้ปัญหาสิ่งใดและเหตุใดจึงต้องการศึกษาสิ่ง
นั้น โดยหัวข้อโครงงานจะต้องเป็นเรื่องที่เฉพาะเจาะจง ชัดเจน โดยมุ่งเน้นทาโครงงานที่อยู่ใกล้ตัว ซึ่งอาจเกิดจาก
ปัญหาของผู้ทาโครงงาน หรือผู้ทาโครงงานมีความคุ้นเคยกับสิ่งนั้น ดังนั้นผู้ทาโครงงานจึงควรสารวจตัวเองและ
พิจารณาสิ่งต่างๆ ดังนี้
1. ระยะเวลาในการทาโครงงาน เนื่องจากผู้ทาโครงงานเป็นนักศึกษาและเป็นเพียงการทาโดรงงาน
เพื่อศึกษาวิธีการ ขั้นตอน และเป็นการทาครั้งแรก ดังนั้นจะต้องมีอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานคอยให้คาปรึกษาใน
ทุกๆด้าน เช่นการเลือกหัวข้อโครงงาน การกาหนดขอบเขต งบประมาณที่ใช้ เครื่องมือที่ใช้ในการสร้างและทดสอบ
หาค่าความเชื่อมั่นต่างๆ ผู้ทาโครงงานจะต้องมีการวางแผนก่อนการทาโครงงานจริง เพื่อกาหนดขอบเขตและ
เป้าหมายในการทาโครงงานให้ชัดเจนและมีความยืดหยุ่น
2. ความถนัดและความสนใจของผู้ทาโครงงาน เป็นการพิจารณาความชอบของผู้ทาโครงงาน ซึ่งถ้าผู้
ที่ทาโครงงานไม่มีความรู้ ความสามารถ จะทางานค่อนข้างลาบาก เช่นเมื่อถึงกาหนดเวลาต้องส่งหัวข้อโครงงาน
แต่นักศึกษายังไม่รู้ว่าจะทาโครงงานอะไรส่วนใหญ่ก็จะเข้าหาอาจารย์ที่ชอบทางานวิจัยหรือสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ เมื่อ
อาจารย์เสนอหัวข้อต่างๆให้ก็รับโดยที่ไม่มีความรู้หรือความสนใจ เมื่อดาเนินงานไประยะหนึ่งไม่สามารถคิดงาน
ต่อไปได้ เนื่องจากไม่ได้มีความถนัดหรือความเข้าใจในปัญหานั้นเพียงพอ
3. ประโยชน์ที่ได้รับ การมองประโยชน์ที่ได้รับจากการทาโครงงานของนักศึกษา โดยทั่วไปทาง
อาจารย์ ผู้ ส อนไม่ได้ คาดหวังจากสิ่ งต่า งๆที่นั กศึกษาคิดและสร้า งสิ่ งเหล่ านั้น ขึ้นมา แต่ม องที่กระบวนการว่ า
นักศึกษาเองได้ใช้ความรู้ความสามารถในการดาเนินงานมากน้อย มีการคิดอย่างเป็นระบบหรือไม่ทั้งในเรื่องการคิด
การวางแผนการทางาน การคิดต้นทุนการผลิต รวมถึงความปลอดภัยต่างๆในการทางาน

4. ความเป็นไปได้ ผู้ทาโครงงานควรนาปัจจัยข้างต้นมาพิจารณาว่า โครงงานดังกล่าวสามารถทาได้


จริงตามปัจจัยต่าง ๆ ที่มีอยู่หรือไม่ เช่น ระยะเวลา งบประมาณ เครื่องมือในการสร้าง เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง
แล้วจึงตัดสินใจเลือกทาโครงงานในหัวข้อนั้น

5. ความพร้อมของวัสดุและอุปกรณ์ ในการทาโครงงานของนักศึกษาหรืองานวิจัยต่างๆสิ่งหนึ่งที่ไม่
ควรมองข้าม คือ วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาโครงงานนั้นๆ ผู้ที่คิดจะทาโครงงานใดๆก็แล้วแต่ต้องมองให้ตลอด
โครงงานตั้งแต่ปัญหาของงานที่คิดจะทา เพื่อนร่วมงาน กระบวนการทา หากเป็นการสร้างเครื่องมือ เครื่องจักร จะ
ออกแบบและสร้างอย่างไร ใช้วัสดุพิเศษหรือไม่ หาซื้อได้จากแหล่งไหน ราคาเท่าไหร่ เมื่อสร้างเสร็จแล้วจะทาการ
ทาลองเพื่อเก็บตัว อย่ างอย่ างไร วัสดุที่น ามาทดลองมีมากพอหรือไม่ เช่น การออกแบบเครื่องทาทุเรียนกวน
ในขณะที่ทดลองเป็นฤดูกาลที่มีทุเรียนให้ทาการทดลองหรือเปล่าหรือมีแต่ราคาแพงเกินไป

ดังนั้นการเลือกหัวข้อมาทาโครงงานจะต้องให้ความสาคัญเป็ นอย่างมาก หัวข้อโครงงานในสถาน


ประกอบการอาจได้มาจากประชุมระหว่างและให้อาจารย์ประจารายวิชา ครูฝึกและนักศึกษาก็ได้ เทคนิคการคิด
หัวข้อเรื่องสาหรับการทาโครงงานประเภทต่าง ๆ ทางสายวิชาชีพ สาหรับนักศึกษาที่เรียนทางวิชาชีพ ควรเป็น
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการสร้างการผลิต การออกแบบหรือการพัฒนา
การตั้งชื่อโครงงานที่ดีควรมีลักษณะดังนี้

1. ตรงกับเรื่องที่ต้องการทา เมื่ออ่านชื่อเรื่องแล้วสามารถบอกได้ว่าเรื่องนั้นมีลักษณะอย่างไร เช่นการ


ออกแบบและพัฒนาเครื่องสีข้าว
2. สั้นกะทัดรัด ชื่อโครงงานไม่ควรยาวเกินไป ควรเขียนให้สั้นกะทัดรัด แต่ต้องได้ใจความตรงกับเรื่อง
3. ไม่ควรเป็นประโยคคาถาม เพราะไม่ใช่คาถาม หรือปัญหา
4. ควรมีลักษณะเร้าความสนใจ ต้องมีความทันสมัย เช่น เกี่ยวกับพลังงานทดแทน การลดต้นทุน
2.2 การออกแบบร่างและการตรวจสอบแบบร่าง
โครงงานที่เป็ น สิ่ งประดิษฐ์ หลั งจากโครงงานได้รับการอนุมัติจากอาจารย์ที่ปรึกษา ก่อนสร้าง
สิ่งประดิษฐ์ ผู้ทาโครงงานจะต้องวางแผนและออกแบบสิ่งประดิษฐ์ก่อนที่จะสร้างหรือจัดทาสิ่งประดิษฐ์ ซึ่งการ
วางแผนและออกแบบสิ่งประดิษฐ์มีขั้นตอนดังนี้
1. ทาการออกแบบร่าง (Sketch Design) โครงสร้าง/ผัง/ระบบ ของสิ่งประดิษฐ์
2. นาแบบร่าง (Sketch Design) โครงสร้าง/ผัง/ระบบ ของสิ่งประดิษฐ์ เสนอที่
ปรึกษางานวิจัย
3. หลังจากแบบร่าง (Sketch Design) โครงสร้าง/ผัง/ระบบ ของสิ่งประดิษฐ์ ผ่าน
ที่ปรึกษางานวิจัย นาไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้อง ความเป็นไปได้และความเหมาะสมของแบบร่าง
(Sketch Design)
4. หลังจากผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบความถูกต้อง ความเป็นไปได้และความเหมาะสมของแบบร่าง
(Sketch Design) ผู้ทาโครงงานทาการปรับปรุงแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ
3.2 ขั้นตอนการสร้าง/พัฒนานวัตกรรม (Development)
หลังจากแบบร่าง (Sketch Design) โครงสร้าง/ผัง/ระบบ ของสิ่งประดิษฐ์ ผ่านการตรวจสอบจาก
ผู้เชี่ยวชาญแล้ว ผู้ทาโครงงานต้องดาเนินการดังนี้
1. สร้ าง/พัฒ นานวัตกรรม (Development) สิ่ งประดิษ ฐ์ ตามแบบร่าง (Sketch Design)
โครงสร้าง/ผัง/ระบบ ของสิ่งประดิษฐ์ ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว
2. นานวัตกรรม (Development) สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างตามแบบร่าง (Sketch Design) โครงสร้าง/
ผัง/ระบบ ของสิ่งประดิษฐ์ ไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ/ประเมิน
3. ปรับปรุงนวัตกรรม (Development) สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างตามแบบร่าง (Sketch Design)
โครงสร้าง/ผัง/ระบบ ของสิ่งประดิษฐ์ ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ
3.3 ขั้นตอนการนาไปใช้และทดสอบหาประสิทธิภาพนวัตกรรม (Implement and Performance
Test)
หลังจากปรับปรุงนวัตกรรม (Development) สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างตามแบบร่าง (Sketch Design)
โครงสร้าง/ผัง/ระบบ ของสิ่งประดิษฐ์ ตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญแล้ว ผู้ทาโครงงานจะต้องนานวัตกรรม
(Development) สิ่งประดิษฐ์ไปทดลองใช้เพื่อทดสอบประสิทธิภาพ มีรายละเอียดดังนี้
3.3.1 การทดลองใช้สิ่งประดิษฐ์
ผู้ทาโครงงานดาเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลใช้ในสถานการณ์จริงในสถานประกอบการ/
ชุมชน/บริบทที่ต้องการแก้ปัญหา อาจจะต้องเก็บข้อมูลหลายครั้ง/หลายคน
3.3.2 การประเมินผลสิ่งประดิษฐ์
การประเมินสิ่งประดิษฐ์เป็นขั้นตอนการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม ซึ่งการประเมินประสิ ทธิภาพ
อาจพิจารณาได้จาก
1) แก้ปัญหาที่กาหนดไว้ได้
1.1) ลดต้นทุนการผลิต
1.2) แก้ปัญหาจากการทางาน
1.3) เพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์
2) เปรียบเทียบก่อนใช้-หลังใช้
3) เปรียบเทียบกับเกณฑ์
- ลดเวลา
- ลดทุน
- ลดแรงงาน
4) หาค่า ̅ S.D. ของความคิดเห็น และความพึงพอใจ
การจัดลาดับและการจัดวางหัวข้อ ใช้หลักปฏิบัติต่อไปนี้
1. การลาดับหัวข้อกรณีมีเลขข้อกากับ ให้ใช้ระบบตัวเลข โดยใส่มหัพภาคหลังตัวเลข และเว้น 2 ช่วง
ตัวอักษร ก่อนเริ่มคาหรือข้อความต่อไป
2. การจัดวางหัวข้อให้เป็นไปตามระดับความสาคัญของหัวข้อ ดังนี้
3. หัวข้อใหญ่ หัวข้อระดับนี้วางชิดขอบหน้า ถ้าไม่ได้อยู่ในบรรทัดแรกของหน้าให้เว้นจากข้อความ
ข้างบน 1 บรรทัด ทั้งนี้ หัวข้อใหญ่นี้ไม่นิยมใส่ตัวเลขกากับ คาอธิบายของหัวข้อใหญ่ให้ขึ้นบรรทัดใหม่ย่อ
หน้า 1.25 ซม. โดยเว้นบรรทัดปกติ ให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16
pt. (ตัวหนา)
4. หัวข้อรอง หัวข้อระดับนี้ให้เริ่มอักษรตัวแรกของหัวข้อหรือเลขกากับหัวข้อ โดยเว้นจากขอบหน้า
1.25 ซม. หรือย่อหน้าปกติ ให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16 pt.
5. คาอธิบายของหัวข้อรองอาจอยู่ในบรรทัดเดียวกัน หรือขึ้นย่อหน้าใหม่ ตามความเหมาะสมแก่
บริบท
6. เนื้อหาให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16 pt. (ตัวธรรมดา)
กรณีมีหลายคาให้วรรค 1 เคาะระหว่างคา
7. ชื่อตาราง ขนาดตัวอักษร 16 pt. (ตัวหนา) ให้ระบุไว้บนตารางจัดชิดซ้าย ใต้ตารางให้บอก
แหล่งที่มาจัดชิดซ้าย ส่วนรายละเอียดตัวอักษรปกติ กรณีที่ชื่อตารางมีมากกว่า 1 บรรทัด ให้ตัวอักษรของ
บรรทัดถัดไป ตรงกับตัวอักษรตัวแรกของชื่อตาราง
8. ชื่อภาพ ชื่อแผนภูมิ ขนาดตัวอักษร 16 pt. (ตัวหนา) ให้ระบุไว้ใต้รูป แผนภูมิ จัดกึ่งกลาง
หน้ากระดาษ ใต้ภาพ แผนภูมิ ให้บอกแหล่งที่มาจัดชิดซ้าย
การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมอาจดาเนินการตามขั้นตอนดังแผนภูมิต่อไปนี้
1
การวิจัยเชิงสารวจ การวิเคราะห์ปัญหา (Analysis)
2
การพัฒนา การออกแบบ (Design)

การกาหนดหัวข้อโครงงาน

การออกแบบร่าง (SketchDesign)

การพัฒนา
3 การสร้างและพัฒนานวัตกรรม
(Development)

การวิจัย 4 การนาไปใช้และทดสอบหาประสิทธิภาพ
(Implement and Performance Test)

เก็บข้อมูล

วิเคราะห์ผล

แก้ปัญหาไม่สาเร็จ
สรุปผล

แก้ปัญหาสาเร็จ

เขียนรายงาน
5
การเผยแพร่ เผยแพร่

ภาพที่ 1 แสดงขั้นตอนการดาเนินการวิจัยและพัฒนาอย่างเป็นระบบ
กระบวนการหรือขั้นตอนในการทาโครงงานของนักศึกษา

โจทย์ปัญหา

ศึกษาข้อมูลเบื้องต้น

พบอาจารย์ที่ปรึกษา
ภาค
ที่ปรึกษาพิจารณา การศึกษา
ที่ 1
ออกแบบ วางแผน

ศึกษาข้อมูล

สอบหัวข้อ

เตรียมวัสดุ/อุปกรณ์

งบประมาณ

ดาเนินการ

ทดลอง

เก็บข้อมูล

วิเคราะห์ข้อมูล
ภาค
การศึกษา
สรุป อภิปรายผล
ที่ 2
เขียนรายงาน

นาเสนอ/สอบ

ปรับแก้เอกสารฉบับสมบูรณ์

จบการศึกษา
บทที่ 4
ผลการดาเนินการ
รูปแบบตัวอักษร ให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New เท่านั้น
ขนาดตัวอักษร 18 pt. (ตัวหนา) จัดกึ่งกลางหน้ากระดาษ
ในส่วนนี้จะเป็นการรายงานผลการทดลองหรือผลการวิจัยต่างๆ ตามที่ได้มีการกาหนดในส่วน
วิธีการทดลอง/วิธีการวิจัย ของโครงงาน การอธิบายควรมีการแยกประเด็นการอธิบายอย่างชัดเจน ไม่ควร
อธิบายข้ามไปข้ามมา ซึ่งอาจก่อให้เกิดความสับสนได้ ควรมีการใช้กราฟ ตาราง รูปภาพ ช่วยในการ
อธิบาย เพื่อให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจ ทั้งนี้ในการอธิบายและการวิเคราะห์ ควรมีทฤษฎีและหลักการที่
เป็นวิทยาศาสตร์ หรืออธิบายโดยใช้ความรู้ในเชิงวิศวกรรมด้วย เป็นการแสดงผลจากการขั้นตอนในแต่ละ
ในบทที่ 3
4.1 ผลการออกแบบนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ (แสดงผลการประมินความเหมาะสม และเป็นไปได้)
4.2 ผลการสร้างนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ (แสดงนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ ที่สามารถ 1) ปัญหาที่
เกิด ขึ้น ในกระบวนการทางานในสถานประกอบการ 2) การลดต้น ทุน กระบวนการผลิ ตในสถาน
ประกอบการ และ 3) การเพิ่มมูลค่าของสินค้าจากกระบวนการผลิต
4.3 ผลการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์

เนื้อหาให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16 pt. (ตัวธรรมดา) กรณีมี


หลายคาให้วรรค 1 เคาะระหว่างคา
บทที่ 5
การสรุปผล อภิปลายผลและข้อเสนอแนะ
รูปแบบตัวอักษร ให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New เท่านั้น
ขนาดตัวอักษร 18 pt. (ตัวหนา) จัดกึ่งกลางหน้ากระดาษ
5.1 การสรุปผลการจัดสร้าง และหรือพัฒนานวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์
5.1.1 สรุปผลขั้นตอนการออกแบบนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ (การประมินความเหมาะสม
และเป็นไปได้)
5.1.2 สรุปผลขั้นตอนการสร้างนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ (นวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์)
5.1.3 สรุปผลขั้นตอนการหาประสิทธิภาพของนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์
5.2 อภิปลายผลจากการสรุปผลตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด โดยอภิปลายผลที่ได้ให้สอดคล้องกับ
แนวคิดทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
5.3 ข้อเสนอแนะการดาเนินโครงการ

การจัดลาดับและการจัดวางหัวข้อ ใช้หลักปฏิบัติต่อไปนี้
1. การลาดับหัวข้อกรณีมีเลขข้อกากับ ให้ใช้ระบบตัวเลข โดยใส่มหัพภาคหลังตัวเลข และเว้น 2 ช่วง
ตัวอักษร ก่อนเริ่มคาหรือข้อความต่อไป
2. การจัดวางหัวข้อให้เป็นไปตามระดับความสาคัญของหัวข้อ ดังนี้
3. หัวข้อใหญ่ หัวข้อระดับนี้วางชิดขอบหน้า ถ้าไม่ได้อยู่ในบรรทัดแรกของหน้าให้เว้นจากข้อความ
ข้างบน 1 บรรทัด ทั้งนี้ หัวข้อใหญ่นี้ไม่นิยมใส่ตัวเลขกากับ คาอธิบายของหัวข้อใหญ่ให้ขึ้นบรรทัดใหม่ย่อ
หน้า 1.25 ซม. โดยเว้นบรรทัดปกติ ให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16
pt. (ตัวหนา)
4. หัวข้อรอง หัวข้อระดับนี้ให้เริ่มอักษรตัวแรกของหัวข้อหรือเลขกากับหัวข้อ โดยเว้นจากขอบหน้า
1.25 ซม. หรือย่อหน้าปกติ ให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16 pt.
5. คาอธิบายของหัวข้อรองอาจอยู่ในบรรทัดเดียวกัน หรือขึ้นย่อหน้าใหม่ ตามความเหมาะสมแก่
บริบท
6. เนื้อหาให้จัดพิมพ์ด้วยแบบตัวอักษร TH Sarabun New ขนาดตัวอักษร 16 pt. (ตัวธรรมดา)
กรณีมีหลายคาให้วรรค 1 เคาะระหว่างคา
บรรณานุกรม
รัตนะ บัวสนธ์.(2555).วิธีการเชิงผสมผสานสาหรับการวิจัยและประเมินกรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2555.
วรรณา โสมประยูร.(2546). พฤติกรรมทางเพศและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นใน
สถานศึกษา สังกัดกรมอาชีวอนามัย อาเภอเมือง จังหวัดยโสธร, 2546 AL-NUR JOURNAL OF GRADUATE
SCHOOL, FATONI UNIVERSITY พ.ศ. 2556 ปีที่ 8 ฉบับที่ 14
สุวิมล ว่องวาณิช.(2554).การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน พิมพ์ครั้งที่ 15กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, 2554
องอาจ นัยพัฒน์.(2554). การออกแบบการวิจัย : วิธีการเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพและผสมผสานวิธีการ พิมพ์ครั้งที่
2 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2554.
การอ้างอิงเอกสาร
1. การอ้างอิงในเนื้อหา ให้ใช้วิธีการอ้างอิงแบบนาม-ปี โดยระบุชื่อผู้เขียน ปีที่พิมพ์ และเลขหน้าเอกสารไว้ข้างหลัง
ของข้อความที่ต้องการอ้างอิง เช่น (Athikom, S, 2014, pp. 31)
2. การอ้างอิงท้ายบทความ ให้ระบุเอกสารที่ใช้อ้างอิงไว้ท้ายบทความ โดยเรียงตามลาดับตัวอักษรใช้รูปแบบการ
เขียนอ้างอิงตามระบบ APA Style 6th ed. ต่อไปนี้
อ้างอิงจาก รูปแบบและตัวอย่าง
หนังสือทั่วไป
วารสารและนิตยสาร ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง ชื่อวารสาร, ปีที่ (ฉบับที่), หน้าแรก-หน้าสุดท้าย
ตัวอย่าง :
สุชาดา ตั้งทางธรรม. (2545). การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ: กรณีโรงงานยาสูบ
กระทรวงการคลัง. วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช, 15(3), 23-37.

ตัวอย่าง Athikom, S. (2014). Accuracy of shooting 2 model. Nonthaburi: Sukhothai


Thammathirat Open University Printing House.
บทความในหนังสือ
รูปแบบการเขียน ชื่อผู้เขียนบทความ./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ./ใน/ชื่อผู้แต่ง (บรรณาธิการ),/ชื่อหนังสือ
////////(ครั้งที่พิมพ์), เลขหน้าที่ปรากฏบทความจากหน้าใดถึงหน้าใด)./สถานที่พิมพ์:/
////////สานักพิมพ์.
ตัวอย่าง Saowanee chumdermphadejsuk. (1991). Acute Asthma Treatment in
Children. in Somsak Lohlekha, Chaleerat Dilekwattanacha and Montree
Tuchinda (Editor), Clinical Immunology and Allergy. (p. 99-103). Bangkok:
The Royal College of Pediatricians of Thailand & Pediatric Society of
Thailand.
บทความวารสารออนไลน์
รูปแบบการเขียน ชื่อผู้แต่ง./(ปีพิมพ์)./ชื่อบทความ./ชื่อวารสาร,/ปีที่/(ฉบับที่),/เลขหน้า-เลขหน้า.
////////URLของวารสาร
ตัวอย่าง Chunhachinda, P. (2017). FinTech: Towards Thailand 4.0. Electronic Journal
of Open and Distance Innovative Learning, 8(1), 7 (1), 23-37. http://e-
jodil.stou.ac.th/filejodil/14_0.pdf
บทความในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการที่พิมพ์เผยแพร่
รูปแบบการเขียน ชื่อผู้แต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชื่อเรื่อง./ใน/สถานที่จัด,/ชื่อการประชุม./(หน้า)./สถานที่พิมพ์:
สานักพิมพ์.
ตัวอย่าง Deci, E. L., & Ryan, R. M. (1991). A motivational approach to self: Integration
in personality. In R. Dienstbier (Ed.), Nebraska Symposium on Motivation:
Vol. 38. Perspectives on motivation (pp. 237-288). Lincoln: University of
Nebraska Press.
รูปแบบการเขียน ชื่อผู้เขียนวิทยานิพนธ์./(ปีพิมพ์)./ชื่อวิทยานิพนธ์./(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
//////// หรือวิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต,/ชื่อมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษา).
ตัวอย่าง Athikom, S. (2007). EFFECT OF ACCURACY TRAINING IN TWO - GOAL
SHOOTING MODELS. (Master' s thesis) Faculty of Physical Education,
Srinakharinwirot University
เว็บไซต์
รูปแบบการเขียน ชื่อผู้เขียน./ (ปีที่เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต)./ ชื่อเรื่อง./ สืบค้นเมื่อวัน เดือน ปี ,/ จาก
เว็บไซต์: ///////URL Address
ตัวอย่าง Jairaksa, S. (2017).Promote Technical Occupations. Retrived May 29, 2018,
from
http://cddata.cdd.go.th/cddkm/prov/km2_viewlist.php?action=view&div=
64&kid=28748.
ตัวอย่างการจัดหน้ากระดาษ (ขนาดกระดาษ A 4 )

1 นิว้

บทที่ 1
บทนา

1.1 ที่มาและความสาคัญของปัญหา
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….………………………………
1.1. หัวข้อย่อย
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………….………………………………
1.5 นิ้ว 1.5 นิ้ว
1.1.1 ส่วนประกอบย่อย
….…………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….…………………………

1 นิว้

You might also like