You are on page 1of 4

หลักประกันสุขภาพถวนหนา

ประเทศไทย
อยูที่ตรงไหนของโลก?
ประเทศไทยสามารถบรรลุหลักประกันสุขภาพถวนหนาตัง้ แตปพ  .ศ. 2545 ซึง่ ในขณะนัน้ มีประชากรประมาณรอยละ 30
ที่ ไมมสี วัสดิการรักษาพยาบาลใดไดรบั ความคุม ครองจากระบบประกันสุขภาพภาครัฐ ดังนัน้ การบรรลุหลักประกัน
สุขภาพถวนหนาจึงทำใหประชาชนทุกคนสามารถเขาถึงบร�การสุขภาพที่จำเปนได โดยไมมีอุปสรรคทางการเง�น
ตอตนเองและครอบครัว

CSMBS SSS
ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลขŒาราชการ ระบบประกันสังคม
CIVIL SERVANT EMPLOYEES
AND THEIR DEPANDENT IN PRIVATE SECTORS

LOW INCOME CBHI UCS


SCHEME VOLUNTARY BASED ระบบหลักประกันสุขภาพแห‹งชาติ
SOCIAL WELFARE THOSE NOT COVERED
(KOW INCOME, ELDERLY, CHILDREN AND DISABLE) BY CSMBS AND SSS
1942

1946

1972

1975

1978

1980

1983
1984
1990

2002

2009
NURSING COLLEGE
MOPH
PUBLIC HEALTH
OF MINISTRY OF
ESTABLISHMENT

(MD, DENTIST, PHARMACIST, NURSE)


PUBLIC SERVICE
MANDATORY

DISTRICT HEALTH SYSTEM


SCALING UP

PRIMARY HEALTH CARE POLICY

NATIONAL EPI
VILLAGE HEALTH VOLUNTEERS
DISTRICT HOSPITALS
SCALING UP OF

TECHNICAL NURSE

COST EFFECTIVE ANALYSIS


BENEFIT PACKAGE:
PURCHASING
STRATEGIC

ประเทศไทยเปนประเทศแรกๆ ในกลุมประเทศกำลังพัฒนาที่สามารถบรรลุหลักประกันสุขภาพถวนหนาได โดย


ตลอดระยะเวลากวา 20 ปทผ่ี า นมา ประเทศไทยไดใหความสำคัญกับพัฒนาการดำเนินงานตามหลักประกันสุขภาพถวนหนา
อยางตอเนื่อง และมีผลลัพธของการดำเนินงานเทียบกับประเทศตางๆทั่วโลก ดังนี้
1
ความครอบคลุมบร�การดานสุขภาพที่จำเปน
ประเทศไทย มีดัชนีความครอบคลุม
ดัชนีความครอบคลุมบร�การดานสุขภาพที่จำเปน
บร�การสุขภาพที่จำเปน = 82
ซึง่ เปนตัวชีว้ ดั ของ Sustainable Development Goal
(SDG) ที่ 3.8.1 ประกอบดวย 14 ตัวชีว้ ดั ยอย 4 กลุม
(คาเฉลี่ยทั่วโลก 68)
ทั้งนี้ประเทศที่มีคาดัชนีความครอบคลุมบร�การ
ประกอบดวย 1) ภาวะเจร�ญพันธุ อนามัยแมและเด็ก
สุขภาพที่จำเปนมากกวา 80 สวนใหญเปนประเทศ
2) โรคติดตอ 3) โรคไมติดตอ และ 4) ทรัพยากร
ทีพ
่ ฒ
ั นาแลว เชน ประเทศในยุโรป ประเทศอเมร�กา
ดานสุขภาพ (บุคลากรดานสุขภาพ จำนวนเตียง)
ประเทศญี่ปุน ประเทศออสเตรเลีย เปนตน

คาซักสถาน: 76
สหราชอาณาจักร: 88 ญี่ปุน: 85
ไทย: 82
ฟ�ลิปปนส: 85
เว�ยดนาม: 70
มาเลเซีย: 76

มากกวา 80
70-80
60-70
นอยกวา 60
ไมมีขอมูล

https://dashboards.sdgindex.org/map/indicators/universal-health-coverage-uhc-index-of-service-coverage

การลมละลายทางการเง�นดานสุขภาพ
ตัวชีว้ ดั สัดสวนครัวเร�อนทีม่ คี า ใชจา ยดาน 20.00
18.00 17.66 เอเชียใต
สัดสวนของประชากร ที่มีคาใชจายดานสุขภาพ > 10% �

สุขภาพมากกวารอยละ 10 ของรายจาย 16.00


16.84 เอเชียตะวันออกและแปซิฟ�ก
ของรายจายครัวเร�อนหร�อรายไดทั้งหมด (%)

หร�อรายไดทั้งหมด ซึ่งเปนตัวชี้วัด SDG 14.00


13.46 ทั่วโลก
12.00
3.8.2 ระหวางปพ.ศ. 2543-2562 พบวา 10.00 9.85 ลาตินอเมร�กาเเละแคร�บเบียน
สัดสวนครัวเร�อนที่ลมละลายทางการเง�น 8.00
8.80 แอฟร�กาในสะฮารา
7.90 ยุโรปเเละเอเชียกลาง

จากคาใชจา ยดานสุขภาพของประเทศไทย 6.00


4.00 4.26 อเมร�กาเหนือ
ต่ ำ กว า ประเทศอื ่ น ๆ โดยประเทศไทยมี 2.00 1.87 ไทย
สัดสวนทีร่ อ ยละ 1.9 ในขณะทีค่ า เฉลีย่ ทัว่ โลก 0.00
2543
2544
2545
2546
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
2556
2557
2558
2559
2560
2561
2562

เทากับรอยละ 13.46
นอกจากนี้ประเทศไทยยังมีแนวโนมของสัดสวนครัวเร�อนที่ลมละลายทางการเง�นจากคาใชจายดานสุขภาพที่ลดลง
เร�่อยๆตลอดระยะ 20 ปที่ผานมา ซึ่งแตกตางจากประเทศในภูมิภาคอื่นๆ เชน ยุโรป เอเชียใต เอเชียตะวันออก และ
แอฟร�กา เปนตน
2
ดังนัน้ เมือ่ เปร�ยบเทียบระหวาง 2 ตัวชีว้ ดั ทีส่ ำคัญทีก่ ลาวมาเบือ้ งตน ประเทศไทยอยูในกลุม ประเทศทีม่ ผี ล
การดำเนินงานทีด่ ที ง้ั ในดานความครอบคลุมบร�การดานสุขภาพทีจ่ ำเปน และ การปกปองครัวเร�อนจาก
การลมละลายทางการเง�นจากคาใชจา ยดานสุขภาพ
0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 มาเลเซีย: 78, 1.5%
0 ไทย: 82, 1.9%
สัดสวนของประชากร ทีม่ คี า ใชจา ยดานสุขภาพ >10%

5 ฟ�ลปิ ปนส: 60, 6.3%


ของรายจายครัวเร�อน หร�อ รายไดทง้ั หมด (%)

สหราชอาณาจักร: 87, 2.2%


10 คาซัคสถาน: 82, 2.9%
ญีป่ นุ : 83, 10.5%
ตัวเลขยิง� นอยยิง� ดี

15
สัดสวนการลมละลาย
20
ทางการเง�นดานสุขภาพทัว่ โลก = 13.5 %
25
ประเทศรายไดสงู
30 ประเทศรายไดปานกลางระดับบน
เว�ยดนาม: 68, 8.5% ประเทศรายไดปานกลางระดับลาง
35 ประเทศรายไดต่ำ
ดัชนี ทัว่ โลก = 68
40
ดัชนีความครอบคลุมบร�การดานสุขภาพทีจ่ ำเปน ขอมูลป 2562
Source: https://data.worldbank.org
ตัวเลขยิง� มากยิง� ดี

ผลลัพธของการบรรลุ
หลักประกันสุขภาพถวนหนาของประเทศไทย
อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (Life Expectancy at Birth)
ภายหลังจากทีป่ ระเทศไทยสามารถบรรลุหลักประกัน
90.0
สุขภาพถวนหนาไดในปพ.ศ. 2545 ทำใหประชาชน
85.0 84.4 ญี่ปุน
สามารถเขาถึงบร�การทีจ่ ำเปนได นำไปสูผ ลลัพธทาง
Life expectancy at birth, total (years)

80.0 80.7
สหราชอาณาจักร
สุขภาพทีด่ ขี น้ � อายุคาดเฉลีย่ เมือ่ แรกเกิดของประเทศไทย 78.7
75.0 74.9 ไทย
ในปพ.ศ. 2564 อยูท ่ี 78.7 ป ซึง่ ใกลเคียงกับประเทศ 73.6
70.2
70.0 มาเลเซีย
สหราชอาณาจักร และสูงกวาประเทศกำลังพัฒนา 69.3
เว�ยดนาม
65.0
ในภูมภิ าคเอเชีย นอกจากนีอ้ ายุคาดเฉลีย่ เมือ่ แรกเกิด 60.0 คาซัคสถาน
ของประเทศไทยยังมีแนวโนมสูงข�น้ ซึง่ เปนไปในทิศทาง 55.0 ฟ�ลิปปนส
เดียวกับประเทศพัฒนาแลวหลายๆประเทศ เชน ญีป่ นุ 50.0
สหราชอาณาจักร เปนตน
2538
2540
2542
2544
2546
2548
2550
2552
2554
2556
2558
2560
2562
2564

อัตราตายในเด็กอายุต่ำกวา 5 ป ตอการเกิดมีชีพ 1,000 คน


(Under 5 Mortality Rate)
60.0
อัตราตายในเด็กอายุตำ่ วา 5 ป ของประเทศไทย มีอตั รา
Mortality rate, under-5 (per 1,000 live births)

ฟ�ลิปปนส
50.0
เว�ยดนาม ลดลงภายหลังจากการบรรลุหลักประกันสุขภาพถวนหนา
40.0 คาซัคสถาน ในปพ.ศ. 2545 อยางตอเนื่อง จนในป พ.ศ. 2564
30.0
25.7
ไทย
มีอัตราตายในเด็กอายุต่ำวา 5 ป เหลือเพ�ยง 8.3 ตอ
มาเลเซีย
20.0 20.6
การเกิดมีชีพ 1,000 คน ซึ่งอยู ในระดับใกลเคียงกับ
10.3 สหราชอาณาจักร
10.0 8.3
7.6
4.2
ประเทศพัฒนาแลว
2.3
ญี่ปุน
0.0
2538
2540
2542
2544
2546
2548
2550
2552
2554
2556
2558
2560
2562
2564

3
ระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนาของประเทศไทยยังเปนรากฐานที่สำคัญในการ
รับมือกับว�กฤติทผ่ี า นมา เชน ในชวง มหาอุทกภัย มีการจัดสง "น้ำยาลางไต” ใหถงึ
บานของผูปวย นอกจากนี้โรงพยาบาลชุมชนยังสามารถรับดูแลผูปวยลางไต
ผานชองทองที่บานถูกน้ำทวมและน้ำยาลางไตเสียหายหมด

ในชวงการระบาดโคว�ด 19 มีการพัฒนาระบบบร�การเพ�่อให
ประชาชนยังสามารถรับบร�การได เชน การนำระบบแพทยทางไกล
มาใช การสงยาถึงบาน เปนตน นอกจากนีท้ กุ สิทธิการรักษายังเพ�ม่
ความครอบคลุมบร�การสำหรับโคว�ด 19 สำหรับทุกคนในแผนดินไทย
เพ�่อลดผลกระทบดานสุขภาพของประชาชนทุกคน

Global recognition of Thai UHC


Professor Amartya Sen
Nobel Laureate
“The result of universal health coverage in Thailand has been a significant fall in mortality
(particularly infant and child mortality, with infant mortality as low as 11 per 1,000) and a remarkable
rise in life expectancy, which is now more than 74 years at birth – major achievements for a poor
country. There has also been an astonishing removal of historic disparities in infant mortality
between the poorer and richer regions of Thailand; so much so that Thailand’s low infant
mortality rate is now shared by the poorer and richer parts of the country.”

Dr.Tedros Adhanom Ghebreyesus


Director-General, World Health Organization (WHO)
“Thailand is one of those countries. You are living proof that UHC is achievable and affordable
for all countries, at all income levels. Your experience shows that achieving UHC is not quick
or easy. It takes time, and it takes sustained political will, and community participation and ownership”

Dr. Jim Yong Kim


Former President, World Bank Group
“Thailand’s universal coverage reform dates from 2001. The program has substantially increased
health care utilization, especially among the previously uninsured. And the program had already
reduced by more than 300,000 the number of Thai people suffering catastrophic health care
costs.”

Mr. Ban Ki-moon


Former Secretary-General, United Nations
“I commend the National Health Security Office of Thailand. You have not only made all services
free, you are also working to extend universal health coverage to all. Thailand has also used
innovative approaches to deliver health care to rural populations.”

You might also like