You are on page 1of 10

1 General บททั่วไป

1.1 Definitions คานิยาม,คาจากัดความ

The following definitions apply to parts A and B of this Code.

คาจากัดความข้างล่างนี้ใช้กับ part a และ part b

1.1.1 International Safety Management (ISM) Code means the International Management Code for
the Safe Operation of Ships and for Pollution Prevention as adopted by the Assembly, as may be
amended by the Organization. การชุมนุม

1.1.1 ประมวลข้อบังคับระหว่างประเทศว่าด้วยการจัดการความปลอดภัย” (International Safety Management Code)


หมายถึง ประมวล ข้อบังคับการจัดการที่เป็นสากลเพื่อการปฏิบัติการทางเรืออย่างปลอดภัยและ ป้องกันมลภาวะ ชึ่งนามาใช้
โดยสมัชชา ซึ่งอาจถูกแก้ไขโดยองค์กร

1.1.2 Company means the owner of the ship or any other organization or person such as the
เรือเปล่า สมมติ
manager, or the bareboat charterer, who has assumed the responsibility for operation of the ship
from the shipowner and who, on assuming such responsibility, has agreed to take over all duties and
responsibility imposed by the Code.

1.1.2 “บริษัท” หมายถึง เจ้าของเรือ หรือองค์กรอื่น หรือ บุคคล เช่น ผู้บริหารเรือ หรือผู้เช่าเรือเปล่า ซึ่งรับเอาความ
รับผิดชอบในการ ปฏิบัติการทางเรือจากเจ้าของเรือ และผู้รับเอาความรับผิดชอบดังกล่าวได้ ยินยอมที่จะรับเอาหน้าที่ และ
ความรับผิดชอบทั้งมวลที่ได้บังคับใช้โดยประมวล ข้อบังคับไปด้วย
รัฐบาล
1.1.3 Administration means the Government of the State whose flag the ship is entitled to fly.

1.1.3 รัฐบาล หมายถึง รัฐบาลของรัฐซึ่งเรือชักธงอยู่

1.1.4 Safety management system means a structured and documented system enabling company
ประสิทธิภาพ
personnel to implement effectively the company safety and environmental protection policy.

1.1.4 ระบบจัดการความปลอดภัย หมายถึง ระบบการทางานของบริษัทที่มีโครงสร้างชัดเจน ในรูปเอกสาร ซึ่งพนักงานทุกคน


ต้องนาไปปฏิบัติตามนโยบายความปลอดภัย และการปกป้องสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ

1.1.5 Document of Compliance means a document issued to a company which complies with the
requirements of this Code.

1.1.5 “เอกสารรับรองการปฏิบัติ หมายถึง เอกสารที่ออกให้แก่บริษัทที่ได้มีการปฏิบัติตามข้อกาหนดการ จัดการความ


ปลอดภัยสากล
หมายถึง
1.1.6 Safety Management Certificate means a document issued to a ship which signifies that the
company and its shipboard management operate in accordance with the approved safety
management system.

1.1.6 ใบรับรองการจัดการความปลอดภัย หมายถึง เอกสารที่ออกให้แก่เรือภายใต้การบริหารงาน ของบริษัทที่ปฏิบัติตาม


ระบบจัดการความปลอดภัย (SMS) ที่ได้อนุมัติแล้ว
เชิงปริมาณ
1.1.7 Objective evidence means quantitative or qualitative information, records or statements of
fact pertaining to safety or to the existence and implementation of a safety management system
element, which is based on observation, measurement or test and which can be verified.

1.1.7 “หลักฐานที่จับต้องได้ หมายถึง หลักฐานซึ่ง ได้แก่ เอกสาร, ข้อมูล, บันทึกต่างๆ หรือบทความของข้อเท็จจริง ต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย หรือเกี่ยวข้องกับการนาระบบไปปฏิบัติ และการคง รักษาไว้ของระบบบนพื้นฐานจากการสังเกตได้
วัดค่าได้ หรือทดสอบได้ ซึ่ง สามารถจะถูกตรวจสอบความถูกต้องได้ด้วย
1.1.8 Observation means a statement of fact made during a safety management audit and
substantiated by objective evidence.

1.1.8 ข้อสังเกตหมายถึง สถานการณ์จริงที่ถูกตรวจพบใน ระหว่างการตรวจสอบระบบจัดการความปลอดภัย (SMS) และมี


หลักฐานพิสูจน์ ได้โดย “หลักฐานที่จับต้องได้

1.1.9 Non-conformity means an observed situation where objective evidence indicates the non-
fulfilment of a specified requirement.

1.1.9 สิ่งที่ผิดปกติไป หมายถึง การเกิดขึ้นของ เหตุการณ์ที่ได้จากการสังเกตโดยมี หลักฐานที่จับต้องได้ ชี้ให้เห็นถึง ความ


ไม่เป็นไปตามความต้องการที่เจาะจง
ความผิดปกติ
1.1.10 Major non-conformity" means an identifiable deviation that poses a serious threat to the
safety of personnel or the ship or a serious risk to the environment that requires immediate ทันที
แก้ไข corrective action or the lack of effective and systematic implementation of a requirement of this
Code.

1.1.10 สิง่ ที่ผิดปกติไประดับรุนแรง หมายถึง ความผิดปกติ หรือไม่เป็นไปตามข้อกาหนด SMS ที่สามารถบ่งชี้ว่า จะก่อให้เกิด


การคุกคามอย่างรุนแรงต่อความปลอดภัยของคน หรือเรือ หรือ เกิดความเสี่ยงภัยรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีความจาเป็นต้อง
ได้รับการ แก้ไขให้อย่างทันที หรือ การขาดการนาข้อบังคับ ISM Code ไปปฏิบัติอย่างมีประสิทธิผล และเป็นระบบ

1.1.11 Anniversary date means the day and month of each year that corresponds to the date of
expiry of the relevant document or certificate.

1.1.11 “วันที่ครบรอบ" (Anniversary Date) หมายถึง วันและเดือน ของแต่ละปีที่ตรงกับวันหมดอายุของเอกสารหรือใบรับรอง


ฉบับนั้น ๆ

1.1.12 Convention means the International Convention for the Safety of Life at Sea, 1974, as
amended.

1.1.12 “อนุสัญญา” (Convention) หมายถึง อนุสัญญาระหว่างประเทศ ว่าด้วยความปลอดภัยของชีวิตในทะเล ปี ค.ศ. 1974


ตามที่แก้ไข

1.2 Objectives วัตถุประสงค์

1.2.1 The objectives of the Code are to ensure safety at sea, prevention of human injury or loss of
life, and avoidance of damage to the environment, in particular to the marine environment and to
property. โดยเฉพาะ

1.2.1 วัตถุประสงค์ของข้อบังคับ คือ จะทาให้เกิดความแน่ใจในความ ปลอดภัยทางทะเล ป้องกันการบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นกับ


มนุษย์หรือสูญเสียชีวิต หลีกเลี่ยงการทาอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม โดยเน้นสิ่งแวดล้อมทางทะเล และต่อ ทรัพย์สิน

1.2.2 Safety management objectives of the company should, inter alia:

วัตถุประสงค์ในการจัดการความปลอดภัยของบริษัท นอกเหนือจากเรื่องอื่น ๆ ควรจะ :

1 provide for safe practices in ship operation and a safe working environment

1 จัดหาวิธีปฏิบัติในการทางานของเรือและสิ่งแวดล้อมในการทางานที่ ปลอดภัย

2 assess all identified risks to its ships, personnel and the environment and establish
appropriate safeguards; and

2 ประเมินความเสี่ยงภัยที่บ่งชี้ได้ทั้งหมด ที่อาจเกิดขึ้นได้กับเรือของ องค์กร บุคลากร และ สิ่งแวดล้อม และ จัดทา


มาตรการความปลอดภัยที่ เหมาะสม และ
3 continuously improve safety management skills of personnel ashore and aboard ships,
including preparing for emergencies related both to safety and environmental protection.

3 พัฒนาทักษะการจัดการความปลอดภัยของบุคลากรทั้งที่สานักงาน และที่เรืออย่างต่อเนื่อง รวมทั้งการเตรียมการ


ตอบรับเหตุฉุกเฉินทั้งในแง่ ของความปลอดภัยและป้องกันสิ่งแวดล้อม

1.2.3 The safety management system should ensure:

1.2.3 ระบบจัดการความปลอดภัยควรจะสร้างความมั่นใจ ดังนี้ :

.1 compliance with mandatory rules and regulations; and

1 เป็นไปตามกฎหมาย และข้อบังคับ และ

.2 that applicable codes, guidelines and standards recommended by the Organization,


Administrations, classification societies and maritime industry organizations are taken into account

.2 จะนาประมวลข้อบังคับ แนวทางปฏิบัติ และมาตรฐานที่สามารถใช้ได้ ซึ่งแนะนาโดยองค์กรรัฐบาลที่เรือชักธง


สถาบันตรวจเรือ และหน่วยงาน อุตสาหกรรมทางทะเลมาประกอบการพิจารณา

1.3 Application การนามาใช้

The requirements of this Code may be applied to all ships.

หลักเกณฑ์ต่าง ๆ ในประมวลข้อบังคับนี้อาจนามาใช้ได้กับเรือทุกลา

1.4 Functional requirements for a safety management system

Every company should develop, implement and maintain a safety management system which
includes the following functional requirements:

1.4 ข้อกาหนดเชิงปฏิบัติของระบบการจัดการเพื่อความปลอดภัย ทุกๆ บริษัท ควรพัฒนา นาไปปฏิบัติ และบารุงรักษาระบบ


จัดการความปลอดภัย ซึ่งได้รวม หลักเกณฑ์ในการทางานดังต่อไปนี้ :

.1 a safety and environmental-protection policy;

1.นโยบายความปลอดภัย และปกป้องสิ่งแวดล้อม

.2 instructions and procedures to ensure safe operation of ships and protection of the
environment in compliance with relevant international and flag State legislation;

2. คาแนะนาและข้อปฏิบัติที่จะทาให้การทางานบนเรือเป็นไปอย่าง ปลอดภัยและปกป้องสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นไปตาม


กฎหมายสากลที่ เกี่ยวข้อง และของรัฐที่เรือชักธงอยู่

.3 defined levels of authority and lines of communication between, and amongst, shore and
shipboard personnel;

3 กาหนดระดับของอานาจในการสั่งการ และ สายการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคลากรในสานักงานกับ ทางเรือ และใน


ระหว่างพวกเดียวกันเอง

.4 procedures for reporting accidents and non-conformities with the provisions of this Code;

4. ข้อปฏิบัติในการรายงานอุบัติเหตุ และสิ่งที่ผิด ไปจากประมวลข้อบังคับ ที่ระบุไว้

.5 procedures to prepare for and respond to emergency situations;

5. ข้อปฏิบัติเพื่อเตรียมพร้อม และสามารถตอบรับ ต่อสถานการณ์ฉุกเฉิน


.6 and procedures for internal audits and management reviews.

6. ข้อปฏิบัติสาหรับการตรวจสอบภายใน และ การทบทวนระบบของฝ่ายบริหาร

2 .Safety and environmental-protection policy. นโยบายความปลอดภัยและปกป้องสิ่งแวดล้อม


จัดทา
2.1 The company should establish a safety and environmental-protection policy which describes
how the objectives given in paragraph 1.2 will be achieved

บริษัทควรจัดทานโยบายความปลอดภัย และปกป้อง สิ่งแวดล้อม ซึ่งอธิบายถึงวิธีที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ใน ย่อหน้าที่


1.2

2.2 The company should ensure that the policy is implemented and maintained at all levels of the
organization, both ship-based and shore-based.

บริษัทควรทาให้แน่ใจว่าได้มีการนา นโยบายดังกล่าวไปปฏิบัติ และบารุง รักษาในทุกระดับชั้นขององค์กร ทั้ง สานักงาน และที่


เรือ
อานาจ
3 Company responsibilities and authority ความรับผิดชอบและอานาจการสั่งการของบริษัท
ความรับผิดชอบ
3.1 If the entity who is responsible for the operation of the ship is other than the owner, the owner
must report the full name and details of such entity to the Administration

3.1 ถ้าหน่วยงานที่มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานของเรือไม่ใช่ เจ้าของเรือ เจ้าของเรือต้องรายงาน อเต็ม และรายละเอียด


ของ หน่วยงานนั้นให้รัฐบาลทราบ

3.2 The company should define and document the responsibility, authority and interrelation of all
personnel who manage, perform and verify work relating to and affecting safety and pollution
prevention.

3.2 บริษัทควรจะกาหนด และทาออกมาในรูปเอกสารถึงความรับผิดชอบ อานาจสั่งการ และความสัมพันธ์ระหว่างกันของ


บุคลากร ทุกคนที่คอยจัดการ ปฏิบัติงาน และตรวจสอบ ซึ่งจะมีผลกระทบต่อ ความปลอดภัย และปกป้องสิ่งแวดล้อม

3.3 The company is responsible for ensuring that adequate resources and shore-based support are
provided to enable the designated person or persons to carry out their functions.

3.3 บริษัทมีความรับผิดชอบต่อการทาให้แน่ใจว่าได้มีการจัดหา ทรัพยากรและการสนับสนุนจากทางสานักงานที่เหมาะสม เพื่อ


ทาให้ บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งหนึ่งคนหรือมากกว่าสามารถทางานในหน้าที่ ของเขาได้

4 Designated person(s)* บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้ง

To ensure the safe operation of each ship and to provide a link between the company and those on
board, every company, as appropriate, should designate a person or persons ashore having direct
access to the highest level of management. The responsibility and authority of the designated
person or persons should include monitoring the safety and pollution-prevention aspects of the
operation of each ship and ensuring that adequate resources and shore-based support are applied,
as required. เพียงพอ

เพื่อให้แน่ใจว่าเรือจะปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย และเป็นตัว เชื่อมโยงระหว่างสานักงาน และกับทางเรือ ทุกบริษัทควรแต่งตั้ง


บุคคลหนึ่งคน หรือมากกว่าตามความเหมาะสม ที่สานักงานชึ่งเข้าถึงผู้บริหารระดับสูงได้โดยตรง ความรับผิดชอบ และอานาจ
สั่งการของบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งนั้น ๆ ควรได้รวมการตรวจ ติดตามการปฏิบัติการของเรือแต่ละในแง่ของความปลอดภัย
และปกป้องสิ่งแวดล้อม และเพื่อให้มั่นใจได้ว่าได้มีการจัดหา ทรัพยากร และการสนับสนุนจากทางสานักงานที่เหมาะสมตามที่
ถูกร้องขอ
5 Master's responsibility and authority ความรับผิดชอบบทบาทหน้าที่ของกัปตัน

5.1 The company should clearly define and document the master's responsibility with regard
5.1 บริษัทควรกาหนดความรับผิดชอบของนายเรือให้ชัดเจน และอยู่ในรูปของเอกสาร โดยคานึงถึง

.1 implementing the safety and environmental-protection policy of the company


1.การรนานโยบายความปลอดภัย และปกป้องสิ่งแวดล้อมของบริษัท ไปปฏิบัติ

.2 motivating the crew in the observation of that policy;


2.การกระตุ้นพนักงานเรือให้ร่วมปฏิบัติตามของนโยบาย
เหมาะสม
.3 issuing appropriate orders and instructions in a clear and simple manner;
3.การออกคาสั่ง และคาแนะนาที่เหมาะสมที่ชัดเจน และเรียบง่าย
ตรวจสอบ ระบุ
.4 verifying that specified requirements are observed; and

4.การทวนสอบความถูกต้องว่าได้มีการปฏิบัติตามข้อกาหนดที่ระบุไว้ และ
เป็นระยะ การทบทวน ข้อบกพร่อง
.5 periodically reviewing the safety management system and reporting is deficiencies to the
shore-based management.

5.การทบทวนระยะการจัดการความปลอดภัย และการรายงานถึง ข้อบกพร่องใด ๆ ต่อสายบริหาร การตามช่วงเวลา


ที่กาหนด

5.2 The company should ensure that the safety management system operating on board the ship
เน้นย้า
contains a clear statement emphasizing the master's authority. The company should establish in the
ข้าม
safety management system that the master has the overriding authority and the responsibility to
make decisions with respect to safety and pollution prevention and to request the company's
assistance as may be necessary

5.2 บริษัทควรทาให้แน่ใจว่าระบบจัดการความปลอดภัยที่มีอยู่บน เรือจะประกอบด้วยข้อความที่ชัดเจนซึ่งเน้นถึงอานาจการสั่ง


การของ นายเรือ บริษัทควรกาหนดลงไปในระบบจัดการความปลอดภัย ว่านายเรือมีอานาจการสั่งการข้ามขั้นตอนปกติ
(Overriding Authority) และ ความรับผิดชอบที่จะตัดสินใจใด โดยคานึงถึงความปลอดภัย และ ปกป้องสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก
และอาจร้องขอการช่วยเหลือจากทาง บริษัทตามที่เห็นว่าจาเป็น

6 resources and personnel ทรัพยากรบุคคล

6.1 The company should ensure that the master is: บริษัทควรทาให้แน่ใจว่านายเรือ

.1 properly qualified for command; . มีคุณสมบัติอย่างเหมาะสมในการสั่งการ


เชี่ยวชาญ
.2 fully conversant with the company's safety management system;
มีความรอบรู้เป็นอย่างดีกับระบบจัดการความปลอดภัย ของบริษัท และ

.3 given the necessary support so that the master's duties can be safely performed.
3. ได้รับการสนับสนุนที่จาเป็นเพื่อว่านายเรือจะสามารถ ปฏิบัติหน้าที่ของตนได้อย่าง
6.2 The company should ensure that each ship is: บริษัทควรทาให้แน่ใจว่าเรือแต่ละลา

.1 manned with qualified, certificated and medically-fit seafarers in accordance with national and
international requirements; and
1 มีคนทางานที่มีคุณสมบัติเพียงพอ มีประกาศนียบัตร รับรอง และมีสุขภาพแข็งแรงเป็นไปตามข้อบังคับแห่งชาติ และ
กฎหมายสากล และ
โอบล้อม
.2 appropriately manned in order to encompass all aspects of maintaining safe operations on board."
2 มีคนทางานอย่างเหมาะสมเพื่อที่จะสามารถโอบล้อม ประเด็นการคงรักษาการปฏิบัติอย่างปลอดภัยบนเรือทั้งหมด

6.3 The company should establish procedures to ensure that new personnel and personnel transferred to new
คุ้นเคย
assignments related to safety and protection of the environment are given proper familialization with their
ก่อน ระบุ
duties. Instructions which are essential to be provided prior to sailing should be identified, documented and
given.
6.3 บริษัทการจัดทาข้อปฏิบัติเพื่อทาให้แน่ใจว่าพนักงานใหม่ และ พนักงานที่โอนย้ายไปทาหน้าที่ใหม่ซึ่งเกี่ยวข้องกับความ
ปลอดภัย และปกป้องสิ่งแวดล้อมจะได้รับการเรียนรู้อย่างเพียงพอถึงหน้าที่ ใหม่ของตน คาแนะนาที่จาเป็นต้องแจ้งให้รู้ก่อน
เรือออก ควรถูก ระบุไว้เป็นลายลักษณ์อักษร และมอบให้กับพนักงานใหม่ผู้นั้น

6,4 The company should ensure that all personnel involved in the company's safety management system
have an adequate understanding of relevant rules, regulations, codes and guidelines.
6.4 บริษัทควรทาให้แน่ใจว่าพนักงานทุกคนที่เกี่ยวข้องอยู่ในระบบ จัดการความปลอดภัย จะมีความเข้าใจอย่างเพียงพอต่อ
กฎหมาย ข้อบังคับข้อกาหนด และแนวทางปฏิบัติต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

6.5 The company should establish and maintain procedures for identifying any training which may be
ให้, ที่ให้
required in support of the safety management system and ensure that such training is provided for all
เกี่ยวข้อง
personnel concerned.
6.5 บริษัทควรจัดทา และรักษาข้อปฏิบัติที่ระบุการฝึกอบรมใด ๆ ที่ อาจจาเป็นเพื่อสนับสนุนระบบจัดการความปลอดภัย และ
ทาให้แน่ใจ ว่าบุคคลที่เกี่ยวข้องจะได้รับการฝึกอบรมดังกล่าว

6.6 The company should establish procedures by which the ship's personnel receive relevant information on
the safety management system in a working language or languages understood by them.
6.6 บริษัทควรจัดทาข้อปฏิบัติที่ซึ่งพนักงานที่เรือจะได้รับข้อมูลที่ เกี่ยวข้องในระบบจัดการความปลอดภัย ในภาษาใช้งาน หรือ
ภาษา ใด ๆ ที่พวกเขาเข้าใจได้

6.7 The company should ensure that the ship's personnel are able to communicate effectively in the
execution of their duties related to the safety management system
6.7 บริษัทควรทาให้แน่ใจว่าพนักงานที่เรือจะสามารถสื่อสารถึงกัน อย่างมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของตนตามระบบ
จัดการ ความปลอดภัย
7 shipboard operations การปฏิบัติการทางเรือ
เหมาะสม
The company should establish procedures, plans and instructions, including checklists as appropriate, for
key shipboard operations concerning the safety of the personnel, ship and protection of the environment. The
งานต่างๆ
various tasks should be defined and assigned to qualified personnel.
บริษัทควรจัดทาข้อปฏิบัติ แผนการ และข้อแนะนา รวมถึงรายการ หลัก ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของบุคลากร เรือ
และปกป้อง สิ่งแวดล้อม งานต่าง ๆ ดังกล่าวควรถูกกาหนดและมอบหมายให้กับ ตรวจสอบที่เหมาะสม ให้กับการปฏิบัติการ
ทางเรือ บุคคลที่มีคุณสมบัติ

8 Emergency preparedness การเตรียมพร้อมกับสถานการณ์ฉุกเฉิน

8.1 The company should identify potential emergency shipboard situations, and establish procedures to
respond to them.
8.1 บริษัทควรบ่งชี้สถานการณ์ฉุกเฉินทางเรือที่มีแนวโน้มสูงที่จะ เกิดขึ้นได้ และจัดทาข้อปฏิบัติเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์
ดังกล่าว

8.2 The company should establish programmes for drills and exercises to prepare for emergency actions
8.2 บริษัทควรจัดทาโปรแกรมการฝึก และทดลองปฏิบัติเพื่อพร้อมที่ จะปฏิบัติอย่างเร่งด่วน
ให้
8.3 The safety management system should provide for measures ensuring that the company's organization
ตอบสนอง
can respond at any time to hazards, accidents and emergency situations involving its ships.
8.3 ระบบจัดการความปลอดภัยควรจัดให้มีมาตรการที่ทาให้แน่ใจว่า องค์กรของทางบริษัทเองจะสามารถตอบสนองต่อ
อันตรายใด ๆ อุบัติเหตุ และสถานการณ์ฉุกเฉินที่อาจเกิดขึ้นกับเรือได้ทุกเมื่อ
เหตุการณ์
9. Reports and analysis of non-conformities, accidents and hazardous occurrences
การทารายงาน และการวิเคราะห์สิ่งที่ผิดปกติไป อุบัติเหตุ และ สถานการณ์อันตราย

9.1 The safety management system should include procedures ensuring that non-conformities, accidents and
hazardous situations are reported to the company, investigated and analysed with the objective of improving
safety and pollution prevention
9.1 ระบบจัดการความปลอดภัยควรรวบรวมข้อปฏิบัติเพื่อทาให้แน่ใจว่า สิ่งที่ผิดปกติไป อุบัติเหตุ และสถานการณ์อันตรายจะ
ถูกรายงานไป ให้บริษัททราบ เพื่อสอบสวน และวิเคราะห์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาปรับปรุงให้เกิดความปลอดภัย และ
ปกป้องสิ่งแวดล้อมยิ่งขึ้น
การนาไปใช้ มาตรการ
9.2 The company should establish procedures for the implementation of corrective action, including measures
intended to prevent recurrence.
9.2 บริษัทควรจัดทาข้อปฏิบัติเพื่อให้นาการแก้ไขไปปฏิบัติ รวมทั้งมาตรการทั้งหลายที่มุ่งหมายเพื่อป้องกันการเกิดซ้า

10. Maintenance of the ship and equipment การบารุงรักษาเรือ และอุปกรณ์


สอดคล้อง
10.1 The company should establish procedures to ensure that the ship is maintained in conformity with the
บทบัญญัติ
provisions of the relevant rules and regulations and with any additional requirements which may be
established by the company
10.1 บริษัทควรจัดทาข้อปฏิบัติเพื่อทาให้แน่ใจว่าได้มีการบารุงรักษาเรือให้ เป็นไปตามข้อกาหนดของกฎหมาย และข้อบังคับที่
เกี่ยวข้อง และข้อกาหนดอื่น ๆ เพิ่มเติมซึ่งอาจถูกจัดทาโดยบริษัทเอง

10.2 In meeting these requirements, the company should ensure that:


10.2 เพื่อให้เป็นไปตามข้อกาหนดเหล่านี้ บริษัทควรทาให้แน่ใจว่า

1 inspections are held at appropriate intervals;.1 มีการตรวจสอบตามระยะเวลาที่เหมาะสม

2 any non-conformity is reported, with its possible cause, if known;


2 สิง่ ทีผ
่ ด
ิ ปกติไป จะถูกรายงานพร้อมด้วยสาเหตุ

.3 appropriate corrective action is taken; 3 การแก้ไขที่เหมาะสมจะถูกปฏิบัติ และ ที่เป็นไปได้ ถ้าทราบ

4 and records of these activities are maintained 4 บันทึกของกิจกรรมเหล่านี้จะถูกเก็บรักษาไว้


กะทันหัน ความล้มเหลว
10.3 The company should identify equipment and technical systems the sudden operational failure of which
may result in hazardous situations. The safety management system should provide for specific measures
ส่งเสริม ความเชื่อถือ
aimed at promoting the reliability of such equipment or systems. These measures should include the regular
testing of stand-by arrangements and equipment or technical systems that are not in continuous use.
10.3 บริษัทควรบ่งชี้อุปกรณ์ สถานการณ์อันตรายได้ ระบบจัดการความ ปลอดภัยควรจัดให้มีมาตรการเฉพาะเพื่อมุ่ง ส่งเสริม
ความเชื่อถือได้ของอุปกรณ์ หรือ ระบบดังกล่าว มาตรการเหล่านี้ควรรวมถึง การทดสอบอุปกรณ์เตรียมพร้อม และ อุปกรณ์
หรือระบบทางด้านเทคนิคซึ่งไม่ได้ ใช้งานอย่างต่อเนื่องโดยทาเป็นระยะ ๆ

10.4 The inspections mentioned in 10.2 as well as the measures referred to in 10.3 should be integrated into
the ship's operational maintenance routine.
10.4 การตรวจสอบที่อธิบายไว้ในข้อที่ 1 0.2 และเช่นเดียวกับมาตรการที่อ้างถึงใน ข้อที่ 10.3 ควรถูกรวมไว้ในแผนการซ่อม
บารุงรักษาตามระยะเวลาที่กาหนดของเรือ ด้วย

11 Documentation เอกสาร

11.1 The company should establish and maintain procedures to control all documents and data which are
relevant to the safety management system.
11.1 บริษัทควรจัดทา และคงรักษาข้อปฏิบัติเพื่อการควบคุมงานเอกสาร และข้อมูลทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับระบบจัดการความ
ปลอดภัย

11.2The company should ensure that: บริษัทควรทาให้แน่ใจว่า

.1 valid documents are available at all relevant locations;:


เอกสารที่มีอายุอยู่จะคงอยู่ตามหน่วยงานที่จะต้องใช้ทุก ๆ หน่วยงาน

2 changes to documents are reviewed and approved by authorized personnel; and


การเปลี่ยนแปลงเอกสารจะต้องถูกทบทวน และอนุมัติโดยบุคคลที่ ได้รับมอบอานาจ และ
เลิกใช้แล้ว
3 obsolete documents are promptly removed.
เอกสารที่เลิกใช้แล้วจะต้องถูกนาออกจากพื้นที่ทันที
อ้างถึง
11.3 The documents used to describe and implement the safety management system may be referred to as
พิจารณา
the Safety Management Manual. Documentation should be kept in a form that the company considers most
effective. Each ship should carry on board all documentation relevant to that ship
11.3 เอกสารที่ใช้อธิบาย และนาระบบจัดการความปลอดภัยไปปฏิบัติ การ เรียกว่าเป็น คู่มือการจัดการความปลอดภัย เอกสาร
ควรจะอยู่ในรูปแบบซึ่งบริษัทเองได้พิจารณาแล้ว ว่ามีประสิทธิภาพมากที่สุด เรือแต่ละลาควรมีเอกสารทั้งหมดที่เหมาะสม กับ
เรือของตน

12 Company verification, review and evaluation การทดสอบ ทบทวน และการประเมินผลของบริษัท

12.1 The company should carry out internal safety audits on board and ashore at intervals not exceeding
twelve months to verify whether safety and pollution-prevention activities comply with the safety management
system. In exceptional circumstances, this interval may be exceeded by not more than three months.
12.1 บริษัทควรดาเนินการตรวจประเมินภายในด้านความปลอดภัยทั้งที่ สานักงาน และเรือ ช่วงเวลาไม่เกิน 12 เดือนเพื่อทวน
สอบว่ากิจกรรมด้านความ ปลอดภัย และปกป้องสิ่งแวดล้อมจะสอดคล้องกับระบบจัดการความปลอดภัย (ของบริษัท), ใน
สภาวการณ์ที่อาจได้รับการยกเว้น, ช่วงเวลาดังกล่าวอาจเกินไปไ มากกว่า 3 เดือน, อาจยอมให้ช่วงเวลาดังกล่าวเกินได้ไม่
มากกว่า 3 เดือน

12.2 The company should periodically verify whether all those undertaking delegated ISM-related tasks are
acting in conformity with the company's responsibilities under the Code.
12.2 บริษัทควรทวนสอบว่างานที่เกี่ยวข้องกับประมวลข้อบังคับ ISM Code ต่าง ๆ ที่ได้มอบหมายให้ไปปฏิบัติ เช่น ตัวแทน
จัดหาคนลงเรือ) ได้ดาเนิน ไปอย่างสอดคล้องกับความรับผิดชอบขององค์กรภายใต้ประมวลข้อบังคับนี้แล้ว

12.3 The company should periodically evaluate the effectiveness of the safety management system in
accordance with procedures established by the company.
12.3 บริษัทควรประเมินประสิทธิผลของระบบจัดการความปลอดภัยเป็น ระยะๆ ว่าได้เป็นไปตามข้อปฏิบัติที่จัดทาโดยบริษัทเอง
แล้ว

12.4 The audits and possible corrective actions should be carried out in accordance with documented
procedures.
12.4 การตรวจสอบ และวิธีแก้ไขที่เป็นไปได้ควรปฏิบัติให้เป็น ไปตามข้อปฏิบัติที่เป็นเอกสารแล้ว

12.5 Personnel carrying out audits should be independent of the areas being audited unless this is
impracticable due to the size and the nature of the company.
12.5 บุคคลที่จะทาการตรวจสอบควรเป็นอิสระต่อหน่วยงาน ที่จะถูกตรวจสอบนั้นๆ นอกจากว่าไม่สามารถทาได้ เนื่องจาก
ขนาด และลักษณะเฉพาะของบริษัทนั้น

12.6 The results of the audits and reviews should be brought to the attention of all personnel having
responsibility in the area involved.
12.6 ผลการตรวจสอบ และการทบทวนควรจะผูกแจ้งกลับไป ยังบุคลากรที่มีความรับผิดชอบในหน่วยงานที่ถูกตรวจ สอบทุก
คน

12.7 The management personnel responsible for the area involved should take timely corrective action on
deficiencies found
12.7 บุคลากรระดับผู้จัดการที่รับผิดชอบในหน่วยงานที่เกี่ยว องควรจะทาการแก้ไขข้อบกพร่อง พบนั้นในระยะเวลาที่กาหนด

You might also like