You are on page 1of 19

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ

12 เดือน (1 ตุลาคม 2565 – 30 กันยายน 2566)


ปงบประมาณ 2566

กลุมภารกิจกำกับติดตามประเมินผล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


1
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ไดดำเนินการพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ และการบริหารกองทุนที่มี
ประสิทธิภาพมาอยางตอเนื่อง ภายใตการพัฒนาของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ โดยเนนการมีสวนรวมของ
หนวยงาน และภาคีเครือขายที่เกี่ยวของ รวมทั้งภาคประชาชน ภาคเอกชน โดยคำนึงถึงประโยชนสูงสุดของประชาชน และ
ระบบสาธารณสุขโดยรวมของประเทศ การดำเนินงานตามภารกิจ และยุทธศาสตรองคกร ในปงบประมาณ 2566 สรุปดังนี้
1. ความครอบคลุมสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพ
 ประชากรไทยทั้งประเทศผูมีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา จำนวน 66,896,883 คน
ประกอบดวย ผูมีสิทธิหลักประกันสุขภาพแหงชาติ 46,934,110 คน ผูมีสิทธิประกันสังคม 12,853,541 คน และผูมีสิทธิ
สวัสดิการขาราชการ 5,320,944 คน สิทธิสวัสดิการพนักงานสวนทองถิ่น 681,009 คน สิทธิประกันตนคนพิการ 12,431
คน สิ ท ธิ ค รู เอกชน 81,319 คน และบุ ค คลที ่ มี ปญ หาสถานะและสิ ทธิ 718,732 คน ซึ ่ ง ลงทะเบี ยนสิ ทธิ ในระบบ
หลักประกันสุขภาพ จำนวน 66,602,086 คน คิดเปนความครอบคลุมสิทธิในระบบหลั กประกันสุ ขภาพถวนหน า
(Universal Health Coverage: UHC) รอยละ 99.56* โดยมีบุคคลที่ยังไมลงทะเบียนเลือกหนวยบริการประจำ ตาม
มาตรา 6 แหง พรบ. หลักประกันสุขภาพแหงชาติ จำนวน 203,805 คน*** บุคคลที่ไมอยูในทะเบียนบานรอยืนยันสิทธิ
80,560 คน คนไทยในตางประเทศ 10,432 คน
(ที่มา: ระบบคลังขอมูล EDW สปสช.ขอมูล ณ 30 กันยายน 2566 ประมวลผล ณ 3 ตุลาคม 2566)
*ป 2563 ปรับสูตรการคำนวณใหม รอยละความครอบคลุมสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา =
ตัวตั้ง : ผูมีสิทธิUC ทั้งหมด + สิทธิประกันสุขภาพกองทุนอื่น + บุคคลที่มีปญหาสถานะและสิทธิ
ตัวหารใหม: ผูมสี ิทธิUC ทั้งหมด + สิทธิประกันสุขภาพกองทุนอื่น + บุคคลผูม ีปญหาสถานะและสิทธิ +
บุคคลที่ไมอยูตามทะเบียนบาน (รอยืนยันสิทธิ) + บุคคลที่ยังไมลงทะเบียนตามมาตรา 6 + สถานะคนไทยใน
ตางประเทศ
ตัวหารเดิม ไมนับรวม บุคคลทีไ่ มอยูตามทะเบียนบาน (รอยืนยันสิทธิ) และสถานะคนไทยในตางประเทศ

 ประชากรผูมีสิทธิหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สิทธิบัตรทอง / สิทธิ UC) จำนวน 47,218,475 คน


ประกอบดวย มีผูลงทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพแหงชาติ จำนวน 46,934,110 คน มีบุคคลที่ยังไมลงทะเบียนเลือก
หนวยบริการประจำตน 203,805 คน*** และบุคคลที่ไมอยูตามทะเบียนบาน (รอยืนยันสิทธิ) 80,560 คน คิดเปนความ
ครอบคลุมของประชากรที่มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (Universal Coverage Scheme: UCS) รอยละ 99.40**
(ที่มา: ระบบคลังขอมูล EDW สปสช.ขอมูล ณ 30 กันยายน 2566 ประมวลผล ณ 3 ตุลาคม 2566)
**ป 2565 ปรับสูตรการคำนวณใหม รอยละความครอบคลุมสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ =
ตัวตั้ง : ผูมีสิทธิUC ทั้งหมด
ตัวหารใหม: ผูมสี ิทธิUC ทั้งหมด + บุคคลที่ยังไมลงทะเบียนตามมาตรา 6 + บุคคลที่ไมอยูตามทะเบียนบาน
(รอยืนยันสิทธิ)
ตัวหารเดิม ไมนับรวม บุคคลทีไ่ มอยูตามทะเบียนบาน (รอยืนยันสิทธิ)

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


2
*** บุคคลที่ยังไมลงทะเบียนเลือกหนวยบริการประจำ มีจำนวนเพิ่มขึ้น 2 แสนคน เนื่องจาก 1 ตุลาคม 2565 สปสช. ยกเลิกสัญญา
หนวยบริการ รพ. เอกชน 9 แหงในกรุงเทพฯ โดยระหวางการลงทะเบียนหนวยบริการใหม หากเจ็บปวย สามารถเขารักษาไดทุกหนวย
บริการปฐมภูมิใกลบานที่อยูในระบบบัตรทองโดยไมเสียคาใชจาย
2. หนวยบริการที่ขึ้นทะเบียนในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
หนวยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ แบงเปน 4 ประเภท ประกอบดวยหนวยบริการปฐมภูมิในเครือขาย
ของหนวยบริการประจำ หนวยบริการประจำ หนวยบริการที่รับการสงตอทั่วไป และหนวยบริการที่รับการสงตอเฉพาะดาน ดังนี้
ตารางที่ 1 หนวยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566
ประเภทหนวยบริการตามการขึ้นทะเบียน (แหง)
หนวยบริการ
รับสงตอทั่วไป
สังกัด (นับไมซ้ำตามประเภท
ปฐมภูมิ ประจำ รับสงตอเฉพาะดาน
Capitation* Non Capitation** การขึ้นทะเบียน)

1. รัฐใน สธ. (สังกัด สป.) 7,684 912 892 0 499 7,779


2. รัฐใน สธ. (นอก สป.) 8 8 4 56 123 105
3. รัฐนอกกระทรวง สธ. 318 157 82 19 231 409
4. เอกชน 418 112 24 3 5,251 5,408
5. รัฐพิเศษ 10 3 4 1 32 24
6. รัฐนอก สธ. (อปท.) 3,504 16 3 0 26 3,522
รวม 11,942 1,209 1,009 79 6,162 17,247
ที่มา : สายงานบริหารกองทุน สปสช. ขอมูล ณ 30 กันยายน 2565 ประมวลผล ณ 10 ตุลาคม 2566
หมายเหตุ: 1. หนวยบริการ 1 แหง สามารถขึ้นทะเบียนไดมากกวา 1 ประเภท
2. *Capitation หมายถึง หนวยบริการที่ขึ้นทะเบียนเปนหนวยบริการรับสงตอทั่วไปโดยรับงบเหมาจายรายหัว
3. **Non-Capitation หมายถึง หนวยบริการที่ขึ้นทะเบียนเปนหนวยบริการรับสงตอทั่วไปโดยไมรับงบเหมาจายรายหัว

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


3
3. ผลการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ เพื่อใหประชาชนไดรับบริการดานการแพทยและสาธารณสุข
ตามสิทธิประโยชนในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
บริการดานการแพทยและสาธารณสุขที่ผูมีสิทธิไดรับบริการโดยตรง ตั้งแตการสรางเสริมสุขภาพ การปองกันโรค
การตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาลและการฟนฟูสมรรถภาพที่จำเปนตอสุขภาพ และการดำรงชีวิต ตามวัตถุประสงคการ
จัดตั้งกองทุนฯ ดังนี้
ตารางที่ 2 จำนวน และรอยละการรับบริการทางการแพทยและสาธารณสุข ของผูมีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
จำแนกตามรายการที่ไดรับจัดสรรงบประมาณ ปงบประมาณ 2566

เปาหมาย ผลงาน
รายการ รอยละ
ปงบ 2566 กันยายน 66
1. ผูมีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (คน) 47,727,000 47,218,475 98.93
บริการผูปวยนอก (ลานครั้ง) 166.863 164.981 98.87
บริการผูปวยใน (ลานครั้ง) 6.494 6.265 96.48
2. บริการผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดส
- ผูติดเชื้อเอชไอวีและผูป วยเอดสไดรับการดูแลรักษาดวย ยาตาน 299,420 305,527 102.04
ไวรัสอยางตอเนื่อง (คน)
3. - กลุมเสี่ยงที่ไดรบั บริการสงเสริมและปองกันการติดเชื้อ เอชไอวี (คน) 3,135,165 3,372,839 107.58
4. ผูปวยไตวายเรื้อรังที่ไดรบั การดูแลรักษาสุขภาพ (คน) 67,786 92,666 136.70
5. ผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ไดรบั การควบคุมปองกัน 4,370,013 4,269,315 97.70
ความรุนแรงของโรค (คน)
6. ผูปวยจิตเวชเรื้อรังที่ไดรับบริการในชุมชน (คน) 12,271 13,107 106.81
7. หนวยบริการที่ใหบริการประชาชนในพื้นที่กันดาร/เสี่ยงภัยพื้นที่ 3 จังหวัด 225 225 100.00
ชายแดนภาคใต (ที่ไดรับจัดสรรงบเพิ่มเติม)
8. ผูปวยติดบานติดเตียงที่มีภาวะพึ่งพิงที่ไดรับบริการสาธารณสุข (คน) 210,941 334,823 158.73
9. ผูปวยเขาถึงบริการปฐมภูมิ (ครั้ง) 2,829,846 2,827,756 99.93
10. ผูไดรับบริการสาธารณสุขรวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น (คน) 26,514,000 43,310,514 163.35
11. ผูรับบริการที่ไดรับเงินชวยเหลือเบื้องตนจากการรับบริการและผูใหบริการ 2,198 23,301 1060.10
ที่ไดรับเงินชวยเหลือเบื้องตนจากการใหบริการ (คน)
12. ประชาชนที่มีสิทธิไดรับบริการสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรค (คน) 66,286,000 66,896,883 100.92

ที่มา: สำนักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ขอมูล ณ 30 กันยายน 2566 (1 ตุลาคม-30 กันยายน 2566) ประมวลผล 7 พฤศจิกายน
2566

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


4
หมายเหตุ
รายการที่ 4 ผลงานสูงกวาเปาหมาย เนื่องจาก สปสช. มีนโยบายสนับสนุนการเลือกวิธีฟอกไตแบบที่เหมาะสม โดยเพิ่มทางเลือกใหผูปวยไต
วายเรื้อรังสิทธิบัตรทองตัดสินใจรวมกับแพทย เลือกระหวางการลางไตผานทางชองทองอยางตอเนื่องหรือฟอกเลือกดวยเครื่องไตเทียมฟรี
โดยไมมีคาใชจาย รวมทั้งผูปวยที่เดิมตองจายเงินฟอกลือกเอง ทำใหมีผูปวยเขามารับบริการมากขึ้น
รายการที่ 8 ผลงานสูงกวาเปาหมาย เนื่องจาก ผูปวยที่มภี าวะพี่งพิง สวนหนึ่งใชเงินคงเหลือสะสมของกองทุน LTC ในการบริการ
สาธารณสุขระยะยาว
รายการที่ 10 ผลงานสูงกวาเปาหมาย เนือ่ งจากมีนโยบายสนับสนุนบริการในองคกรปกครองสวนทองถิ่น เชน ผาออมผูใหญ ประชาชนทั่วไป
ที่มีภาวะเสีย่ ง การปองกันและลดโรคไตเรื้อรังในชุมชน (โครงการชะลอไตเสือ่ ม) ทำใหมผี ไู ดรับบริการมากขึน้
รายการที่ 11 ผลงานสูงกวาเปาหมาย เนื่องจากผูใหบริการที่ไดรับความเสียหายกรณี โควิด-19 ทีร่ อการพิจารณาตกคางมาจาก
ปงบประมาณ 2565
รายละเอียดในแตละรายการ ดังนี้
3.1 การใชบริการทั่วไปผูปวยใน-ผูปวยนอก
บริการทางการแพทยและสาธารณสุขตาง ๆ สำหรับประชาชนผูมีสิทธิหลักประกันสุขภาพแหงชาติ เปาหมายที่ไดรับ
จัดสรรงบประมาณในปงบประมาณ 2566 จำนวน 47.727 ลานคน เปนงบเหมาจายรายหัวในอัตรา 3,901.21 บาทตอผูมีสิทธิฯ (นับ
รวม บริการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค (P&P) บริการสาธารณสุขรวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น (กปท.) และเงินชวยเหลือ
เบื้องตนผูรับบริการและผูใหบริการ)

 ผลการใชบริการผูปวยนอก จำนวน 164.981 ลานครั้ง จากเปาหมายที่ตั้งไว 166.863 ลานครั้ง คิดเปนรอยละ 98.87 (ที่มา:
ระบบ 43 แฟมและ OP E-Claim ขอมูล ณ 30 กันยายน 2566 ประมวลผล ณ 6 พฤศจิกายน 2566)
 ผลการใชบริการผูปวยใน จำนวน 6.265 ลานครั้ง จากเปาหมายที่ตั้งไว 6.494 ลานครั้ง คิดเปนรอยละ 96.48 (ที่มา: IP E-
Claim ขอมูล ณ 30 กันยายน 2566 ประมวลผล ณ 6 พฤศจิกายน 2566)

3.2 บริการผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดสที่ไดรับการดูแลรักษาดวยยาตานไวรัส
ผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดสที่ทราบสถานการณติดเชื้อฯ และลงทะเบียนเพื่อรับการดูแลรักษาในระบบการใหบริการผู
ติดเชื้อและผูปวยเอดส (NAP) สะสมเพิ่มขึ้นทุกป สืบเนื่องจากประเทศไทยไดตั้งเปาหมายยุติปญหาเอดสภายในป 2573
(Fast-Track-Targets by 2030 : 95-95-95) โดยในแตละขั้นบริการตั้งเปาหมายไวที่รอยละ 95 (ผูติดเชื้อเอชไอวีทราบ
สถานะ : ไดรับยาตานไวรัส : กดปริมาณไวรัสลงไดVL <1000 copies/ml)
ในปงบประมาณ 2566 มีรายงานผูติดเชื้อเอชไอวีและผูปวยเอดสที่ทราบสถานะการติดเชื้อฯ จำนวน 320,542 คน คิดเปน
รอยละ 87.67 ของจำนวนที่คาดประมาณ มีการลงทะเบียนในระบบการใหบริการผูติดเชื้อและผูปวยเอดส (NAP) จำนวน
320,542 คน ไดรับการดูแลรักษาดวยยาตานไวรัส จำนวน 305,527 คน คิดเปนรอยละ 95.32 ของผูติดเชื้อเอชไอวีผูปวย
เอดสที่ลงทะเบียนในระบบฯ NAP (หรือรอยละ 102.04 ของเปาหมายที่ไดรับจัดสรร 299,420 คน) (ผูติดเชื้อเอชไอวีและ
ผูปวยเอดสไดรับการดูแลรักษาดวยยาตานไวรัสอยู ณ ปจจุบัน ไมนับรวมที่หยุดยาและขาดการรักษา จำนวน 267,636 คน)

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


5
โดยผูปวยฯ ที่รับยาตานไวรัส ไดตรวจหาปริมาณไวรัสแลว จำนวน 237,276 คน (โดยปกติจะตรวจปละ 1 ครั้ง) และสามารถ
กดปริมาณไวรัสในกระแสเลือดลงได (VL suppressed, VL<1000 copies/ml) จำนวน 232,259 คน คิดเปนรอยละ 76.02
ของผูปวยฯ ที่ไดรับการดูแลรักษาดวยยาตานไวรัส (ที่มา: ระบบรายงานขอมูลสารสนเทศ การใหบริการผูติดเชื้อเอชไอวี : NAP
Web Report สายงานบริหารกองทุน สปสช. ขอมูล ณ 30 กันยายน 2566 ประมวลผล ณ 6 พฤศจิกายน 2566)
3.3 บริการสงเสริมและปองกันการติดเชื้อเอชไอวีในกลุมเสี่ยง
เพื่อการสรางเสริมสุขภาพและปองกันการติดเชื้อเอชไอวี สำหรับประชากรไทยทุกคนที่มีภาวะเสี่ยง หรือปองกันการ
แพรกระจายเชื้อเอชไอวีในกลุมผูติดเชื้อเอชไอวี/ผูปวยเอดส ผลการดำเนินงานรวมจำนวน 3,372,839 คน หรือรอยละ
107.58 จากเปาหมายที่ไดรับจัดสรรงบประมาณ 3,135,165 คน โดยจำแนกเปน 5 บริการ คือ
1. บริการกลุมเสี่ยงใหเขาถึงการปองกันการติดดเชื้อเอชไอวีโดยเขาสูระบบบริการตรวจเลือด
การเขาถึงและชักนำประชากรที่มีความเสี่ยงใหเขารับบริการ (Reach) การสรางความตองการในการรับบริการผาน
เครือขายสังคมและเครือขายสุขภาพ (Recruit) การขยายบริการเชิงรุกตรวจการติดเชื้อเอชไอวี (Testing) การใหผูติดเชื้อรับ
การรักษาตอเนื่องตามแผนการรักษา (Treatment) และในผูที่ยังไมติดเชื้อใหยังคงภาวะการไมติดเชื้อ (Retain) ตรวจการติด
เชื้อทางเพศสัมพันธรวมกับการตรวจการติดเชื้อเอชไอวี และบริการถุงยางอนามัย โดยดำเนินการในกลุมเสี่ยง ไดแก กลุมชาย
ที่มีเพศสัมพันธกับชาย (MSM), สตรีขามเพศ (TG), พนักงานบริการหญิง/ชาย (FSW/MSW) ผูใชยาเสพติดดวยวิธฉี ีด (PWID)
ผูตองขัง รวมถึงหญิงตั้งครรภและสามี เยาวชน พนักงานในสถานประกอบการ ในชุมชนที่มีภาวะเสี่ยง และคูของกลุมเสี่ยง
โดยสนั บ สนุ น การค น หากลุ  ม เป า หมายและให ค วามรู  (Reach) จำนวน 181,880 คน (193,303 ครั ้ ง ) และชั ก ชวน
กลุมเปาหมายใหเขาสูระบบบริการเพื่อรับคำปรึกษาเพื่อตรวจเลือด VCT (Recruit) จำนวน 175,624 คน (186,140 ครั้ง)
และกลุมเปาหมายไดรับการตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวี (Test) จำนวน 172,360 คน (182,423 ครั้ง) หรือรอยละ 217.92
ของเปาหมายที่ไดรับจัดสรรฯ 79,095 คน
(ที่มา: โปรแกรม NAP Plus http://dmis.nhso.go.th/NAPPLUS/rrttr/searchRRTTRReport.do ขอมูล ณ 30 กันยายน
2566 ประมวลผล 13 ตุลาคม 2566)
2. บริการติดตามผูติดเชื้อเอชไอวี/ผูปวยเอดส โดยกลุมผูติดเชื้อเอชไอวีในศูนยองครวมรวมกับหนวยบริการ เพื่อ
สรางเสริมสุขภาพและปองกันการแพรกระจายเชื้อเอชไอวี คัดกรอง คนหาผูที่มีภาวะเสี่ยง การใชยาอยางถูกตองและตอเนื่อง
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในศูนยองครวม 239 กลุม ใน 59 จังหวัด จำนวน 65,004 คน หรือรอยละ 80.82 จากเปาหมายที่
ไดรับจัดสรร 80,434 คน
โดยผูติดเชื้อเอชไอวี/ผูปวยเอดส ทีร่ ับบริการที่ศูนยองครวม 65,004 คน (มีผูรับบริการไดรับการขึ้นทะเบียนรายใหมป 2566
จำนวน 6,114 คน) ไดรับบริการตางๆ ประกอบดวย
(1) ไดรับคำปรึกษารายบุคคล 35,494 คน หรือ 52,517 ครั้ง
(2) ไดรับการยี่ยมบาน 16,634 คน หรือ 21,515 ครั้ง

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


6
(3) ไดรับบริการแบบกลุม/พบกลุม 15,206 คน หรือ 25,687 ครั้ง
(4) บริการติดตามคนที่ไมมาตามนัด 3,908 คน หรือ 4,543 ครั้ง
(5) บริการวันรับยา/ตรวจเลือด 37,388 คน หรือ 60,946 ครั้ง
ผูรับบริการไดรับการตรวจ Anti HCV 61,888 คน รับยาตานไวรัส 64,730 คน โดยเปนผูที่รับยาตานไวรัส ณ ปจจุบัน
62,904 คน เปนผูที่กินยาตานไวรัสตอเนื่อง 61,822 คน (เริ่มยาตานไวรัสใหมในป 2566 จำนวน 4,377 คน)
(ที่มา: รายงานผลการดำเนินงาน โครงการสรางเสริมสุขภาพ และปองกันการแพรกระจายเชื้อเอชไอวี โดยกลุมผูติดเชื้อเอชไอ
วีที่ดำเนินงานศูนยองครวมรวมกับหนวยบริการ ปงบประมาณ 2566 งวดที่ 31 สิงหาคม 2566)
3. บริการยาปองกันกอนการสัมผัสเชื้อเอชไอวีในกลุมเสี่ยง (Pre exposure prophylaxis: PrEP) จำนวน 19,639
คน 41,821 ครั้ง จากเปาหมายที่ไดรับจัดสรร 6,600 คน (รอยละ 297.56) (ที่มา: ระบบรายงานขอมูลสารสนเทศ การใหบริการ
ผูติดเชื้อเอชไอวี : NAP Web Report สายงานบริหารกองทุน สปสช. ขอมูล ณ 30 กันยายน 2566 ประมวลผล 13 ตุลาคม 2566)
4. บริการยาตานไวรัสเพื่อปองกันหลังสัมผัสเชื้อเอชไอวี (Post-exposure prophylaxis (HIV PEP) รับบริการ
VCT ในกลุมที่สัมผัสเชื้อจากการประกอบอาชีพ (Occupational PEP: oPEP) เชน บุคลากรทางการแพทยสัมผัสเลือด เข็มตำ
จำนวน 2,962 คน 3,504 ครั้ง และกลุมที่สัมผัสเชื้อที่ไมไดจากการทำงาน (non occupational PEP: nPEP) เชน การมี
เพศสัมพันธที่ไมปลอดภัย หรือถูกลวงละเมิดทางเพศ จำนวน 3,484 คน 4,240 ครั้ง จากเปาหมายที่ไดรับจัดสรร 27,000 คน
(ที่มา: ระบบรายงานขอมูลสารสนเทศ การใหบริการผูติดเชื้อเอชไอวี : NAP Web Report สายงานบริหารกองทุน สปสช. ขอมูล 30
กันยายน 2566 ประมวลผล 13 ตุลาคม 2566)
5. บริการใหคำปรึกษา (VCT) และบริการตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวี (HIVTesting, Anti HIV) ในประชาชน
ทั่วไปและกลุมเสี่ยง
โดยเปนการใหคำปรึกษาเพื่อตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวี (VCT) จำนวน 1,623,980 คน 1,864,643 ครั้ง และตรวจเลือด
เพื ่ อหาเชื ้อเอชไอวีโดยตรวจแอนตี ้บ อดี้ (HIV Testing: Anti HIV) จำนวน 1,485,410 คน 1,658,834 ครั ้ ง รวมจำนวน
3,109,360 คน หรือรอยละ 102.88 ของเปาหมายที่ไดรับจัดสรรบริ การฯ 3,022,470 คน (ที่มา: ระบบรายงานขอมูล
สารสนเทศ การให บริ การผู  ต ิ ดเชื ้ อเอชไอวี : NAP Web Report สายงานบริ หารกองทุ น สปสช. ข อ มู ล 30 กั น ยายน 2566
ประมวลผล 13 ตุลาคม 2566)

3.4 บริการบำบัดทดแทนไตสำหรับผูปวยไตวายเรื้อรัง
ตั้งแต 1 กุมภาพันธ 2565 สปสช. เพิ่มทางเลือกผูปวยไตวายเรื้อรังสิทธิบัตรทอง ใหสิทธิผูปวยตัดสินใจรวมกับแพทย
เลือกระหวางการลางไตผานทางชองทองอยางตอเนื่องหรือฟอกเลือกดวยเครื่องไตเทียมฟรีโดยไมมีคาใชจาย รวมทั้งผูปวยที่
เดิมตองจายเงินฟอกลือกเอง

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


7
โดยในปงบประมาณ 2566 ผูปวยไตวายเรื้อรังระยะสุดทาย เขารับบริการบำบัดทดแทนไต สะสมรวมจำนวน 92,666 คน
(โดยนับซ้ำตามวิธีการบำบัดทดแทนไตที่ปรับเปลี่ยนภายในรอบป และนับรวมผูปวยที่ไดรับการบำบัดทดแทนไตและเสียชีวิต
ภายในรอบป) คิดเปนรอยละ 136.70 ของเปาหมายที่ไดรับจัดสรรงบประมาณ 67,786 คน โดยมีผูรับบริการปจจุบัน ณ 30
กันยายน 2566 (ไมนับรวมผูที่เสียชีวิต , เปลี่ยนวิธีการบำบัดทแทนไตภายในรอบป , หยุดการรักษา , ติดตามไมได) รวม
จำนวน 72,318 คน จำแนกเปน
1) บริการลางไตผานชองทองอยางตอเนื่อง (CAPD) สะสมรวมจำนวน 23,445 คน โดยมีผูรับบริการ ณ ปจจุบัน จำนวน
14,773 คน
2) บริการฟอกเลือดดวยเครื่องไตเทียม (HD) สะสมรวมจำนวน 62,197 คน ผูปวยเพิ่มขึ้นจากนโยบายใหผูปวยเลือกบริการ
ฟอกเลือดดวยเครื่องไตเทียมโดยไมมีคาใชจายเพิ่ม “1 ก.พ. 65 เลือกฟอกไตแบบที่ใชไดทุกคน” โดยมีผูรับบริการ ณ ปจจุบัน
จำนวน 52,090 คน
3) ฟอกเลือดดวยเครื่องไตเทียมรายใหม (HD Self pay) ที่ไมประสงครับบริการลางไตผานชองทอง และไมผานการพิจารณา
ของคณะกรรมการฯ เดิมกอนปงโดยกองทุนฯ โดยไดรับสนับสนุนเฉพาะคายากระตุนการสรางเม็ดเลือดแดง (EPO) โดย
ปจจุบัน ภายหลังนโยบายฟอกเลือดฟรีไมมีคาใชจาย ไมมีผูปวยฟอกเลือกดวยเครื่องไตเทียมรายใหม ที่ตองเสียคาใชจายเอง
แลว
4) บริการผาตัดปลูกถายไต (KT) รายใหมในปจำนวน 284 คน
5) รับยากดภูมิคุมกันหลังการปลูกถายไต (KTI) ทั้งรายเกาและรายใหมจำนวน 2,852 คน โดยมีผูรับบริการ ณ ปจจุบัน
จำนวน 2,731 คน
6) ผูปวยรับบริการลางไตทางชองทองดวยเครื่องอัตโนมัติ (APD) สะสมรวมจำนวน 3,888 คน โดยมีผูรับบริการ ณ
ปจจุบัน จำนวน 2,440 คน
(ที่มา: ระบบรายงานสารสนเทศผูปวยไตวายเรื้อรัง: CKD Report, สายงานบริหารกองทุน สปสช. ขอมูล ณ 30 กันยายน
2566 ประมวลผล ณ 7 พฤศจิกายน 2566)

3.5 บริการควบคุมปองกันความรุนแรงของโรคสำหรับผูปวยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ในปงบประมาณ 2566 ผูปวยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ไดรับบริการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซอน เพื่อควบคุม
ปองกันความรุนแรงและชะลอการเกิดภาวะแทรกซอน เพิ่มคุณภาพบริการตามมาตรฐานการดูแลรักษาอยางตอเนื่อง จำนวน
4,269,315 คน คิดเปนรอยละ 97.70 ของเปาหมายที่ไดรับจัดสรรงบประมาณ 4,370,013 คน โดยเปน ผูปวยโรคเบาหวาน
และเบาหวานที่มีโรคความดันโลหิตสูงรวม จำนวน 2,083,451 คน และผูปวยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 2,185,864 คน
(ที่มา: กลุมภารกิจกำกับติดตามประเมินผล สปสช. ขอมูล ณ 30 กันยายน 2566 ประมวลผล ณ 6 พฤศจิกายน 2566)
3.6 บริการผูปวยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
ในปงบประมาณ 2566 มีผูปวยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนที่เปนผูปวยจิตเภท (Schizophrenia) หรือมีความเสี่ยงสูงในการกอความ
รุนแรง หรือมีปญหายุงยากซับซอนจำเปนตองไดรับการสนับสนุนดูแลโดยชุมชนหรือ อปท.อยางตอเนื่อง ผูปวยจิตเวชเรื้อรังใน
ชุมชนที่ไดรับการลงทะเบียนเขารวมโครงการฯ จำนวน 13,107 คน หรือรอยละ 106.81 จากเปาหมายที่ไดรับจัดสรรงบประมาณ

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


8
12,271 คน โดยมีผูปวยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนฯ ไดรับการติดตามเยี่ยม 11,983 คน และผูปวยฯ ไดรับการติดตามเยี่ยมครบ 6 ครั้ง
ตามเงื่อนไขการเบิกจาย 11,580 คน
มีหนวยบริการแมขาย/โรงพยาบาลพี่เลี้ยง (โรงพยาบาลจิตเวช หรือโรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลทั่วไปที่มีแพทยจิตเวช) 120
แหง หนวยบริการลูกขาย (หนวยบริการประจำหรือปฐมภูมิ) 953 แหง และหนวยบริการปฐมภูมิที่ติดตามในพื้นที่ 3,102 แหง
ทำงานรวมกับชุมชน จัดหาบริการและติดตามตอเนื่องในการดูแลผูปวยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน และจัดทำแผนการดูแลรายบุคคล
(Care plan) พรอมทั้งลงทะเบียนผูปวยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนที่เขารวมโครงการ ในโปรแกรม Care transition เพื่อติดตามเยี่ยมและ
ประเมินผูปวยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน 10 ดาน เดือนละ 1 ครั้ง โดยตั้งเปาหมายอยางนอย 6 ครั้ง ตามแผนการดูแลรายบุคคล เพื่อให
ผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถกลับมาดำรงชีวิตไดอยางปกติในสังคม
(ที่มา : รายงานขอมูลผูปวยในโครงการผูปวยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน (จร.1) เปาหมายผูปวยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน จำแนกตามหนวย
บริการพี่เลี้ยงและหนวยบริการประจำ ศูนยติดตามตอเนื่องผูปวยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน (Care Transition) โรงพยาบาลจิตเวช
นครราชสีมาราชนครินทร และระบบขอมูลการเบิกจายคาบริการดูแลผูปวยจิตเวช (Community Mental Health Services
System) ขอมูล ณ 8 ตุลาคม 2566)
3.7 คาใชจายเพิ่มเติมสำหรับหนวยบริการในพื้นที่กันดารพื้นที่เสี่ยงภัย และพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต
สปสช.ไดรับจัดสรรคาใชจายบริการสาธารณสุขเพิ่มเติม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหหนวยบริการสังกัดสำนักปลัดกระทรวง
สาธารณสุข รวมจำนวน 186 แหง วงเงิน 1,490.288 ลานบาท เปนการจายตามเกณฑพื้นที่กันดาร/พื้นที่เสี่ยงภัย 168 แหง
และจายตามเกณฑพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต 57 แหง (มีหนวยบริการไดรับการจัดสรรทั้ง 2 เกณฑ จำนวน 39 แหง) (ที่มา:
สายงานบริหารกองทุน สปสช. ขอมูล ณ 31 ธันวาคม 2565)
3.8 การบริการสาธารณสุขสำหรับผูปวยติดบานติดเตียงที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC)
บริการสาธารณสุขในผูปวยติดบานติดเตียงที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน ดำเนินการในทุกกลุมอายุ และทุกสิทธิ ที่มีแผนการดูแล
รายบุคคล (Care Plan) เพื่อใหประชาชนสามารถไดรับบริการสุขภาพที่จำเปน โดยไมมีอุปสรรคทางการเงิน
ปงบประมาณ 2566 ผูปวยติดบานติดเตียงที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชน ทุกสิทธิ ทุกกลุมอายุที่ไดรับบริการสาธารณสุขหรือไดรับ
บริการตามแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) จำนวน 334,823 คน คิดเปนรอยละ 158.73 จากเปาหมายที่ไดรับจัดสรร 210,941
คน โดยจำแนกตาม
(1) สิทธิหลักประกันสุขภาพ เปน สิทธิ UC 303,499 คน สิทธิ non UC 31,324 คน
(2) โดยใชงบที่สปสช. จัดสรรไปแลว 155,743 คน และใชงบที่คงเหลือสะสม ของ กปท. 179,080 คน
โดยมีกองทุนหลั กประกันสุ ขภาพระดับตำบล ประสงคเขารวมโครงการ LTC 7,179 แหง หรือรอยละ 92.74จากกองทุ น
หลักประกันสุขภาพระดับทองถิ่นทั้งหมด 7,741 แหง และอปท. ไดรับงบจากสปสช. แลว 6,791แหง (รอยละ 94.60 เทียบกับ อปท.
ที่เขารวมโครงการ) โดยอปท. โอนงบใหหนวยจัดบริการในพื้นที่ 6,559 แหง (รอยละ 96.58 เทียบกับ อปท. ที่ไดรับการโอน
งบประมาณ)

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


9
การบูรณาการจัดระบบการใหบริการดูแลผูปวยติดบานติดเตียงที่มีภาวะพึ่งพิงที่เปนประชาชนไทยทุกสิทธิและทุกกลุมวัย โดยมี
ทีมหมอครอบครัวรวมกับองคการปกครองสวนทองถิ่น ดำเนินการคัดกรองประชาชนในพื้นที่ทุกสิทธิและทุกกลุมวัย ตามแบบ
ประเมินความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันตามดัชนีบารเธลเอดีแอล (Barthel ADL index) โดยแบงผูที่มีภาวะพึ่งพิง
ออกเปน 4 กลุม ตามชุดสิทธิประโยชน และจัดทำแผนการดูแลรายบุคคล (Care Plan) ตามความตองการบริการดานสาธารณสุข
รวมทั้งใหลงทะเบียนขอมูลผูปวยฯ ในระบบดูแลผูสูงอายุและผูที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) เพื่อเปนขอมูลประกอบการพิจารณาสนับสนุน
งบประมาณจากกองทุนฯ ทองถิ่น และรวมติดตามดูแลผูปวยติดบานติดเตียงที่มีภาวะพึ่งพิงรายบุคคลตามแผนการดูแลฯ (ที่มา:
กลุมภารกิจสนับสนุนการจัดหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่น ขอมูล ณ 30 กันยายน2566)
3.9 ผูปวยเขาถึงบริการสาธารณสุขปฐมภูมิ (Primary Health Care: PHC)
ในปงบประมาณ 2566 ผูปวยเขาถึงบริการสาธารณสุขปฐมภูมิ รวมทั้งสิ้นจำนวน 2,827,756 ครั้ง หรือ รอยละ 99.93 เมื่อ
เทียบกับเปาหมายที่ไดรับจัดสรรงบประมาณ 2,829,846 ครั้ง โดยผลงานต่ำกวาเปาหมาย เนื่องจากบริการในรายการตางๆ มี
การดำเนินการแลว อยูระหวางการรวบรวมขอมูล
บริการปฐมภูมิที่มีแพทยเวชศาสตรประจำครอบครัวดูแลประชาชนในสัดสวนที่เหมาะสม และตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพ
ปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 เพื่อเพิ่มการเขาถึงบริการระดับปฐมภูมิใหมากขึ้นในหนวยบริการและเชิงรุกในชุมชน ทั้งในเขตและนอกเขต
กรุงเทพฯ จากหนวยบริการและแพทยเวชศาสตรครอบครัวรวมกับผูใหบริการสุขภาพปฐมภูมิ
นอกจากนี้ สปสช. กระทรวงสาธารณสุข รวมกับหนวยบริ การ และภาคีเครือขายตางๆ ยังปรับรูปแบบการบริ ก าร
สาธารณสุข สูสภาวะบริการสุขภาพปกติวิถีใหม (New normal) หรือนวัตกรรมบริการสาธารณสุขสำหรับบริการปฐมภูมิ เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพการใหบริการสาธารณสุข ลดความแออัดในการเขารับบริการในโรงพยาบาล ลดระยะเวลาการรอคอยรับ
บริการ ลดคาใชจายในการเดินทางมาโรงพยาบาล และลดความเสี่ยงในการติดเชื้อโควิด-19 โดยจัดใหมบี ริการ ไดแก
1) บริการรานยาคุณภาพ ประกอบดวย 1. รับยาที่รานขายยาใกลบา น 2. ดูแลอาการเจ็บปวยเล็กนอย (Common illness) ใน
16 อาการเจ็บปวยเล็กนอย 3. สงเสริมสุขภาพปองกันโรคบริการที่จายตามรายบริการ (PP Fee schedule)
2) บริการจัดสงยาและเวชภัณฑทางไปรษณียไปยังผูปวยที่บาน
3) บริการสาธารณสุขระบบทางไกลกรณีผูปวยนอก (Telehealth/Telemedicine)
4) บริการตรวจทางหองปฏิบัติการนอกหนวยบริการ (LAB นอกหนวยบริการ)
5) คลินิกการพยาบาลและการผดุงครรภ
6) คลินิกกายภาพบำบัด
7) บริการดูแลแบบผูปวยในที่บาน (Home ward)
8) บริการสายดวนสุขภาพจิต 1323
9) บริการการแพทยทางไกลในลักษณะผูปวยนอกทัว่ ไป” (OP Tele medicine)
10) บริการสายดวนเลิกบุหรี่ 1600
โดยมีผลการดำเนินงาน ดังนี้
1. บริการระดับปฐมภูมิที่มีแพทยประจำครอบครัว (PCC)

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


10
การดำเนินงานโดย (1) สำนักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ กระทรวงสาธารณสุข มีการประเมินและขึ้นทะเบียนหนวย
บริการปฐมภูมิที่มีแพทยเวชศาสตรครอบครัวหรือคลินิกหมอครอบครัว (PCU) ตามกฎหมายวาดวยระบบสุขภาพปฐมภูมิ โดย
ในป 2566 มีหนวยบริการที่ไดรับการคัดเลือกและขึ้นทะเบียน จำนวน 325 แหง (เขต1-12 และกรุงเทพฯ) โดยดำเนินการ
ตอเนื่อง 3 ป (2) สปสช. โอนงบประมาณสวนที่ 1 แบบเหมาจาย (แหงละ 200,000 บาท หรือรอยละ 50 ของงบประมาณ)
ใหหนวยบริการปฐมภูมิฯ ที่ไดรับการคัดเลือก (PCU) จำนวน 325 แหง จัดสรรภายในเดือนมกราคม 2566 (3) งบประมาณ
สวนที่ 2 จายใหหนวยบริการปฐมภูมิฯ ตามผลลัพธบริการปฐมภูมิ งวดที่ 1 คิดจากผลงานบริการ เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม
2565 และงวดที่ 2 ผลงานบริการ เดือนมกราคม-มิถุนายน 2566
สำหรับผลการใหบริการโดยหนวยบริการปฐมภูมิที่มีแพทยประจำครอบครัว โดยเปน (1) บริการเชิงรุกในพื้นที่ หรือเยี่ยม
บาน จำนวน 444,216 ครั้ง และ (2) บริการตรวจคัดกรองในหนวยบริการระดับปฐมภูมิ 488,428 ครั้ง ในผูปวยโรคเบาหวาน
ที่ตรวจ HbA1C และผูปวยเบาหวานที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได และผูปวยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดัน
โลหิตได รวมจำนวนบริการ 932,644 ครั้ง (เปาหมายไดรับจัดสรร 345,817 ครั้ง)
(ที่มา: กลุมภารกิจสนับสนุนการเขาถึงบริการปฐมภูมิและการสรางเสริมสุขภาพปองกันโรค ขอมูลบริการ OP ณ 30 กันยายน
2566 ประมวลผล ณ 6 พฤศจิกายน 2566 จากระบบขอมูล 43 แฟม และ OP E-Claim)
2. บริการสุขภาพวิถีใหม (New normal) ใหสอดคลองกับนโยบายการรักษาระยะหางทางสังคม (Social distancing)
และลดความแออัดของหนวยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ รวมจำนวน 1,895,112 ครั้ง หรือรอยละ 76.29
(เปาหมายไดรับจัดสรร 2,484,029 ครั้ง)
โดยจำแนกเปน 6 บริการ ดังนี้
2.1) บริการรานยาคุณภาพ โดยแบงเปน 3 บริการ รวมจำนวน 743,588 ครั้ง (ขอมูล ณ 23 ตุลาคม 2566 ดึงขอมูล ณ
6 พฤศจิกายน 2566)
1) บริการรับยาที่รานยาใกลบาน โดยหนวยบริการประจำรวมกับหนวยบริการรับสงตอเฉพาะดานเภสัชกรรม ตาม
นโยบายเพื่อลดความแออัด ลดระยะเวลาการรอคอยรับยาที่โรงพยาบาล โดยขึ้นกับความสมัครใจของผูปวยที่จะรับยาที่ราน
ขายยาแผนปจจุบัน ในผูปวย 4 กลุมโรค คือ เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง/หอบหืด/จิตเวช หรือโรคเรื้อรังที่ไมมีความซับซอน
ในการดูแล ยาที่ผูปวยไดรับจากรานยาตองเปนยาเดียวกับที่ไดรับจากโรงพยาบาลเดิมที่รับยาอยู ผูปวยไมตองเสียคาบริการ
ใดๆ รพ.เปนผูรับผิดชอบยาและไดรับการชดเชยคายาเหมือนเดิม โดยใหตกลงรูปแบบดำเนินงานระหวางโรงพยาบาลและราน
ยา มี 3 Model คือ 1) รพ.จัดยารายบุคคลสงใหรานยา (ไมลดภาระงานของรพ.) 2. รพ.จัดสำรองยาไวที่รานยา (ลดภาระงาน
ที่รพ. แตมีภาระการดูแลคลังยายอยที่รานยา) และ 3) รานยาดำเนินการจัดการดานยาเอง (ราคายามาตรฐานที่ รพ.จะจาย
ใหกับรานยา) โดยมีผูปวยโรคเรื้อรังรับยาที่รานขายยา 65,598 ครั้ง ในผูปวย 22,923 คน บริหารจัดการตามใบสั่งยาของราน
ขายยา 387 แหง
2) บริการดูแลอาการเจ็บปวยเล็กนอย (Common illness) ใน 16 อาการเจ็บปวยเล็กนอย ไดแก อาการ ปวดหัว เวียน
หัว ปวดขอ เจ็บกลามเนื้อ ไข ไอ เจ็บคอ ปวดทอง ทองเสีย ทองผูก ปสสาวะขัดลำบากเจ็บ ตกขาวผิดปกติ ผื่นคัน บาดแผล
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับตา ความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับตา โดยมีผูปวยรับบริการดูแลอาการเจ็บปวยเล็กนอย 673,667 ครั้ง ใน
ผูปวย 348,258 คน ในรานยา 1,195 แหง

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


11
3) บริการสงเสริมสุขภาพปองกันโรคบริการที่จายตามรายบริการ (PP Fees schedule) ไดแก 1) บริการยาเม็ดคุมกำเนิด
และบริการใหคำปรึกษา 2) ยาเม็ดคุมกำเนิดฉุกเฉินและบริการใหคำปรึกษา 3) จายถุงยางอนามัยและบริการใหคำปรึกษา 4)
คัดกรองและประเมินปจจัยเสี่ยงตอสุขภาพกาย/สุขภาพจิต 5) ตรวจปสสาวะทดสอบการตั้งครรภหรือบริการชุดทดสอบการ
ตั้งครรภดวยตัวเอง 6) บริการยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กและกรดโฟลิค โดยมีผูปวยรับบริการสงเสริมปองกันฯ 34,239 ครั้ง
20,573 คน ในรานยา 663 แหง
2.2) บริการจัดสงยาและเวชภัณฑทางไปรษณียไปยังผูปวยที่บาน โดยสปสช. และบริษัทไปรษณียไทยจำกัด รวมกับหนวย
บริการในระบบ UC หนวยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และโรงเรียนแพทย ผลการดำเนินงาน พบวา ในป 2566 มี
โรงพยาบาลที่รวมจัดสงยาใหผูปวยฯ 261 แหง มีผูปวยรับยาทางไปรษณีย จำนวน 365,925 ครั้ง 192,609 คน (ขอมูล ณ 26
ตุลาคม 2566 ดึงขอมูล ณ 6 พฤศจิกายน 2566)
2.3) บริการสาธารณสุขระบบทางไกลกรณีผูปวยนอก (Telehealth/Telemedicine) เริ่มดำเนินการในป 2564 ตาม
มาตรฐานการบริการที่สภาวิชาชีพหรือตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ในผูปวยรายเกาในหนวยบริการที่มีอาการคงที่และ
ควบคุมโรคไดดี โดยในป 2566 มีโรงพยาบาลรวมใหบริการ 788 แหง มีผูปวยรับบริการสาธารณสุขระบบทางไกลกรณีผูปวย
นอก 264,370 ครั้ง 183,518 คน (ขอมูล ณ 26 ตุลาคม 2566 ดึงขอมูล ณ 6 พฤศจิกายน 2566)
2.4) บริการตรวจทางหองปฏิบัติการนอกหนวยบริการ เริ่มดำเนินการในป 2564 เพื่อเพิ่มความสะดวกใหผูปวย ชวยลด
ระยะเวลารอคอยการเจาะเลื อด และลดความแออดั ด ทางห องปฏิ บั ต ิ การในโรงพยาบาล และต อยอดเติ ม เต็ ม บริการ
Telehealth/Telemedicine ใหสมบูรณมากขึ้น โดยบริการเจาะเลือดใกลบาน ในผูปวยโรคเรื้อรังรายเกานอกโรงพยาบาล
โดย สปสช. รับผิดชอบจายคาบริการอัตรา 80 บาท/ครั้ง ซึ่งประชาชนสามารถไปรับบริการเจาะเลือดและเก็บตัวอยางสง
ตรวจที ่ ห  อ งปฏิ บ ั ต ิ ก ารนอกโรงพยาบาล ที ่ ผ  า นเกณฑ ก ารตรวจประเมิ น มาตรฐานฯ และขึ ้ น ทะเบี ย นของ
กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข โดยในป 2566 มีการใหบริการเจาะเลือดนอกหนวยบริการในผูปวย
148,588 ครั้ง 95,383 คน และนำสงตัวอยางใหหนวยบริการแมขาย 28 แหง (ขอมูล ณ 26 ตุลาคม 2566 ดึงขอมูล ณ 6
พฤศจิกายน 2566)
2.5) บริการสาธารณสุขของหนวยบริการที่รับการสงตอเฉพาะดานการพยาบาลและการผดุงครรภ เริ่มดำเนินการในป
2564 โดยคลินิกการพยาบาลและการผดุงครรภที่ผานการตรวจประเมินเพื่อขึ้นทะเบียนเปนหนวยบริการรวมใหบริการ มีการ
ใหบริการพยาบาลพื้นฐานตามแผนการรักษา การบริการดูแลสุขภาพผูปวยที่บาน พรอมบริหารยาตามแผนการรักษา ไดแก
การใสสายสวนปสสาวะ ใสสายสวนกระเพาะอาหาร ฉีดยา และทำแผล/เย็บแผล ในพื้นที่นำรอง โดยปงบประมาณ 2566 มี
ผูปวยไดรับบริการทางการพยาบาล 238,479 ครั้ง 85,055 คน ในคลินิกการพยาบาลและการผดุงครรภ 275 แหง (ขอมูล ณ
26 ตุลาคม 2566 ดึงขอมูล ณ 6 พฤศจิกายน 2566)
2.6) บริการสาธารณสุขของหนวยบริการที่รับการสงตอเฉพาะดานกายภาพบำบัด เริ่มดำเนินการในป 2564 ในคลินิก
กายภาพบำบัดที่ผานเกณฑการขึ้นทะเบียนหนวยรวมใหบริการดานกายภาพบำบัดในพื้นที่นำรอง โดยมีผูปวยไดรับบริการ
กายภาพบำบัด 22,648 ครั้ง 1,462 คน ในคลินิกกายภาพบำบัด 35 แหง (ขอมูล ณ 31 กรกฎาคม 2566 ดึงขอมูล ณ 6
พฤศจิกายน 2566)
นอกจากนี้ สปสช. ยังมีนวัตกรรมบริการสาธารณสุขวิถีใหม ที่เริ่มดำเนินการในป 2566 เพื่อเพิ่มความสะดวกในการเขาถึง
บริการ และลดความแออัดของหนวยบริการ ดังนี้
2.7) บริการดูแลแบบผูปวยในที่บาน (Home ward) เริ่มดำเนินการในป 2566 ใน 6 โรคที่ไมมีความซับซอนมากนัก ไดแก 1)
โรคเบาหวานที่มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง 2) โรคความดันโลหิตสูง 3) โรคแผลกดทับและพื้นที่กดทับ 4) โรคติดเชื้อในระบบทางเดิน

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


12
ปสสาวะ 5) โรคปอดอักเสบ 6) โรคไสติ่งอักเสบเฉียบพลันภายหลั งได รับการผาตั ด 7) โรคติดเชื้อไวรั สโคโรนา 2019 โดย
ปงบประมาณ 2566 มีผูปวยไดรับบริการดูแลแบบผูปวยในที่บาน 9,473 ครั้ง 8,884 คน จากหนวยบริการ 146 แหง (ขอมูล
ณ 22 ตุลาคม 2566 ดึงขอมูล ณ 6 พฤศจิกายน 2566)
2.8) บริการสายดวนสุขภาพจิต 1323 เริ่มดำเนินการในป 2566 โดยปงบประมาณ 2566 มีผูรับบริการสายดวนสุขภาพจิต
2,653 ครั้ง 1,987 คน จากหนวยบริการ 1 แหง สถาบันสุขภาพจิต (ขอมูล ณ 22 ตุลาคม 2566 ดึงขอมูล ณ 6 พฤศจิกายน
2566)
2.9) บริการการแพทยทางไกลในลักษณะผูปวยนอกทั่วไป (OP Tele medicine) เริ่มดำเนินการในป 2566 ครอบคลุม
รักษา 42 กลุมโรคและอาการ เพื่อเปนการดูแลประชาชนผูมี สิทธิบัตรทอง 30 บาท เบื้องตนนำรองบริการเฉพาะในพื้นที่
กรุงเทพมหานคร โดยใหบริการตรวจวินิจฉัย ใหคำปรึกษาผานแอปพลิเคชันดานสุขภาพดิจิทัล รวมถึงสงยาและเวชภัณฑไปยัง
ผูปวยทางไปรษณีย โดยรวมมือกับผูใหบริการแอปพลิเคชันดานสุขภาพดิจิทัล ไดแก 1.แอปพลิเคชัน Saluber MD (ซาลูเบอร
เอ็มดี) 2.แอปพลิเคชัน Clicknic (คลิกนิก) 3.แอปพลิเคชัน Mordee (หมอดี) และ4.แอปพลิเคชัน Totale Telemed (โท
ทอลเลเทเลเมด) มีผูรับบริการ 68,394 ครั้ง 25,720 คน จากหนวยบริการ 6 แหง (ขอมูล ณ 31 ตุลาคม 2566 ดึงขอมูล ณ 6
พฤศจิกายน 2566)
และ 2.10 บริการสายดวนเลิกบุหรี่ 1600 เปนการใหคำปรึกษาเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท ไมมีการใหยา หรือใหสารทดแทน
นิโคติน ใหคำปรึกษากับผูที่โทรเขามาและมีความตองการเลิกบุหรี่ หรือสมาชิกในครอบครัวตองการเลิกบุหรี่ ซึ่งผูรับบริการจะ
ไดรับการคัดกรองเบื้องตนโดยเจาหนาที่รับสาย หากพบวารายใดมีความตั้งใจเลิกบุหรี่จริงจังก็จะมีการสงตอใหกับผูความ
เชี่ยวชาญที่ผานการรับรองในการใหคำปรึกษาเลิกบุหรี่ เพื่อนำไปสูการปรับพฤติกรรมและสรางแรงจูงใจใหเลิกบุหรี่ไดสำเร็จ
และตลอดระยะเวลา 1 ป ก็จะมีการติดตามผลผานโทรศัพท หรือสงขอความ SMS ตอเนื่อง มีผูรับบริการสายดวนเลิกบุหรี่
491 ครั้ง 488 คน จากหนวยบริการ 1 แหง (ขอมูล ณ 22 ตุลาคม 2566 ดึงขอมูล ณ 6 พฤศจิกายน 2566)
(ที่มา: สายงานบริหารกองทุน สปสช. และกลุมภารกิจกำกับติดตามประเมินผล สปสช. Web Report ระบบสารสนเทศ เพื่อ
การกำกับ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
https://medata.nhso.go.th/appcenter/mis/newnormal

3.10 ผูไดรับบริการสาธารณสุขรวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น
การดำเนินงานดานสาธารณสุขใหกับคนไทยทุกคน ในรูปแบบความรวมมือกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) ที่มี
ความพรอมในการเขารวมดำเนินงาน โดยเนนการบูรณาการรวมกับกลไกตางๆ ในพื้นที่ เชน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) หรือคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขต กรุงเทพฯ (พชข.) เพื่อใหเกิดการขับเคลื่อนและ
พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในระดับพื้นที่ ตามประเด็นสุขภาพ และตามกลุมเปาหมาย
ในปงบประมาณ 2566 กลุมเปาหมายตางๆ ในพื้นที่ไดรับบริการสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรคในระดับพื้นที่
ประกอบดวย กลุมหญิงตั้งครรภและหญิงหลังคลอด กลุมเด็กเล็กและเด็กอนวัยเรียน กลุมเด็กวัยเรียนและเยาวชน กลุมวัย
ทำงาน กลุมผูสูงอายุ กลุมผูปวยโรคเรื้อรัง กลุมคนพิการและทุพลภาพ และกลุมประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง)
โดยกลุมเปาหมายที่ไดรับบริการสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรคในระดับพื้นที่ ทุกสิทธิ จำนวน 43,310,514 คน คิดเปน
รอยละ 163.35 (จากเปาหมายที่ไดรับจัดสรร 26,514,000 คน)
โดยจำแนกตามกลุมเปาหมาย ดังนี้ 1) หญิงตั้งครรภและหญิงหลังคลอด 2,486,772 คน

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


13
2) เด็กเล็กและเด็กอนวัยเรียน 4,126,584 คน 3) เด็กวัยเรียนและเยาวชน 6,373,566 คน
4) วัยทำงาน 9,277,520 คน 5) ผูสูงอายุ 5,994,437 คน 6) ผูปวยโรคเรื้อรัง 3,574,848 คน
7) คนพิการและทุพลภาพ 1,673,273 คน 8) ประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 33,189,493 คน
และบริการผาออมในผูปวยที่มีภาวะพึ่งพิงติดบานติดเตียง ผูปวยที่มีปญหาดานการขับถาย 56,824 คน
(ที่มา: กลุมภารกิจสนับสนุนการจัดหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่น สปสช. ขอมูล ณ 30 กันยายน 2566 ประมวลผล ณ
5 ตุลาคม 2566)

3.11 ผูรับบริการที่ไดรับเงินชวยเหลือเบื้องตนจากการรับบริการและผูใหบริการที่ไดรับเงินชวยเหลือเบื้องตนจากการ
ใหบริการ
ในปงบประมาณ 2566 การชวยเหลือเบื้องตนแกผูรับบริการ มีผูรับบริการยื่นคำรอง 1,594 คน (อยูระหวางรอการ
พิจารณา 51 คน และไมเขาเกณฑ 338 คน) เขาเกณฑไดรับการชดเชย จำนวน 1,205 คน วงเงินชดเชย 279.963 ลานบาท
โดยเปนการชดเชยกรณีเสียชีวิต/ทุพลภาพ 570 คน กรณีสูญเสียอวัยวะ/พิการ 161 คน และกรณีบาดเจ็บ/เจ็บปวยตอเนื่อง
474 คน (ในจำนวนเขาเกณฑ 1,205 คน มีผูรับบริการที่อุทธรณและไดรับการชดเชยเพิ่มเติม 136 คน) (ที่มา: ระบบรับคำ
รองขอรับเงินชวยเหลือเบื้องตน กรณีไดรับความเสียหายจากการรับบริการ
https://subsidy.nhso.go.th/subsidy41/#/dashboard ขอมูล ณ 30 กันยายน 2566 ประมวลผล ณ 13 ตุลาคม 2566)
สำหรับการชวยเหลือแกผูใหบริการ กรณีชดเชยความเสียหายที่เกิดจากการใหบริการ โดยมีผูใหบริการยื่นคำรอง
35,001 คน (อยูระหวางรอการพิจารณา 3,318 คน และไมเขาเกณฑ 9,587 คน) เขาเกณฑไดรับการชดเชย จำนวน 22,096
คน เปนการชดเชยกรณีเสียชีวิต/ทุพลภาพ 4 คน กรณีสูญเสียอวัยวะ/พิการ 10 คน กรณีบาดเจ็บ/เจ็บปวยตอเนื่อง 22,082
คน วงเงินชดเชย 169.703 ลานบาท โดยเปนการชดเชยจากการติดเชื้อโควิด-19 จำนวน 20,593 คน หรือรอยละ 97 ของ
ผูรับบริการที่เขาเกณฑชดเชย (ในจำนวนเขาเกณฑ 22,096 คน มีผูรับบริการที่อุทธรณและไดรับการชดเชยเพิ่มเติม 389 คน)
(ท ี ่ ม า : ร ะ บ บ ร ั บ ค ำร  อ ง ข อ ร ั บ เ งิ นช  ว ย เ ห ลื อ เ บื ้ อ งต  น ก ร ณ ี ไ ด  ร ั บ คว าม เ ส ี ย ห าย จ าก ก าร ใ ห บ ริ ก าร
https://subsidy.nhso.go.th/subsidy18/#/dashboard ขอมูล ณ 30 กันยายน 2566 ประมวลผล ณ 13 ตุลาคม 2566
ผูรับบริการที่ไดรับเงินชวยเหลือเบื้องตนจากการรับบริการและผูใหบริการที่ไดรับเงินชวยเหลือเบื้องตนจากการใหบริการ
จำนวน 23,301 คน (จากเปาหมายที่ไดรับจัดสรร 2,198 คน) โดยผลงานเกินเปาหมายที่ไดรับจัดสรร เนื่องจากผูใหบริการที่
ไดรับความเสียหายจากกรณีโควิด-19 ที่รอการพิจารณาตกคางมาจากปงบประมาณ 2565

3.12 ประชาชนที่มีสิทธิไดรับบริการสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรค
สำหรับบริการสาธารณสุขดานการสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรคที่ใหโดยตรงแกบุคคล กลุมบุคคล หรือครอบครัว
สำหรับประชาชนไทยทุกคน ภายใตประเภทและขอบเขตของบริการสาธารณสุขดานสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรคสำหรับ
ประชากรไทยทั้งประเทศผูมีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา
ในปงบประมาณ 2566 ประชาชนที่มีสิทธิไดรับบริการสรางเสริ มสุ ขภาพและป องกันโรค คือ ประชากรผูมีสิ ท ธิ
หลั กประกั น สุ ข ภาพ จำนวน 66,602,086 คน คิ ด เป น ร อยละ 100.48 (จากเป า หมายที ่ ไดร ั บ จั ด สรร 66,286,000 คน)

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


14
ประกอบดวย ผูมีสิทธิหลักประกันสุขภาพแหงชาติ 46,934,110 คน ผูมีสิทธิประกันสังคม 12,853,541 คน และผูมีสิทธิ
สวัสดิการขาราชการ 5,320,944 คน สิทธิสวัสดิการพนักงานสวนทองถิ่น 681,009 คน สิทธิประกันตนคนพิการ 12,431 คน
สิทธิครูเอกชน 81,319 คน และบุคคลที่มีปญหาสถานะและสิทธิ 718,732 คน ไมนับรวมบุคคลที่ยังไมลงทะเบียนเลือกหนวย
บริการประจำ ตามมาตรา 6 แหง พรบ. หลักประกันสุขภาพแหงชาติ จำนวน 203,805 คน บุคคลที่ไมอยูในทะเบียนบานรอ
ยืนยันสิทธิ 80,560 คน คนไทยในตางประเทศ 10,432 คน
(ที่มา: ระบบคลังขอมูล EDW สปสช.ขอมูล ณ 30 กันยายน 2566 ประมวลผล ณ 13 ตุลาคม 2566)

4 บริการภายใตนโยบายยกระดับระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ดำเนินการครอบคลุมทั่วประเทศดังนี้
1.ประชาชนที่เจ็บปวยไปรับบริการกับหมอประจำครอบครัว ในหนวยบริการปฐมภูมิที่ไหนก็ได
ภาพรวมโครงสรางของระบบบริการมีความพรอมกวาพื้นที่อื่น โดยกระทรวงสาธารณสุขและกรุงเทพมหานคร จะขยาย
เครือขายบริการปฐมภูมิเพื่อรองรับ มีการเชื่อมตอขอมูลคลินิกหมอครอบครัวและผูปวยเพิ่มเติม จัดทำระบบตรวจสอบสิทธิผาน
แอปพลิเคชัน และมีระบบยืนยันตัวตนประชาชนในการรับบริ การผานบัตรประชาชน Smart Card เพิ่มความสะดวกให
ประชาชนสามารถไปรับบริการปฐมภูมิที่ไหนก็ไดภายในเขตพื้นที่เดียวกัน
โดยในป 2564 นำรองในพื้นที่กรุงเทพฯ และสปสช.เขต 7-10 และขยายไปทั่วประเทศในป 2565 ซึ่งประชาชนเจ็บปวยไป
รับบริการกับหมอประจำครอบครัวในหนวยบริการปฐมภูมิทุกที่ในระบบบัตรทอง ตามนโยบาย “30 บาทรักษาทุกที่” โดยที่
ประชาชนไมถูกเรียกเก็บเงิน
ผลการดำเนินงาน ในปงบประมาณ 2566 ประชาชนเขาถึงบริการ จำนวน 722,582 ครั้ง 477,930 คน ในหนวยบริการ 2,886
แหง โดยเปนการรับบริการที่หนวยบริการขามหนวยบริการประจำ (CUP) 438,079ครั้ง (รอยละ 60.66) รับบริการขามจังหวัด
88,233 ครั้ง (รอยละ 12.22) และรับบริการขามเขต 195,876ครั้ง (รอยละ 27.12)
(ที่มา: สายงานบริหารกองทุน และกลุมภารกิจกำกับติดตามประเมินผล สปสช. Web Report ระบบสารสนเทศ เพื่อการ
กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
https://medata.nhso.go.th/appcenter/mis/dashboard-opanywhere ขอมูล ณ 20 กันยายน 2566 ประมวลผล ณ 12
ตุลาคม 2566)

2.ผูปวยในไมตองกลับไปรับใบสงตัว
เดิมการขอใบสงตัวรักษาจากคลินิกหรือโรงพยาบาลที่ลงทะเบียนใชสิทธิหรือหนวยบริการประจำที่ผูปวยเลือกไว เพื่อไป
รักษาตอเนื่องดวยสาเหตุทางการรักษาที่โรงพยาบาลเฉพาะทาง ตองทำทุก 3 เดือนจนกวาจะสิ้นสุดการรักษา ในกรณีที่ใบสง
ตัวครบกำหนดจะเปนภาระที่ผูปวยหรือญาติตองกลับไปยังหนวยบริการประจำเพื่อขอใบสงตัวใหม เกิดความไมสะดวกและ
เปนปญหา ประชาชนตองแบกรับคาใชจายในการเดินทาง โดยเฉพาะผูปวยโรคมะเร็ง อาจตองตอคิวรอรับการวินิจฉัย CT

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


15
SCAN หรือ MRI เปนระยะเวลานานและหลายครั้ง หากไมสามารถนอนพักรักษาตัวในโรงพยาบาลที่ไมใชหนวยบริการประจำ
ของผูปวยได สงผลทำใหการวินิจฉัยโรคหรือการรักษาลาชา เสี่ยงอันตรายถึงชีวิต
เพื่ออำนวยความสะดวก สปสช.ไดปรับระบบใหผปู วยในสามารถรักษาตอเนื่องไดทันทีตามการวินิจฉัยของแพทยโดยไม
ตองกลับไปรับใบสงตัวที่หนวยบริการประจำ ใชเพียงบัตรประชาชนตรวจสอบตัวตนผูป วย โดยสปสช. ดูแลเรื่องเงินสนับสนุน
สวนโรงพยาบาลจะดูแลเรื่องระบบบริการ ใบสงตอรักษา รวมทัง้ ประวัติตา ง ๆ ของผูป วย โดยในป 2564 นำรองในพื้นที่เขต 9
นครราชสีมา กรุงเทพฯ และปริมณฑลและขยายไปทั่วประเทศในป 2565
ผลการดำเนินงาน ในปงบประมาณ 2566 พบวาผูปวย/ญาติผูปวย ไดรับความสะดวกไมตองมีภาระในการกลับไปขอใบ
สงตัวกรณีไปรับการรักษาผูปวยในตางหนวยบริการประจำ จำนวน 1,663,694 ครั้ง หรือรอยละ 37.87 เทียบกับจำนวน
บริ การผู ปว ยใน 4,710,829 ครั ้ ง (ตั ้ ง แต 1 กรกฎาคม 2565 ประกาศโรคโควิ ด-19 เป น โรคประจำถิ่ น บริ การ Home
Isolation /Community Isolation (HI-CI) นับรวมอยูในบริการผูปวยใน IP แตบริการผูปวยในไมใชใบสงตัว จะไมนับรวม
บริการ HI-CI)
โดยเปนการใหการใหบริการตางหนวยบริการประจำภายในจังหวัด 1,265,340 ครั้ง (รอยละ 76.06) หนวยบริการขาม
จังหวัด ภายในเขตพื้นที่ 173,133 ครั้ง (รอยละ 10.41) และหนวยบริการขามเขตพื้นที่ 225,221 ครั้ง (รอยละ 13.54)
(ที่มา: สายงานบริหารกองทุน และกลุมภารกิจกำกับติดตามประเมินผล สปสช. Web Report ระบบสารสนเทศ เพื่อการ
กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
https://medata.nhso.go.th/appcenter/mis/dashboard-ipanywhere ขอมูล ณ 20 กันยายน 2566 ประมวลผล ณ 12
ตุลาคม 2566)

3.โรคมะเร็งไปรับบริการที่ไหนก็ไดที่พรอม (Cancer anywhere)


โรคมะเร็งเปนภาวะเจ็บปวยที่ตองไดรับการรักษาโดยเร็ว เพื่อควบคุมระยะและการแพรกระจายของโรค แตดวยขั้นตอน
การสงตัวตามระบบเครือขาย และความหนาแนนของปริมาณผูปวยที่แตกตางกันในแตละโรงพยาบาล ทำใหเปนอุปสรรคใน
การเขาถึงการรักษาไดโดยเร็ว โดยการเขารับการรักษามะเร็งในโรงพยาบาลที่ผูปวยมีสิทธิการรักษา ปกติแลวจะตองรอตรวจ
และรอการรักษาตามคิวของผูปวย ซึ่งขั้นตอนเหลานี้มักจะใชเวลานาน หลายขั้นตอน แตละขั้นตอนใชเวลาประมาณ 2-3
เดือน กวาที่เราจะไดผลชิ้นเนื้อวาเปนมะเร็งจริงๆ หรือทราบวาเปนมะเร็งชนิดใด ซึ่งถือวาเปนคอขวดที่ทำใหกลุมผูปวยมะเร็ง
เขาถึงการรักษาไดชา ทั้งในเรื่องระบบสงตัวและวินิจฉัย อาจทำใหผูปวยมีอาการมากขึ้นและเพิ่มระยะของมะเร็งได
นโยบาย Cancer Anywhere เปนนโยบายที่จัดทำขึ้นเพื่อชวยอำนวยความสะดวก และความรวดเร็วใหกับผูที่ไดรับการ
วินิจฉัยวาเปนโรคมะเร็ง ไดรับบริการการรักษาครอบคลุมทุกวิธีการรักษา เชน ผาตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ฮอรโมน ทั้งตาม
โปรโตคอลการรักษา 20 ชนิด (Protocol) และการรักษามะเร็งทั่วไป (General) ในโรงพยาบาลที่มีศักยภาพและใกลบาน
โดยเร็วที่สุด สามารถรักษาขามเขต ขามจังหวัดได โดยผูปวยที่ไดรับการวินิจฉัยวาเปนมะเร็ง จะไดใบรับรองและประวัติ หรือ
Code เพื่อเลือกไปรับบริการ ผาน ชองทาง สายดวน สปสช. 1330, แอปพลิเคชัน สปสช. หรือติดตอหนวยบริการที่มีความ
พรอมใหบริการรักษาดวยคิวรอคอยที่สั้นไดโดยตรง และไมตองใชใบสงตัวยืนยันสิทธิ อีกทั้งยังมีบริการระบบสาธารณสุข

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


16
ทางไกล (Telehealth) บริ ก ารปรึ ก ษาเภสั ช กรทางไกล (Tele pharmacy) และการให ย าเคมี บ ำบั ด ที ่ บ  า น (Home
Chemotherapy) ภายใตความรวมมื อกับ กรมการแพทยที่ ไดจัด ทำฐานข อมูล เชื่ อมโยงเพื่ อใหบ ริ การในโรงพยาบาลทั่ว
ประเทศ โดยเริ่มนโยบายใหบริการทั่วประเทศ 1 มกราคม 2564 โดยความรวมมือกับกรมการแพทยที่ไดจัดทำฐานขอมูลให
สามารถเชื่อมโยงไดทั้งระบบขอมูลของกรมการแพทย 4 โปรแกรมที่ใชเชื่อมโยงฐานขอมูล ดังนี้ (1) โปรแกรมฐานขอมูล
ทะเบียนมะเร็ง Thai Cancer Based (TCB) ตอยอดเปน TCB Plus เพื่อใหใชลงทะเบียนและรับสงตอผูปวย (2) โปรแกรม
The One Program เพื่อใชบริหารจัดการคิวในการตรวจทางรังสีวินิจฉัย และการรักษาดวยรังสีรักษาและเคมีบำบัด (3)
โปรแกรม DMS bed Monitoring เพื่อใชบริหารจัดการเตียง และ (4) แอปพลิเคชัน DMS Telemedicine ที่ใชนัดคิวเพื่อรับ
การปรึกษาทางไกล (Tele-Consult) กับแพทยได ขอนัดรับยา ติดตามการรับยาทางไปรษณีย
ผลการดำเนินงาน ปงบประมาณ 2566 พบวา ผูปวยโรคมะเร็งรับบริการที่ไหนก็ได จำนวน 1,463,369 ครั้ง 239,916
คน โดยมีหนวยบริการที่มีศักยภาพรวมดูแล 188 แหง (จากเปาหมายที่ไดรับจัดสรร 339,371 ครั้ง) จำแนกเปนการรับบริการ
ในหนวยบริการประจำของตนเอง 256,753 ครั้ง หรือรอยละ 17.55 ตางหนวยบริการประจำภายในจังหวัด 733,575 ครั้ง
หรือรอยละ 50.13 หนวยบริการขามจังหวัดภายในเขตพื้นที่ 249,816 ครั้ง หรือรอยละ 17.07 และหนวยบริการขามเขตพื้นที่
223,225 ครั้ง หรือรอยละ 15.25
(ที่มา: สายงานบริหารกองทุน และกลุมภารกิจกำกับติดตามประเมินผล สปสช. Web Report ระบบสารสนเทศ เพื่อการ
กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล ขอมูล ณ 25 สิงหาคม 2566 ประมวลผล ณ 18 ตุลาคม 2566)

4.ยายหนวยบริการไดสิทธิทันที ไมตองรอ 15 วัน


เดิมการยายหนวยบริการจะยังไมเกิดสิทธิทันที ตองรอทุกวันที่ 15 หรือวันที่ 28 ของเดือน เนื่องจากเจาหนาที่ตองทำการ
ตรวจสอบสิทธิของประชาชนที่ยื่นเปนไปตามเอกสาร ทำใหเมื่อเจ็บปวย ไมสามารถเขารักษาพยาบาลกับหนวยบริการในพื้นที่
อาศั ย อยู  ใ นป จ จุ บ ั น สปสช. ได พ ั ฒ นาระบบการลงทะเบี ย น โดยใช แ อปพลิ เคชั น สปสช. บนสมาร ท โฟน หรื อเครื ่ อ ง
คอมพิวเตอร ใหประชาชนสามารถเปลี่ยนหนวยบริการประจำดวยตนเองไดสิทธิทันทีที่ภายในวันเดียว เปลี่ยนไดไมเกิน 4
ครั้ง/ปงบประมาณ โดยหนวยบริการสามารถพิสูจนสิทธิและเบิกจายคาบริการผานบัตรประชาชน Smart card โดยสปสช.
จายคารักษาพยาบาล แกหนวยบริการ กรณีผูใชสิทธิหลักประกันสุขภาพแหงชาติไปรับบริการครั้งแรกภายหลังการยายหนวย
บริการ เหมือนกับกรณีสิทธิวางไปรับบริการครั้งแรก โดยเริ่มดำเนินการพรอมกันทั่วประเทศ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2564
ผลการดำเนินงาน ในปงบประมาณ 2566 พบวา ประชาชนสิทธิหลักประกันสุขภาพแหงชาติมีการเปลี่ยนหนวยบริการ
ประจำ 2,021,031 ครั้ง โดยดำเนินการเปลี่ยนหนวยผานหนวยบริการ จำนวน 1,534,501ครั้ง คิดเปนรอยละ 75.93 ดำเนินการ
ผาน Mobile Application และLine จำนวน 486,530 ครั้ง คิดเปนรอยละ 24.07
และมีการใชสิทธิทันทีภายใน 1 วันหลังเปลี่ยนหนวยบริการ จำนวน 584,795 ครั้ง (รอยละ 28.94) โดยเปนการใชสิทธิ
ในหนวยบริการที่ยายใหม รอยละ 18.24 และไมไดใชสิทธิในหนวยบริการที่เพิ่งยายใหม รอยละ 10.70 นอกจากนี้ผูปวยที่ใช
สิทธิภายใน 2-7 วันหลังเปลี่ยนหนวยบริการ มีรอยละ 0.44 และใชสิทธิภายใน 8-14 วัน มีรอยละ 0.20 ตามลำดับ

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


17
(ที่มา: ขอมูลบริการผูปวยใน IP-E-Claim, บริการผูปวยนอก OP- E-Claim, และฐานขอมูลลงทะเบียนเลือกหนวยบริการ
ประจำ กลุมภารกิจกำกับติดตามประเมินผล สปสช. ขอมูล ณ 30 กันยายน 2566 ประมวลผล ณ 4 ตุลาคม 2566)

ปญหาอุปสรรค :
การใชจายงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติไมเปนไปตามแผนที่กำหนด เนื่องจากประกาศ
คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ เรื่อง หลักเกณฑการบริหารจัดการกองทุนฯ ป 2566 ลงนามเมื่อวันที่ 29
ธันวาคม 2565 และยังมีขอทวงติงทางกฎหมาย ประเด็นการจายชดเชยบริการสิทธิ Non UC ที่ตองรอความชัดเจน
ในทางปฏิบัติ ไดแก บริการสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรค,บริการสงเสริมและปองกันการติดเชื้อเอชไอวี,บริการผูมี
ภาวะพึ่งพิงในชุมชน และบริการสาธารณสุขบริการสาธารณสุขรวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น อยางไรก็ตาม
สปสช. ไดเรงรัดการจัดสรรงบประมาณภายในประกาศฯลงนาม ไปเบื้องตนเฉพาะสิทธิหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
ใหกับหนวยบริการ ในทุกรายการเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2565 โดยเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2566 สปสช. และกระทรวง
สาธารณสุข รวมแถลงความคืบหนาใหผูมีสิทธิประกันสังคม สิทธิขาราชการ ใชบริการสรางเสริมสุขภาพและปองกัน
โรคในระบบ สปสช. “เตรียมเสนอรางพระราชกฤษฎีกา มอบ สปสช.ดูแลงบสรางเสริมสุขภาพแกคนไทยทุกคน”
สำหรับสรางเสริมสุขภาพปองกันโรคกลุมประชาชนนอกสิทธิบัตรทอง คือ ประกันสังคมและสวัสดิการขาราชการ
เนื่องจากการดำเนินการที่ผานมาอาจไมถูกตองตาม พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2545 ทำใหตองมีการ
ชะลอการจัดสรรงบประมาณเฉพาะสวนนี้ แตกระทรวงสาธารณสุขไดสั่งการใหหนวยบริการในสังกัดยังคงใหบริการ
ประชาชนทุกสิทธิตามปกติ สวนหนวยบริการนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ทาง สปสช.เปนผูประสานใหบริการ
ตามปกติเชนกัน ประชาชนไมไดรับผลกระทบอะไร สวนการออกเปนพระราชกฤษฎีกานั้นอยูระหวางดำเนินการ

แนวทางแกไข : ประสานหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อทำความชัดเจน
ความทาทาย :
1. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
 พั ฒ นาการยื น ยั น ตั ว ตนเข า รั บ บริ ก าร (Authentication) ตรวจสอบการเบิ ก จ า ยแบบ Real Time ใช
ปญญาประดิษฐตรวจสอบการจายชดเชย (AI Audit)
 พัฒนารูปแบบการเบิกจายชดเชยคาบริการที่ถูกตอง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น เพื่อลดความเสี่ยงและ
ปญหาทางการเงินของหนวยบริการ
 พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขที่เหมาะสม คุมคา และมีประสิทธิภาพสอดคลองกับชีวิตวิถีปกติใหม (New
Normal) มีระบบการแพทยทางไกล (Telemedicine) นำเทคโนโลยี/นวัตกรรมขั้นสูง (Digital healthcare)
เขามาเพิ่มประสิทธิภาพการปองกันและรักษาพยาบาล
 การจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผูที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) โดยมุงเนนการมีสวนรวมในการจัดบริการสาธารณสุข
รวมกับทองถิ่น

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


18
2. บูรณาการสรางความเปนเอกภาพของระบบประกันสุขภาพภาครัฐ 3 ระบบหลัก คือ สวัสดิการรักษาพยาบาล
ขาราชการประกันสังคม และหลักประกันสุขภาพแหงชาติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ลดความ
เหลื่อมล้ำ และสรางความกลมกลืนระหวางระบบประกันสุขภาพภาครัฐ
3. เพิ่มความเขมแข็งระบบบริการปฐมภูมิและระบบบริการสุขภาพชุมชนโดยเฉพาะระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
รวมถึงเรงรัดปรับระบบบริการสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรค และโรคที่ยังมีปญหาในการเขาถึงบริการเพื่อเพิ่ม
ความมั่นใจในการเขารับบริการ
4. บูรณาการเชื่อมโยงขอมูลสารสนเทศและการบริหารจัดการขอมูลขนาดใหญ (Big data) รวมกับหนวยงานที่
เกี่ยวของ การพัฒนาระบบการติดตามประเมินผล (M&E) อยางตอเนื่อง เพื่อใหมีขอมูลหลักฐานเชิงประจักษใน
การตัดสินใจเชิงนโยบายดานสาธารณสุขไดอยางถูกตอง
5. สนับสนุนใหประชาชนมีความรอบรูดานสุขภาพ มีขอมูลสุขภาพของตนเอง นำไปสูการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ
ทัศนคติ และสามารถดูแลสุขภาพตนเองไดอยางเหมาะสม (Self-Care) โยบายโดยใชขอมูลหลักฐานเชิง

ผลการดำเนินงานการสรางระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปงบประมาณ 2566 (1 ตุลาคม 2565-30 กันยายน 2566 )


19

You might also like