You are on page 1of 42

โครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า

แผ่ นพืน้ ให้ พลังงานด้ วยเพียโซอิเล็กทริกสาหรับสั่ งการทางานของระบบส่ อง


สว่ างด้ วยสั ญญาณคลื่นความถี่วทิ ยุ
Energy Harvesting Floor By Using Piezo Electric for Ordering Operation of
Illumination system by Radio Frequency Signal
จัดทำโดย
นาย ดนุภพ เฉียบแหลม B5423996
นาย ทรงพล คาภัยวงศ์พิทักษ์ B5414529
นาย รัชพล พุ่มแก้ว B5403639
อำจำรย์ที่ปรึกษำ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ทิพย์วรรณ ฟังสุวรรณรักษ์
แผ่นพื้นให้พลังงานด้วยเพียโซอิเล็กทริ กสาหรับสั่งการทางานของระบบ
ส่ องสว่างด้วยสัญญาณคลื่นความถี่วิทยุ
 ที่มำและควำมสำคัญ
 ศึกษำระบบกำรผลิตพลังงำนจลน์แบบสั่นด้วยกำรเหนี่ยวนำทำงแม่เหล็ก
- ส่วนประกอบและกำรอออกแบบระบบ
- กำรทดสอบและอภิปรำยผล
 ศึกษำแผ่นพื้นให้พลังงำนด้วยเพียโซอิเล็กทริก
- ส่วนประกอบและกำรออกแบบ
- กำรทดสอบและอภิปรำยผล
 เครื่องรับส่งสัญญำณด้วยคลื่นควำมถี่วิทยุสำหรับสั่งกำรระบบส่องสว่ำง
- ส่วนประกอบเครื่องรับส่งสัญญำณด้วยคลื่นควำมถี่วิทยุ
- กำรออกแบบและปรับปรุงเครื่องรับส่งสัญญำณด้วยคลื่นควำมถี่วิทยุ
- หลักกำรใช้งำนเครื่องรับส่งสัญญำณด้วยคลื่นควำมถี่วิทยุ
- กำรทดสอบและอภิปรำยผล
 สรุปโครงงำน
ที่มาและความสาคัญ
ปั จจุบนั นี้ประเทศไทยได้ใช้พลังงานไฟฟ้าที่ผลิตจากแหล่งวัตถุดิบที่ใช้แล้วหมด
ไปได้ เช่น ปิ โตรเลียม แก๊สธรรมชาติ และถ่านหิน เป็ นต้น ก่อให้เกิดผลเสี ยติดตามมาจาก
การปล่อยมลพิษ เกิดผลกระทบเป็ นปรากฏการณ์เรื อนกระจก ทาให้โลกร้อนขึ้น ดังนั้น
โครงงานนี้จึงมุ่งหวังศึกษาแหล่งพลังงานทดแทนรู ปแบบใหม่ จากแผ่นผลิตพลังงาน
จากเพียโซอิเล็กทริ ก ซึ่งได้มองเห็นว่า ปั จจุบนั การเก็บเกี่ยวพลังงานจากเพียโซอิเล็กทริ ก
เข้ามามีบทบาทอย่างมากในเรื่ องของเซนเซอร์(ตัวตรวจรู ้) ไร้สาย(Wireless sensor) เครื่ อง
รับส่ งสัญญาณวิทยุไร้สาย(Wireless radio frequency receiver/transmitter,RF link) ที่ใช้
พลังงานไฟฟ้า(electrical energy) เพียงไม่กี่ไมโครจูล แหล่งพลังงานขนาดเล็กที่ไม่
สิ้ นเปลืองพลังงานไฟฟ้าจากภายนอกทั้งยังเพียงพอต่อการใช้งานอย่างต่อเนือ่ งเป็ น
เวลานาน และเนื่องจากผูศ้ ึกษาเห็นว่า เครื่ องรับส่ งสัญญาณวิทยุไร้สาย จาเป็ นต้องมีไฟ
เลี่ยงจากแบตเตอรี่ จึงปรับปรุ งออกแบบระบบวงจรสาหรับชาร์จแบตเตอรี่ ได้อีกด้วย
ศึกษาระบบการผลิตพลังงานจลน์ แบบสั่ นด้ วยการเหนี่ยวนาทางแม่ เหล็ก
ทดสอบประสิ ทธิภาพของแผ่นเพียโซอิเล็กทริ กจากการทดสอบแรงดัน
 ส่ วนประกอบและการออกแบบระบบ
กระแสสลั บเอาท์พตุ สู งสุ ดที่ค่า Resonance Frequency จากแผ่นเพียโซอิเล็กทริ ก 1
แผ่น โดยการต่อคานยืน่ ออกไปที่ระยะต่างๆ และที่การถ่วงแม่เหล็กด้วยน้ าหนักต่างๆ

รู ปที่ 1 ชุดผลิตพลังงานจลน์แบบสัน่ ด้วยการเหนี่ยวนาทางแม่เหล็ก


ศึกษาระบบการผลิตพลังงานจลน์ แบบสั่ นด้ วยการเหนี่ยวนาทางแม่ เหล็ก
 ลักษณะการต่อคานและการถ่วงแม่เหล็ก

แม่เหล็กแรงสู ง ทรง
สี่ เหลี่ยม ใช้ขนาดน้ าหนัก
เท่ากับ 1.7 g, 3.6 g ,9 g
และ 10 g
แผ่นอะคริ ลิคต่อคานยืน่ ออกไป 1cm , 1.5 cm , 2 cm และ 2.5 cm
ศึกษาระบบการผลิตพลังงานจลน์ แบบสั่ นด้ วยการเหนี่ยวนาทางแม่ เหล็ก
 การทดสอบการผลิตพลังงานจลน์แบบสัน่ ด้วยการเหนี่ยวนาทางแม่เหล็ก
การทดสอบแผ่นเพียโซอิเล็กทริ กแบ่งออกเป็ น 2 กรณี คือ แนวตั้งฉากกับระนาบและ
แนวขนานกับระนาบ

รู ปที่ 32 การทดสอบแผ่นเพียโซอิเล็กทริ ก ในแนวขนานกั


ในแนวตั้งฉากกับบระนาบ
ระนาบ
ศึกษาระบบการผลิตพลังงานจลน์ แบบสั่ นด้ วยการเหนี่ยวนาทางแม่ เหล็ก
 การทดสอบการทดสอบแผ่ นเพียโซอิเล็กทริกแนวตั้งฉากกับระนาบ
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Frequency และ Voltageที่ต่อคานยืน่ ออกไป 1 cm.

จากกราฟ ต่อคานยืน่ ออกไป 1 cm และน้ าหนัก3.4g ได้แรงดันสู งที่สุด เท่ากับ 25.2 V


ที่ความถี่เรโซแนนซ์เท่ากับ 27 Hz
ศึกษาระบบการผลิตพลังงานจลน์ แบบสั่ นด้ วยการเหนี่ยวนาทางแม่ เหล็ก
 การทดสอบการทดสอบแผ่ นเพียโซอิเล็กทริกแนวตั้งฉากกับระนาบ
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Frequency และ Voltageที่ต่อคานยืน่ ออกไป 1.5 cm.

จากกราฟ ต่อคานยืน่ ออกไป 1.5 cm และน้ าหนัก10.7g ได้แรงดันสู งที่สุด เท่ากับ 28.8
ที่ความถี่เรโซแนนซ์เท่ากับ 24.5 Hz
ศึกษาระบบการผลิตพลังงานจลน์ แบบสั่ นด้ วยการเหนี่ยวนาทางแม่ เหล็ก
 การทดสอบการทดสอบแผ่ นเพียโซอิเล็กทริกแนวตั้งฉากกับระนาบ
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Frequency และ Voltageที่ต่อคานยืน่ ออกไป 2 cm.

จากกราฟ ต่อคานยืน่ ออกไป2 cm และน้ าหนัก1.7g ได้แรงดันสู งที่สุด เท่ากับ 29V


ที่ความถี่เรโซแนนซ์เท่ากับ 31.65 Hz
ศึกษาระบบการผลิตพลังงานจลน์ แบบสั่ นด้ วยการเหนี่ยวนาทางแม่ เหล็ก
 การทดสอบการทดสอบแผ่ นเพียโซอิเล็กทริกแนวตั้งฉากกับระนาบ
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Frequency และ Voltageที่ต่อคานยืน่ ออกไป 2.5 cm.

จากกราฟ ต่อคานยืน่ ออกไป2.5 cm และน้ าหนัก3.4g ได้แรงดันสู งที่สุด เท่ากับ 28.4V


ที่ความถี่เรโซแนนซ์เท่ากับ 23.1 Hz
ศึกษาระบบการผลิตพลังงานจลน์ แบบสั่ นด้ วยการเหนี่ยวนาทางแม่ เหล็ก
 การทดสอบการทดสอบแผ่ นเพียโซอิเล็กทริกแนวขนานกับระนาบ
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Frequency และ Voltageที่ต่อคานยืน่ ออกไป 1 cm.

จากกราฟ ต่อคานยืน่ ออกไป 1 cm และน้ าหนัก3.4g ได้แรงดันสู งที่สุด เท่ากับ 31.2 V


ที่ความถี่เรโซแนนซ์เท่ากับ 27.3 Hz
ศึกษาระบบการผลิตพลังงานจลน์ แบบสั่ นด้ วยการเหนี่ยวนาทางแม่ เหล็ก
 การทดสอบการทดสอบแผ่ นเพียโซอิเล็กทริกแนวตั้งฉากกับระนาบ
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Frequency และ Voltageที่ต่อคานยืน่ ออกไป 1.5 cm.

จากกราฟต่อคานยืน่ ออกไป 1.5 cm และน้ าหนัก3.4g ได้แรงดันสู งที่สุด เท่ากับ 36.8 V


ที่ความถี่เรโซแนนซ์เท่ากับ 41 Hz
ศึกษาระบบการผลิตพลังงานจลน์ แบบสั่ นด้ วยการเหนี่ยวนาทางแม่ เหล็ก
 การทดสอบการทดสอบแผ่ นเพียโซอิเล็กทริกแนวตั้งฉากกับระนาบ
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Frequency และ Voltageที่ต่อคานยืน่ ออกไป 1 cm.

จากกราฟ ต่อคานยืน่ ออกไป 2 cm และน้ าหนัก3.4g ได้แรงดันสู งที่สุดเท่ากับ 32.4 V


ที่ความถี่เรโซแนนซ์เท่ากับ 24.7 Hz
ศึกษาระบบการผลิตพลังงานจลน์ แบบสั่ นด้ วยการเหนี่ยวนาทางแม่ เหล็ก
 การทดสอบการทดสอบแผ่ นเพียโซอิเล็กทริกแนวตั้งฉากกับระนาบ
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Frequency และ Voltageที่ต่อคานยืน่ ออกไป 2.5 cm.

จากกราฟ ต่อคานยืน่ ออกไป 2.5 cm และน้ าหนัก3.4g ได้แรงดันสู งที่สุดเท่ากับ 41 V


ที่ความถี่เรโซแนนซ์เท่ากับ 22.05 Hz
ศึกษาระบบการผลิตพลังงานจลน์ แบบสั่ นด้ วยการเหนี่ยวนาทางแม่ เหล็ก
 การทดสอบแผ่ นเพียโซอิเล็กทริกแนวตั้งฉากกับระนาบ
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Frequency และ Voltage ที่ต่อคานยืน่ ระยะต่างๆ และ
น้ าหนักถ่วงระยะต่างๆ

จากกราฟ การต่อคานยืน่ ออกไป 2.5 cm และน้ าหนัก3.4g ได้แรงดันสู งที่สุด เท่ากับ 28.4V
ที่ความถี่เรโซแนนซ์เท่ากับ 23.1 Hz(แบบตั้งฉากกับระนาบ)
ศึกษาระบบการผลิตพลังงานจลน์ แบบสั่ นด้ วยการเหนี่ยวนาทางแม่ เหล็ก
 การทดสอบแผ่ นเพียโซอิเล็กทริกแนวขนานกับระนาบ
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Frequency และ Voltage ที่ต่อคานยืน่ ระยะต่างๆ และ
น้ าหนักถ่วงระยะต่างๆ

จากกราฟ การต่อคานยืน่ ออกไป 2.5 cm และน้ าหนัก3.4g ได้แรงดันสู งที่สุดเท่ากับ 41 V


ที่ความถี่เรโซแนนซ์เท่ากับ 22.05 Hz(แบบขนานกับระนาบ)
ศึกษาระบบการผลิตพลังงานจลน์ แบบสั่ นด้ วยการเหนี่ยวนาทางแม่ เหล็ก
 อภิปรายผล
จากการทดลองพบว่าเมื่อเราต่อคานยืน่ ออกไปมากเท่าไหร่ ค่าแรงดัน
กระแสสลับเอาท์พตุ ที่วดั ได้จากแผ่นเพียโซ่อิเล็กทริ ก จะมากตามไปด้วย และเมื่อมีมวล
เพิม่ มากขึ้นค่าแรงดันกระแสสลับเอาท์พตุ ที่วดั ได้จากแผ่นเพียโซ่อิเล็กทริ กที่ได้จะมาก
ตามไปด้วย และจะทาให้ประจุไฟฟ้าก็เพิ่มขึ้นด้วยเช่นกัน อธิบายจากสมาการ
𝜀0 𝜀𝑟 𝐴𝑉
I=‫𝑡𝑑𝑄 ׬‬ โดยที่ Q = เมื่อ Q คือ ประจุไฟฟ้า V คือแรงดันไฟฟ้าที่ได้จาก
𝑑
แผ่นเพียโซอิเล็กทริ ก และเมื่อแรงดันและกระแสเพิ่มขึ้น จะทาให้ได้กาลังไฟฟ้ามากขึ้น
ด้วยเช่นกัน อธิบายได้จากสมการจาก P = VI (P ∞ V)
ในส่ วนของการทดสอบแผ่นเพียโซอิเล็กทริ กได้ทดสอบทั้งในแนวขนานกับ
ระนาบและตั้งฉากกับระนาบ ค่าแรงดันกระแสสลับเอาท์พตุ ที่ออกจากแผ่นเพียโซ่อิเล็ก
ทริ กที่น้ าหนักมวลและความยาวต่างๆพบว่า การทดสอบในแนวขนานกับระนาบให้
พลังงานทางไฟฟ้าที่สูงกว่าในแนวตั้งฉากกับระนาบ
ศึกษาแผ่นพืน้ ให้ พลังงานด้ วยเพียโซอิเล็กทริก
ทาการหาค่าพลังงานไฟฟ้าที่ได้จากแผ่นพื้นให้พลังงานด้วยเพียโซอิเล็กทริ ก
เพื่อไปประยุกต์ใช้งานให้เหมาะสมกับเครื่ องรับส่ งสัญญาณคลื่นวิทยุ
 ส่ วนประกอบและการออกแบบ
ได้ทาการศึกษาแผ่นพื้นให้พลังานด้วยเพียโซอิเล็กทริ ก 2 ตัว คือ

แผ่นพื้นให้พลังงานแบบคู่ แผ่นพื้นให้พลังงานแบบเดี่ยว
ศึกษาแผ่นพืน้ ให้ พลังงานด้ วยเพียโซอิเล็กทริก
 ส่ วนประกอบและการออกแบบ
แผ่นพื้นให้พลังงานด้วยเพียโซอิเล็กทริ กแบบเดี่ยว

𝑹𝒍𝒐𝒂𝒅

30 แผ่ น

แผ่นเพียโซอิเล็กทริ กแบบ
รู ปที่ 4 การออกแบบของแผ่นพื้นให้กลม
พลังงานด้วยเพียโซอิเล็กทริ กแบบเดี่ยว
รู ปที่ 5 การต่อแผ่นเพียโซอิเล็กทริ กเข้ากับวงจรวงจรเรี ยงกระแส
แบบเต็มคลื่น (full-wave rectifier)
ศึกษาแผ่นพืน้ ให้ พลังงานด้ วยเพียโซอิเล็กทริก
 ส่ วนประกอบและการออกแบบ
แผ่นพื้นให้พลังงานด้วยเพียโซอิเล็กทริ กแบบคู่

ทั้งหมด 40 แผ่น
1 แผ่น ต่อ 1 วงจรบริ ดจ์
แผ่นเพียโซอิ20 แผ่กนแบบสี่ เหลี่ยมแบบคู่ รวม 40 แผ่น
เล็กทริ

รู ปที่ 6 การออกแบบของแผ่นพื้นให้พลังงานด้วยเพียโซอิเล็กทริ กแบบคู่


รู ปที่ 7 การต่อแผ่นเพียโซอิเล็กทริ กเข้ากับวงจรวงจรเรี ยงกระแส
แบบเต็มคลื่น (full-wave rectifier)
ศึกษาแผ่นพืน้ ให้ พลังงานด้ วยเพียโซอิเล็กทริก
 การทดสอบหาค่าพลังงานไฟฟ้าที่ได้จากแผ่นแผ่นพื้นให้พลังงานด้วย
เพียโซอิเล็กทริ กแบบเดี่ยว
กราฟทีกราฟที
่ แสดงความสั
่ แสดงความสั
มพันธ์มระหว่
พันธ์ารงะหว่
แรงดั
างนกกัาลับงกระแส
ไฟฟ้ากัในแต่
บโหลดความต้
ละโหลดความต้
านทานานทาน

0.82 mW
0.32 mA
ศึกษาแผ่นพืน้ ให้ พลังงานด้ วยเพียโซอิเล็กทริก
 การทดสอบหาค่าพลังงานไฟฟ้าที่ได้จากแผ่นแผ่นพื้นให้พลังงานด้วย
เพียโซอิเล็กทริ กแบบคู่
กราฟแสดงความสั
กราฟ แสดงความสัมมพัพันนธ์ธ์ระหว่
ระหว่างางแรงดั
กาลันงไฟฟ้
กับกระแส
ากับโหลดความต้
ในแต่ละโหลดความต้
านทาน านทาน

3.12
21.47mAmW
ศึกษาแผ่นพืน้ ให้ พลังงานด้ วยเพียโซอิเล็กทริก
 อภิปรายผล
จากการทดสอบหากาลังไฟฟ้าที่ได้จากแผ่นพื้นให้พลังงานด้วยเพียโซอิ-
เล็กทริ กทั้งสองแบบ พบว่า แผ่นพื้นให้พลังงานแบบคู่ผลิตกาลังไฟฟ้าได้ประมาณ
21.47 mW ซึ่งได้มากกว่าแผ่นพื้นให้พลังงานแบบเดี่ยวซึ่งผลิตกาลังไฟฟ้าได้แค่
ประมาณ 0.82 mW สามารถอธิบายได้ดงั นี้คือ เนื่องจากแผ่นพื้นให้พลังงานแบบคู่
ใช้จานวนเพียโซอิเล็กทริ กมากกว่า และมีการต่อตัวเก็บประจุขนาด 100 uF เข้าไป
ในวงจร ทาให้เกิดการอัดประจะเพิ่มขึ้นได้ อีกทั้งแผ่นพื้นให้พลังงานทั้งสองยังใช้
วัสดุที่แตกต่างกัน ซึ่งแผ่นพื้นให้พลังงานแบบคู่ใช้แผ่นเพียโซอิเล็กทริ กแบบ
สี่ เหลี่ยม และแผ่นพื้นให้พลังงานแบบเดี่ยวใช้แผ่นเพียโซอิเล็กทริ กแบบกลม ทาให้
พื้นที่ผวิ ในการเกิดประจุไฟฟ้า(A)แบบสี่ เหลี่ยมนั้นมีพ้นื ที่มากกว่าแบบกลม ส่ งผล
𝜀0 𝜀𝑟 𝐴𝑉
ให้กระแสมีมากกว่า อธิบายได้จากสมการ I=‫𝑡𝑑𝑄 ׬‬ โดยที่ Q = เมื่อ Q
𝑑
คือ ประจุไฟฟ้า A คือพื้นที่ผวิ ในการเกิดประจุไฟฟ้า
เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่ งการระบบส่ องสว่ าง
 ส่ วนประกอบของเครื่ องรับส่ งสัญญาณด้วยคลื่นความถี่วทิ ยุ
เครื่ องรับส่ งสัญญาณด้วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสัง่ การทางานของระบบส่ อง
 ชุ ดภาครับและภาคส่ ง ทาหน้าที่ส่งสัญญาณด้วยคลื่นความถี่วท
สว่างนี้ เป็ นเครื่ องที่ใช้พลังงานน้ อยในระดับ ไม่เกิน 1 วัตต์ ซึ่งเหมาะสมที่จะนามา ิ ยุ
ประยุกต์ใช้กบั แผ่นพื้นให้พระหว่ างกัวนยเพี
ลังงานด้ เพื่อยสัโซอิ
ง่ การให้กบั กระบบส่
เล็กทริ องสว่
เป็ นแหล่ างงงานขนาดเล็กที่ไม่
งพลั
คุณสมบัติ
สิ้ นเปลืองพลังงานไฟฟ้าจากภายนอกได้
 ใช้ไฟ DC 12V
รู ปที่ 8 ภาคส่ งสัญญาณ  ใช้คลื่น UHF
 รัศมีการใช้งานกว่า 100 เมตร(บริ เวณที่โล่งแจ้ง)
 ภาครับสัญญาณหน่วงเวลาขณะทางาน 10 วินาทีแล้วจึงตัดไฟ
 ภาคส่ งสัญญาณ ใช้ไฟ 6 mA และ ภาครับสัญญาณ
ใช้ไฟ 20-30 mA (เมื่อ relay on)
รู ปที่ 9 ภาครับสัญญาณ
เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่ งการระบบส่ องสว่ าง
 ส่ วนประกอบของเครื่ องรับส่ งสัญญาณด้วยคลื่นความถี่วทิ ยุ
 DC โวลต์ มเิ ตอร์ ดจิ ิตอล
ใช้สาหรับบอกสถานะแบตเตอรี่

รู ปที่ 10 DC โวลต์มิเตอร์ดิจิตอล

 DC แอมป์ มิเตอร์ อนาล็อก


ใช้สาหรับดูพฤติกรรมการจุดชนวนของวงจร
Trig Chart(SCR) สาหรับบ่งบอกว่าวงจรยัง
ทางานปกติอยูห่ รื อไม่
รู ปที่ 11 DC แอมป์ มิเตอร์อนาล็อก
เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่ งการระบบส่ องสว่ าง
 ส่ วนประกอบของเครื่ องรับส่ งสัญญาณด้วยคลื่นความถี่วทิ ยุ
 แบตเตอรี่ชาร์ จ
ไฟเลี้ยงชุดรับส่ งสัญญานด้วยคลื่นความถี่วทิ ยุ ทั้งภาคส่ ง
สัญญาณ( Transmitter Signal )และภาครับสัญญาณ
( Receiver Signal )
คุณสมบัติ
รู ปที่ 12 แบตเตอรี่ ชาร์จ แบตเตอรี่ ชาร์จ 1.2 V 1100 mAh
จานวน 12 ก้อนต่ออนุกรม เป็ น 12 V 1100 mAh
 ชุดส่ องสว่ าง
ใช้สาหรับดูพฤติกรรมการจุดชนวนของวงจร Trig Chart
(SCR) สาหรับบ่งบอกว่าวงจรยังทางานปกติอยูห่ รื อไม่
คุณสมบัติ
รู ปที่ 13 ชุดส่ องสว่าง ใช้ไฟ DC 3-3.5 V 0.5-1.5 A
เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่ งการระบบส่ องสว่ าง
 ส่ วนประกอบของเครื่ องรับส่ งสัญญาณด้วยคลื่นความถี่วทิ ยุ

 วงจร Transistor Switching (BJT)


ทาหน้าที่ ควบคุม Mechanical Switch
ของภาคส่ งสัญญาณ( Transmitter Signal )

รู ปที่ 14 วงจร Transistor Switching(BJT)

 วงจร Trig Chart(SCR)


ทาหน้าที่ชาร์จแบตเตอรี่ ให้กบั ชุดรับส่ งสัญญาณ
ด้วยคลื่นความถี่วทิ ยุทางาน

รู ปที่ 15 วงจร Trig Chart(SCR)


เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่ งการระบบส่ องสว่ าง
 ส่ วนประกอบของเครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้วยคลื่นความถี่วทิ ยุ
 แผ่ นพืน
้ ให้ พลังงานแบบเดีย่ ว
ทาหน้าที่ ขับวงจร Transistor Switching(BJT)
เพื่อควบคุม Mechanical Switch ของ
ภาคส่ งสัญญาณ( Transmitter Signal )
รู ปที่ 16 แผ่นพื้นให้พลังงานแบบเดี่ยว
 แผ่ นพืน้ ให้ พลังงานแบบคู่
ทาหน้าที่ จุดชนวนวงจร Trig Chart(SCR)
เพื่อชาร์จแบตเตอรี่ ให้กบั ชุดรับส่ งสัญญาณ
รู ปที่ 17 แผ่นพื้นให้พลังงานแบบคู่ ด้วยคลื่นความถี่วทิ ยุทางาน
เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่งการระบบส่องสว่าง
 การออกแบบวงจร Transistor Switching(BJT)
เมื่อทรานซิสเตอร์ BJT ได้รับการขับ จากแผ่นพื้นให้พลังงานด้วยเพียโซอิ
เล็กทริ กที่ขา Ib ทรานซิสเตอร์จะทาหน้าที่เป็ นสวิตท์ ขา C และขา E เชื่อมต่อกัน ทา
ให้ Mechanical Switch ปิ ดวงจรภาคส่ งสัญญาณครบวงจร

รู ปที่ 18 วงจร Transistor Switching(BJT)


เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่ งการระบบส่ องสว่ าง
 การศึกษาปรับปรุ งวงจร Trig Chart(SCR) โดยการปรับเปลี่ยนค่าความต้านทานในการจุดชนวนให้กบั วงจร
วงจรชาร์จได้แหล่งพลังงานจาก piezoelectric (PZT) จากรู ปที่ Is เป็ น
กระแสไฟฟ้าที่ได้จากแหล่งพลังงาน (PZT) Ig เป็ นกระแสที่ใช้กระตุน้ SCR ทางาน
การที่ Ig จะทาให้ SCR ทางานได้น้ นั ขึ้นอยูก่ บั ผูอ้ อกแบบว่าจะให้ทางานได้ที่ช่วง
ไหน Io คือกระแสที่ให้กบั แบตเตอรี่

lส่ วนของวงจร Trig Chart

รูรูปปทีที่ ่ 19
20 การท
การทางานวงจร
างานวงจร Trig
Trig Chart(SCR)
Chart(SCR)
เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่ งการระบบส่ องสว่ าง
แบ่งหลักการใช้งานออกเป็ น 2 ส่ วน คือ หลักการใช้งานของภาคส่ งสัญญาณ
( Transmitter Signal ) และ หลักการใช้งานของภาครับสัญญาณ( Receiver Signal )

รู ปที่ 21 ภาคส่ งสัญญาณ(Transmitter Signal)และภาครับสัญญาณ(Receiver Signal) ตามลาดับ


เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่ งการระบบส่ องสว่ าง
 หลักการใช้งานของภาคส่ งสัญญาณ( Transmitter Signal )
ออกแบบให้ทางานเป็ น 2 โหมด คือ โหมดควบคุม Mechanical Switch
และ โหมดการชาร์จแบตเตอรี่ ของภาคส่ งสัญญาณ( Transmitter Signal )

ปุ่ มชาร์จแบตเตอรี่ จาก Floor ปุ่ มขับ Mechanical Switch จาก Floor

สวิตซ์ควบคุมแรงดัน รู ปตทีซ์่ ค22วบคุ


สวิ ภาคส่ งสังญญาณ(Transmitter Signal)
มแหล่
พลังงาน Floor สวิตซ์แสดงสถานะ สวิตซ์เปิ ด-ปิ ดการทางานของ
ของแบตเตอรี่ ภาคส่ งสัญญาณ
เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่ งการระบบส่ องสว่ าง
 หลักการใช้งานของภาครับสัญญาณ( Receiver Signal )
ออกแบบให้ทางานเป็ น 2 โหมด คือ โหมดสัง่ การให้กบั ระบบส่ องสว่าง
( LED ) และโหมดการชาร์จแบตเตอรี่ ของภาครับสัญญาณ( Receiver Signal )

ปุ่ มชาร์จแบตเตอรี่ จาก Floor ชุดส่ องสว่าง(LED) DC Power Supply

สวิตซ์ควบคุมแรงดัน สวิตซ์รู ปควบคุ


ที่ 23มภาครั
แหล่งบสัญญาณ(Receiver Signal)
พลังงาน Floor สวิตซ์แสดงสถานะ สวิตซ์เปิ ด-ปิ ดการทางานของ
ของแบตเตอรี่ ภาครับสัญญาณ
เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่ งการระบบส่ องสว่ าง

รู ปที่ 24 การต่อใช้อุปกรณ์ภาคส่ งสัญญาณ(Transmitter Signal)และภาครับสัญญาณ


(Receiver Signal) ตามลาดับ
เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่ งการระบบส่ องสว่ าง
 การทดสอบวงจร Trig Chart(SCR)
การทดสอบวงจร Trig Chart(SCR) สาหรับชาร์จแบตเตอรี่ 12 V นั้นสิ่ งที่
มุ่งหวังคือต้องการอัดแรงดันเข้าแบตเตอรี่ ขนาด 12 V และใช้เวลาในการชาร์จนาน
เท่าไรถึงจะเต็ม ในแต่ละความต้านทานต่างๆ ซึ่งได้ปรับเปลี่ยนความต้านทานใน
การจุดฉนวนที่ SCR ทางานได้ ดังนี้ 10 KΩ , 30KΩ, 56KΩ, 82KΩ,
100KΩ, 180KΩ, 200KΩ, 330KΩ แรงดันที่อดั เข้าแบตเตอรี่ จะอยู่
ที่ 13-27 V ซึ่งสามารถ อัดแบตเตอรี่ ขนาด 12 V ได้ และจะใช้ตาราง State of
charge 12 V Battery ในการดูสถานะของแบตเตอรี่

รู ปที่ 25 State of charge 12-V battery


เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่ งการระบบส่ องสว่ าง
 การทดสอบวงจร Trig Chart(SCR)
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง ค่าแรงดัน(แสดงระดับสถานะแบตเตอรี่ 12 V)กับ
เวลาที่ใช้ในแต่ละความต้านทาน จากแผ่นพื้นให้พลังงานด้วยเพียโซอิเล็กทริ ก

ค่าแรงดันไฟฟ้า
ที่วัดได้จาก
แบตเตอร์รี่(V)
เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่ งการระบบส่ องสว่ าง
 การทดสอบวงจร Trig Chart(SCR)
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันอินพุตและเอาท์พตุ กับความต้านทาน เมื่อ
SCR ทางาน
แรงดันไฟฟ้า (V)

ความต้านทาน (KΩ)
เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่ งการระบบส่ องสว่ าง
 การทดสอบวงจร Trig Chart(SCR)
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกระแสเอาท์พตุ กับ ความต้านทาน
เมื่อ SCR ทางาน
กรแสไฟฟ้า(mA)

ความต้านทาน (KΩ)
เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่ งการระบบส่ องสว่ าง
 การทดสอบวงจร Trig Chart(SCR)
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง เวลาที่ใช้ในการชาร์จแบตเตอรี่ กับ ความ
ต้านทาน (โดยการจับเวลาในการเหยียบจนขึ้น 10 mV ในแต่ละตัวต้านทาน)
เวลา(นาที)

ความต้านทาน (KΩ)
เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่ งการระบบส่ องสว่ าง
 การทดสอบวงจร Trig Chart(SCR)
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง จานวนครั้งการเหยียบแผ่นพื้นให้พลังงานด้วย
เพียโซอิเล็กทริ ก กับ ความต้านทาน (โดยการจับเวลาในการเหยียบจนขึ้น 10 mV ในแต่ละตัวต้านทาน)
จานวนในการเหยียบ (ครั้ง)

ความต้านทาน (KΩ)
เครื่ องรับส่ งสั ญญาณด้ วยคลื่นความถี่วทิ ยุสาหรับสั่ งการระบบส่ องสว่ าง
 อภิปรายผลของวงจร Trig Chart(SCR)
จากการทดสอบพบว่าที่ความต้านทานมากๆ ทาให้เวลาที่ใช้,
จานวนครั้งการเหยียบ, แรงดันอินพุตและเอาท์พตุ ,กรแสไฟฟ้ามีค่า
เพิ่มขึ้นด้วย
ดังนั้นต้องการชาร์ จประจุไฟฟ้าให้ใช้เวลาน้อยที่สุดควรเลือกที่
ความต้านทานน้อยๆ ดังผลการทดลอง เลือกที่ 10 KΩ ใช้แรงดันไฟฟ้ำที่
13.44 จะทำให้ใช้เวลำน้อยที่สุด หรือชำร์จประจุเข้ำแบตเตอรี่ขนำด 12 V
ได้เร็วที่สุด
สรุ ปโครงงานแผ่ นพืน้ ให้ พลังงานด้ วยเพียโซอิเล็กทริกสาหรับสั่ งการทางาน
ของระบบส่ องสว่ างด้ วยสั ญญาณคลื่นความถี่วทิ ยุ
จากที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้วว่า ปัจจุบนั การเก็บเกี่ยวพลังงานจากเพียโซอิเล็กทริ ก
เป็ นพลังงานทดแทนรู ปแบใหม่ ซึ่งเป็ นพลังงานที่ไม่ส่งผลเสี ยต่อสิ่ งแวดล้อม ใช้แล้วไม่หมด
ไปเข้ามามีบทบาทอย่างมากในเรื่ องของ เครื่ องรับส่ งสัญญาณวิทยุไร้สาย(Wireless radio
frequency receiver/transmitter,RF link) ที่ใช้พลังงานไฟฟ้า(electrical energy) เพียงไม่กี่ไม
โครจูล แหล่งพลังงานขนาดเล็กที่ไม่สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าจากภายนอกทั้งยังเพียงพอต่อ
การใช้งานอย่างต่อเนื่องเป็ นเวลานาน และเนื่องจากผูศ้ ึกษาเห็นว่า เครื่ องรับส่ งสัญญาณวิทยุ
ไร้สาย จาเป็ นต้องมีไฟเลี่ยงจากแบตเตอรี่ จึงปรับปรุ งออกแบบระบบวงจรสาหรับชาร์จ
แบตเตอรี่ ได้อีกด้วย
จากการทดลองการทางานของอุปกรณ์ที่ได้สร้างขึ้นสามารถทางานได้ตาม
วัตถุประสงค์อย่างไรก็ตามอุปกรณ์ยงั ทางานได้ไม่สมบูรณ์มากนักแต่สามารถทางานได้ใน
ระดับหนึ่งเป็ นผลที่น่าพอใจและยอมรับได้หากต้องการให้อุปกรณ์ทางานได้ยา่ งสมบูรณ์แบบ
ต้องอาศัยการศึกษาและการทดสอบเพิ่มเติม อย่างไรก็ดีในการจัดทาโครงงานนี้กไ็ ด้สาเร็จไป
ได้ดว้ ยดีโดยมีอาจารย์ผปู ้ รึ กษาคอยให้คาแนะนาและช่วยแก้ปัญหาต่างๆทางคณะผูจ้ ดั ทา
ขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสู ง

You might also like