You are on page 1of 29

รายงานโครงการ

โครงการ โรงเรียนดีประจำตำบล (1 โรงเรียน 1 อาชีพ 1


ผลิตภัณฑ์)
สอดคล้องมาตรฐาน 2
ตัวชี้วัดที่ 2.5.2
รหัสกิจกรรมย่อยที่ 168
จุดเน้นของสถานศึกษา 6
นโยบาย สพฐ. ด้านที่ 1,3
ผู้รับผิดชอบ นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร , นางนิทรา
เพ็งสมุทร ,
นางสาววิลาวัณย์ บุตรศาสตร์
ระยะเวลาดำเนินการ กรกฎาคม 2564

1. วัตถุประสงค์
1. เพื่อใช้ภูมิปั ญญาจากชุมชนให้เกิดประโยชน์
2. เพื่อฝึ กอาชีพและมีรายได้เสริมระหว่างเรียน
3. เพื่อฝึ กวินัยรักการอ่าน มีความอดทน อดกลั้น มีความละเอียด
รอบคอบ ฝึ กสมาธิ
4. เพื่อฝึ กการทำงานกันเป็ นหมู่คณะเพื่อให้เกิดความสามัคคี
2. เป้ าหมาย
2.1 ด้านปริมาณ
2.1.1 นักเรียนชั้น ป.4-ป.6 โรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง
6 ร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมโรงเรียนดีประจำตำบล
2.2 ด้านคุณภาพ
2.2.1 นักเรียนชั้น ป.4-ป.6 โรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัด
ระยอง 6 มีความรู้ทักษะ และเจตคติที่ดี
พร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้นหรือมีวุฒิภาวะที่เหมาะสม มีนิสัยรัก
การทำงาน มีความอดทน อดกลั้น
มีความละเอียดรอบคอบ ฝึ กสมาธิ
2.2.2 นักเรียนโรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 6 ได้ฝึ ก
ทำเหรียญโปรยทานสร้างรายได้สร้างรายได้ สร้างอาชีพ

3. รายละเอียดกิจกรรมและการดำเนินงาน
ท รายละเอียดการดำเนิน งบ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
ี่ งาน ประมา ดำเนินงาน

1 (P) ประชุมคณะครูและผู้ กรกฎาคม นางสาวชรินรัตน์
. ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน 2564 สุขสาคร , นาง
การดำเนินงาน ถึง นิทรา เพ็งสมุทร ,
มีนาคม นางสาววิลาวัณย์
2565 บุตรศาสตร์
2 (D) ดำเนินงานตามแผน 6,000.- กรกฎาคม
. จัดทำเหรียญโปรยทาน 2564
ค่าวัสดุ-อุปกรณ์ ถึง
-กระดาษสาห่อเหรียญ มีนาคม
-ริบบิ้น 2565
-เทปใส
-หนังยาง
-ผ้าจับจีบโต๊ะ
-หมุด
3 (C) ติดตามประเมินผล มีนาคม
. ระหว่างดำเนินการและ 2565
สิ้นสุดโครงการ
4 (A) นำผลการประเมินมา มีนาคม
. ปรับปรุง/พัฒนาการใน 2565
การดำเนินโครงการครั้ง
ต่อไป
รวมงบประมาณทั้งสิ้น 6,000.-

4. เครื่องมือวัดผลประเมินผล
1. แบบสังเกตการเข้าร่วมโครงการ
5. ผลการดำเนินงาน
5.1 ด้านปริมาณ
5.1.1. นักเรียนโรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 6 ชั้น ป.4-
ป.6 ร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมโรงเรียนดีประจำตำบล
5.2 ด้านคุณภาพ
5.2.1 นักเรียนชั้น ป.4-ป.6 โรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 6
มีความรู้ทักษะ และเจตคติที่ดี พร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงขึ้นหรือมี
วุฒิภาวะที่เหมาะสม มีนิสัยรักการทำงาน มีความอดทน อดกลั้น
มีความละเอียดรอบคอบ มีฝึ กสมาธิ
3.2.3 นักเรียนโรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 6 ได้ฝึ ก
ทำเหรียญโปรยทานสร้างรายได้สร้างรายได้ สร้างอาชีพ
6. ผลผลิต(Output)
นักเรียนโรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 6 ชั้นประถมศึกษาปี ที่
4-6 ได้ฝึ กฝนอาชีพ และทำเหรียญโปรยทานได้
7. ผลลัพธ์(Outcome)
นักเรียนโรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 6 ได้ฝึ กอาชีพและมีราย
ได้เสริม ทำงานร่วมกันเป็ นหมู่คณะ

8. สรุปผลการดำเนินงาน
8.1 สรุปค่าใช้จ่าย
จากงบประมาณรายหัว จัดซื้ออุปกรณ์ เป็ นเงิน 6,000 บาท
8.2 ความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
นักเรียนมีความพึงพอใจที่เข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 100
9. ปั ญหาและอุปสรรค
นักเรียนได้รับการฝึ กฝนไม่เต็มที่ เนื่องจากเวลาไม่เพียงพอและยังไม่
ชำนาญ
10. ข้อเสนอแนะ
-

ลงชื่อ ..........................................................
ผู้รับผิดชองโครงการ
(....................................................)
วัน
ที่........เดือน...................................พ.ศ...................

ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มบริหาร ความคิดเห็นของผู้อำนวยการสถาน
งานที่รับผิดชอบ ศึกษา

.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
รายงานโครงการ
โครงการ ห้องสมุด 6 G
สอดคล้องมาตรฐาน 2
ตัวชี้วัดที่ 2.5.2
รหัสกิจกรรมย่อยที่ 168
จุดเน้นของสถานศึกษา 6
นโยบาย สพฐ. ด้านที่ 3,4
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร , นางสาววรรณลดา
แก้วจินดา
ระยะเวลาดำเนินการ สิงหาคม 2564

1. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน และพัฒนาทักษะการอ่าน

2.2 เพื่อส่งเสริมพัฒนานักเรียนให้สามารถค้นคว้า แสวงหาความรู้และ


สร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง
2.3 เพื่อส่งเสริมให้ครูและนักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
2. เป้ าหมาย
2.1 เชิงปริมาณ
2.1.1 นักเรียนมีหนังสืออ่านเพิ่มเติม เพิ่มขึ้นร้อยละ 80 ของ
จำนวนนักเรียนระดับประถมศึกษา
2.1.2 นักเรียนเข้าห้องสมุดเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
2.2 เชิงคุณภาพ
2.2.1 นักเรียนและครูในโรงเรียนมีนิสัยรักการอ่านการแสวงหา
ความรู้ตลอดเวลา
2.2.2 โรงเรียนมีห้องสมุดหรือมุมหนังสือไว้บริการนักเรียนและครู
2.2.3 โรงเรียนส่งเสริมการอ่านคล่อง เขียนคล่อง ตามนโยบายของ
รัฐและจุดเน้นของ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
3. รายละเอียดกิจกรรมและการดำเนินงาน
ท รายละเอียดกิจกรรม งบ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
ี่ ประมาณ ดำเนินงาน
1 (P) ประชุมคณะครูและ สิงหาคม 2564 นางสาวชรินรัตน์
. ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อ สุขสาคร
วางแผนการดำเนินงาน นางสาววรรณลดา
แก้วจินดา
2 (D) จัดหาจัดซื้อหนังสือ 6,000.- สิงหาคม 2564 นางสาวชรินรัตน์
. เพิ่มเติม สุขสาคร
- หนังสืออ่านนอกเวลา นางสาววรรณลดา
- หนังสือส่งเสริม แก้วจินดา
คุณธรรม
- หนังสือเพื่อพัฒนาเด็ก
และเยาวชน
- หนังสือสองภาษา
- หนังสือเสริมความรู้
สําหรับ
เด็กเล็ก
3 (C) ติดตามประเมินผล สิงหาคม 2564 นางสาวชรินรัตน์
. ระหว่างดำเนินการและ สุขสาคร
สิ้นสุดโครงการ นางสาววรรณลดา
แก้วจินดา

4 (A) นำผลการประเมิน มีนาคม 2565 นางสาวชรินรัตน์


. มาปรับปรุง/พัฒนาการ สุขสาคร
ในการดำเนินโครงการ นางสาววรรณลดา
ครั้งต่อไป แก้วจินดา

รวมงบประมาณทั้งสิ้น 6,000.-

4. เครื่องมือวัดผลประเมินผล
4.1 แบบสังเกต
4.3 แบบสอบถาม
4.2 แบบบันทึกสถิติการใช้ห้องสมุด
5. ผลการดำเนินงาน
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 นักเรียนมีหนังสืออ่านเพิ่มเติม เพิ่มขึ้นร้อยละ 80 ของจำนวน
นักเรียนระดับประถมศึกษา
5.1.2 นักเรียนเข้าห้องสมุดเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 นักเรียนและครูในโรงเรียนมีนิสัยรักการอ่านการแสวงหาความ
รู้ตลอดเวลา
5.2.2 โรงเรียนมีห้องสมุดหรือมุมหนังสือไว้บริการนักเรียนและครู
5.2.3 โรงเรียนส่งเสริมการอ่านคล่อง เขียนคล่อง ตามนโยบายของรัฐ
และจุดเน้นของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
6. ผลผลิต ( Output )
6.1 ห้องสมุดมีหนังสืออ่านที่หลากหลาย
6.2 โรงเรียนมีห้องสมุดหรือมุมหนังสือไว้บริการนักเรียนและครู
7. ผลลัพธ์ ( Outtcome )
นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน และใช้ทักษะในการสืบค้นหาความรู้ตาม
ความสนใจ
8. สรุปผลการดำเนินงาน
8.1 สรุปค่าใช้จ่าย
จากงบประมาณรายหัว หนังสืออ่านเพิ่มเติม เป็ นเงิน 6,000
บาท
8.2 ความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
นักเรียนมีความพึงพอใจต่อโครงการคิดเป็ นร้อยละ 90
9. ปั ญหาและอุปสรรค
-
10. ข้อเสนอแนะ
-

ลงชื่อ ..........................................................
ผู้รับผิดชองโครงการ
(....................................................)
วัน
ที่........เดือน...................................พ.ศ...................

ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มบริหาร ความคิดเห็นของผู้อำนวยการสถาน
งานที่รับผิดชอบ ศึกษา

.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
รายงานโครงการ
โครงการ ส่งเสริมอัตลักษณ์สถานศึกษา
สอดคล้องมาตรฐาน 1,3
ตัวชี้วัดที่ 1.1.1
รหัสกิจกรรมย่อยที่ 168
จุดเน้นของสถานศึกษา 6
นโยบาย สพฐ. ด้านที่ 3
ผู้รับผิดชอบ นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร , นางสาวกรวิภา
กรงาม
ระยะเวลาดำเนินการ สิงหาคม 2564

1. วัตถุประสงค์
1.1 เพื่อสร้างความตระหนักให้นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 - ชั้นประถม
ศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนนิคมฯ 6 เห็นคุณค่าของการอ่านและมีนิสัยรัก
การอ่านตลอดจนให้การอ่านนำไปสู่การใฝ่ รู้ใฝ่ เรียนตลอดชีวิต
1.2 เพื่อสร้างแรงจูงใจและปลูกฝั งจิตสำนึกให้นักเรียน ชั้นอนุบาลปี ที่
2 - ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
โรงเรียนนิคมฯ 6 ร่วมกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านอย่างต่อเนื่อง
1.3 เพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและยกระดับความสามารถในการอ่าน
ของนักเรียน ชั้นอนุบาลปี ที่ 2 – ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียน
นิคมฯ 6
2. เป้ าหมาย
2.1 เชิงปริมาณ
2.1.1 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 - ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียน
นิคมฯ 6 ได้รับการพัฒนาให้มีนิสัยรักการอ่าน ร้อยละ 80
2.1.2 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 - ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนนิ
คมฯ 6 ร้อยละ 80 ได้รับการปลูกจิตสำนึกรักการอ่าน
2.1.3 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-6 โรงเรียนนิคมฯ 6 ร้อยละ
80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
2.1.4 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 - ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนนิ
คมฯ 6 ร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาที่สะท้อนเป็ นอัตลักษณ์ของโรงเรียน
2.2 เชิงคุณภาพ
2.2.1 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 - ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
โรงเรียนนิคมฯ 6 ทุกคนมีนิสัยรักการอ่าน
2.2.2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-6 โรงเรียนนิคมฯ 6 อ่าน
คล่อง ท่องเพราะ เขียนได้ ทุกคน
2.2.3 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 - ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนนิ
คมฯ 6 ทุกคน ได้รับการพัฒนาที่สะท้อนเป็ นอัตลักษณ์ของโรงเรียน

3. รายละเอียดกิจกรรมและการดำเนินงาน
ท รายละเอียดกิจกรรม งบ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
ี่ ประมา ดำเนินงาน

1 (P) ประชุมคณะครูและผู้ที่ สิงหาคม 64 นางสาวชรินรัตน์
. เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการ สุขสาคร
ดำเนินงาน
2 (D) 5,000.- สิงหาคม 64 นางสาวชรินรัตน์
. - จัดกิจกรรมอ่านคล่อง สุขสาคร
ท่องเพราะ - จัดทำ นางสาวกรวิภา
เอกสารคำศัพท์บัญชีคำ กรงาม
พื้นฐานการอ่านการเขียน
ภาษาไทย สำหรับนักเรียน
ชั้นอนุบาล 2 - ชั้นประถม
ศึกษาปี ที่ 6 1,000.-
จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
- กระดาษสี A 4 120
แกรม - แลคซีน
- จัดซื้อหนังสือหนังสือ
อ่านเพิ่มเติม
- จัดทำป้ ายบทอาขยาน
3 (C) ติดตามประเมินผล สิงหาคม 64 นางสาวชรินรัตน์
. ระหว่างดำเนินการและสิ้น สุขสาคร
สุดโครงการ
4 (A) นำผลการประเมินมา มีนาคม 65 นางสาวชรินรัตน์
. ปรับปรุง/พัฒนาการใน สุขสาคร
การดำเนินโครงการครั้ง
ต่อไป
รวม 6,000.-
4. เครื่องมือวัดผลประเมินผล
4.1 แบบประเมินการอ่าน
4.2 แบบประเมินความพึงพอใจ
5. ผลการดำเนินงาน
5.1 เชิงปริมาณ
5.1.1 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 - ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียน
นิคมฯ 6 ได้รับการพัฒนาให้มีนิสัยรักการอ่าน ร้อยละ 80
5.1.2 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 - ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนนิ
คมฯ 6 ร้อยละ 80 ได้รับการปลูกจิตสำนึกรักการอ่าน
5.1.3 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-6 โรงเรียนนิคมฯ 6 ร้อยละ
80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
5.1.4 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 - ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนนิ
คมฯ 6 ร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาที่สะท้อนเป็ นอัตลักษณ์ของโรงเรียน

5.2 เชิงคุณภาพ
5.2.1 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 - ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
โรงเรียนนิคมฯ 6 ทุกคนมีนิสัยรักการอ่าน
5.2.2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-6 โรงเรียนนิคมฯ 6 อ่าน
คล่อง ท่องเพราะ เขียนได้ ทุกคน
5.2.3 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 - ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนนิ
คมฯ 6 ทุกคน ได้รับการพัฒนาที่สะท้อนเป็ นอัตลักษณ์ของโรงเรียน
6. ผลผลิต ( Output )
6.1 นักเรียนระดับชั้นอนุบาลปี ที่ 2- ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนนิ
คมฯ 6 ได้รับการพัฒนาให้มี นิสัยรักการอ่านร้อยละ 85
6.2 ร้อยละ 80 ของนักเรียนโรงเรียนนิคมฯ 6 ทุกคน ได้รับการพัฒนาที่
สะท้อนเป็ นอัตลักษณ์ของ สถานศึกษา
6.3 ร้อยละ 80 ของผู้ที่เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจในการดำเนินงานของ
โครงการอัตลักษณ์ของ สถานศึกษา
7. ผลลัพธ์ ( Outtcome )
7.1 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 -ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนนิคมฯ
6 ทุกคนมีนิสัยรักการอ่าน
7.2 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 –ชั้นประถมศึกษาปี ที่6 โรงเรียนนิคมฯ
6 อ่านคล่อง ท่องเพราะ เขียนได้ทุกคน
8. สรุปผลการดำเนินงาน
8.1 สรุปค่าใช้จ่าย
จากงบประมาณรายหัว จัดทำโครงการส่งเสริมอัตลักษณ์สถาน
ศึกษา เป็ นเงิน 6,000 บาท
8.2 ความพึงพอใจของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
นักเรียนมีความพึงพอใจต่อโครงการคิดเป็ นร้อยละ 90
9. ปั ญหาและอุปสรรค
-
10. ข้อเสนอแนะ
-
ลงชื่อ ..........................................................
ผู้รับผิดชองโครงการ
(....................................................)
วัน
ที่........เดือน...................................พ.ศ...................
ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มบริหาร
งานที่รับผิดชอบ ความคิดเห็นของผู้อำนวยการสถาน
.......................................................... ศึกษา
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
โครงการ ห้องสมุด 6 G
สอดคล้องมาตรฐาน 2
ตัวชี้วัดที่ 2.5.2
รหัสกิจกรรมย่อยที่ 168
จุดเน้นของสถานศึกษา 6
นโยบาย สพฐ. ด้านที่ 3,4
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร , นางสาววรรณลดา
แก้วจินดา
ระยะเวลาดำเนินการ สิงหาคม 2564
--------------------------------------------------------------------------------------------
-----------------------------------
1. หลักการและเหตุผล
การจัดการศึกษาเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดนั้นห้องสมุดถือว่าเป็ นแหล่ง
เรียนรู้ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะใช้เป็ นแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ศึกษา
ค้นคว้าข่าวสารความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเอง เป็ นการฝึ กนิสัยรักการอ่านและการ
ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ หนังสือวารสาร ตำราและอุปกรณ์ห้องสมุดต่าง ๆ
จึงเป็ นสิ่งที่จำเป็ นอย่างยิ่งในการพัฒนาการเรียนการสอนที่จะให้นักเรียนได้
เรียนรู้และส่งเสริมให้นักเรียนได้ศึกษาและเรียนรู้เพิ่มเติม
โรงเรียนเล็งเห็นความสำคัญของห้องสมุดซึ่งถือเป็ นหัวใจของแหล่งเรียน
ในโรงเรียนจึงพัฒนาห้องสมุดให้เป็ น “ห้องสมุด 6 G” คือ 1. Good Books
2. Good Technology 3. Good service 4. Good view
5. Good clean และ 6. Good treasure
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน และพัฒนาทักษะการอ่าน

2.2 เพื่อส่งเสริมพัฒนานักเรียนให้สามารถค้นคว้า แสวงหาความรู้และ


สร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง
2.3 เพื่อส่งเสริมให้ครูและนักเรียนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
3. เป้ าหมาย
3.1 เชิงปริมาณ
3.1.1 นักเรียนมีหนังสืออ่านเพิ่มเติม ร้อยละ 80 ของจำนวน
นักเรียนระดับประถมศึกษา
3.1.2 นักเรียนเข้าห้องสมุดเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
3.2 เชิงคุณภาพ
3.2.1 นักเรียนและครูในโรงเรียนมีนิสัยรักการอ่านการแสวงหา
ความรู้ตลอดเวลา
3.2.2 โรงเรียนมีห้องสมุดหรือมุมหนังสือไว้บริการนักเรียนและครู
3.2.3 โรงเรียนส่งเสริมการอ่านคล่อง เขียนคล่อง ตามนโยบาย
ของรัฐและจุดเน้นของ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

4. รายละเอียดกิจกรรมและการดำเนินงาน
ท รายละเอียดกิจกรรม งบ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
ี่ ประมาณ ดำเนินงาน
1 (P) ประชุมคณะครูและ สิงหาคม 2564 นางสาวชรินรัตน์
. ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อ สุขสาคร
วางแผนการดำเนินงาน นางสาววรรณลดา
แก้วจินดา

2 (D) จัดหาจัดซื้อหนังสือ 6,000.- สิงหาคม 2564 นางสาวชรินรัตน์


. เพิ่มเติม สุขสาคร
- หนังสืออ่านนอกเวลา นางสาววรรณลดา
- หนังสือส่งเสริม แก้วจินดา
คุณธรรม
- หนังสือเพื่อพัฒนาเด็ก
และเยาวชน
- หนังสือสอนภาษา
- หนังสือเสริมความรู้
สําหรับ
เด็กเล็ก
3 (C) ติดตามประเมินผล สิงหาคม 2564 นางสาวชรินรัตน์
. ระหว่างดำเนินการและ สุขสาคร
สิ้นสุดโครงการ นางสาววรรณลดา
แก้วจินดา

4 (A) นำผลการประเมิน มีนาคม 2565 นางสาวชรินรัตน์


. มาปรับปรุง/พัฒนาการ สุขสาคร
ในการดำเนินโครงการ นางสาววรรณลดา
ครั้งต่อไป แก้วจินดา
รวมงบประมาณทั้งสิ้น 6,000.-

5. งบประมาณที่ใช้
จากงบรายหัวปกติเป็ นเงิน 6,000.- บาท
6. ผลผลิต ( Output )
6.1 ห้องสมุดมีหนังสืออ่านที่หลากหลาย
6.2 โรงเรียนมีห้องสมุดหรือมุมหนังสือไว้บริการนักเรียนและครู
7. ผลลัพธ์ ( Outtcome )
นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน และใช้ทักษะในการสืบค้นหาความรู้ตาม
ความสนใจ

8. ตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้
1. โรงเรียนมีแหล่งเรียนรู้ที่ การสังเกต แบบสังเกต
พร้อมบริการนักเรียนและ การสอบถาม แบบสอบถาม
คุณครู มีสื่อหนังสือ ตรวจสอบสถิติใช้ แบบบันทึกสถิติการใช้
อุปกรณ์ให้บริการเพิ่มขึ้น ห้องสมุด ห้องสมุด
2. นักเรียนเกิดความสนใจ
ใฝ่ เรียนรู้และใช้บริการต่อ
วันเพิ่มมากขึ้น
ลงชื่อ……………………………………………
….
(นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร)
ตำแหน่ง ครู
ผู้เสนอโครงการ
วัน
ที่........เดือน..................................พ.ศ
ลงชื่อ……………………………………………….
.......................
(นางสาวปั ทมา สุขสบาย)
ผู้อำนวยการโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง
จังหวัดระยอง 6
วัน
ที่........เดือน..................................พ.ศ...
....................
โครงการ โรงเรียนดีประจำตำบล (1 โรงเรียน 1 อาชีพ 1
ผลิตภัณฑ์)
สอดคล้องมาตรฐาน 2
ตัวชี้วัดที่ 2.5.2
รหัสกิจกรรมย่อยที่ 168
จุดเน้นของสถานศึกษา 6
นโยบาย สพฐ. ด้านที่ 1,3
ผู้รับผิดชอบ นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร , นางนิทรา
เพ็งสมุทร ,
นางสาววิลาวัณย์ บุตรศาสตร์
ระยะเวลาดำเนินการ กรกฎาคม 2564
..........................................................................................................................
........................................................
1.หลักการและเหตุผล

โรงเรียนเป็ นองค์กรทางการศึกษาที่สำคัญที่สุดในการพัฒนา
คุณภาพนักเรียนแนวคิดในการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนจึงเป็ นความ
สำคัญสูงสุดโดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนรู้จักตนเอง สำรวจความสนใจ ความถนัด
และมองเห็นเส้นทางชีวิตในอนาคต เพื่อวางแผนในการศึกษาต่อ หรือเข้าสู่
ตลาดแรงงานได้อย่างมีคุณภาพ เสริมสร้างลักษณะนิสัยในการทำงาน (ขยัน
อดทน กระตือรือร้น ซื่อสัตย์และรับผิดชอบ) ให้สามารถก้าวสู่โลกแห่งการ
ทำงาน ทั้งนี้เพื่อเป็ นการส่งเสริมกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้กับโรงเรียนดี
ประจำตำบล กระตุ้นให้เกิดการพัฒนาวิชาชีพและการขับเคลื่อนงานการ
ศึกษาอย่างต่อเนื่อง และเผยแพร่ผลงานของโรงเรียนที่เป็ นวิธีปฏิบัติที่ดี
(Best Practices) ในลักษณะของ “1 โรงเรียน 1 อาชีพ 1 ผลิตภัณฑ์”
โรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 6 จึงมีแนวคิดร่วมกันจัดทำ
“เหรียญโปรยทาน สมานสามัคคี” เป็ นที่มาของผลงาน “1 โรงเรียน 1
อาชีพ 1 ผลิตภัณฑ์” เป็ นการส่งเสริมการให้ความรู้แก่นักเรียนโดยใช้
ภูมิปั ญญาจากชุมชน ซึ่งเป็ นทางเลือกอีกทางหนึ่งที่จะมีประโยชน์ และส่ง
เสริมเป็ นอาชีพในอนาคตต่อไปได้
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อใช้ภูมิปั ญญาจากชุมชนให้เกิดประโยชน์
2.2 เพื่อฝึ กอาชีพและมีรายได้เสริมระหว่างเรียน
2.3 เพื่อฝึ กนิสัยรักการทำงาน มีความอดทน อดกลั้น มีความละเอียด
รอบคอบ ฝึ กสมาธิ
2.4 เพื่อฝึ กการทำงานกันเป็ นหมู่คณะเพื่อให้เกิดความสามัคคี
3. เป้ าหมาย
3.1 ด้านปริมาณ
3.1.1 นักเรียนโรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 6 ชั้น ป.4-
ป.6 ร้อยละ 100 เข้าร่วมกิจกรรมโรงเรียนดีประจำตำบล

3.2 ด้านคุณภาพ
3.2.1 นักเรียนชั้น ป.4-ป.6 โรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัด
ระยอง 6 มีความรู้ทักษะ และเจตคติที่ดี พร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูง
ขึ้นหรือมีวุฒิภาวะที่เหมาะสม มีนิสัยรักการทำงาน มีความอดทน อดกลั้น
มีความละเอียดรอบคอบ ฝึ กสมาธิ
3.2.3 นักเรียนโรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 6 ได้ฝึ ก
ทำเหรียญโปรยทานสร้างรายได้สร้างรายได้ สร้างอาชีพ
4. รายละเอียดกิจกรรมและการดำเนินงาน
ท รายละเอียดการดำเนิน งบ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
ี่ งาน ประมาณ ดำเนิน
งาน
1 (P) ประชุมคณะครูและผู้ สิงหาคม นางสาวชรินรัตน์
. ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผน 2564 สุขสาคร , นาง
การดำเนินงาน ถึง นิทรา เพ็งสมุทร ,
มีนาคม นางสาววิลาวัณย์
2565 บุตรศาสตร์
2 (D) ดำเนินงานตามแผน 6,000.- สิงหาคม
. จัดทำเหรียญโปรยทาน 2564
ค่าวัสดุ-อุปกรณ์ ถึง
-กระดาษสาห่อเหรียญ มีนาคม
-ริบบิ้น 2565
-เทปใส
-หนังยาง
-ผ้าจับจีบโต๊ะ
-หมุด
3 (C) ติดตามประเมินผล มีนาคม
. ระหว่างดำเนินการและ 2565
สิ้นสุดโครงการ
4 (A) นำผลการประเมินมา มีนาคม
. ปรับปรุง/พัฒนาการใน 2565
การดำเนินโครงการครั้ง
ต่อไป
รวมงบประมาณทั้งสิ้น 6,000.-
5. งบประมาณที่ใช้
5.1 จากงบรายหัวปกติ เป็ นเงิน 6,000.- บาท
6. ผลผลิต(Output)
นักเรียนโรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 6 ชั้นประถมศึกษาปี ที่
4-6 ได้ฝึ กฝนอาชีพ และทำเหรียญโปรยทานได้
7. ผลลัพธ์(Outcome)
นักเรียนโรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 6 ได้ฝึ กอาชีพและมีราย
ได้เสริม ทำงานร่วมกันเป็ นหมู่คณะ
8. ตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัดความ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้
สำเร็จ
1. นักเรียนโรงเรียน - สังเกต - แบบสังเกต
นิคมสร้างตนเองจังหวัด
ระยอง 6 ชั้น ป.4-ป-6
ได้เข้าร่วมฝึ กอาชีพการ
ทำเหรียญโปรยทาน
2. นักเรียนโรงเรียน - สังเกต - แบบสังเกต
นิคมสร้างตนเองจังหวัด
ระยอง 6 ชั้น ป.4-ป-6
มีความสามัคคีทำงาน
เป็ นหมู่คณะได้

ลงชื่อ……………………………………………
….
(นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร)
ลงชื่อ……………………………………………….
(นางสาวปั ทมา สุขสบาย)
ผู้อำนวยการโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง
จังหวัดระยอง 6
วัน
ที่........เดือน..................................พ.ศ...
....................

โครงการ ส่งเสริมอัตลักษณ์สถานศึกษา
สอดคล้องมาตรฐาน 1,3
ตัวชี้วัดที่ 1.1.1
รหัสกิจกรรมย่อยที่ 168
จุดเน้นของสถานศึกษา 6
นโยบาย สพฐ. ด้านที่ 3
ผู้รับผิดชอบ นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร , นางสาวกรวิภา
กรงาม
ระยะเวลาดำเนินการ สิงหาคม 2564
..........................................................................................................................
...........................................................
1. หลักการและเหตุผล
การอ่านหนังสือเป็ นการพัฒนาตนเองและเพื่อการใช้เวลาว่างให้เกิด
ประโยชน์ เป็ นสิ่งจำเป็ นมากในการพัฒนาคนและพัฒนาสังคมให้เป็ นบุคคล
แห่งการเรียนรู้สู่สังคมแห่งการเรียนรู้ ซึงในปั จจุบันนี้ประเทศไทยประสบ
ปั ญหาผู้เรียนอ่านไม่ออกและส่งผลไปสู่การเขียนไม่ได้ ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนตกต่ำ สาเหตุที่เป็ นปั ญหาการอ่านไม่ออกมีอยู่หลายประการนับตั้งแต่
การขาดแคลนหนังสือที่ดี เหมาะสมกับวัยและตรงกับความสนใจใคร่รู้ของผู้
อ่านและอิทธิพลของสื่ออื่นๆ เช่น อินเตอร์เน็ต โทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง
ฯลฯรวมทั้งขาดการจูงใจ การปลูกจิตสำนึกให้เห็นความสำคัญและคุณค่าของ
การอ่าน ตลอดจนปลูกฝั งมีนิสัยรักการอ่านทั้งในและนอกสถานศึกษา เมื่อ
เปรียบเทียบความเพลิดเพลินและการได้ฟั ง ได้รู้ ได้เห็นเรื่องต่างๆจาก
อินเตอร์เน็ต โทรทัศน์และวิทยุกระจายเสียงแล้ว การอ่านหนังสือเพื่อ
วัตถุประสงค์ดังกล่าว ต้องใช้ความพยายามมากกว่า และต้องมีทักษะในการ
อ่าน ถ้าจะให้การอ่านหนังสือเกิดเป็ นนิสัย จำเป็ นต้องมีการปลูกฝั งและจูงใจ
ให้เกิดความสนใจใคร่อ่าน แต่สภาพปั จจุบันพบว่าสังคมไทยยังไม่เป็ นสังคม
การอ่าน จึงจำเป็ นต้องมีการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านอย่างต่อเนื่องและเพิ่ม
มากขึ้น
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อสร้างความตระหนักให้นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 - ชั้นประถม
ศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนนิคมฯ 6 เห็นคุณค่าของการอ่านและมีนิสัยรัก
การอ่านตลอดจนให้การอ่านนำไปสู่การใฝ่ รู้ใฝ่ เรียนตลอดชีวิต
2.2 เพื่อสร้างแรงจูงใจและปลูกฝั งจิตสำนึกให้นักเรียน ชั้นอนุบาลปี ที่
2 - ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
โรงเรียนนิคมฯ 6 ร่วมกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่านอย่างต่อเนื่อง
2.3 เพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและยกระดับความสามารถในการอ่าน
ของนักเรียน ชั้นอนุบาลปี ที่ 2 – ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียน
นิคมฯ 6
3. เป้ าหมาย
3.1 เชิงปริมาณ
3.1.1 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 - ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียน
นิคมฯ 6 ได้รับการพัฒนาให้มีนิสัยรักการอ่าน ร้อยละ 80
3.1.2 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 - ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนนิ
คมฯ 6 ร้อยละ 80 ได้รับการปลูกจิตสำนึกรักการอ่าน
3.1.3 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-6 โรงเรียนนิคมฯ 6 ร้อยละ
80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
3.1.4 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 - ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนนิ
คมฯ 6 ร้อยละ 80 ได้รับการพัฒนาที่สะท้อนเป็ นอัตลักษณ์ของโรงเรียน
3.2 เชิงคุณภาพ
3.2.1 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 - ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
โรงเรียนนิคมฯ 6 ทุกคนมีนิสัยรักการอ่าน
3.2.2 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-6 โรงเรียนนิคมฯ 6 อ่าน
คล่อง ท่องเพราะ เขียนได้ ทุกคน
3.2.3 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 - ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนนิ
คมฯ 6 ทุกคน ได้รับการพัฒนาที่สะท้อนเป็ นอัตลักษณ์ของโรงเรียน
4. รายละเอียดกิจกรรมและการดำเนินงาน
ท รายละเอียดกิจกรรม งบ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
ี่ ประมาณ ดำเนินงาน
1 (P) ประชุมคณะครูและ สิงหาคม 64 นางสาวชรินรัตน์
. ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อ สุขสาคร
วางแผนการดำเนินงาน
2 (D) 5,000.- สิงหาคม 64 นางสาวชรินรัตน์
. - จัดกิจกรรมอ่านคล่อง สุขสาคร
ท่องเพราะ นางสาวกรวิภา
- จัดทำเอกสารคำศัพท์ กรงาม
บัญชีคำพื้นฐานการอ่าน
การเขียนภาษาไทย
สำหรับนักเรียนชั้น
อนุบาล 2 - ชั้นประถม 1,000.-
ศึกษาปี ที่ 6
จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
- กระดาษสี A 4 120
แกรม - แลคซีน
- จัดซื้อหนังสือหนังสือ
อ่านเพิ่มเติม
- จัดทำป้ ายบทอาขยาน
3 (C) ติดตามประเมินผล สิงหาคม 64 นางสาวชรินรัตน์
. ระหว่างดำเนินการและ สุขสาคร
สิ้นสุดโครงการ
4 (A) นำผลการประเมิน มีนาคม 65 นางสาวชรินรัตน์
. มาปรับปรุง/พัฒนาการ สุขสาคร
ในการดำเนินโครงการ
ครั้งต่อไป
รวม 6,000.-

5. งบประมาณที่ใช้
จากงบรายหัวปกติ เป็ นเงิน 6,000.- บาท

6. ผลผลิต ( Output )
6.1 นักเรียนระดับชั้นอนุบาลปี ที่ 2- ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนนิ
คมฯ 6 ได้รับการพัฒนาให้มี นิสัยรักการอ่านร้อยละ 85
6.2 ร้อยละ 80 ของนักเรียนโรงเรียนนิคมฯ 6 ทุกคน ได้รับการพัฒนาที่
สะท้อนเป็ นอัตลักษณ์ของ สถานศึกษา
6.3 ร้อยละ 80 ของผู้ที่เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจในการดำเนินงานของ
โครงการอัตลักษณ์ของ สถานศึกษา
7. ผลลัพธ์ ( Outtcome )
7.1 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 -ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนนิคมฯ
6 ทุกคนมีนิสัยรักการอ่าน
7.2 นักเรียนชั้นอนุบาลปี ที่ 2 –ชั้นประถมศึกษาปี ที่6 โรงเรียนนิคมฯ
6 อ่านคล่อง ท่องเพราะ เขียนได้ทุกคน
8. ตัวชี้วัดความสำเร็จ

ตัวชี้วัดความสำเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้


นักเรียนมีนิสัยรักการอ่าน การประเมินการอ่าน แบบประเมินการ
และร่วมกิจกรรมที่ การประเมินความพึง อ่าน
เกี่ยวข้องกับการอ่าน พอใจ แบบประเมินความ
ความสามารถในการอ่าน พึงพอใจ
สูง
ลงชื่อ……………………………………………
….
(นางสาวชรินรัตน์ สุขสาคร)
ตำแหน่ง ครู
ผู้เสนอโครงการ
วัน
ที่........เดือน..................................พ.ศ
.......................
ลงชื่อ……………………………………………….
(นางสาวปั ทมา สุขสบาย)
ผู้อำนวยการโรงเรียนนิคมสร้างตนเอง
จังหวัดระยอง 6
วัน
ที่........เดือน..................................พ.ศ...
....................

You might also like