You are on page 1of 38

11

บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง

ในการศึกษาวิจยั เรื่ อง ตัวแบบนวัตกรรมบริ การเพื่อคุณภาพชีวิตผูส้ ู งอายุ: บริ การแนะนา


งานตามวิถีชีวิตผูส้ ู งอายุ ผูว้ ิจยั ได้ทบทวนวรรณกรรม เอกสารต่างๆ และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง โดยมี
หัวข้อดังต่อไปนี้
2.1 สังคมผูส้ ูงอายุ (Aging society)
2.2 ทฤษฏีทางสังคมของผูส้ ูงอายุ (Social Theories of Aging)
2.3 คุณภาพชีวิตผูส้ ูงอายุ (Quality of Life: QoL)
2.4 การแบ่งส่วนตลาดตามวิถีชีวิต (Lifestyle segmentation)
2.5 การพัฒนาบริ การใหม่ (New service development: NSD)
2.6 การแนะนางานให้ผสู ้ ูงอายุ (Elderly Job Recommendation)
2.7 ศาสตร์ดา้ นการเรี ยนรู้ของเครื่ องจักร (Machine Learning)
2.8 กระบวนการแนวคิดในการดาเนินงานวิจยั

2.1 สังคมผู้สูงอายุ (Aging society)

2.1.1 นิยามสังคมผูส้ ูงอายุ


องค์การสหประชาชาติ (United Nations: UN) ได้แบ่งระดับการเข้าสู่ สังคมผูส้ ู งอายุ เป็ น 3
ระดับ ได้แก่
1) ระดับ การก้าวเข้าสู่ สั งคมผูส้ ู งอายุ (Aging society) หมายถึ ง สังคมหรื อ ประเทศที่ มี
ประชากรอายุ 60 ปี ขึ้ น ไป มากกว่ า ร้ อ ยละ 10 ของประชากรทั้ ง ประเทศ หรื อ มี
ประชากรอายุต้ งั แต่ 65 ปี มากกว่าร้อ ยละ 7 ของประชากรทั้งประเทศ แสดงว่าสังคม
หรื อประเทศนั้นกาลังเข้าสู่สังคมผูส้ ูงอายุ
2) ระดับ สั งคมผู ้สู ง อายุโดยสมบู รณ์ (Aged society) หมายถึ ง สั งคมหรื อ ประเทศที่ มี
ประชากรอายุ 60 ปี ขึ้ น ไป มากกว่ า ร้ อ ยละ 20 ของประชากรทั้ ง ประเทศ หรื อ มี
ประชากรอายุต้ งั แต่ 65 ปี มากกว่าร้อยละ 14 ของประชากรทั้งประเทศ แสดงว่าสังคม
หรื อประเทศนั้นเข้าสู่สังคมผูส้ ูงอายุโดยสมบูรณ์
12

3) ระดับสังคมผูส้ ู งอายุอย่างสุ ดยอด (Super-aged society) หมายถึง สังคมหรื อประเทศที่


มีป ระชากรอายุ 65 ปี ขึ้ นไปมากกว่า ร้ อ ยละ 20 ของประชากรทั้งประเทศ แสดงว่ า
สังคมหรื อประเทศนั้นเข้าสู่สังคมผูส้ ูงอายุอย่างสุดยอด (United Nations, 2001)
2.1.2 สังคมผูส้ ูงอายุในประเทศไทย
สานักยุทธศาสตร์สุขภาพจิต (2558) ระบุถึงสถานการณ์ผสู ้ ูงอายุว่าประเทศไทยได้กา้ วเข้าสู่
สังคมผูส้ ูงอายุแล้ว เนื่องจากในปี พ.ศ. 2556 ผูท้ ี่อายุ 60 ปี ขึ้นไปมีมากกว่า 10 ล้านคน ซึ่ งคิดเป็ นร้อย
ละ 14.9 ของประชากรทั้งประเทศ และในปี 2566 คาดว่าประชากรที่อายุ 60 ปี ขึ้นไป จะเพิ่มขึ้นเป็ น
14.1 ล้านคน ซึ่ งคิดเป็ นร้อยละ 21 ของประชากรไทย นั่นหมายความว่าประเทศไทยจะเข้าสู่ สังคม
ผูส้ ูงอายุโดยสมบูรณ์ในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า (สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.), 2556)

2.2 ทฤษฎีทางสังคมของผู้สูงอายุ (Social Theories of Aging)


2.2.1 ทฤษฎีกิจกรรม (Activity Theory)
ทฤษฎี กิ จ กรรมถู ก พั ฒ นาขึ้ นจากการศึ ก ษาวิ จั ย ของ Havinghurst et al. (1963) ที่ ไ ด้
ทาการศึกษากลุ่มตัวอย่างอายุระหว่าง 50-90 ปี จานวน 300 คน โดยมีการสัมภาษณ์เป็ นระยะๆตลอด
ระยะเวลากว่า 6 ปี ซึ่ งผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าที่มีความกระฉับกระเฉงและตื่นตัว (Active) ทา
กิจกรรมต่างๆอยู่เสมอ จะช่ วยยืดเวลาช่วงวัยกลางคนและชะลอผลกระทบจากการเข้าสู่ วยั สู งอายุ
ทาให้ผสู ้ ู งอายุมีความพึงพอใจในชีวิตบั้นปลายและปรับตัวได้ดีกว่าผูส้ ูงอายุที่ไม่เข้าร่ วมในกิจกรรม
ต่างๆ ปล่อยให้ตนเองเฉี่อยชา นอกจากนี้ยงั มีนกั วิชาการอีกหลายท่านที่สนับสนุนแนวคิดนี้ Lemon
et al. (1972) พบว่าความคล่องแคล่วและตื่นตัวอยูเ่ สมอมีผลโดยตรงกับความพึงพอใจในชีวิต (Life
Satisfaction) และท าให้ ผูส้ ู งวัยมี ภาพพจน์ ที่ ดีเกี่ ยวกับ ตนเอง (Self-image) เนื่ อ งจากการเข้าร่ ว ม
กิ จกรรมต่ างๆช่ วยทดแทนบทบาทที่ เสี ยไปได้จากการเกษียณอายุการท างาน Menec (2003) ยัง
พบว่า เมื่อระดับการทากิจกรรมโดยรวมเพิ่มขึ้น ส่ งผลให้มีความสุ ขเพิ่มขึ้น การปฏิบตั ิงานต่างๆดี
ขึ้น ในขณะที่ Pernambuco et al. (2012) อธิ บายว่าวิถีชีวิตที่ตื่นตัว หรื อ Active Lifestyle โดยเฉพาะ
เมื่อร่ างกายยังสามารถปฏิบัติกิจวัตรต่างๆได้ดี ไม่ตอ้ งพึ่งพาผูอ้ ื่นในวัยสู งอายุ ช่วยพัฒนาคุณภาพ
ชี วิ ต (Quality of life) ได้ กิ จกรรมทางกายภาพช่ วยส่ งเสริ ม สุ ข ภาพ เพิ่ ม การเคลื่ อ นไหว ความ
แข็งแรงของกล้ามเนื้อ และความสามารถในการปฏิบตั ิกิจวัตรต่างๆโดยไม่ตอ้ งพึ่งพาผูอ้ ื่น
ทฤษฎี กิจกรรมเชื่ อ ว่า กิ จกรรมทางสังคมเป็ นสิ่ งจาเป็ นสาหรับ ทุกวัย โดยเฉพาะผูส้ ู งวัย
เนื่ องจากช่ วยให้มีบทบาทที่ดีทางสังคม (Social well-being) เป็ นปั จจัยสาคัญต่อความพึงพอใจใน
ชีวิต (Life Satisfaction) ซึ่งส่งผลให้ทศั นะเกี่ยวกับตนเอง (Self-conception) ที่ดารงอยูใ่ นสังคมดีข้ นึ
13

2.2.2 ทฤษฎีบทบาท (Role Theory)


นักสังคมวิทยาเกี่ ยวกับผูส้ ู งอายุ หรื อที่เรี ยกว่า Social Gerontologists ได้ศึกษาว่าผูส้ ู งอายุ
แต่ละคนมีการปรับตัวอย่างไรเมื่อเข้าสู่ ช่วงสู งวัย จึงสันนิ ษฐานว่าการปรับตัวเหล่านั้นเป็ นไปตาม
ทฤษฏี บ ทบาท (Cottrell Jr, 1942) ที่ ว่ า แต่ ล ะบุ ค คลมี บ ทบาททางสั ง คมที่ แ ตกต่ างกัน ไป เช่ น
บทบาทพ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย สามี ภรรยา ลูก นักเรี ยน นักธุ รกิ จ ฯลฯ การดาเนิ นชี วิตของแต่ล ะ
บุคคลจึงถูกกาหนดโดยบทบาทหน้าที่ทางสังคมดังที่ยกตัวอย่าง รวมทั้งมโนทัศน์ของตนเองที่มีต่อ
บทบาทหน้าที่ ณ ขณะนั้น บุคคลจะอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุ ขขึ้นอยูก่ บั การปฏิบตั ิต่อบทบาท
ของตนเองเหมาะสมเพียงใด ดังนั้นผูส้ ู งอายุจะปรับตัวได้ดีเพียงใดขึ้นอยูก่ บั การยอมรับบทบาทใน
แต่ละช่วงวัยของตนเองที่ผ่านมา อันจะส่ งผลต่อการยอมรับบทบาททางสังคมที่กาลังจะมาถึงใน
อนาคต
โดยทัว่ ไปสังคมมักใช้เกณฑ์อายุมาเป็ นมาตรฐานกาหนดบทบาทและความเหมาะสมของ
บุคคลที่อ ยู่ในบทบาทนั้น ดังนั้นเมื่อ อายุมากขึ้น บุคคลนั้นมักจะสู ญ เสี ยบทบาททางสังคมที่เคย
ได้รับมาในอดี ต เช่ น สู ญเสี ยบทบาทการทางานเมื่อเกษียณ สู ญเสี ยบทบาทของการมีชีวิตคู่เมื่อ คู่
สมรสจากไป ผูส้ ู งอายุอาจพยายามพัฒนาบทบาททางสังคมของตนเองใหม่เพื่อทดแทนบทบาทที่
สู ญ เสี ยไป อย่างไรก็ต าม บทบาทที่พ ัฒ นาใหม่ จะทดแทนได้ดี เพี ยงใด ผูส้ ู งอายุจะปรับตัวได้ดี
เพียงใด ขึ้นอยู่กับมโนทัศน์ของบุคคลนั้น ตลอดจนการมองเห็ นถึงคุณค่าของตนเองเป็ นสาคัญ
สอดคล้องกับ Alotaibi (2019) ที่พบว่า ผูส้ ู งอายุยงั เชื่ อ ว่าพวกเขายังมีคุณ ค่าและสามารถหาเลี้ยง
ตนเองได้ แต่ผูส้ ู งอายุมักมีคุณภาพชีวิตแย่ลง และรู้ สึกว่าคุณค่าของตนเองลดลงเนื่ องจากสู ญเสี ย
บทบาททางสังคม จึงกล่าวได้ว่าการสู ญเสี ยบทบาททางสังคมนั้นทาให้มีผลกระทบในด้านลบต่อ
ความภาคภูมิใจในคุณค่าของตนเอง
ดังนั้นผูส้ ู งอายุจึงควรมีบทบาทหรื อ กิ จกรรมทางสังคมตามสมควร เช่ นการมีงานอดิเรก
การเข้าร่ วมสมาคม อาสาสมัคร เป็ นต้น เนื่ องจากผูส้ ูงอายุที่มีกิจกรรมปฏิบตั ิอยูเ่ สมอ จะส่ งผลให้มี
สุ ขภาพดีท้ งั กาย และจิตใจอารมณ์ เกิดความพึงพอใจในชีวิต เกิดทัศนะที่ดีต่อตัวเอง และสามารถ
ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงได้ดี จะปรับตัวได้ดีกว่าผูส้ ู งอายุที่เฉื่อยชา หรื อปราศจากกิจกรรม
ใดๆ โดยกิจกรรมที่ผสู ้ ู งอายุควรปฎิบตั ิ ได้แก่ การมีส่วนร่ วมในสังคม การมีงานอดิเรก การทางานที่
มีรายได้ การส่งเสริ มสุขอนามัย และ การพัฒนาท้องถิ่นสังคม
14

2.3 คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ (Quality of Life: QoL)


2.3.1 นิยามคุณภาพชีวิตผูส้ ู งอายุ
องค์การอนามัยโลก (World Health Organization, 1997) ให้คานิ ยามว่า คุณ ภาพชี วิตเป็ น
การรับรู้ของแต่ละบุคคลเกี่ ยวกับตาแหน่ งของตนเองที่ดารงอยู่ในสังคมที่มีบริ บททางวัฒนธรรม
และคุณค่า ซึ่งเกี่ยวข้องกับเป้ าหมาย ความคาดหวัง มาตรฐาน และความคิดของตนเอง แนวความคิด
เรื่ องคุณภาพชีวิตมีผลมาจากสุ ขภาพทางกาย สุ ขภาพจิ ต ความเชื่ อ ส่ วนบุคคล ความสัมพันธ์ทาง
สังคม และสภาพแวดล้อม
Chang and Lin (2015) ให้คานิ ยามว่า คุณภาพชีวิตคือตัวชี้วดั ถึงสภาวะความเป็ นอยู่ท้งั ทาง
ร่ างกายและทางจิตใจผ่านการประเมินของแต่ละบุคคลที่ฝังอยู่ในบริ บททางวัฒนธรรมและบริ บท
ทางสังคม
Diener and Seligman (2004) ให้คานิ ยามว่า คุณภาพชีวิตเกี่ยวข้องกับหลายปั จจัย ทั้งสภาพ
ร่ างกายและจิตใจที่ปรารถนาให้เป็ น และผลลัพธ์ทางสังคมที่รวมไปถึง ความมีส่วนร่ วมในสังคม
ระดับรายได้ที่สูงขึ้น ความพึงพอในงานที่เพิ่มขึ้น อายุยืนยาวขึ้น และลดโอกาสในการมีปัญหาทาง
จิต
Inoguchi and Fujii (2012) ให้คานิ ยามว่า คุณภาพชีวิตเป็ นสิ่ งที่ระบุถึงสถานะความเป็ นไป
ของบุคคลในด้านกายภาพ ด้านจิตใจ และด้านสังคม คุณภาพชีวิตมีความหมายที่กว้างกว่าความสุ ข
เนื่ องจากคานึ งถึงความสาเร็ จด้วย และความหมายครอบคลุมกว่าความพึงพอใจ เนื่ อ งจากรวมถึง
ความทะเยอทะยานและความทรงจาด้วย
อย่างไรก็ตาม Seedsman (2002) มีการนิ ยามคุณภาพชีวิตของกลุ่มผูส้ ู งอายุ (Aging quality
of life) โดยเฉพาะว่า ประกอบด้วยปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กนั 3 ปัจจัย ได้แก่ ความมัน่ คงทางรายได้
(Income Security) ระดับ สุ ข ภาพกายและสุ ข ภาพจิ ต (Level of Physical and Mental Health) และ
ระบบเครื อญาติและเครื อข่ายทางสังคม (Kindship and Social Networks-living arrangements) (ภาพ
ที่ 1)
15

ภาพที่ 1: คุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้สูงอายุ (Aging Quality of life) (Seedsman, 2002)

จากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต มีองค์ประกอบดังนี้ (ตารางที่ 1)

ตารางที่ 1: องค์ประกอบคุณภาพชีวิต
องค์ประกอบคุณภาพ WHO Seedsman Diener and Inoguchi Chang
ชีวิต (1997) (2002) Seligman and Fujii and Lin
(2004) (2012) (2015)
สุ ขภาพกาย / / / / /
สุ ขภาพจิต / / / / /
ความสัมพันธ์ ทางสังคม / / / /
สิ่งแวดล้อม เช่ น รายได้ / / / /
วัฒนธรรม /
จากการทบทวนวรรณกรรมข้างต้น จึ งสรุ ปได้ว่าโดยรวมแล้วคุณภาพชี วิตเป็ นตัวชี้วดั ที่
แสดงถึงการรับรู้ถึงสภาวะของตนเอง 4 ด้านอันได้แก่ สุ ขภาพกาย สุ ขภาพจิ ต ความสัม พันธ์ทาง
สังคม และสิ่ งแวดล้อมที่รวมถึงระดับรายได้
16

2.3.2 การประเมินคุณภาพชีวิตผูส้ ู งอายุ


จากการทบทวนวรรณกรรมงานวิจยั ที่ผ่านมาในช่วงปี พ.ศ. 2550 - 2560 พบว่า การศึกษา
คุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอายุไทย เป็ นการศึกษาวิจยั เชิงปริ มาณ โด ยใช้ เ ค รื่ อ งมื อ คื อ เค รื่ อ งชี้ วั ด
คุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุ ดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL–BREF–THAI) ที่ สุ วฒั น์
มหัตนิรันดร์กุล, วิระวรรณ ตันติพิวฒั นสกุล, วนิดา พุ่มไพศาลชัย, กรองจิตต์ วงศ์สุวรรณ, and ราณี
พรมานะจิ รังกุล (2540) ที่ได้แปลและพัฒ นาจากแบบการประเมิน ขององค์การอนามัยโลก ชื่ อ
WHOQOL-BREF quality of life assessment (World Health Organization, 1996) ที่ มี ก ารประเมิ น
ครบทั้ง 4 องค์ประกอบของคุณภาพชีวิต ได้แก่
1) ด้านสุขภาพกาย เช่น กิจกรรมในชีวิตประจาวัน ความสามารถในการทางาน การ
เคลื่อนไหว การพักผ่อน
2) ด้านสุขภาพจิต เช่น ความรู้สึกภาคภูมิใจในตนเอง การมองในแง่บวก การมองใน
แง่ลบ ความเชื่อส่วนบุคคล การเรี ยนรู้
3) ด้านปฎิสัมพันธ์กบั สังคม เช่น ความสัมพันธ์ส่วนบุคคล การสนับสนุนจากสังคม
4) ด้านสิ่ งแวดล้อม เช่น แหล่งเงินได้ ความมัน่ คงปลอดภัย โอกาสในการเรี ยนรู้
ทักษะใหม่ๆ การเข้าร่ วมกิจกรรมนันทนาการ
ทั้งนี้แบบการประเมินขององค์การอนามัยโลกดั้งเดิมคือ WHOQOL-100 แต่เนื่ องจากแบบ
ประเมิ น มีค วามยาวมากถึ ง 100ข้อ ต่ อ มาองค์กรอนามัยโลกจึ งพัฒ นาให้ ส้ ั น ลง ชื่ อ WHOQOL-
BREF quality of life assessment จานวน 26 ข้อ และทดสอบใน 15 ประเทศทัว่ โลก รวมถึงประเทศ
ไทยด้ว ย (World Health Organization, 1996) ภาพที่ 2 แสดงให้ เห็ น ว่ าทั้ ง WHOQOL-100 และ
WHOQOL-BREF ได้รับการพัฒนาและทดสอบในประเทศไทยทั้งสองแบบประเมิน
17

ภาพที่ 2 ประเทศทีอ่ งค์กรอนามัยโลกใช้ พัฒนา WHOQOL (World Health Organization, 1996)

2.4 การแบ่ งส่ วนตลาดตามวิถีชีวิต (Lifestyle segmentation)


การแบ่งส่ วนตลาดตามวิถีชีวิต เกิ ดจากการผนวกรวมของ 2 แนวคิด นั่นคือแนวคิดเรื่ อ ง
แบบแผนวิถีชีวิต (Lifestyle pattern) และแนวคิดเรื่ องการแบ่งส่ วนตลาด (Market segmentation) มี
การทบทวนวรรณกรรมดังต่อไปนี้

2.4.1 การแบ่งส่ วนตลาด (Market segmentation)


แนวคิดการแบ่งส่ วนตลาด (Segmentation) ของ George (1992) มาจากสมมติฐานที่ว่าแต่
ละบุคคลมีการรับรู้ที่ต่างกัน ทัศนคติที่ต่างกัน และพฤติกรรมที่ต่างกัน ในขณะที่บางคนก็คล้ายคลึง
ดังนั้ น การวิ เคราะห์ ก ารแบ่ งส่ ว นตลาด (Segmentation analysis) จะช่ ว ยในการจัด กลุ่ ม ของผู ้ที่
เหมือนกันออกจากกลุ่มที่ต่างออกไป อย่างไรก็ตามการแบ่งส่ วนตลาดส่ วนใหญ่มกั ใช้ข้อมูลทาง
ประชากรศาสตร์ (Demographics) อันได้แก่ อายุ เพศ การศึกษา เป็ นต้น และข้อมูลทางภูมิศาสตร์
(Geographic) อันได้แก่ ที่อยูอ่ าศัย ที่ทางาน เป็ นต้น
จากการทบทวนวรรณกรรมการแบ่งส่ วนตลาดผูส้ ู งอายุ พบว่า Assael (1998) แบ่งกลุ่ ม
ผูส้ ูงอายุออกเป็ นกลุ่มย่อยตามอายุ ได้แก่ กลุ่มที่มีอายุ 50-64 ปี , 65-74 ปี , และ 75-84 ปี คล้ายคลึงกับ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ (2547) ที่ใช้อายุเป็ นเกณฑ์ แบ่งกลุ่มผูส้ ู งอายุ
ออกได้เป็ น 4 ช่วงอายุ ได้แก่ กลุ่มวัยสู งอายุตอนต้น ช่ วงอายุ 60-69 ปี เป็ นช่ วงที่ตอ้ งพบกับความ
เปลี่ยนแปลงของชีวิต เช่น การเกษียณอายุ แต่ยงั มีสมรรถภาพด้านต่างๆอยู่ กลุ่มวัยสูงวัยตอนกลาง
18

ช่วงอายุ 70-79 ปี เป็ นช่วงที่เริ่ มเจ็บป่ วย การเข้าร่ วมกิ จกรรมและสังคมน้อยลง กลุ่มวัยสู งอายุมาก
ช่วงอายุ 80-89 ปี เป็ นช่วงปรับตัวเข้ากับสิ่ งแวดล้อมยากขึ้น มีความเป็ นส่วนตัวมากขึ้น และต้องการ
ความช่วยเหลือจากผูอ้ ื่น กลุ่มวัยสู งอายุมากๆ ช่วงอายุ 90-99 ปี เป็ นช่วงที่มีปัญหาสุ ขภาพมาก ทา
กิ จ กรรมที่ ต นพอใจและอยากท า เป็ นระยะแห่ งความสงบพอใจในตนเอง ในขณะที่ Tempest,
Barnatt, and Coupland (2011) แบ่งกลุ่มคนทางานวัยสู งอายุออกเป็ น 4 ประเภทตามฐานะทางการ
เงิน และสุ ข ภาพ ตามภาพที่ 3 ได้แ ก่ กลุ่ ม ที่ ร่ ารวยและสุ ข ภาพแข็ งแรง เป็ นกลุ่ ม ผู ้สู งอายุที่ ไ ม่
จาเป็ นต้องท างานแต่ ยงั อยากที่ จะท างานเนื่ อ งจากยังมี สมรรถภาพเพี ยงพออยู่ กลุ่ มที่ ร่ ารวยแต่
สุขภาพไม่ดี ไม่จาเป็ นต้องทางานและไม่มีสมรรถภาพในการทางานด้วย กลุ่มที่ยากจนแต่ยงั สุขภาพ
แข็งแรง จึงต้องการทางานและยังมีกาลังในการทางาน กลุ่มสุดท้ายคือกลุ่มที่ท้ งั ยากจนและสุขภาพ
ไม่ดี เป็ นกลุ่มผูส้ ูงอายุที่ยงั ต้องการทางานแต่สุขภาพไม่อานวย

ภาพที่ 3: การแบ่ งประเภทคนทางานวัยสู งอายุตามฐานะทางการเงินและสุ ขภาพ


(The older worker wealth/health segmentation matrix) (Tempest et al., 2011)

อย่างไรก็ตาม Sudbury and Simcock (2009) กลับพบว่าอายุที่ผูส้ ู งอายุรับรู้และรู้สึก หรื อที่


เรี ยกว่าอายุทางจิตใจ (Cognitive age หรื อ Psychological age) นั้นน้อยกว่าอายุจริ งอย่างน้อ ย 10 ปี
ดัง นั้ นอายุ ต ามปฏิ ทิ น (Chronological age) จึ ง ไม่ ส ามารถสะท้ อ นถึ ง ตั ว ตนของผู ้สู ง อายุ ไ ด้
นอกจากนี้ ผูส้ ู งอายุแต่ละคนยังมีการรับรู้ (Perception) เกี่ ยวกับขีดความสามารถ (Capability) ของ
19

ตนเองที่แตกต่างกัน ไม่จาเป็ นว่าผูส้ ูงอายุที่อายุเท่ากันจะมีพฤติกรรมเหมือนกัน (Oates, Shufeldt, &


Vaught, 1996; Purinton-Johnson, 2013) Myriam Töpfer and Bug (2015) เห็ น ว่ า ข้ อ มู ล ท าง
ประชากรศาสตร์ และข้อมูลทางภูมิศาสตร์ ไ ม่สามารถสะท้อ นถึงผูบ้ ริ โภคแต่ละกลุ่มได้สมบูรณ์
เพียงพอ ข้อมูลทางลักษณะจิตวิทยา (Psychographics) เรื่ องวิถีชีวิต (Lifestyle) ถูกนามาใช้ครั้งแรก
โดย Demby (1974) ซึ่ งสามารถช่ ว ยให้ นั ก การตลาดเข้า ใจถึ ง ผู ้บ ริ โ ภคมากขึ้ น สอดคล้อ งกับ
Plummer (1974) ที่แสดงความคิดเห็นว่า ส่วนแบ่งตลาดตามวิถีชีวิต (Lifestyle segmentation) ดีกว่า
การใช้ข้อ มูล ทางประชากรศาสตร์ เพี ย งอย่างเดี ยว ดังนั้น เพื่ อ ท าความเข้าใจความแตกต่ างของ
ผูส้ ู งอายุแ ต่ ล ะบุ ค คล ผู ้สู งอายุค วรได้รั บ การวิ เคราะห์ ส่ วนแบ่ งตลาดโดยค านึ ง ถึ ง ข้อ มู ล ทาง
ประชากรศาสตร์ (Demographics) ข้อ มู ล ทางภู มิ ศ าสตร์ (Geographic) และข้อ มู ล ทางลัก ษณะ
จิตวิทยา (Psychographics) อันได้แก่ วิถีชีวิต (Lifestyle) ด้วย จะสามารถอธิบายให้เห็นถึงค่านิยมใน
การดาเนิ นชี วิตผ่ านรู ปแบบการดาเนิ นชี วิต ซึ่ งบุคคลที่มีสิ่งที่ชอบเหมือนกัน ใช้เวลาทากิจกรรม
เหมือนกันมักจะรวมตัวกันเป็ นกลุ่ม เป็ นที่มาของส่วนแบ่งตลาดแต่ละส่วน

2.4.2 วิถีชีวิต (Lifestyle)


วิถีชีวิต หรื อที่คนไทยมักเรี ยกทับศัพท์ว่าไลฟ์ สไตล์ (Lifestyle) มีนกั วิชาการให้คานิยามไว้
ดังนี้ Chaney (2002) อธิ บายว่าวิถีชีวิตคือ แบบแผนการกระทาที่แตกต่างของแต่ละคน วิถีชีวิตจึ ง
ช่วยให้เข้าใจถึงสิ่ งที่บุคคลคนนั้นกระทา สาเหตุที่กระทา และการกระทานั้นมีความหมายต่อบุคคล
นั้นหรื อผูอ้ ื่นอย่างไร นอกจากนี้วิถีชีวิตยังมักถูกใช้ในการอธิบายถึงแบบแผนการดาเนินชีวิต การใช้
เวลา และการจับจ่ายใช้สอย (Kaynak & Kara, 2001) Peter and Olson (1996) อธิ บายว่าวิถีชีวิตคือ
รู ปแบบในการดาเนิ นชีวิตของผูค้ นที่ประกอบไปด้วยกิ จกรรม (Activities) ความสนใจ (Interests)
และความคิดเห็น (Opinions) อีกนัยหนึ่ งวิถีชีวิตเป็ นนิ ยามรวมของแบบแผนพฤติกรรมที่มีผลต่อ
พฤติกรรมการบริ โภคและในทางกลับกันวิถีชีวิตก็ได้รับอิทธิ พลจากพฤติกรรมการบริ โภคเช่นกัน
วิถีชีวิตจึงถือได้ว่าเป็ นระบบที่ผสมผสานระหว่างทัศนคติ (Attitudes) คุณค่า (Values) ความคิดเห็น
(Opinions) ความสนใจ (Interests) รวมไปถึงพฤติกรรมที่ชดั เจน (Berkman & Gilson, 1986)
แนวคิดเกี่ ยวกับวิถีชีวิตถูกนามาใช้ครั้งแรกในทางการตลาดโดย Lazer (1963) โดยอยู่บน
พื้นฐานแนวคิดที่ว่า แต่ล ะบุคคลมีลกั ษณะแบบแผนการดาเนิ นชี วิตที่เฉพาะตัว ซึ่ งแบบแผนการ
ด าเนิ น ชี วิ ต นี้ มี ผ ลต่ อ แรงจู งใจในการเลื อ กผลิ ต ภัณ ฑ์ แ ละบริ ก าร Plummer (1974) ระบุ ว่ าการ
ศึกษาวิจยั เกี่ยวกับวิถีชีวิตช่วยให้สามารถเข้าใจกลุ่มเป้าหมาย ช่วยในการวางแผนการตลาดและการ
สื่ อสารกับกลุ่มเป้าหมายได้ดียิ่งขึ้น
20

นอกจากนี้ Moschis and Pettigrew (2011) ยังระบุว่าวิถีในการดารงชี วิต หรื อ ที่เรี ยกว่าวิถี
ชี วิต (Lifestyle) ของแต่ล ะคน เป็ นปั จจัยที่ส่ งผลต่อ คุณ ภาพชี วิตในช่ วงบั้น ปลายชี วิต ผูค้ นมัก มี
ความสุขเมื่อได้ทาในกิจกรรมที่ตนเองรู้สึกว่าทาได้ สามารถจัดการได้ กิจกรรมต่างๆสามารถเยียวยา
ความรู้สึกในด้านลบ เช่น ความซึมเศร้า และความเบื่อหน่าย ดังนั้นวิถีชีวิตที่คึกคัก ชอบทาสิ่ งต่างๆ
หลากหลายอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะกิ จกรรมที่ได้มีส่วนร่ วม ปฏิสัมพันธ์กับสังคม เช่น การเป็ น
อาสาสมัคร การเข้าเรี ยนศึกษาผูใ้ หญ่ เป็ นต้น กิจกรรมเหล่านี้ ลว้ นแล้วแต่ส่งเสริ มความพึงพอใจใน
ชี วิต เนื่ องจากก่อ ให้ เกิ ดความรู้ สึ กบรรลุเป้ าหมาย และสิ่ งต่างๆ เช่ น สภาพแวดล้อ ม อยู่ในการ
ควบคุมของผูส้ ู งอายุ ซึ่ งผูส้ ู งอายุสามารถทาได้ผ่านการสวมบทบาทต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ น อาสาสมัคร
นักเรี ยน หรื อ พนักงาน คนส่ วนใหญในวัยกลางคนหรื อ วัยสู งอายุชอบเรี ยนรู้ สิ่งใหม่ๆ เช่ น การ
ทางานอดิเรกใหม่ การเข้าเรี ยนในศาสตร์ใหม่ๆ
จากการทบทวนวรรณกรรมข้างต้น ผูว้ ิจยั สามารถสรุ ปได้ว่า การทากิจกรรมอะไรก็ตามที่
ตรงกับวิถีชีวิตของบุคคลนั้น จะช่วยเพิ่มความสุข ความพึงพอใจในชีวิต อันนาไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดี
ขึ้น

Lifestyle + Activity = Life satisfaction → Quality of life

2.4.3 วิธีการศึกษารู ปแบบการดาเนินชีวิต


ในวงการการตลาดมีการหันมาให้ความสนใจกับการศึกษาและวิจยั เกี่ยวกับวิถีชีวิตมากขึ้น
เพื่อที่จะสารวจถึงพฤติกรรมของผูบ้ ริ โภคและศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการใช้ชีวิต การทางาน และการ
พัก ผ่ อ นหย่อ นใจของผู ้บ ริ โภค จึ ง มี ก ารศึก ษาและพัฒ นาเครื่ อ งมื อ ในการประเมิ น วิถี ชี วิ ต ซึ่ ง
เครื่ อ งมื อ เหล่ า นี้ จะเน้ น ที่ ก ารประเมิ น ในด้า นคุ ณ ค่ า ของชี วิ ต ทัศ นคติ สถานะความเป็ นอยู่
พฤติ กรรมการบริ โ ภค เป็ นต้น (Fong, Matsumoto, Lun, & Kimura, 2007) ในการศึ กษาเกี่ ยวกับ
ลักษณะรู ปแบบการดาเนิ นชีวิตมีวิธีที่เป็ นที่รู้จกั อย่างแพร่ หลาย คือ แบบAIOs (Activities, Interest
and Opinion) ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
วิธีการศึกษารู ปแบบการดาเนิ นชีวิตที่นิยมใช้อย่างแพร่ หลายมากที่สุด (Myriam Töpfer &
Bug, 2015; Plummer, 1974) คือ วิธีการศึกษารู ปแบบการดาเนิ นชีวิตแบบ AIOs หรื อ กลยุทธ์ AIO
(The AIO approach) ซึ่ งเป็ นวิธีการวัดเชิงปริ มาณในรู ปแบบของกิจกรรม (Activities) ความสนใจ
(Interests) และความคิดเห็น ที่มีต่อตนเองและสิ่ งรอบตัว (Opinions) ซึ่ งเป็ นการวัดลักษณะทางจิต
นิสัย (Psychographics) ที่คิดค้นโดย Wells and Tigert (1971) อยู่บนแนวคิดที่ว่ารู ปแบบการดาเนิ น
21

ชีวิต คือ แนวคิดเกี่ยวกับตัวเองและสิ่ งที่ผ่านมาในชีวิต ลักษณะของความเป็ นอยู่และการกระทาที่


แสดงถึ งการใช้เวลาของแต่ ล ะคนว่าเป็ นอย่างไร (Activities) การให้ ค วามสนใจกับ สิ่ งรอบตัว
(Interest) และความคิดเห็ นที่มีต่อตนเอง (Opinion) ซึ่ งจะเกี่ยวข้องกับการกระทาและพฤติกรรมที่
เปิ ดเผยสังเกตเห็นได้
Wells and Tigert (1971) ศึกษาวิถีชีวิตอยู่ 3 มิติ (ตารางที่ 2) ได้แก่
• กิจกรรม (Activities) ประเมินจากการกระทาต่างๆในโอกาสต่างๆ ได้แก่ งาน งาน
อดิเรก กิจกรรมสังคม การใช้เวลาว่าง การพักผ่อน สมาชิกคลับ การร่ วมกิจกรรม
ชุมชน การเลือกซื้อ กีฬา เป็ นต้น
• ความสนใจ (Interests) ประเมินจากความสนใจในสิ่ งต่างๆ เหตุการณ์ต่างๆ และ
ประเด็น ต่ างๆ ได้แ ก่ ครอบครัว บ้าน งาน การร่ วมกิ จกรรมชุ ม ชน ความนิ ย ม
อาหาร สื่ อ ความสาเร็จ เป็ นต้น
• ความคิ ด เห็ น (Opinions) คื อ ความเชื่ อ เชิ ง พรรณนาต่ อ ตนเอง ปั ญ หาสั ง คม
การเมือง ธุรกิจ เศรษฐกิจ การศึกษา ผลิตภัณฑ์ อนาคต วัฒนธรรม เป็ นต้น

ตารางที่ 2: 3 มิติของวิถีชีวิตในกลยุทธ์ AIO (Lifestyle-Dimensions in The AIO approach) (Wells


& Tigert, 1971)

Plummer (1974) ได้ น ากลยุ ท ธ์ AIO มาผนวกรวมกั บ ข้ อ มู ล ทางประชากรศาสตร์


(Demographics) และมีการศึกษาวิถีชีวิตจาก 4 มิติ (ตารางที่ 3)
22

ตารางที่ 3: 4 มิติของวิถีชีวิตในกลยุทธ์ AIO (Plummer, 1974)


กิจกรรม ความสนใจ ความคิดเห็น ประชากรศาสตร์
(A : Activities) (I : Interests) (O : Opinions) (Demographics)
งาน ครอบครัว ต่อตนเอง อายุ
(Work) (Family) (Themselves) (Age)
งานอดิเรก บ้าน ปัญหาสังคม การศึกษา
(Hobbies) (Home) (Social Issues) (Education)
กิจกรรมทางสังคม งาน การเมือง รายได้
(Social Event) (Job) (Politics) (Income)
การพักผ่อน การร่ วมกิจกรรม ธุรกิจ อาชีพ
(Vacation) ชุมชน (Community) (Business) (Occupation)
สันทนาการ ความนิยม เศรษฐกิจ ขนาดครอบครัว
(Entertainment) (Fashion) (Economy) (Family Size)
สมาชิกกลุ่ม อาหาร การศึกษา ที่อยูอ่ าศัย
(Club Membership) (Food) (Education) (Dwelling)
การร่ วมกิจกรรม สื่ อ ผลิตภัณฑ์ ขนาดเมืองที่อาศัย
ชุมชน (Community) (Media) (Product) (City Size)
การเลือกซื้อ ความสาเร็จ อนาคต ขั้นตอนวงจรชีวิต
(Shopping) (Achievement) (Future) (Life Cycle)

กีฬา วัฒนธรรม
(Sport) (Culture)

Oates et al. (1996) ใช้เครื่ องมือประเมินวิถีชีวิตจากกิจกรรม ความสนใจ ความคิดเห็น


(Activities, Interests, Opinions: AIO) ผูส้ ูงอายุออกมาเป็ น 5 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มสูงวัยรักครอบครัว (Family oriented) คือ กลุ่มที่ชอบใช้เวลากับครอบครัว ชอบอยู่
ร่ วมกับผูอ้ ื่น รู้สึกภูมิใจในสิ่ งที่ทาได้เอง มีการพัฒนาตัวเองอยูเ่ สมอ
23

2. กลุ่มสูงวัยระยะแรกเริ่ มและมัน่ คง (Young and secure) คือ กลุม่ ที่สนุกสนานกับการ


ท่องเที่ยว ชอบออกกาลังกาย เข้าร่ วมงานเกี่ยวกับศิลปะและวัฒนธรรม เชื่อมัน่ ใน
ตัวเอง และยังรู้สึกว่าตนเองอายุนอ้ ยกว่าคนในวัยเดียวกัน ให้ความสาคัญกับธรรมชาติ
3. กลุ่มสูงวัยเกษียณแต่คล่องแคล่ว (Active retirees) คือ กลุม่ ที่ยงั กระฉับกระเฉง มีการ
วางแผนการเกษียณ ชอบการลงทุน และมีส่วนร่ วมทางการเมือง ติดตามข่าวสาร
บ้านเมือง
4. กลุ่มสูงวัยที่เชื่อมัน่ ในตนเอง (Self-reliant) คือ กลุ่มที่ชอบเป็ นอาสาสมัคร เข้าร่ วม
โครงการชุมชน เข้าร่ วมงานสังคม มีเพื่อนฝูงรายล้อม มักวางแผนล่วงหน้าเป็ นเดือน
หรื อเป็ นปี และเป็ นหนอนหนังสื อ
5. กลุ่มสูงวัยที่สันโดษ (Quiet introverts) คือ กลุ่มที่ชอบจับจ่ายใช้สอยตามที่ใหม่ๆ ลอง
ทานอาหารร้านใหม่ๆ แต่งกายเหมือนเพื่อน ชอบดูละครโทรทัศน์ ไม่ใช้ความสามารถ
ทางปัญญาอย่างเต็มที่นกั

2.5 การพัฒนาบริการใหม่ (New service development: NSD)


2.5.1 นิยามบริ การใหม่ (New service)
Wilson, Zeithaml, Bitner, and Gremler (2012) ให้ ค านิ ย าม “ก า รบ ริ ก าร ” ว่ า เป็ น
กระบวนการและการกระทาเพื่อตอบสนองลูกค้า ทั้งการนาเสนอสิ นค้าที่ดีและ/หรื อกระบวนการ
ในการผลิตสิ นค้าที่ดี
Reinmoeller (2011) เปรี ยบการบริ การเสมือนกระบวนการของกิจกรรมที่จบั ต้องไม่ได้ มัก
เกิ ดในการปฎิ สัมพันธ์ระหว่างลูกค้ากับพนักงานผู ้ให้บริ การหรื อ ระบบให้บริ การ เพื่อ เพิ่มคุณค่า
ให้กบั ลูกค้า
สาหรับระดับความใหม่ของบริ การ มีการจัดประเภทไว้หลากหลาย ทั้งที่มีการแบ่งประเภท
หลัก ไว้ 2 ระดับ ดัง เช่ น Fitzsimmons and Fitzsimmons (1999) ระบุ ว่ าการบริ ก ารใหม่ คื อ การ
น าเสนอสิ่ งที่ ลู ก ค้าไม่ เคยได้รั บ มาก่ อ น ซึ่ งอาจเป็ นสิ่ งที่ เพิ่ ม เติ ม จากการน าเสนอเดิ ม หรื อ การ
เปลี่ยนแปลงโดยสิ้นเชิง (Radical changes) ในกระบวนการส่งมอบบริ การ หรื อการปรับปรุ งบริ การ
แบบค่อยเป็ นค่อยไป (Incremental improvements) อาจเป็ นแค่การปรับปรุ งภายนอกที่ลูกค้าเห็ น
หรื อสัมผัสแล้วรู้สึกว่าเป็ นสิ่ งใหม่ ในขณะที่ Johnson et al. (2000) มีการจัดประเภทของบริ การใหม่
โดยแบ่งเป็ น 2 ระดับหลัก คือ นวัตกรรมก้าวกระโดด (Radical innovations) และนวัตกรรมแบบ
ค่อยเป็ นค่อยไป (Incremental innovations) เช่นกัน แต่ในแต่ละระดับการเปลี่ยนแปลงบริ การใหม่
ประกอบด้วยประเภทของบริ การใหม่ในตารางที่ 4 ดังนี้
24

ตารางที่ 4: ประเภทของบริการใหม่ (A Typology of New Services) (Johnson et al., 2000)


ประเภทบริการใหม่ คาจากัดความ
New service category Description
นวัตกรรมก้าวกระโดด Radical innovations
การมีนวัตกรรมเป็ น บริ การใหม่ที่ในตลาดนั้นยังไม่มีความชัดเจน นวัตกรรมประเภทนี้
หลัก ส่วนใหญ่เกิดจากเทคโนโลยีสารสนเทศ
Major innovation New services for markets as yet undefined; innovations usually
driven by information and computer-based technologies
ธุรกิจใหม่ บริ การใหม่ที่เกิดขึ้นในตลาดที่มีการให้บริ การที่คล้ายคลึงอยูก่ อ่ นแล้ว
Start-up business New services in a market that is already served by existing services
บริ การใหม่สาหรับ บริ การใหม่ที่ถูกนาเสนอให้กบั ลูกค้ากลุ่มเดิมขององค์กร (ถึงแม้ว่า
ตลาดที่ได้รับบริ การอยู่ บริ การนั้นอาจมีการนาเสนออยูก่ ่อนแล้วโดยองค์กรอื่น)
New services for the New service offerings to existing customers of an organization
market presently served (although the services may be available from other companies)
นวัตกรรมแบบค่อยเป็ นค่อยไป Incremental innovations
การขยายสายงาน การเพิ่มในสายงานบริ การที่มีอยู่ เช่น เพิ่มรายการให้เลือก เพิ่ม
บริ การ เส้นทาง เพิ่มช่วงเวลา
Service line extensions Augmentations of the existing service line such as adding new
menu items, new routes, and new courses
การปรับปรุ งบริ การ การปรับเปลี่ยนลักษณะของบริ การที่นาเสนออยู่
Service improvements Changes in features of services that currently are being offered
การเปลี่ยนรู ปลักษณ์ รู ป แบบการเปลี่ ย นแปลงที่ ล งทุ น น้ อ ยที่ สุ ด โดยเปลี่ ย นรู ป แบบ
Style changes ภายนอกที่ม องเห็ นได้เท่านั้นซึ่ งสามารถส่ งผลต่อ การรับรู้ อารมณ์
และทัศนคติของลูกค้า แต่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรากฐานของบริ การ
Modest forms of visible changes that have an impact on customer
perceptions, emotions, and attitudes, with style changes that do not
change the service fundamentally, only its appearance
25

การแบ่งประเภทการพัฒนาผลิตภัณฑ์ตามแนวคิดการวางแผนผลิตภัณฑ์นวัตกรรมแห่ ง
คุณค่า หรื อ ‘Value Innovation Product Planning’ (VIPP) (ไปรมา อิศรเสนา ณ อยุธยา, 2553) มี
การแบ่งประเภทโครงการตามเกณฑ์ระดับนวัตกรรมเชิงคุณค่า ทางเทคโนโลยี และตลาด (ภาพที่ 4)
ออกเป็ นนวัตกรรมแห่งคุณค่า 4 ระดับ คือ
1. การพัฒ นารู ปลักษณ์และสัมผัสใหม่ ( New look& feel) เป็ นการปรับปรุ งลักษณะ
ภายนอกของผลิตภัณฑ์เดิมให้มีความทัน สมัย เพื่อเจาะตลาดหรื อรักษาส่วนแบ่งตลาด
เดิ ม ( Market penetration) รวม ถึ ง ก ารวางต าแห น่ งให ม่ ใ น ตล าด ( Market
repositioning) เพื่ อ ให้ ก ลุ่ ม ลู ก ค้าที่ เกี่ ยวข้อ งเห็ น คุ ณ ค่ าและสนใจผลิ ต ภัณ ฑ์ การ
พัฒนาประเภทนี้ถือเป็ นนวัตกรรมแบบต่อเนื่อง (Incremental innovation)
2. การพัฒ นาวิธี การแก้ปั ญ หาใหม่ ( New solution) เป็ นการพัฒ นาวิธี แก้ปั ญ หาหรื อ
สนองความต้อ งการเดิ ม ด้ว ยวิ ธี ก ารใหม่ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น ทั้งวิ ธี ก ารเพิ่ ม
สายการผลิตใหม่ (New product line) และการปรับปรุ งสายการผลิตเดิม (Revision
or improvement of existing product line)
3. การพัฒ นาการใช้งานใหม่ ( New Usage, New Function and New Process) เป็ น
การพัฒนาที่ตอบสนองการใช้งานใหม่ หรื อการพัฒนากระบวนการใช้งานที่แตกต่าง
ออกไปจากเดิม ใช้เทคโนโลยีเดิมที่ได้รับการปรับ ปรุ งใหม่ ตอบสนองความต้องการที่
ยังไม่ได้รับการตอบสนอง (Unmet needs) ของผูใ้ ช้ มักทาให้เกิดผลิตภัณฑ์เสริ มและ
การใช้งานเสริ มในสายผลิตเดิม (extension to existing product line) สามารถขยาย
ตลาดไปยังกลุ่มเป้าหมายใหม่ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มเป้าหมายเดิมได้
4. การพัฒ นาคุ ณ ค่ า ผลิ ต ภัณ ฑ์ ใ หม่ ( New value) เป็ นการพัฒ นาแบบก้า วกระโดด
สามารถสร้ างตลาดใหม่ และมัก เกิ ด ผลิ ต ภัณ ฑ์ ป ระเภทใหม่ ( New product class
หรื อ New product category) ที่เปลี่ยนกรอบแนวคิดจากสิ่ งที่มีอยูเ่ ดิมโดยสิ้นเชิง
26

ภาพที่ 4: แผนภูมิแสดงความสัมพันธ์ ของการแบ่ งประเภทโครงการตามเกณฑ์ ระดับนวัตกรรมเชิ ง


คุณค่ า ทางเทคโนโลยี และตลาด (ไปรมา อิศรเสนา ณ อยุธยา, 2553)

เมื่อเปรี ยบเทียบการจัดประเภทความใหม่ระหว่างแนวคิดของ Johnson et al. (2000) และ


แนวคิดของ ไปรมา อิศรเสนา ณ อยุธยา (2553) พบว่ามีความคล้ายคลึงกันดังตารางที่ 5 ต่อไปนี้
27

ตารางที่ 5: ตารางเปรียบเทียบการจัดประเภทความใหม่ของบริการและผลิตภัณฑ์
ประเภทบริการใหม่ ประเภทโครงการตามเกณฑ์ ระดับนวัตกรรม-
(Johnson et al., 2000) เชิงคุณค่า ทางเทคโนโลยี และตลาด
(ไปรมา อิศรเสนา ณ อยุธยา, 2553)
การเปลี่ยนรู ปลักษณ์ การพัฒนารู ปลักษณ์และสัมผัสใหม่
Style changes (New look& feel)
การปรับปรุ งบริ การ
Service improvements
การพัฒนาวิธีการแก้ปัญหาใหม่
ธุรกิจใหม่
(New solution)
Start-up business
บริ การใหม่สาหรับตลาดที่ได้รับบริ การอยู่
New services for the market presently
การพัฒนาการใช้งานใหม่
served
(New Usage, New Function and New
การขยายสายงานบริ การ
Process)
Service line extensions
การมีนวัตกรรมเป็ นหลัก การพัฒนาคุณค่าผลิตภัณฑ์ใหม่
Major innovation (New value)

การพัฒนาตัวแบบนวัตกรรมบริ การเพื่อ คุณภาพชีวิตผูส้ ู งอายุโดยอาศัยกรณี ศึกษาบริ การ


แนะนางานตามวิถีชีวิตผูส้ ูงอายุ เป็ นการพัฒนาบริ การใหม่ประเภทบริ การใหม่สาหรับตลาดที่ได้รับ
บริ การอยู่ (New services for the market presently served) และ การขยายสายงานบริ การ ( Service
line extensions) ตามแนวคิ ด บริ การใหม่ ข อง Johnson et al. (2000) เนื่ อ งจากในตลาดมี ก าร
ให้บริ การแนะนางานอยูก่ ่อนแล้ว แต่มีการเพิ่มการใช้งานให้สามารถแนะนาให้เหมาะสมกับวิถีชีวิต
ของผูส้ ู งอายุแต่ละบุคคลได้ และเมื่อ พิจารณาบริ การแนะนางานใหม่น้ ี ตามแนวคิดของ ไปรมา
อิศรเสนา ณ อยุธยา (2553) พบว่าเป็ นการพัฒ นาการใช้งานใหม่ (New Usage, New Function and
New Process) เนื่ องจากมีการปรับปรุ งเทคนิ คการแนะนางานแบบเดิม ด้วยวิธีใหม่นั่นคือคานึ งถึง
ปัจจัยด้านวิถีชีวิตและบริ บทของผูส้ ูงอายุ และมีเป้ าหมายเพื่อช่วยแก้ปัญหาคุณภาพชีวิตของผูส้ ูงอายุ
ครบทุกด้าน อีกทั้งนอกจากนวัตกรรมบริ การแนะนางานนี้ จะตอบสนองผู ใ้ ช้กลุ่มเดิ มที่ต้องการ
28

ทางาน ยังขยายตลาดช่ วยตอบสนองผู ้สูง อายุที่ ไ ม่ ไ ด้มุ่ งเน้น รายได้จ ากการท างาน แต่ ต้อ งการ
ตอบสนองคุณ ค่าด้านจิ ตใจให้กับตนเองโดยการมีส่ วนร่ วมกับสั งคม เช่ น การร่ วมกิ จกรรมกับ
ชุมชน การเป็ นอาสาสมัคร เป็ นต้น

2.5.2 นวัตกรรมบริ การ (Service Innovation)


จากหั วข้อ ข้างต้น ได้กล่ าวถึงประเภทความใหม่ข องบริ ก ารว่ามีท้ ังนวัต กรรมแบบก้าว
กระโดด หรื อ Radical innovation และนวัตกรรมแบบค่อยเป็ นค่อยไป หรื อ Incremental innovation
อย่างไรก็ตามบริ การใหม่จะถือเป็ นนวัตกรรมหรื อไม่ ต้องเกิดขึ้นจากความใหม่ดา้ นใดด้านหนึ่งจาก
4 มิ ติ ต ามแนวคิ ด Den Hertog and Bilderbeek (1999) ที่ ร ะบุ ถึ งตัวแบบของนวัต กรรมบริ ก ารที่
ประกอบด้วย 4 มิติ ได้แก่ แนวคิดบริ การใหม่ (New service concept) ส่ วนที่ประสานกับผูใ้ ช้งาน
(New client interface) เทคโนโลยีใหม่ (Technological options) และระบบส่ งมอบการใหม่ (New
service delivery system) (ภาพที่ 5)

ภาพที่ 5: ตัวแบบของนวัตกรรมบริการ 4 มิติ (A four-dimensional model of (service) innovation)


(Den Hertog & Bilderbeek, 1999)
29

การพัฒนาตัวแบบนวัตกรรมบริ การเพื่อ คุณภาพชีวิตผูส้ ู งอายุโดยอาศัยกรณี ศึกษาบริ การ


แนะนางานตามวิถีชีวิตผูส้ ู งอายุ เป็ นการพัฒนาบริ การที่ใหม่ในมิติของรู ปแบบของแนวคิดที่มีการ
พัฒนาตัวแบบบริ การเพื่อตอบสนองกลุ่มผูส้ ู งอายุโดยเฉพาะ และช่ วยแก้ปัญหาคุณภาพชีวิตของ
ผูส้ ู งอายุ ทั้งนี้ แนวคิดบริ การใหม่น้ ี จะคานึ งถึงปั จจัยหลายๆด้าน โดยเฉพาะวิถีชีวิตของผูส้ ู งอายุยุค
ใหม่ มาเป็ นข้อมูลในการพัฒนาให้บริ การแนะนางานเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผูส้ ู งอายุ
ได้ดีข้ นึ ตรงตามความต้องการและวิถีชีวิตของแต่ละคนมากขึ้น

2.5.3 กระบวนการพัฒนาบริ การใหม่ (New service development process)


กระบวนการพัฒนาบริ การใหม่ที่ เป็ นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง คือ แนวคิดของ Bowers
(1989) ที่มี 8 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนพัฒ นากลยุทธ์ธุรกิ จ (Develop a business strategy) ขั้น ตอน
พัฒ นากลยุท ธ์ บ ริ ก าร (Develop a service strategy) ขั้น ตอนสร้ างแนวคิ ด ใหม่ (Idea generation)
ขั้นตอนพัฒนาและประเมินแนวคิด (Concept development and evaluation) ขั้นตอนวิเคราะห์ทาง
ธุ ร กิ จ (Business analysis) ขั้ น ตอ น พั ฒ น าบ ริ ก ารแล ะ ท ด ส อ บ (Service development and
evaluation) ขั้น ตอนทดสอบตลาด (Market testing) ขั้น ตอนการสร้ า งประโยชน์ เชิ ง พาณิ ช ย์
(Commercialization) เพื่ อ การพัฒ นาการบริ ก ารใหม่ ส าหรั บ ธุ ร กิ จ การเงิ น บริ ก ารสุ ข ภาพ และ
โรงพยาบาล จากนั้น Scheuing and Johnson (1989) ได้พฒั นาตัวแบบการพัฒนานวัตกรรมบริ การ
ใหม่ (New Service Development Model) ขึ้นในปี 1989 โดยมีพ้นื ฐานมาจากตัวแบบการพัฒนาผลิต
ผลิ ตภัณ ฑ์ใหม่ (New Product Development Model) ของ Booz, Allen, and Hamilton (1982) และ
การสั มภาษณ์ เชิ งลึก กับ ผู ้บริ การระดับ สู งของกิ จ การให้ บ ริ การ เพื่ อ เป็ นแนวทางในการพัฒ นา
นวัตกรรมบริ การ เพื่อตอบสนองความต้องการของผูใ้ ช้บริ การ โดย Scheuing and Johnson ได้มีการ
ตรวจสอบแนวคิดและนาเสนอต่อสมาชิกของ FIMA (Financial Institution Marketing Association)
แนวคิดการพัฒ นาบริ การใหม่ น้ ี มีแบ่งขั้นตอนหลักได้เป็ น 4 ระยะและขั้นตอนย่อ ย 15 ขั้นตอน
(ภาพที่ 6) ได้แก่
30

• ระยะการกาหนดทิศทาง (Direction)
1. ขั้นตอนกาหนดวัตถุประสงค์และกลยุทธ์ของบริ การใหม่
(Formulation of new service objectives and strategy)
2. ขั้นตอนกาหนดแนวคิดใหม่ (Idea generation)
3. ขั้นตอนคัดกรองแนวคิดใหม่ (Idea screening)
• ระยะการออกแบบ (Design)
4. ขั้นตอนพัฒนาแนวคิด (Concept development)
5. ขั้นตอนทดสอบแนวคิด (Concept testing)
6. ขั้นตอนวิเคราะห์ทางธุรกิจ (Business analysis)
7. ขั้นตอนอนุมตั ิโครงการ (Project authorization)
8. ขั้นตอนออกแบบและทดสอบบริ การ (Service design and testing)
9. ขั้นตอนออกแบบและทดสอบกระบวนการและระบบ
(Process and system design and testing)
10. ขั้นตอนออกแบบและทดสอบโปรแกรมทางการตลาด
(Marketing program design and testing)
11. ขั้นตอนฝึ กอบรมผูใ้ ห้บริ การ (Personnel training)
• ระยะการทดสอบ (Testing)
12. ขั้นตอนทดสอบบริ การและทา pilot run (Service testing and pilot run)
13. ขั้นตอนทดสอบตลาด (Test marketing)
• ระยะการนาเข้าสู่ตลาด (Introduction)
14. ขั้นตอนนาออกสู่ตลาด (Full-scale launch)
15. ขั้นตอนวัดผลหลังนาออกสู่ตลาด (Post-launch review)
31

ภาพที่ 6: ตัวแบบเชิ งมาตรฐานของการพัฒนาบริ การใหม่ (Normative Model of New Service


Development) (Scheuing & Johnson, 1989)

Axel and Chris (1998) ระบุว่าผูใ้ ช้บริ การเป็ นบุคคลสาคัญในกระบวนการพัฒนาบริ การ


ใหม่ ยิ่งลูกค้าเข้ามามีส่วนร่ วมมาก การพัฒนาบริ การใหม่จะมีประสิ ทธิ ภาพขึ้นมาก แต่ Martin Jr
and Horne (1995) พบว่า การพัฒ นาบริ การส่ วนใหญ่ น้ ัน ลู กค้ายังไม่ มีส่วนร่ วมเท่ าที่ค วร ต่อ มา
Alam and Perry (2002) ได้พ ัฒ นาแนวคิด การพัฒ นาบริ การทางการเงิน ใหม่ (Financial services)
ทั้งหมด 10 ขั้นตอน จากตัวแบบของ Scheuing and Johnson และ Bowers พัฒนาสาหรับบริ การทาง
การเงิน โดยเฉพาะ และเพิ่ ม แนวคิ ด ที่ มุ่ งเน้น ลู ก ค้า (Customet-oriented) ในการพัฒ นาด้ว ย เพื่ อ
ให้บริ การสามารถตอบสนองความต้องการของผูใ้ ช้บริ การ เนื่องจากการปฏิสัมพันธ์กบั ผูใ้ ช้บริ การ
เป็ นส่ วนสาคัญในกระบวนการนวัตกรรมบริ การ (Service innovation process) และเป็ นปั จจัยแห่ ง
ความส าเร็ จ ของบริ ก ารใหม่ (Ennew, 1996; Martin Jr & Horne, 1995) ซึ่ งกระบวนการพัฒ นา
บริ การใหม่ท้งั 3 แนวคิดสามารถเปรี ยบเทียบกันได้ตามตารางที่ 6
32

ตารางที่ 6: ตารางเปรียบเทียบ 3 กระบวนการของการพัฒนาบริการใหม่


ผู้เขียน Alam and Perry
Scheuing and Johnson (1989) Bowers (1989)
Authors (2002)
ระยะ 15 ขั้นตอน 8 ขั้นตอน 10 ขั้นตอน
Develop a Business Strategic
Formulation of new 1 1
Strategy planning
1 service objectives and
DIRECTION

Develop a New
strategy 2
Service Strategy
2 Idea generation 3 Idea generation 2 Idea generation
3 Idea screening 3 Idea screening
4 Concept development Concept Development
4
5 Concept testing and Evaluation
Business
6 Business analysis 5 Business Analysis 4
Analysis
Formation of
7 Project authorization 5 cross-functional
team
DESIGN

Service design and


8
testing
Service design
Process and system
9 Service Development 6 and process
design and testing 6
and Evaluation testing design
Marketing program
10
design and testing
Personnel
11 Personnel training 7
training
Service testing and pilot Service testing
12 8
TESTING

run and pilot run


13 Test marketing 7 Market Testing 9 Test marketing
14 Full-scale launch Commercializati
DUCTION
INTRO-

8 Commercialization 10
15 Post-launch review on
33

2.5.4 การออกแบบบริ การ (Service design)


Ostrom et al. (2010) นิ ยามการออกแบบบริ การ (Service design) ว่าเป็ นแนวทางในการทา
ความเข้าใจผูบ้ ริ โภคและผูม้ ีส่วนได้เสี ยที่ต่างๆกัน รวมไปถึงสภาพแวดล้อม เพื่อจะตีความและเรี ยบ
เรี ยงออกมาเป็ นการออกแบบบริ การในส่วนต่างๆ Zomerdijk and Voss (2011) ระบุว่า การทาความ
เข้าใจผูใ้ ช้บริ การที่ถูกต้องคือสิ่ งที่ควรทาก่อนออกแบบบริ การใหม่ ซึ่งการศึกษาผูใ้ ช้บริ การสามารถ
ทาได้หลายวิธี เช่น การสารวจ การสัมภาษณ์ หรื อ การทดลอง เป็ นต้น
กระบวนการพัฒ นาบริ การใหม่ (New service development process) นั้น มีความแตกต่าง
จากการออกแบบบริ การ (Service design) อย่างไร Schneider and Bowen (1984) ให้ ความเห็ น ว่า
การออกแบบนั้นเป็ นขั้นตอนแรกของกระบวนการพัฒนาบริ การใหม่ สอดคล้องกับ M.-J. Kim et
al. (2017) ที่ระบุว่าการออกแบบบริ การคือ 3 ขั้นตอนแรกในช่วงการพัฒนาแนวคิดบริ การ (Service
concept development) ของการกระบวนพัฒ นาบริ ก ารใหม่ ซึ่ ง แนวคิ ด ของการบริ ก าร (Service
concept) จะเป็ นสิ่ ง ที่ ก าหนดว่ า บริ ก ารที่ จ ะน าเสนอลู ก ค้า คื อ อะไรและควรน าเสนออย่า งไร
(Edvardsson & Olsson, 1996) ซึ่ งการพัฒ นาบริ การจะประสบความสาเร็ จเพี ยงใด ขึ้นอยู่กับ การ
คิดค้นแนวคิดบริ การ (Service concept) ที่มีน วัตกรรมที่เพียงพอและเหมาะสมเป็ นสาคัญ (K.-J.
Kim et al., 2012)
M.-J. Kim et al. (2017) น าเสนอแนวทางในการออกแบบบริ ก ารด้ว ยการใช้ ข้อ มู ล
พฤติกรรมของลูกค้า ซึ่ งพัฒนาโดยการผนวกรวมกระบวนการออกแบบถึง 9 กระบวนการ สรุ ปได้
5 ขั้นตอน เรี ยกว่า กระบวนการออกแบบบริ การทัว่ ไป (Common service design process) (ภาพที่ 7)
ดังนี้
1. การกาหนดวัตถุประสงค์ของบริ การใหม่ (Formulation of new service objectives)
2. การระบุความต้องการของลูกค้า (Customer requirement identification) - โดยการเก็บ
ข้อมูลพฤติกรรมด้านต่างๆของลูกค้า
3. การวิเคราะห์ความต้อ งการของลูกค้า (Customer requirement analysis) – โดยการทา
ความเข้าใจถึงพฤติกรรม ความต้องการ และบริ บทของลูกค้า
4. การกาหนดแนวคิด บริ การ (Service idea generation) – โดยการพัฒ นาการน าเสนอ
บริ การ การสร้างเนื้อหาของบริ การ การสร้างเนื้ อหาข้อมูล การคิดระบบผลิตภัณฑ์และ
บริ การต่างๆ (Product-service systems – PSS)
5. การระบุแนวคิดบริ การ (Service concept definition)
34

ภาพที่ 7: กระบวนการออกแบบบริ การทั่วไป (Common service design process)


ที่มา: M.-J. Kim et al. (2017)

ในการออกแบบ McDonagh and Formosa (2011) ระบุ ว่ า การออกแบบมี ส่ ว นในการ


ส่งเสริ มคุณภาพชีวิต การเป็ นตัวของตัวเอง อิสระ และสุขภาพของบุคคลนั้นๆได้ โดยการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์และบริ การที่อาศัยแนวทางที่ยึดความเป็ นจริ งจากผูใ้ ช้บริ การ ดังนั้นผูอ้ อกแบบจึงควร
ออกแบบส าหรั บ ผู ้ใ ช้ จ ริ ง ในสถานการณ์ จ ริ ง และตรงต่ อ ความต้อ งการจริ ง (McDonagh &
Formosa, 2011)
การมีส่วนร่ วมของผูใ้ ช้บริ การในกระบวนการออกแบบได้รับความสนใจและยอมรับมาก
ขึ้นว่าเป็ นวิธีที่สามารถรวบรวมความต้องการของผูใ้ ช้งานและลูกค้าได้น่าเชื่อถือ (Chen & Chan,
2011; Dickinson & Dewsbury, 2006; Habell, 2001; Kohlbacher & Herstatt, 2010; Östlund, 2011)
ในการศึกษาวิจยั ด้านการตลาด ผูบ้ ริ โภคกลุ่มสูงอายุมกั ถูกละเลย เพราะถูกมองว่าเป็ นกลุ่มสุ ดท้ายที่
จะเปิ ดรับนวัตกรรมใหม่หรื อเป็ นกลุ่มที่ลา้ หลัง (Laggard) ทั้งที่จริ งแล้วผูส้ ูงอายุสามารถมีส่วนช่วย
ในการพัฒ นาบริ การใหม่ ๆตั้งแต่ ช่วงขั้น ตอนต้น ๆ แต่ ส่วนใหญ่ มัก ให้ก ลุ่ม ผู ้สูงอายุเป็ นเพีย งผู ้
ทดสอบการใช้ ในช่ ว งหลัง ของการออกแบบแล้ว ทั้ง ที่ ป ระชากรสู งอายุก าลังเติ บ โตขึ้ นและ
35

ก่อให้เกิดตลาดบริ การขนาดใหญ่ ผลการศึกษาของ Essén and Östlund (2011) แนะนาว่าผูส้ ู งอายุ


เป็ นศักยภาพที่ดีในการเป็ นแหล่งของนวัตกรรมในช่วงขั้นตอนแรกๆของกระบวนการออกแบบ
บริ การ โครงการต่างๆจะสามารถสร้ างสรรค์แนวคิดใหม่ๆได้จากการระบุถึงความต้อ งการของ
ผูใ้ ช้บริ การที่ยงั ไม่ได้รับการตอบสนอง และนามาซี่ งวิธีแก้ปัญหาที่มีศกั ยภาพ งานวิจยั นี้ จึงมุ่งเน้น
ศึกษาตัวแบบนวัตกรรมบริ การใหม่โดยใช้ข้อมูลจากผูส้ ู งอายุและผูท้ ี่เกี่ยวข้องเข้ามามีส่วนร่ วม
ตั้งแต่ช่วงแรกของกระบวนการโดยเฉพาะการกาหนดแนวคิดใหม่ (Idea generation)
จากการทบทวนวรรณกรรม เนื่ องจากตัวแบบของ Scheuing and Johnson (1989) เป็ นตัว
แบบการพัฒนาบริ การใหม่ที่ได้รับการยอมรับ เป็ นตัวแบบมาตรฐานที่สามารถประยุกต์ใช้ได้กับ
การพัฒ นาบริ การทุ ก อุ ตสาหกรรม และได้รับ การอ้างถึ งมากที่ สุ ด มากกว่า 300 ครั้ ง (Citation)
งานวิจยั นี้ จึงเลือกนากระบวนการพัฒนาบริ การใหม่ของ Scheuing and Johnson (1989) (ภาพที่ 1)
มาใช้เป็ นกรอบการวิเคราะห์การศึกษา ผนวกกับ กระบวนการออกแบบบริ การทั่วไป (Common
service design process) (M.-J. Kim et al., 2017) และแนวคิดมุ่งเน้นลูกค้า (Customer-oriented) ซึ่ ง
ในบริ บทนี้คือ ผูส้ ู งอายุ เข้าไปในขั้นตอนของการศึกษาการออกแบบบริ การด้วย เพื่อให้บริ การที่ได้
สามารถตอบสนองตรงตามความต้องการของผูส้ ู งอายุ ขั้นตอนวิจยั ตัวแบบนวัตกรรมบริ การเพื่อ
คุณภาพชีวิตผูส้ ูงอายุน้ ีจึงมี 4 ขั้นตอนดังตารางที่ 7 ต่อไปนี้
36

ตารางที่ 7: กระบวนการและวิธีการออกแบบนวัตกรรมบริการเพือ่ คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ


Common Service การวิจัยเรื่องตัวแบบนวัตกรรม
New service development
Stages design process บริการเพื่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
Stage

(Scheuing & Johnson, 1989)


(M.-J. Kim et al., 2017)
Formulation of new service Formulation of new service ขั้นตอนที่ 1
objectives and strategy objectives ศึกษาการออกแบบบริ การ
Customer requirement แนะนางานตามวิถีชีวิตผูส้ ูงอายุ
identification (Requirement Analysis)
DIRECTION

Customer requirement - ทบทวนวรรณกรรมและงานวิจยั ที่


analysis เกี่ยวข้อง
Idea generation Service Idea Generation - การศึกษาองค์ประกอบด้วย
แบบสอบถาม
Idea screening - การศึกษาการออกแบบบริ การ
แนะนางานด้วยการสัมภาษณ์
Concept development Service concept definition ขั้นตอนที่ 2
Concept testing พัฒนาตัวแบบนวัตกรรมบริ การ
Business analysis แนะนางานตามวิถีชีวิตเพื่อคุณภาพ
DESIGN&DEVELOPMENT

Project authorization ชีวิตผูส้ ูงอายุ


Service design and testing - สร้างกรอบแนวคิดของตัวแบบ
Process and system design และออกแบบตัวแบบนวัตกรรม
and testing บริ การ (Design)
Marketing program design - การทดสอบเพื่อยืนยันตัวแบบ
and testing (Testing)
Personnel training
Service testing and pilot run ขั้นตอนที่ 3
ทดสอบนวัตกรรมบริ การแนะนา
งานตามวิถีชีวิตเพื่อคุณภาพชีวิต
ผูส้ ูงอายุ
TESTING

- สร้างแบบจาลองบริ การแนะนา
Test marketing
งานตามวิถีชีวิตผูส้ ูงอายุ
- ทดสอบบริ การด้วยวิธีการทดสอบ
การใช้งาน (Usability Test:Test
UX)
37

Common Service การวิจัยเรื่องตัวแบบนวัตกรรม


New service development
design process บริการเพื่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
Stages
Stage (Scheuing & Johnson, 1989)
(M.-J. Kim et al., 2017)
ขั้นตอนที่ 4
Full-scale launch
ศึกษาการยอมรับและแนวโน้ม
ความเป็ นไปได้ในเชิงพาณิชย์
ของนวัตกรรมบริ การแนะนางาน
ตามวิถีชีวิตเพื่อคุณภาพชีวิต
INTRODUCTION

ผูส้ ูงอายุ
- ทดสอบการยอมรับเทคโนโลยี
Post-launch review และการรับรูถ้ ึงแนวโน้มคุณภาพ
ชีวิตที่ดีข้ นึ
- ทดสอบการยอมรับนวัตกรรม
- วางแผนการใช้ประโยชน์
นวัตกรรมบริ การแนะนางานตาม
วิถีชีวิตในเชิงพาณิชย์

2.5.5 การทดสอบบริ การ (Service Testing)


การทดสอบการใช้งาน (Usability Test:Test UX) ทาได้หลายวิธี เช่น
1) โดยการสังเกตการณ์และจดบันทึกเวลาที่ผูใ้ ช้งานทางานในแต่ละขั้นตอนจนสาเร็จ เพื่อ
สังเกตและค้นหาอุปสรรคในการใช้งานของผูใ้ ช้งาน
2) แบบประเมิน ความพึงพอใจหลังการทดสอบ (The After-Scenario questionnaire หรื อ
ASQ) (Lewis, 1991) ใช้ประเมินทันทีหลังทดสอบแต่ละขั้นตอนสาเร็ จ (Post-Task) ประเมินจาก
ระดับความพึงพอใจของผูเ้ ข้าร่ วมทดสอบ ทั้งหมด 7 ระดับ ตั้งแต่ “1” คือ ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ไป
จนถึงระดับ “7” คือ เห็ นด้วยอย่างยิ่ง ซึ่ งระดับ ความพึ งพอใจหลังการทดสอบในแต่ล ะขั้นตอน
พิจารณาจากค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจเป็ นรายข้อ คาถามมีท้งั หมด 3 ข้อ คือ
2.1) ด้านความง่ายในการใช้งาน
2.2) ด้านระยะเวลาในการใช้งาน
2.3) ด้านเอกสาร ความช่วยเหลือ และข้อเสนอแนะในการใช้งาน
38

3) แบบประเมิ น ความพึ ง พอใจหลั ง การใช้ ง าน (The Post-Study System Usability


Questionnaire หรื อ PSSUQ) (Lewis, 1992) ใช้ ป ระเมิ น ความพึ ง พอใจโดยรวม ช่ ว งหลัง จาก
ทดสอบทุ กขั้น ตอนส าเร็ จแล้ว (Post-Test) ประเมิ น จากระดับ ความพึ งพอใจรวมของผูเ้ ข้าร่ ว ม
ทดสอบ ทั้งหมด 7 ระดับ ตั้งแต่ “1” คือ ไม่เห็นด้วยอย่างยิง่ ไปจนถึงระดับ “7” คือ เห็นด้วยอย่างยิ่ง
ซึ่งระดับความพึงพอใจโดยรวมหลังการทดสอบ พิจารณาจากค่าเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจเป็ น
รายประเด็น คาถามมีท้งั หมด 19 ข้อ แบ่งออกเป็ น 4 ประเด็นหลัก คือ
3.1) ความพึงพอใจในภาพรวม (ข้อ 19)
3.2) ประโยชน์ของระบบ (ข้อ 1-8)
3.3) คุณภาพของสารสนเทศ (ข้อ 9-15)
3.4) คุณภาพส่วนติดต่อผูใ้ ช้งาน (ข้อ 16-18)
เนื่ องจากแบบประเมินความพึงพอใจหลังการทดสอบ (The After-Scenario questionnaire
หรื อ ASQ) และแบบประเมิ น ความพึ ง พอใจหลังการใช้งาน (The Post-Study System Usability
Questionnaire หรื อ PSSUQ) ต้นฉบับเป็ นภาษาอังกฤษ สันติ ฤทธิ รอน (2560) ได้มีการแปลแบบ
ประเมินความพึ งพอใจหลังการทดสอบ (The After-Scenario questionnaire หรื อ ASQ) และแบบ
ประเมิ น ความพึ ง พอใจหลัง การใช้ ง าน (The Post-Study System Usability Questionnaire หรื อ
PSSUQ) เป็ นภาษาไทยและใช้ในการทาวิจัย ในวิทยานิ พนธ์เรื่ อง “การปรับปรุ งความสามารถใน
การใช้งานเว็บไซต์เครื อข่ายสารสนเทศห้องสมุดมหาวิทยาลัย โดยใช้เครื่ องติดตามการมองเห็น”
นอกจากนี้ ตามทฤษฎี ก ารยอมรั บ และการใช้ เทคโนโลยี ( Technology Acceptance
Model: TAM) ที่ใช้ในการคาดการณ์และอธิบายพฤติกรรมการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศของ
ผูใ้ ช้งาน ของ Davis (1989) อธิบายการยอมรับในการใช้เทคโนโลยีของผูใ้ ช้งานไว้ 2 ประการ ดังนี้
(1) การรับรู้ความง่ายในการใช้งาน (Perceived ease of use) หมายถึง ระดับการรับรู้หรื อ
ความเชื่อในแต่ละบุคคลในด้านความสะดวกหรื อง่ายที่ได้รับจากใช้งาน
(2) การรับรู้ถึงประโยชน์ที่ไ ด้รับ ( Perceived usefulness) หมายถึง ระดับการรับรู้ หรื อ
ความเชื่อในแต่ละบุคคลในการใช้ระบบใดระบบหนึ่งซึ่งจะช่วยเพิ่มศักยภาพในการทางานและเมื่อ
ผูใ้ ช้งานรับรู้ในด้านประโยชน์ที่ได้รับและความง่ายในการใช้งาน จะส่ งผลต่อแนวโน้มพฤติกรรม
ในการใช้งาน และจะส่งผลต่อการใช้งานจริ ง
39

2.6 การแนะนางานให้ ผ้สู ู งอายุ (Elderly Job Recommendation)


จากการสารวจการบริ การแนะนางานในปั จจุบนั ในประเทศไทย ทั้งเพื่อกลุ่มคนวัยทางาน
รวมไปถึงการจัดหางานให้กบั กลุ่มผูส้ ู งอายุ พบว่าระบบจัดหางานชั้นนาต่างๆจะสอบถามข้อมูล
เกี่ ยวกับข้อมูลทางประชากรศาสตร์ (Demographics) เช่ น อายุ วุฒิ การศึกษา เงินเดื อน รวมไปถึง
ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ (Geographic) เช่น ที่อยูป่ ั จจุบนั สถานที่ปฏิบตั ิงาน เท่านั้นในการวิเคราะห์เพื่อ
เสนอแนะงานที่มีเงื่อนไขตรงกับข้อมูลทางประชากรศาสตร์และภูมิศาสตร์ของผูใ้ ช้บริ การมากที่สุ ด
เท่านั้นในการเสนอแนะงาน เช่น เว็ปไซต์ JOBDB.COM (ภาพที่ 8), เว็ปไซต์ JOBTOPGUN (ภาพ
ที่ 9), เว็ปไซต์ JOBBKK (ภาพที่ 10), ระบบขึ้นทะเบียนผูส้ ู งอายุ ของกรมการจัดหางาน กระทรวง
แรงงาน (ภาพที่ 11), และ เว็ปไซต์ Smart Job Center กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน (ภาพที่
12) ทั้งนี้ มี เพี ย งเว็ป ไซต์ข องกรมจัดหางานเท่ านั้น ที่ มี การจัด หางานให้ ผูส้ ู งอายุโ ดยเฉพาะ แต่
ปัจจุบนั ระบบขึ้นทะเบียนผูส้ ูงอายุของกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงานไม่สามารถเข้าใช้งานได้
แล้ว (ตรวจสอบ ณ วันที่ 7 มีนาคม 2563) ใช้งานได้เพียงเว็ปไซต์สมาร์ ทจ๊อบ (Smart Job Center)
กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน
ระบบขึ้นทะเบียนผูส้ ู งอายุของกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน มีการนาเสนองาน 12
ประเภทให้ผูส้ ู งอายุเลือก โดยแบ่งประเภทงานเป็ น 2 ประเภท คือ 1) งานแบบมีรายได้ ได้แก่ งาน
สอน เช่ น วิท ยากร ให้ ค วามรู้ งานขายสิ น ค้า เช่ น พนักงานแนะน าสิ น ค้า งานที่ ป รึ ก ษา เช่ น ที่
ปรึ กษาธุ รกิ จ ที่ป รึ กษาทางการเงิน งานคหกรรม หรื อ หั ตถกรรม เช่ น งานฝี มือ งานศิลปะ การ
ประกอบอาหาร งานบริ การ เช่น พนักงานบริ การในร้าน พนักงานให้ขอ้ มูล งานเกษตรกรรม เช่น
ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ งานรับจ้างทัว่ ไป เช่น รับจ้างทาความสะอาด ธุรกิจส่วนตัว และ 2) งานแบบไม่มี
รายได้ ได้แก่ งานอาสาสมัคร งานบาเพ็ญประโยชน์ งานมูลนิ ธิ/ที่ปรึ กษาหน่วยงาน/การกุศล งานที่
ได้ใช้ความรู้ประสบการณ์การทางาน เช่น วิทยากรพิเศษ/อาจารย์พิเศษ
Sumalrot and Nochi (2015) แนะน าว่ า ลัก ษณะงานที่ เหมาะสมกับ ผูส้ ู งอายุ คือ งานที่ มี
ความเครี ยดต่า งานลักษณะจิตอาสา งานที่ได้รับการยอมรับจากสังคมและมีผลตอบแทนที่มุ่งเน้น
ไปในด้านสวัสดิการมากกว่าการตอบแทนเป็ นตัวเงิ น และงานตามความสนใจ ควรเปิ ดโอกาสให้
ผูส้ ู งอายุได้เลือกทางานตามความสนใจของตน เพื่อส่ งเสริ มให้ ผูส้ ู งอายุเกิดความพึงพอใจในชีวิต
เพื่อ คุณภาพชี วิตที่ดีท้ งั ในเรื่ อ งงานและชีวิตส่ วนตัว ดังนั้นการแนะน างานให้กับผูส้ ู งอายุจึงควร
คานึงสิ่ งที่ผสู ้ ู งอายุอยากทาหรื อชอบทา ไม่จากัดอยู่แต่เพียงงานคนทัว่ ไปคิดว่าผูส้ ูงอายุควรทาหรื อ
ทาได้เท่านั้น
40

ในขณะที่บุคคลแต่ละคนอาจมีลกั ษณะจาเพาะหรื อความต้องการที่แตกต่างออกไป อย่างไร


ก็ตามจากตัวอย่างเว็บ ไซต์การจัดหางานข้างต้นในปั จจุบัน ยังมีข้อ จากัด เนื่ อ งจากพิ จารณาเพี ยง
ข้ อ มู ล ประชากรศาสตร์ แ ละภู มิ ศ าสตร์ เ ท่ า นั้ น ไม่ ไ ด้ ค านึ งถึ ง ด้ า นลั ก ษณะทางจิ ต วิ ท ยา
(Psychographics) ซึ่งมีผลต่อความพึงพอใจในการทางาน ดังนั้นงานวิจยั นี้จึงนาเสนอบริ การแนะนา
งานที่คานึงข้อมูลทั้งด้านประชากรศาสตร์ และลักษณะทางจิตวิทยา อันได้แก่ วิถีชีวิต และคุณภาพ
ชีวิตของผูส้ ูงอายุ ในการแนะนางานให้กบั ผูส้ ูงอายุหรื อคนเกษียณ

• เว็ป ไซต์ JOBSDB.COM โดยบริ ษทั จัดหางาน จ๊อ บส์ ดี บี (ประเทศไทย) จากัด
(https://th.jobsdb.com/th/th) (ภาพที่ 8)

ภาพที่ 8: เว็ปไซต์ JOBSDB.COM

• เว็ปไซต์ JOBTOPGUN โดยบริ ษทั ซูเปอร์ เรซูเม่ จากัด


(https://www.jobbkk.com/) (ภาพที่ 9)
41

ภาพที่ 9 เว็ปไซต์ JOBTOPGUN

• เว็ ป ไซ ต์ JOBBKK โดยบ ริ ษั ท จั ด ห างาน จ๊ อ บ บี เค เค ดอ ท ค อ ม จ ากั ด


(https://www.jobbkk.com/) (ภาพที่ 10)

ภาพที่ 10 เว็ปไซต์ JOBBKK

• ระ บ บ ขึ้ น ท ะ เบี ยน ผู ้ สู งอ ายุ ก ร ม ก ารจั ด ห างาน ก ระ ท รว งแ รงงา น


(http://elderly.doe.go.th/main/) (ภาพที่ 11)
42

ภาพที่ 11 ระบบขึน้ ทะเบียนผู้สูงอายุ


43

• เว็ป ไซต์ส มาร์ ท จ๊ อ บ (Smart Job Center) กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน


(http://smartjob.doe.go.th/) (ภาพที่ 12)

ภาพที่ 12 เว็ปไซต์ สมาร์ ทจ๊ อบ (Smart Job Center)

2.7 ศาสตร์ ด้านการเรียนรู้ของเครื่ องจักร (Machine Learning)


ระบบแนะนางานมีการใช้หลากหลายวิธี เช่น กระบวนการจับคู่เชิงความหมาย (Semantic
matching process) (Nilaphruek & Khanankhoaw, 2015) และการเรี ยนรู้ ข องเครื่ อ งจัก ร (Machine
Learning) โดยใช้เทคนิ ค การเรี ย นรู้ เบย์อ ย่า งง่า ย (Naïve Bayes) พัฒ นาโดย Malinowski, Keim,
Wendt, and Weitzel (2006) ซึ่งแบบจาลอง (Model) ที่ใช้วิธีการเรี ยนรู้ของเครื่ องจักรค่อนข้างให้ผล
การท านายที่ ถู กต้อ ง (Accuracy) สู งกว่ ากระบวนการจับ คู่ เชิ งความหมาย ต่ อ มา Lau (2011) ได้
พัฒนาระบบแนะนา (Recommendation system) โดยใช้วิธีการเรี ยนรู้ ของเครื่ องจักรด้วยเทคนิ คที่
แตกต่างกัน และพบว่าเทคนิ คการถดถอยโลจิ สติก (Logistic Regression) นั้นมีประสิ ทธิ ภาพการ
ทานายที่ดีกว่า เทคนิ คการเรี ยนรู้เบย์อย่างง่าย (Naïve Bayes) อย่างมีนัยสาคัญ เช่นเดียวกับ Wang et
al. (2016) ที่ระบุเช่ นเดี ยวกันว่าเทคนิ คการถดถอยโลจิ สติก (Logistic Regression) เป็ นเทคนิ ค ตัว
44

แบบเชิงเส้น (Linear Model) ที่ถูกนิ ยมใช้มากที่สุดในการทานายความน่าจะเป็ น และถูกใช้กนั อย่าง


กว้างขวางในการสร้างระบบแนะนา (Recommendation system) ในแวดวงต่างๆ ดังนั้นผูว้ ิจยั จึงใช้
การเรี ย นรู้ ข องเครื่ อ งจัก ร (Machine Learning) โดยใช้ เทคนิ ค การถดถอยโลจิ ส ติ ก (Logistic
Regression) ในการพัฒนาระบบแนะนางานในงานวิจยั นี้
กระบวนการเรี ยนรู้ของเครื่ องจักร (Machine Learning Process) มี 4 ขั้นตอนหลัก ดังภาพที่
13 ได้แก่ การสารวจและวิเคราะห์ ข้อ มูล (Explore Data Analysis: EDA) การเตรี ยมข้อ มูล (Data
Processing) การสร้ างแบบจาลอง (Modelling) และการประเมิ นแบบจาลอง (Model Evaluation)
(Hasan, Islam, Islam, & Hashem, 2019; Oswal, 2019)

ภาพที่ 13 กระบวนการเรี ยนรู้ ของเครื่ องจักร (Machine Learning Process)

1. การส ารวจและวิ เคราะห์ ข้อ มู ล (Explore Data Analysis: EDA) Hasan et al. (2019)
ระบุว่า ก่อนทาการเรี ยนรู้ของเครื่ องจักร ข้อ มูลจาเป็ นจะต้องถูกสารวจและวิเคราะห์
ก่อ นเสมอ ขั้นตอนนี้ ได้แก่ การเก็บข้อ มูล มาทาการสารวจและวิเคราะห์ข้อมูลด้วย
ค่าสถิติพรรณา
2. การเตรี ยมข้อ มู ล (Data Processing) ข้อ มู ล จะถู ก แปลงเป็ นตัว เลข (Coding) ข้อ มู ล
ทั้งหมด (Data Set) ต้อ งแบ่งเป็ น 2 ส่ วน ตามสัดส่ วนที่กาหนด ส่ วนใหญ่ กาหนดที่
80:20 ได้แก่ ข้อ มูล เรี ยนรู้ (Training Set) แบ่งสัดส่ วนร้ อ ยละ 80 ของข้อ มูลทั้งหมด
และข้อมูลทดสอบ (Testing Set) แบ่งสัดส่ วนร้อยละ 20 ของข้อมูลทั้งหมด ข้อมูลทั้ง
สองส่ วนถูกไปใช้ในการสร้างแบบจาลอง ข้อมูลเรี ยนรู้ (Training Set) ถูกใช้เพื่อสร้าง
ฝึ ก (Train) อัลกอริ ทึม ของตัวแบบ (Model Algorithm) ส่ วนข้อ มูลทดสอบ (Testing
Set) ถูกใช้เพื่อทดสอบ (Test) ตัวแบบ (Model) ในขั้นตอนประเมินแบบจาลองต่อไป
(Hasan et al., 2019)
45

3. การสร้างแบบจาลอง (Modelling)
การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติคเป็ นเทคนิคการจาแนกประเภทข้อมูล (Classification) ใน
การวิเคราะห์ขอ้ มูลตัวแปรตามที่มีการวัดเป็ น Nominal Scale
การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
- ตัวแปรตามที่มีการวัดเป็ น Nominal Scale และแบ่งออกได้ 2 กลุ่ม เรี ยกว่า การวิเคราะห์
การถดถอยโลจิสติกแบบไบนารี (Binary logistic regression analysis)
- ตัวแปรตามที่มีการวัดเป็ น Nominal Scale และแบ่งออกได้มากกว่า 2 กลุ่ม เรี ยกว่า การ
วิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกพหุกลุ่ม (Multinomial logistic regression analysis)
ส ม ก า ร Logistic Regression (Peduzzi, Concato, Kemper, Holford, & Feinstein, 1996)
คานวณจากอัตราส่วนความน่าจะเป็ น ดังนี้
P (y = 1) = eb0 + b1x1 +...+ bpXp
1 + eb0 + b1x1 +...+ bpXp
โดย P (y = 1) = ความน่าจะเป็ นของการเกิดเหตุการณ์ที่สนใจ
สาหรับ งานวิ จัยนี้ จะใช้ก ารวิเคราะห์ การถดถอยโลจิ สติ คแบบไบนารี (Binary Logistic
Regression Analysis) การวิ เคราะห์ มี เป้ าหมายเพื่ อ ท านายโอกาสที่ จะเกิ ดเหตุ การณ์ ที่ สนใจจาก
สมการถดถอยโลจิสติคที่ถูกพัฒนาขึ้นมาจากชุดตัวแปรทานาย การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก
แบบไบนารี คื อการวิเคราะห์ ก ารถดถอยที่ตัวแปรตามมี 2 ค่า คือ ไม่เกิ ดเหตุการณ์ (y = 0 หรื อ
Negative: N) หรื อเกิดเหตุการณ์ (y = 1 หรื อ Positive: P) (Kumar Ahuja, 2015; Vuk & Curk, 2006)
เมทริ ก ซ์ ค วามสั บ สน (Confusion Matrix) ดังตารางที่ 8 คื อ ตารางแสดงผลการจาแนก
ประเภทข้อมูล ซึ่งจะแสดงค่าไม่เกิดเหตุการณ์ (y = 0 หรื อ Negative: N) และค่าเกิดเหตุการณ์ (y = 1
หรื อ Positive: P)

ตารางที่ 8 เมทริ กซ์ ความสับสน (Confusion Matrix) (Vuk & Curk, 2006)
เหตุการณ์ทานาย (Predicted)
ไม่เกิดเหตุการณ์ เกิดเหตุการณ์
(Negative: N) (Positive: P)
เหตุการณ์จริ ง เกิดเหตุการณ์ (Positive: P) FN TP
(True) ไม่เกิดเหตุการณ์ (Negative: N) TN FP
46

False Negative (FN) คือ จานวนข้อมูลที่จาแนกผิดว่าเป็ นลบ ซึ่งค่าที่แท้จริ งเป็ นบวก


False Positive (FP) คือ จานวนข้อมูลที่จาแนกผิดว่าเป็ นบวก ซึ่งค่าที่แท้จริ งเป็ นลบ
True Negative (TN) คือ จานวนข้อมูลที่จาแนกถูกว่าเป็ นลบ
True Positive (TP) คือ จานวนข้อมูลที่จาแนกถูกว่าเป็ นบวก
อย่างไรก็ตามการแปลงค่าความน่าจะเป็ นให้เป็ นตัวแปรตามที่มี 2 ค่า จะต้องมีการกาหนด
จุดตัด (Threshold) เพื่อการจาแนกประเภทข้อ มูล (Classification) (Oswal, 2019) การทานายหรื อ
พยากรณ์ความน่าจะเป็ นที่จะเกิดเหตกุารณ์ที่สนใจของเหตุการณ์ใหม่ เมื่อทราบค่าตัวแปรทานาย
หรื อตัวแปรอิสระ
ถ้า P (เกิดเหตุการณ์) < ค่าจุดตัด (Threshold) Y = 0 หรื อไม่เกิดเหตุการณ์
ถ้า P (เกิดเหตุการณ์) ≥ ค่าจุดตัด (Threshold) Y = 1 หรื อเกิดเหตุการณ์
ในการหาจุ ด ตัด (Threshold) ที่ เหมาะสมของแต่ ล ะแบบจ าลอง กราฟ ROC (Receiver
Operator Characteristic Curve) ถู ก วาดขึ้ น กราฟ ROC เกิ ด จาก True Positive Rate (TP Rate =
TP/TP+FN) เป็ นแกน Y และ Fales Positive Rate (FP Rate = FP/TN+FP) เป็ นแกน X จุดที่พ้ืนที่ใต้
กราฟ (Area Under Curve: AUC) มากที่ สุ ด จะถู ก น าไปทดสอบเป็ นจุด ตัด ในแต่ล ะแบบจาลอง
เนื่ อ งจากพื้น ที่ ใต้กราฟยิ่งมาก แบบจาลองจะยิ่งแม่น ยามาก (Vuk & Curk, 2006) จุดตัด ที่ท าให้
แบบจาลองมีความแม่นยามากที่สุดจะถูกเลือกใช้ในแบบจาลองนั้นๆ

4. การประเมินแบบจาลอง (Model Evaluation)


การสร้ างแบบจาลองการถดถอยโลจิ สติก ทดสอบความเหมาะสมของแบบจาลองด้วย
วิ ธี ก ารท ด ส อ บ ฮ อ ส เม อ ร์ -เล ม ส์ โช ว์ (The Hosmer-Lemeshow test: HL test) (Hosmer Jr,
Lemeshow, & Sturdivant, 2013) โดยใช้ ค่ า สถิ ติ ไ คสแควร์ (Chi-square: χ2) ในการทดสอบว่ า
แบบจาลองที่สร้างขึ้นนั้นสามารถสร้างค่าทานายความน่าจะเป็ นของการเกิดเหตุการณ์สอดคล้องกับ
ความน่าจะเป็ นของการเกิดเหตุการณ์จากข้อมูลที่เก็บมาจริ งได้หรื อไม่ โดยมีสมมติฐานคือ
H0: แบบจาลองมีความเหมาะสม
H1: แบบจาลองไม่มีความเหมาะสม
โดยกาหนดระดับนัยสาคัญที่ 0.05
จากค่าสถิติ ทดสอบไคสแควร์ และค่า Significance ต้อ งไม่ มีนัยส าคัญ ทางสถิ ติ ( >.05)
หรื อยอมรับ H0 จึงสามารถสรุ ปได้ว่าแบบจาลองนั้นเหมาะสม
47

จากนั้ น จึ ง วัด ประสิ ท ธิ ภ าพของแบบจ าลองจ าแนกข้อ มู ล ด้ว ยสถิ ติ ต่ างๆ ค่ า สถิ ติ ว ัด
ประสิ ทธิภาพของแบบจาลอง (Statistical Metrics) ที่ถูกนิยมใช้มากที่สุด ได้แก่ ค่าความถูกต้องของ
แบบจาลอง (Accuracy) ค่าความแม่นยาของแบบจาลอง (Precision) ค่าความระลึกของแบบจาลอง
(Recall) และค่ า ความเหวี่ ย งของแบบจ าลอง (F-Score) (Villmann, Kaden, Lange, Stürmer, &
Hermann, 2014) มีสูตรการคานวณตามภาพที่ 14 ทั้งนี้ ค่าความแม่นยาของแบบจาลอง (Precision)
แสดงให้เห็ นว่าจากผลการทานายเหตุการณ์ที่เกิด (Positive) แบบจาลองสามารถทานายได้ถูกต้อง
อย่างไร ค่าความระลึกของแบบจาลอง (Recall) เป็ นค่าที่สามารถตอบสนองไวต่อการจาแนกข้อมูล
ที่ทานายเหตุการณ์ที่เกิด(Positive) ในขณะที่ค่าความเหวี่ยงของแบบจาลอง (F-Score) เป็ นค่าที่นิยม
ใช้อย่างแพร่ หลายที่สุดในการวัดประสิ ทธิภาพการทานายของแบบจาลองการจาแนกข้อมูล แบบไบ
นารี (Binary Classification Model) เนื่ องจากค่าความเหวี่ยงของแบบจาลอง (F-Score) เป็ นค่าเฉลี่ย
ระหว่างค่าความแม่นยาของแบบจาลอง (Precision) และค่าความระลึกของแบบจาลอง (Recall)

ภาพที่ 14 ค่าสถิติวัดประสิทธิภาพของแบบจาลอง (Liu, Ren, Song, & Li, 2015)

2.8 กระบวนการแนวคิดในการดาเนินงานวิจัย
จากการทบทวนวรรณกรรม สามารถสรุ ปกระบวนการแนวคิดในการดาเนิ นงานวิจยั เรื่ อง
ตัวแบบนวัตกรรมบริ การเพื่อคุณภาพชีวิตผูส้ ู งอายุ โดยอาศัยกรณี ศึกษาบริ การแนะนางานตามวิถี
ชีวิตผูส้ ูงอายุ ได้ดงั ภาพที่ 15 นี้
48

ภาพที่ 15: กระบวนการแนวคิดในการดาเนินงานวิจยั เรื่ องตัวแบบนวัตกรรมบริ การเพื่อคุณภาพชีวิต


ผูส้ ูงอายุ โดยอาศัยกรณีศึกษาบริ การแนะนางานตามวิถีชีวิตผูส้ ูงอายุ

You might also like