You are on page 1of 61

การประชุ ม ชี้ แ จงการดาเนิ น งานของศู น ย์ บ ร กิ ารสาธารณสุ ข

วั น ที่ 5 ต.ค. 2565 เวลา 13.30 – 16.00 น.

20XX Pitch deck title 1


วาระการประชุ ม ชี้ แ จงการดาเนิ น งานของศู น ย์ บ ร ก
ิ ารสาธารณสุ ข
วั น ที่ 5 ต.ค. 2565 เวลา 13.30 – 16.00 น .

ร ะเบี ย บวาร ะที่ 1 เร องที


ื่ ่ ป ร ะธาน แจ้ ง ให้ ท่ี ป ร ะชุ ม ทราบ
ร ะเบี ย บวาร ะที่ 2 เร องเพื
ื่ ่ อ ทร าบ
ิ 19 เมื่ อ เข้ า สู่ โ รคประจาถิ่ น
2.1 การรั ก ษาพยาบาลโคว ด
- CPG covid 19 ฉบั บ วั น ที่ 29 กย 65 (พญ.ฉั น ทพั ท ธ์ ฯ )
- การให้ บ ร ก
ิ ารวั ค ซี น และการรายงาน โร ค (รง.506) (กคร.)
- แนวทางการ เบิ ก ค่ า รั ก ษาพย าบาลแต่ ล ะกองทุ น
2.2 การยกเลิ ก สั ญ ญา รพ . 9 แห่ ง ในระบบหลั ก ปร ะกั น สุ ข ภาพถ้ ว นหน้ า
2.3 การเบิ ก จ่ า ยตร งสิ ท ธิ ข้ า ราช การ กทม . ผ่ า น สปสช .
2.4 การพั ฒ นาบร ก
ิ ารศู น ย์ บ ร ก
ิ าร สาธารณสุ ข สาขา 6 แห่ ง
2.5 การยกระดั บ บร ก
ิ ารศู น ย์ บ ร ก
ิ ารสาธารณสุ ข (ศบส.plus 6 แห่ ง )
2.6 การให้ บ ร ก
ิ าร คลิ นิ ก พิ เ ศษ 12 คลิ นิ ก
2.7 เร อื่ งร้ อ งเร ยี น ของศู น ย์ บ ร ก
ิ ารสาธาร ณสุ ข
2.8 การขอสนั บ สนุ น ผ้ า อ้ อ มผู้ ใ หญ่
ร ะเบี ย บวาร ะที่ 3 เร องอื
ื่ ่นๆ
การรักษาพยาบาลโควิด 19 เมื่อเข้าสู่โรคประจาถิ่น

20XX Pitch deck title 3


CPG covid 19 ฉบั บ วั น ที่ 29 กย 65
(พญ.ฉั น ทพั ท ธ์ ฯ )

20XX Pitch deck title 4


การให้บริการวัคซีนโควิด 19 และการรายงานโรค ( รง.506)

20XX Pitch deck title 5


แผนการดาเนินการ "วัคซีนโควิด-19“ เมื่อเข้าสู่ระยะ Post-pandemic
แผนการดาเนินงานด้านวัคซีน-19 เมื่อเข้าสู่ระยะ Post-pandemic เพื่อให้ประชาชนทุกคนในกรุงเทพมหานคร ได้รับวัคซีนด้วย
ความสมัครใจและครอบคลุม เตรียมรองรับการระบาดรวมถึงเชื้อกลายพันธุ์ ลดความรุนแรง เสียชีวิตในประชากรทุกกลุ่มอายุ และขับเคลื่อน
เศรษฐกิจ การฉีดวัคซีน ยังเป็นสิ่งสาคัญ โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง 608 ให้ได้รับวัคซีนเข็ม 2 มากกว่า 80% และได้รับวัคซีนเข็มกระตุ้น มากกว่า 60%
โดยเป้าหมายการให้บริการ มีดังนี้
▪ เปิดบริการฉีดวัคซีนทุกกลุ่มอายุผ่านช่องทางนัดหมายแอพพลิเคชั่น QueQ รวมทั้งเปิดให้บริการการทุกวันแบบไม่ต้องนัดหมาย (Walk in)
ในประชาชนที่มารับบริการในคลินิกวัคซีนผู้ป่วยนอก โดยเฉพาะในกลุ่ม 608 เพื่อลดการเสียโอกาสของประชาชนในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
▪ กลุ่มเป้าหมาย 12 ปีขึ้นไป ยังไม่เคยได้รับวัคซีน สามารถเข้ารับวัคซีนแบบ Walk in ในสถานพยาบาลที่คณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
กาหนดไว้
▪ ผู้ที่ฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์ หรือผู้ที่ติดเชื้อโควิด-19 สามารถเข้ารับวัคซีนเข็มกระตุ้น ตามแนวทางที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนดไว้
▪ กลุ่มเป้าหมายอายุ 5 - 11 ปี ได้รับการฉีดวัคซีนได้ตามความสมัครใจของเด็กและผู้ปกครอง
▪ จัดตั้งคลินิกวัคซีนผู้ใหญ่ กระจายวัคซีนไปยังสถานพยาบาลใกล้บ้าน
▪ เน้นการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กระตุ้นการฉีดวัคซีนในสถานที่ต่าง ๆ เช่น โรงเรียน สถานที่ทางาน ชุมชน และสถานดูแลผู้สูงอายุ
การบริหารจัดการวัคซีนสาหรับเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 4 ปี (4 ปี 11 เดือน 29 วัน)
การบริหารจัดการวัคซีน Pfizer ฝาสีแดงเข้ม สาหรับเด็กที่มีอายุ 6 เดือน ถึง 4 ปี ของกระทรวงสาธารณสุข
การเตรียมการให้บริการวัคซีนสาหรับเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 4 ปี ในกรุงเทพมหานคร
26 ส.ค. 2565 ขอความอนุเคราะห์สถานพยาบาลนาข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเด็กอายุ 0-5 ปี เข้าระบบ
ฐานข้อมูลกลางกระทรวงสาธารณสุข MOPH Immunization Center (MOPH-IC)
- นาเข้าข้อมูลแล้ว 229 แห่ง รวม 148,496 ราย (27 ก.ย. 65)

20-30 ก.ย. 2565 สานักอนามัยสารวจจานวนเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 4 ปี ของสถานพยาบาลใน


กรุงเทพมหานคร ที่คาดว่าจะมารับบริการวัคซีนในเดือนตุลาคม 2565
- ส่งข้อมูลแล้ว 40 แห่ง รวม 25,525 ราย (27 ก.ย. 65)

30 ก.ย. 2565 สานักอนามัยรายงานจานวนวัคซีนที่ต้องการทาง Google Sheet ผ่านกลไก


กองตรวจราชการ เพื่อขอรับจัดสรรวัคซีนจากกรมควบคุมโรค

สัปดาห์ที่ 2 ของ ต.ค. 65


จัดสรรวัคซีนให้สถานพยาบาลเข้ามารับวัคซีนที่สานักอนามัย พร้อมให้บริการ
การรายงานผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง
ในระบบเฝ้าระวังโรค รง.506

ตาม กระทรวงสาธารณสุข ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นโรคติดต่อ


ที่ต้องเฝ้าระวังตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 โดยให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1
ตุลาคม พ.ศ.2565 เป็นต้นไป นั้น (Slide 2)
กองควบคุมโรคติดต่อ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการรับรายงานผู้ป่วยจาก
สถานพยาบาลทุกสังกัดในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จึงขอความร่วมมือศูนย์บริการ
สาธารณสุข รายงานข้อมูลผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และโรคติดต่อที่ต้องเฝ้า
ระวังตามแบบรายงานผู้ป่วย รง.506 ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
วิธีการส่งรายงานผู้ป่วยโรคติดต่อเฝ้าระวัง รง.506
สามารถส่งได้ 3 วิธีดังนี้
1. บันทึกข้อมูลผู้ป่วยเข้าระบบรายงาน รง.506 ที่ URL: http://bmacdc.bangkok.go.th โดยเจ้าหน้าที่ต้องมี
Username และ Password เพื่อเข้าใช้งานระบบก่อนจึงจะสามารถเข้าไปบันทึกข้อมูลผู้ป่วยได้
เจ้าหน้าที่สามารถขอมี Username และ Password ได้โดยส่งเมลมาที่ epid_bma@yahoo.com โดยระบุ
รายละเอียดดังนี้
1. หัวเรื่อง ขอรหัสเข้าใช้งานระบบสารสนเทศทางระบาดวิทยา
2. เนื้อหาเมล ประกอบด้วย
- คานาหน้าชื่อ ชื่อ สกุล ของเจ้าหน้าที่ที่ต้องการขอรหัส
- ชื่อสถานพยาบาล
- เบอร์โทรศัพท์ 02 ที่สามารถติดต่อผู้ใช้งานได้ กรณีที่ต้องมีการ Confirm รายละเอียดผู้ป่วย
วิธีการส่งรายงานผู้ป่วยโรคติดต่อเฝ้าระวัง รง.506
คู่มือการใช้งานระบบรายงานจะมีให้ดาวน์โหลดในหน้าเว็บ ดังรูป

*** หากมีข้อสงสัยสอบถามได้ที่กลุ่มงานระบาดวิทยา กองควบคุมโรคติดต่อ สานักอนามัยกรุงเทพมหานคร


โทร. 0 2203 2890, 0 2203 2891

2. การส่งรายงานรูปแบบกระดาษ โดยการกรอกข้อมูลลงในแบบฟอร์มรง.506 (Slide 5) แล้วสแกนเป็นไฟล์ แนบ


ส่งมายัง E-mail Address : epid_bma@yahoo.com
แบบฟอร์ม
รง.506

ใช้รายงาน ยกเลิก
วิธีการส่งรายงานผู้ป่วยโรคติดต่อเฝ้าระวัง รง.506
3. การส่งรายงานเป็นไฟล์ Excel ตามรูปแบบที่กาหนด
Flow การส่งรายงานผูป้ ่วยโรคติดต่อเฝ้าระวัง รง.506
ผู้บริหารกรุงเทพมหานคร กระทรวงสาธารณสุข

กรมควบคุมโรค สปคม.
ผู้บริหารสานักอนามัย
กองระบาดวิทยา

กองควบคุมโรคติดต่อ หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง
โรงพยาบาล สานักงานเขต 50 แห่ง

ศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา 76 แห่ง
แนวทางการเบิกค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขสาหรับผู้ป่วยโควิด 19 ของแต่ละกองทุน
แนวทางการเบิกค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขสาหรับผู้ป่วยโควิด 19 ของแต่ละกองทุน
เริ่ม 1 ตุลาคม 2565

UC ประกันสังคม ข้าราชการ สิทธิอื่นๆ

เขตสุขภาพ ต่างจังหวัด รพ.สังกัด อื่นๆ


กทม. รพ.อื่นๆ กทม.
4,5,6 อื่นๆ สานักการแพทย์

OP anywhere เหตุสมควร คิดค่าใช้จ่าย เบิกจ่ายตาม คิดค่าใช้จ่าย คิดค่าใช้จ่าย คิดค่าใช้จ่าย


MODEL 5 : Fee ตามจริง เบิกจ่ายตรง
(project ตามจริง ระบบปกติ ตามจริง ตามจริง
Schedule code : ยกเว้นกรณ๊ (แนะนาไปตามสิทธิ)
ตรงเครือข่าย : WALKIN อุบัติเหตุและ
OP TYPE 6 ฉุกเฉิน
ต่างเครือข่าย:
OP TYPE 3
2.2 การยกเลิกสัญญาโรงพยาบาล 9 แห่ง ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
1. รพ.มเหสักข์ บางรัก
2. รพ.บางนา 1 บางนา
3. รพ.ประชาพัฒน์ ราษฎร์บูรณะ
4. รพ.นวมินทร์ มีนบุรี
5. รพ.เพชรเวช ห้วยขวาง
6. รพ.ผู้สูงอายุกล้วยน้าไท 2 บางนา
7. รพ.แพทย์ปัญญา สวนหลวง
8. รพ.บางมด จอมทอง
9. รพ.กล้วยน้าไท คลองเตย
ประชากรที่ได้รับผลกระทบจากการยกเลิกสัญญาบริการสาธารณสุข
รพ.เอกชน 9 แห่ง
ประชากรที่มีหน่วยบริการปฐมภูมิ หน่วยบริการประจาและรพ.รับส่งต่อ
เป็นรพ.ที่ถูกยกเลิก ประมาณ 2.4 แสนคน จะกลายเป็นสิทธิ์ว่าง
ประชากรที่หน่วยบริการรับส่งต่อเป็นหน่วยบริการที่ถูกยกเลิก
ประมาณ 4.4 แสนคน

รวมประชากรที่ได้รับผลกระทบ ประมาณ 6.8 แสนคน


TOP 10
ประชากรปฐมภูมิที่ได้รับผลกระทบ อันดับ เขต จานวนประชากร (คน)
(สิทธิว่าง) 1 คลองเตย 22,644
2 สวนหลวง 21,992
2.4+ แสนคน 3
4
จอมทอง
มีนบุรี
21,451
21,040
50 เขต 5
6
ราษฎร์บูรณะ
บางกะปิ
20,317
19,007
7 ทุ่งครุ 15,095
8 วังทองหลาง 14,302
ข้อมูล OP เพิ่มเติม
9 คลองสามวา 12,467
10 ห้วยขวาง 10,531
ประชากรที่ได้รับผลกระทบจากการยกเลิก 9 โรงพยาบาล (แยกตามกลุ่มเขต)
กลุ่มกรุงเทพเหนือ กลุ่มกรุงเทพใต้
ลาดับ เขต หน่วยปฐมภูมิ รพ.รับส่งต่อ ลาดับ เขต ปฐมภูมิ รพ.รับส่งต่อ
1 จตุจักร 735 924 1 คลองเตย 22,644 33,099
2 ดอนเมือง 337 406 2 บางคอแหลม 701 1,318
3 บางเขน 1,460 1,266 3 บางนา 6,442 44,053
4 บางซื่อ 245 316 4 บางรัก 438 668
5 ลาดพร้าว 6,381 6,643 5 ปทุมวัน 465 1,098
6 สายไหม 1,087 1,178 6 พระโขนง 4,212 17,470
7 หลักสี่ 230 255 7 ยานนาวา 656 13,543
รวม 10,475 10,988 8 วัฒนา 3,791 4,814
9 สวนหลวง 21,992 117,820
10 สาทร 478 660
รวม 61,819 234,543
รพ.บางนา ผูส้ งู อายุกล้วยนา้ ไท 2กล้วยนา้ ไท แพทย์ปัญญา มเหสักข์
ประชากรที่ได้รับผลกระทบจากการยกเลิก 9 โรงพยาบาล (แยกตามกลุ่มเขต)
กลุ่มกรุงเทพกลาง กลุ่มกรุงเทพตะวันออก
ลาดับ เขต หน่วยปฐมภูมิ รพ.รับส่งต่อ ลาดับ เขต ปฐมภูมิ รพ.รับส่งต่อ
1 ดินแดง 607 721 1 คลองสามวา 12,467 2,267
2 ดุสิต 159 272 2 คันนายาว 1,566 1,108
3 ป้อมปราบศัตรูพ่าย 158 289 3 บางกะปิ 19,007 112,231
4 พญาไท 285 404 4 บึงกุ่ม 2,308 13,023
5 พระนคร 135 182 5 ประเวศ 5,710 10,368
6 ราชเทวี 487 1,003 6 มีนบุรี 21,040 1,927
7 วังทองหลาง 14,302 54,482 7 ลาดกระบัง 2,353 2,114
8 สัมพันธวงศ์ 122 158 8 สะพานสูง 8,661 5,995
9 ห้วยขวาง 10,531 11,290 9 หนองจอก 4,023 1,536
รวม 26,786 68,801 รวม 77,135 150,569

รพ.เพชรเวช รพ.นวมินทร์
ประชากรที่ได้รับผลกระทบจากการยกเลิก 9 โรงพยาบาล (แยกตามกลุ่มเขต)
กลุ่มกรุงธนเหนือ กลุ่มกรุงธนใต้
ลาดับ เขต หน่วยปฐมภูมิ รพ.รับส่งต่อ ลาดับ เขต ปฐมภูมิ รพ.รับส่งต่อ
1 คลองสาน 456 1,375 1 ทุ่งครุ 15,095 39,643
2 จอมทอง 21,451 62,982 2 บางขุนเทียน 5,439 11,949
3 ตลิ่งชัน 290 2,418 3 บางแค 809 4,117
4 ทวีวัฒนา 293 461 4 บางบอน 2,870 28,052
5 ธนบุรี 1,994 7,781 5 ภาษีเจริญ 532 21,824
6 บางกอกน้อย 342 1,504 6 ราษฎร์บูรณะ 20,317 34,356
7 บางกอกใหญ่ 161 278 7 หนองแขม 515 2,715
8 บางพลัด 218 627 รวม 45,577 142,656
รวม 25,205 77,426

รพ.ประชาพัฒน์
รพ.บางมด
เปรียบเทียบผู้รบั บริการสิทธิว่างของศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง ระหว่างวันที่ 26 ก.ย. 65 กับ วันที่ 3 ต.ค. 65

41
35

22

58
37
8 39
43 59
ศูนย์บริการสาธารณสุข 10 อันดับแรก TOP 10
ที่มีผู้รับบริการสิทธิว่าง ในวันที่ 3 ต.ค. 65 มากที่สุด
อันดับ ศบส. เขต
1 41 คลองเตย
2 35 บางกะปิ
3 22 ประเวศ
8
2
4 58 ราษฎร์บูรณะ
1
5 5 37 สวนหลวง
6 8 บางนา
3

7 39 ราษฎร์บูรณะ
4
7 6
9

10
8 43 มีนบุรี
9 59 ทุ่งครุ
10 42 บางขุนเทียน
สปสช.เตรียมการรองรับ กรณีหน่วยบริการปฐมภูมิ

1. จัดหาหน่วยบริการปฐมภูมิ รองรับประชากรที่ได้รับผลกระทบ โดยให้มีการกระจายอย่างเหมาะสม และหน่วย


บริการที่ขึ้นทะเบียนใหม่จะยังไม่ได้รับการจัดสรรประชากร จนกว่าประชากรจะขอไปลงที่ทะเบียนที่หน่วยบริการ
2. จัดให้มีบริการรูปแบบใหม่/บริการเฉพาะรองรับกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (Tele-medicine, Mobile units, ร้านยา ฯลฯ)
3. การจ่ายชดเชย ตามรูปแบบ Model 5
4.เตรียมข้อมูลผู้ป่วยเรื้อรัง จากทั้งในฐานข้อมูลและจากหน่วยบริการ
5. ประชาสัมพันธ์รับหน่วยฯเพิ่ม
6. ชี้แจงหลักเกณฑ์เงื่อนไข การเบิกจ่าย
7.หารือ สนอ.ในการจัดเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ เพื่อรองรับการขึ้นทะเบียนหน่วยบริการของประชาชน
ที่ได้รับผลกระทบ
กรณีส่งต่อ

โรงพยาบาลที่รบั ผิดชอบตามโซนที่ สปสช.กาหนด


ส่งต่อ
โรงพยาบาลรัฐในพืน้ ที่กรุงเทพมหานคร
แนวทางการจัดการเครือข่ายบริการระดับส่งต่อ
สปสช.จัดเครือข่ายหน่วยบริการรับส่งต่อทดแทนให้กับหน่วยบริการปฐมภูมิและหน่วยบริการประจา โดยมีประชากร
ที่ได้รับผลกระทบ กรณีบอกเลิกสัญญาฯ โรงพยาบาล 9 แห่ง
แนวทางการจัดการเครือข่ายบริการระดับส่งต่อ (ต่อ)
สปสช.จัดเครือข่ายหน่วยบริการรับส่งต่อทดแทนให้กับหน่วยบริการปฐมภูมิและหน่วยบริการประจา โดยมีประชากร
ที่ได้รับผลกระทบ กรณีบอกเลิกสัญญาฯ โรงพยาบาล 9 แห่ง
รพ.กล้วยนำ้ ไท รพ.ประชำพัฒน์ รพ.บำงมด
กรณีผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลเดิม ได้แก่ โรงพยาบาลประชาพัฒน์ ,โรงพยาบาลกล้วยน้าไท และ


โรงพยาบาลบางมด ในระหว่างช่วงเปลี่ยนผ่าน (1 ต.ค. – 31 ธ.ค. 65)

ผู้ป่วย TB(200 ราย) , HIV (2000 ราย) อาจมารับบริการที่ ศบส.

สานักงานหลักประกันสุขภาพจัดโรงพยาบาลเตรียมรองรับ โทร 1330 กด 6


การเตรียมความพร้อมของศูนย์บริการสาธารณสุข

ประชาสัมพันธ์ให้ผู้รบั บริการที่ได้รับผลกระทบทราบแนวทางการรับบริการ

พิจารณาจัดจุดบริการต่างๆ เช่น จุดคัดกรอง จุดออกใบส่งตัว จุดตรวจสอบประวัติการรักษาพยาบาล

ให้บริการผู้รับบริการสิทธิ์ว่าง โดยเบิกจ่าย e-claim OP type 3

กรณีส่งต่อ ให้ส่งต่อรพ.รัฐบาลในกรุงเทพมหานคร

กรณีมีผู้รับบริการจานวนมาก พิจารณาจัดจ้างบุคลากรเพิ่มเติม , จัดเตรียมสถานที่ให้เหมาะสม

จัดเตรียมยาและเวชภัณฑ์ ให้เพียงพอ
2.3 การเบิกจ่ายตรงสิทธิขา้ ราชการ กทม. ผ่าน สปสช.
การเลือกสิทธิขา้ ราชการกรุงเทพมหานครในระบบ HCIS

ระบบงานห้องบัตร
เวชระเบียนผูป้ ่ วยนอก
ได้เพิม่ สิทธิเบิกข้าราชการ
กรุงเทพมหานคร
ตามทีส่ ปสช. กาหนดแล้ว
การเลือกสิทธิขา้ ราชการกรุงเทพมหานครในระบบ HCIS

ระบบงานห้องบัตร
Export File 16 แฟ้ ม
[ E-Claim16 ]

สาหรับหน้า Export เพือ่ ส่งเบิก


รูปแบบเหมือนเดิม ทางระบบ
จะดึงข้อมูลให้เองผูใ้ ช้ไม่ได้ตอ้ ง
ทาอะไรเพิม่
ซึง่ ขณะนี้อยูร่ ะหว่างการปรับปรุง
ให้สามารถส่งเบิกได้
คาดว่าจะแล้วเสร็จสามารถใช้งานได้
ภายในสิน้ เดือน
ระบบตรวจสอบและยืนยันการเข้ารับบริการ New Authentication
ด้วยบัตร Smart Card ผ่านโปรแกรม NHSO Secure SmartCard Agent

ระบบงานห้องรับเงิน
ลาดับคิวการเงิน Eclaim (NEW)
สืบเนื่ องจากสปสช. ปิ ดระบบการขอ ClaimCode
โดยให้ใช้ระบบการขอ AuthenCode แทน ตัง้ แต่วนั ที่
1 ต.ค. 65
และทางสพธ. ได้ประสานศบส. เพือ่ ขอ Token
Key พร้อมปรับปรุงโปรแกรมเสร็จแล้ว
จึงขอให้ศบส. ติ ดตัง้ ตัว Agent ของสปสช. ตัวใหม่
ที่เครื่องของห้องการเงิ น และใช้เมนูลาดับคิ ว
การเงิ น Eclaim (NEW) แทน

สามารถดาวน์โหลดคู่มอื
กรณี Token และโปรแกรมได้ทน่ี ่ี
- หากไม่ทราบ ให้ดใู นไฟล์ขนั ้ ตอนการติดตัง้ ทีด่ าวน์โหลดมาจะมี Token ของศบส. ทีไ่ ด้ขอจากสปสช. ให้
จากนัน้ ทาการ Copy Token ไปวางในไฟล์ userconfig.properties แล้ว Save ทับไฟล์เดิม
** หากไม่ใส่ Token จะไม่สามารถเรียกใช้งาน API ทีเ่ ชื่อมต่อกับสปสช.ได้
2.4 การพัฒนาบริการศูนย์บริการสาธารณสุข สาขา 6 แห่ง
การพัฒนาศักยภาพศูนย์บริการสาธารณสุขสาขาในการให้บริการตรวจรักษาโดยแพทย์

61 สาขาออเงิน สาขาบรรจบ ปิ ยะพันธุ ์


44

สาขาแจ่ม-ดา ควรชม 35 สาขากาญจนวาส


67

21 สาขาพระโขนง ที่ตง้ั ของศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา


นาร่อง 6 แห่ง
กท.เหนื อ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 61 สาขาออเงิน
กท.ตะวันออก : ศูนย์บริการสาธารณสุข 35 สาขากาญจนวาส
42
สาขางามเจริญ
: ศูนย์บริการสาธารณสุข 44 สาขาบรรจบ ปิ ยะพันธุ ์
กท.ใต้ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 21 สาขาพระโขนง
กธ. เหนื อ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 สาขาแจ่ม-ดา ควรชม
กธ. ใต้ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 42 สาขางามเจริญ
สิ่งที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม

การปรับปรุง ซ่อมแซม ด้านกายภาพ

การเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร

การเตรียมครุภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์เพิ่มเติม

การปรับปรุงระบบ IT
มติท่ปี ระชุมคณะกรรมการพัฒนาบริการสุขภาพปฐมภูมิของสานักอนามัย ครัง้ ที่ 2/2565
เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2565

❖ มอบศูนย์บริการสาธารณสุขทัง้ 6 แห่ง ดาเนิ นการพัฒนาศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา และจัดทา Action plan


การดาเนิ นงานภายใน 6 เดือน
❖ มอบสานักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข ดาเนิ นการ
- จัดทาหนังสือขอความร่วมมือสานักงานเขตในการออกแบบ ปรับปรุง ซ่อมแซมศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา
- จัดทาโครงการต้นแบบในการพัฒนาศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา โดยใช้เงินนอกงบประมาณ (บัญชี)
โครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสานักอนามัย

❖ มอบคณะทางานด้านการสนับสนุ นการจัดบริการสุขภาพปฐมภูมิ ดาเนิ นการพิจารณารูปแบบก่อนดาเนิ นการ


2.5 การยกระดับบริการศูนย์บริการสาธารณสุข (ศบส. plus 6 แห่ง)
การดาเนิ นการ Observation Room ใน ศบส. 6 แห่ง ทัง้ 6 กลุม่ เขต

19 56

67 52

62 41
ที่ตง้ั ของศูนย์บริการสาธารณสุข (Observation Room) 6 แห่ง
กท.เหนื อ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 19 วงศ์สว่าง
กท.กลาง : ศูนย์บริการสาธารณสุข 52 สามเสนนอก
กท.ใต้ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 41 คลองเตย
กท.ตะวันออก : ศูนย์บริการสาธารณสุข 56 ทับเจริญ
กธ. เหนื อ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 ทวีวฒั นา
กธ. ใต้ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฎ์ ศศะนาวินฯ
การดาเนินการ

จัดเตรียมสถานที่ เพื่อรับรองผู้ป่วยชั่วคราว
ในเวลาราชการ จานวน 3-5 เตียง
จัดเตรียมครุภัณฑ์ วัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็น

จัดจ้างบุคลากรเพิ่มเติม
มติท่ปี ระชุมคณะกรรมการพัฒนาบริการสุขภาพปฐมภูมิของสานักอนามัย ครัง้ ที่ 2/2565
เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2565
❖ พิจารณาคัดเลือกศูนย์บริการสาธารณสุขที่จะดาเนิ นการ ดังนี้
กท.เหนื อ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 19 กท.กลาง : ศูนย์บริการสาธารณสุข 52
กท.ใต้ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 41 กท.ตะวันออก : ศูนย์บริการสาธารณสุข 56
กธ.เหนื อ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 67 กธ.ใต้ : ศูนย์บริการสาธารณสุข 62

❖ มอบศูนย์บริการสาธารณสุขทัง้ 6 แห่ง ดาเนิ นการจัดทาโครงการจัดตัง้ Observation room

❖ มอบสานักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข จัดทาโครงการต้นแบบในการจัดตัง้ Observation Room


ที่ศูนย์บริการสาธารณสุข ทัง้ 6 แห่ง โดยใช้เงินนอกงบประมาณ (บัญชี) โครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ของสานักอนามัย
2.6 การให้บริการคลินิกพิเศษ 12 คลินิก
การพัฒนาคลินิกพิเศษ 61
44
ของศูนย์บร ิการสาธารณสุข 24

ให้เป็นคลินิกรับการส่งต่อ
43

4
2

21
28
48 26
7

คลินิกพิเศษรับส่งต่อ
ศบส. 2 คลินิกหู คอ จมูก ศบส. 28 คลินิกอายุรกรรม
ศบส. 4 คลินิกสูตนิ รีเวช ศบส. 43 คลินิกผิวหนัง
ศบส. 7 คลินิกจักษุ ศบส. 44 คลินิกแพทย์แผนไทย
ศบส. 21 คลินิกพัฒนาการเด็ก ศบส. 48 คลินิกแพทย์แผนไทย
ศบส. 24 คลินิกพัฒนาการเด็ก ศบส. 48 คลินิกจักษุ
ศบส. 26 คลินิก ARV (Start) ศบส. 61 คลินิก ARV (Start)
แนวทางการดาเนินงานรับการส่งต่อคลินิกพิเศษของศูนย์บร ิการสาธารณสุข

โทรปร ึกษา
- ชาระเงินตามสิทธิ
ขอคาแนะนา - รับยาที่ศูนย์บร ิการสาธารณสุข
ปร ึกษา (กรณีมียา)
- แพทย์เขียนใบสั่งยา เพื่อซื้อยาที่ร้านขายยา
แพทย์ผู้ทาการรักษาต้องการปร ึกษา (กรณีไม่มีในบัญชียาของศบส.)
คลินิกแพทย์เฉพาะทาง Telecosult

- เข้าข่ายตามเกณฑ์อาการของโรค
ที่สามารถส่งต่อ/ปร ึกษาได้
- ตรวจสอบสิทธิที่ใช้รักษา
- ตรวจสอบวัน เวลา ที่แพทย์
เฉพาะทางออกตรวจ ส่งตัวเพื่อตรวจรักษาเพิ่มเติม
(กรณีผู้ป่วยสะดวกเดินทาง
ไปเข้ารับการรักษา)
ตารางการให้บริการคลินิกพิเศษรับส่งต่อของศูนย์บริการสาธารณสุข
คลิ นิก วันจันทร์ วันอังคาร วันพุธ วันพฤหัสบดี วันศุกร์
คลิ นิกสูติ-นรีเวชกรรม สูติ นรีเวช
(ศบส. 4) 13.00-16.00 น. 13.00-16.00 น.

คลิ นิกจักษุ ศบส. 7 ศบส. 48 ศบส. 7


(ศบส. 7 , 48) 08.00-12.00 น 08.00-12.00 น 08.00-12.00 น

คลิ นิกหู คอ จมูก ศบส. 2 ศบส. 2


(ศบส. 2) 08.00-12.00 น 08.00-12.00 น

คลิ นิกแพทย์แผนไทย ศบส. 44 48 ให้บริการวันจันทร์-ศุกร์


(ศบส. 44 48) 08.00-15.00 น.

คลิ นิก ARV (Start) ศบส. 61 ศบส. 26 ศบส. 26


(ศบส. 26 61) 08.00-12.00 น 16.00-20.00 น. 16.00-20.00 น.

คลิ นิกผิวหนัง ศบส. 43


(ศบส. 43) 13.00-16.00 น.

คลิ นิกอายุรกรรม โรคไม่ติดต่อเรือ้ รัง ระบบทางเดิ นหายใจ


(ศบส. 28) 08.00-12.00 น 08.00-12.00 น

คลิ นิกพัฒนาการเด็ก ศบส. 21 , 24 ศบส. 21 ศบส. 24


(ศบส. 21 , 24) 13.00-16.00 น. 13.00-16.00 น. 08.00-12.00 น
ภาพตัวอย่างคลินิกพิเศษ

คลินิกสูตินรีเวช ศบส. 4 คลินิกตา ศบส. 7 คลินิกพัฒนาการเด็ก ศบส. 24

คลินิก ARV (Start) ศบส. 61

คลินิก ARV (Start) ศบส. 26 คลินิกผิวหนัง ศบส. 43 คลินิกพัฒนาการเด็ก ศบส. 21


2.7 เรื่องร้องเรียนของศูนย์บริการสาธารณสุข
สุนัขจรจัด/แมว/นกพิราบ 355 เรื่อง

เรื่องค้างในระบบ ไม่ใช่ภารกิจ สนอ. (ด้านโยธา) 15 เรื่อง

เรื่องร้องเรียน สอบถาม/เสนอแนะ 6 เรื่อง


ในระบบ
Traffy การสูบบุหรี่ในที่สาธารณะ 3 เรื่อง
Fondue ด้านกายภาพ 3 เรื่อง

ข้อมูล ณ 15 ก.ย.65
ไม่ได้รับความสะดวกในการใช้บริการ/โทรศัพท์ขัดข้อง 1 เรื่อง
อื่นๆ ข้อมูลไม่ชัดเจน อยู่ระหว่างประสานผู้ร้อง 1 เรื่อง
พึงระวัง?
พฤติกรรมบริการ
การติดต่อเวลาพักเที่ยง
ขัน้ ตอนการให้บริการ
การตอบโต้ทางโทรศัพท์
ถูกถ่ายรูป อัดคลิป ลง Social
ฯลฯ
แนวทางการขอรับ
การสนับสนุนผ้าอ้อมผู้ใหญ่
สาหรับบุคคลที่มีภาวะพึ่ งพิ ง และบุคคลที่มีภาวะปัญหาการ
กลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ได้

ฝ่ายพัฒนางานกองทุนฯ
สานักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
กลุ่มเป้าหมาย
คนไทยทุกสิทธิ
1.บุคคลทีม
่ ีภาวะพึ่งพิง และมีค่าคะแนนระดับความสามารถในการดาเนินกิจวัตรประจาวัน
ตามดัชนีบาร์เธลเอดีแอล (Bathael ADL index) เท่ากับหรือน้อยกว่า 6 คะแนน
ตามแผนการดูแลรายบุคคลระยาวด้านสาธารณสุข (Care plan)
2.บุคคลทีม
่ ีภาวะปั ญหาการกลัน
้ ปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ได้ ตามผลการประเมินหรือข้อบ่งชี้
ทางการแพทย์

งบประมาณในการสนับสนุนการ
ดาเนินงานตามโครงการฯ
กองทุนหลักประกันสุขภาพกรุงเทพมหานคร
หน่วยที่มีสิทธิขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพื่ อจัดทาโครงการฯ

- หน่วยบริการ
- ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชน
- องค์กรปกครองส่วนท้องถิน ่ (อปท.) ศบส.สารวจ/ค้นหา/คัดกรอง
1
กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่

ก า ร จั ด ทา โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ ส นั บ ส นุ น 2
ศบส.รวบรวมชือ
่ ผู้เข้าเกณฑ์ที่
ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ต า ม โ ค ร ง ก า ร ฯ กาหนด ส่ง กพส.

กพส.จัดทาโครงการ
3
เพื่อขอรับการสนับสนุน
ขั้นตอน
การขอรับสนับสนุนผ้าอ้อมผู้ใหญ่
สานักอนามัย

You might also like