You are on page 1of 12

แบบฝกหัดที่ 2

งานขึ้นรูปชิ้นสวนเครื่องกล I

ชิน้ สวนเครือ่ งกลชิน้ แรกทีเ่ ราจะทดลองขึน้ รูปเปนชิน้ สวนเครือ่ งกลแบบงายๆ ดังภาพเปอรสเปคทีฟ


ในรูปที่ 13.1 (ซาย) แตกอ นทีเ่ ราจะเริม่ ขึน้ รูปชิน้ สวน 3 มิตชิ นิ้ นี้ เราจะตองพิจารณารูปทรงของวัตถุเสีย
กอน เพือ่ ทีจ่ ะเลือกวิธีขนึ้ รูปทีง่ ายและเร็วทีส่ ุด ในการพิจารณารูปทรงของชิน้ งานชิน้ นี้ พยายามแยก
ชิน้ งานออกใหเปนชิน้ สวนยอยๆ เพือ่ ทีเ่ ราจะสามารถเขียนหนาตัด 2 มิตขิ องชิ้นสวนยอยไดโดยงาย
เมือ่ พิจารณารูปทรงของชิ้นงานแลว เราสามารถขึน้ รูปโมเดลไดโดยมีขั้นตอนการดังตอไปนี้

รูปที่ 13.1

1. ใชคําสั่ง File4Open เปดไฟล 13-371-01-1.dwg จากโฟลเดอร \Exercise บน


แผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูม อื ฯ จะปรากฏดังรูปที่ 13.1 (ขวา)
Note เราจะเห็นวามีการเขียนหนาตัดของวัตถุเปนเสนตรงเสนโคง 2 มิติ โดยมีการเขียนหนาตัด 2 มิติของ
ชิ้นงานใหขนานกับวิวพอรท Left เพือ่ ที่เราจะไดไมตอ งเสียเวลาหมุนชิ้นงานใหหนั เหไปตามทิศทาง
ทีต่ อ งการ

2. ทดลองเลือ่ นเคอรเซอรไปคลิกบนเสน 2 มิติตา งๆ เราจะเห็นวาวัตถุ 2 มิติตา งๆ นัน้


เปนเสนตรง Line และเสนโคง Arc ทีแ่ ยกอิสระตอกัน แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิก
การเลือกวัตถุ

chap-13.PMD 371 12/10/2549, 21:57


372

3. จากรูปที่ 13.1 (ขวา) แปลงวัตถุ 2 มิตใิ หเปน Region โดยกอนอืน่ ใหแนใจวาคําสัง่


Tools4Options ในแถบคําสัง่ 3D Modeling มีการเลือก Delete profile and path
2D Drafting
curves ในแถบรายการ Deletion control while creating 3D objects แลวคลิกบนปุม
Apply และ OK แลวจึงใชคําสั่ง Draw4Region เพือ่ แปลงวัตถุ 2 มิตใิ หเปน
Region เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกวิวพอรท Left เพือ่ กําหนดใหเปน
วิวพอรทใชงาน แลวคลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing แลวคลิกขวา
จะปรากฏดังรูปที่ 13.2 (ซาย)

Note เหตุผลที่เราเลือก Delete profile and path curves ในแถบรายการ Deletion control while creating 3D
objects ก็เพราะวา เมื่อเราแปลงวัตถุ 2 มิติใหเปน 3 มิติโปรแกรมจะลบเสน 2 มิติใหเราโดยอัตโนมัติ

รูปที่ 13.2

Note เราจะเห็นวา Region ทีป่ รากฏในวิวพอรท Perspective นัน้ โปรงใสมองดูเหมือนโครงลวดไมใช Region


เนื่องจาก Region มี Face normal หันไปอีกยังดานตรงกันขามกับที่ปรากฏในวิวพอรท Perspective
แตถา เราหมุนมุมมองในวิวพอรทเปอรสเปคทีฟไปอีกดานหนึง่ เราจะสามารถมองเห็น Region ปรากฏ
เปนวัตถุ 2 มิตทิ บึ ตัน สภาพเชนนี้เปนปกติของ Region ใน AutoCAD 2007

4. จากรูปที่ 13.2 (ซาย) ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน


แลวเริม่ เพิม่ ความหนาใน 3 มิตใิ หกบั หนาตัด Profile โดยใชคาํ สัง่ Draw4 Modeling
4Extrude

Command: _extrude {จากรูปที่ 13.2 (ซาย) }


Current wire frame density: ISOLINES=4
Select objects to extrude: 1 found {เลือ่ นเคอรเซอรไปบน Region จุดที่ 1 เมือ่ Region ปรากฏ
เปนเสนประ ใหคลิกซาย}
Select objects to extrude: {คลิกขวาหรือQ}
Specify height of extrusion or [Direction/Path/Taper angle]: 170 {กําหนดความลึกเทากับ 170
เมตร แลวกดปุม Q Region จะถูกแปลงเปนโซลิดทีม่ คี วามหนา 170 หนวย

5. โดยคลิกวิวพอรท Perspective (มุมขวาลาง) คลิกบนปุม ไอคอน Parallel Projection


บนแดชบอรด กดปุม ฟงชันคี
่ ย & เพือ่ ปดจุดกริด แลวคลิกบนปุมไอคอน
 และคลิกปุม
บนทูลบาร 3D Modeling ตามลําดับ จะปรากฏดังรูปที่ 13.2 (ขวา)

chap-13.PMD 372 12/10/2549, 21:57


373
แบบฝกหัดที่ 2 งานขึ้นรูปชิ้นสวนเครื่องกล I

6. ขยายภาพในวิวพอรทไอโซเมตริกใหปรากฏเต็มพื้นทีว่ าดภาพ โดยคลิกวิวพอรท


Isometric (มุมลางขวา) แลวคลิกบนปุม ไอคอน บนทูลบาร 3D Modeling จะ
ปรากฏดังรูปที่ 13.3 (ซาย)

รูปที่ 13.3

7. จากรูปที่ 13.3 (ซาย) เคลือ่ นยายจุดกําเนิด โดยใชคําสัง่ Tools4New UCS4Origin


หรือคลิกบนปุมไอคอน บนทูลบาร 3D Modeling เมื่อปรากฏขอความ
Specify new origin point <0,0,0>: เปด # แลวคลิกจุดที่ 2 จะปรากฏดังรูปที่
13.3 (กลาง)
8. กําหนดสีใชงาน โดยคลิกบนปุม ไอคอน บนทูลบาร 3D Modeling คางไว แลว
คลิกบนปุม ไอคอนสีสม รหัส 40 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects ใหคลิกขวา
9. จากรูปที่ 13.3 (กลาง) เขียนกลองสีเ่ หลีย่ ม เพือ่ ใชในการหักลบ โดยใชคําสัง่ Draw4
Modeling4Box

Command: _box {จากรูปที่ 13.3 (กลาง) เปด # ปด #}


Specify first corner or [Center]: 30,0,-30 {ใหดทู ศิ ทางจากแกน X,Y,Z ของ UCS Icon แลวพิมพ
แอบโซลุทคอรออรดเิ นท 30,0,-30 โดยอางอิงมุมแรกของกลองจากจุดกําเนิดใหม คา 30,0,-30 ไดมา
จาก เราตองการเขียนมุมแรกของกลองใหหา งจากแนวแกน X = 30 หนวย และหางจากจุดกําเนิดใน
แนวแกน Y=0 หางจากจุดกําเนิดลงในแนวแกน Z=-30}
Specify other corner or [Cube/Length]: @110,-270,-310 {ใหดท ู ศิ ทางจากแกน X,Y,Z ของ UCS
Icon แลวพิมพรเี ลทีฟคอรออรดเิ นท @110,-270,-310 โดยอางอิงมุมแรกของกลอง คา @110,-270,-310
ไดมาจาก เราตองการเขียนมุมทะแยงของกลองใหมคี วามกวางในแนวแกน X = 110 หนวย และมีความ
ยาวในแนวแกน Y=-270 และมีความสูงในแนวแกน Z=-310 จะปรากฏดังรูปที่ 13.3 (ขวา)}

10. จากรูปที่ 13.3 (ขวา) หักลบกลองโซลิดทีถ่ กู สรางในขอ 9 ออกจากโซลิดชิน้ งาน หลัก


โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and
regions to subtract from .. Select objects: คลิกจุดที่ 3 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ
Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกจุดที่ 4 แลวคลิกขวา จะปรากฏ
ดังรูปที่ 13.4 (ซาย)
11. จากรู ปที่ 13.4 (ซาย) เขียนรูปทรงกระบอก โดยใช คําสั่ ง Draw4 Modeling4
Cylinder

chap-13.PMD 373 12/10/2549, 21:57


374

รูปที่ 13.4
2D Drafting

Command: _cylinder {จากรูปที่ 13.4 (ซาย) ปด # เปด ^}


Specify center point of base or [3P/2P/Ttr/Elliptical]: {เลือ่ นเคอรเซอรไปบนผิวหนาตรงจุดที่ 1
เมือ่ ผิวหนาปรากฏเปนเสนประ เปด # แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปบนสวนโคงตรงจุดที่ 2 เมือ่
ปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 3 ใหคลิกซาย}
Specify base radius or [Diameter]: D {พิมพตวั เลือก D เพือ ่ เลือกเสนผาศูนยกลาง}
Specify diameter: 125 {พิมพคา 125 เพือ ่ กําหนดคาเสนผาศูนยกลาง}
Specify height or [2Point/Axis endpoint] <-305.0000>: 50 {พิมพคา 50 เพือ ่ กําหนดความสูง จะ
ปรากฏดังรูปที่ 13.4 (กลาง)}

12. จากรูปที่ 13.4 (กลาง) เคลือ่ นยายรูปทรงกระบอกไปอยูใ นตําแหนงทีถ่ ูกตอง โดย


ใชคําสั่ง Modify4Move ปด # เปด ) เมื่อปรากฏ Select
objects: คลิกโซลิดจุดที่ 4 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏ Specify base point ... คลิก
ประมาณจุดที่ 5 เมื่อปรากฏ Specify second point... เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 6
เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 40 แลวกดปุม Q จะปรากฏ
ดังรูปที่ 13.4 (ขวา)
13. จากรู ปที่ 13.4 (ขวา) คั ดลอกโซลิ ดแบบพลิกกลั บ โดยใชคําสั่ ง Modify4 3D
Operations43D Mirror
Command: _mirror3d {จากรูปที่ 13.4 (ขวา) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}
Select objects: {คลิกบนโซลิดทรงกระบอกตรงจุดที่ 7 }
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}
Specify first point of mirror plane (3 points) or
[Object/Last/Zaxis/View/XY/YZ/ZX/3points] <3points>: YZ {พิมพตวั เลือก YZ เพือ่ ใชระนาบ YZ
เปนระนาบในการพลิกกลับ ดูระนาบจากยูซเี อสไอคอน}
Specify point on YZ plane <0,0,0>: {เลือ
่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 8 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร แลวคลิกซาย}
Delete source objects? [Yes/No] <N>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q จะปรากฏดังรูปที่ 13.5 (ซาย) }

14. จากรูปที่ 13.5 (ซาย) รวมโซลิดทั้ งหมดใหกลายเปนชิ้ นเดียวกัน โดยใชคําสั่ ง


Modify4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกโซลิดจุดที่ 9
และ 10 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing แลวคลิกขวา

chap-13.PMD 374 12/10/2549, 21:57


375
แบบฝกหัดที่ 2 งานขึ้นรูปชิ้นสวนเครื่องกล I

รูปที่ 13.5

15. จากรู ปที่ 13.5 (ซาย) เขี ยนรู ปทรงกระบอก เพื่ อใช ในการเจาะรู โดยใชคําสั่ ง
Draw4Modeling4Cylinder

Command: _cylinder {จากรูปที่ 13.5 (ซาย) ปด # เปด #}


Specify center point of base or [3P/2P/Ttr/Elliptical]: {เลือ่ นเคอรเซอรไปบนผิวหนาตรงจุดที่ 11
เมือ่ ผิวหนาปรากฏเปนเสนประ เปด # แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปบนสวนโคงตรงจุดที่ 12 เมือ่
ปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 13 ใหคลิกซาย}
Specify base radius or [Diameter]: D {พิมพตวั เลือก D เพือ ่ เลือกเสนผาศูนยกลาง}
Specify diameter: 60 {พิมพคา 60 เพือ ่ กําหนดคาเสนผาศูนยกลาง}
Specify height or [2Point/Axis endpoint] <-305.0000>: -190 {พิมพคา -190 หรือมากกวา เพือ ่
กําหนดความลึกของทรงกระบอก จะปรากฏดังรูปที่ 13.5 (กลาง)}

Note ลองปุ ม S คางไว แล วคลิกปุ มสครอล(ปุ มกลาง)ของเมาส เพื่ อเรี ยกคําสั่ ง View4 Orbit4
Contrained Orbit เพือ่ หมุนมุมมอง ไปยังอีกดานหนึง่ เพือ่ ตรวจสอบวาผิวหนาทรงกระบอกเสมอ
กันพอดีเหมือนกับดานที่หนั ใหกบั จอภาพหรือไม หากผิวหนาเสมอกันพอดีแสดงวาถูกตอง

16. จากรูปที่ 13.5 (กลาง) หักลบกลองโซลิดทีถ่ กู สรางในขอ 9 ออกจากโซลิดชิน้ งานหลัก


โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and
regions to subtract from .. Select objects: คลิกจุดที่ 14 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ
Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกจุดที่ 15 แลวคลิกขวา
แลวคลิกบนปุม X-ray mode บนแดชบอรด จะปรากฏดังรูปที่ 13.5 (ขวา)
17. จากรูปที่ 13.5 (ขวา) ลบมุมโคงฟลเลทรัศมี 15 หนวย โดยใชคาํ สัง่ Modify4Fillet
Command: _fillet {จากรูปที่ 13.5 (ขวา) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะปด}
Current settings: Mode = TRIM, Radius = 0.0000 {ใหแนใจวา Mode= Trim }
Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: {คลิกเสนขอบจุดที่ 16 }
Enter fillet radius <0.0000>: 15 {พิมพคา รัศมี 15 หนวย}
Select an edge or [Chain/Radius]: {คลิกเสนขอบจุดที่ 17, 18, 19 }
Select an edge or [Chain/Radius]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่
13.6 (ซาย)}

chap-13.PMD 375 12/10/2549, 21:57


376

รูปที่ 13.6
2D Drafting

18. จากรูปที่ 13.6 (ซาย) ยกเลิกโหมดเอกซเรย โดยคลิกบนปุม X-ray mode บน


แดชบอรดเปลี่ยนสีโมเดล โดยคลิกบนปุมไอคอน บนทูลบาร 3D Modeling
คางไวแลว คลิกบนปุม ไอคอนสีเขียวรหัส 60 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects
ใหคลิกบนโมเดลตรงจุดที่ 1 จะปรากฏดังรูปที่ 13.6 (กลาง)
Note มาถึงจุดนี้ ผูเขียนพบวาขนาดความลึกซึ่ งเราไดเพิ่ มความหนาโซลิดด วยคําสั่ ง Draw4Modeling
4Extrude ในขอ 4 ผิดพลาด ไมใช 170 หนวยที่ระบุไว ขนาดที่ถูกตองคือ 250 หนวย ดังนั้น เรา
จึงตองการแกไขใหถกู ตอง การแกไขประวัตขิ องโซลิดดวยฟเจอรใหมของ AutoCAD 2007 นัน้ เฉพาะ
กรณีนคี้ อนขางยุง ยาก เพราะโมเดลใกลเสร็จแลว เราจึงเลือกวิธกี ารแกไขแบบเกา โดยตัด Slice ชิน้ งาน
ผากลางแบงออกเปน 2 สวน แลวเคลือ่ นยาย Move ใหไดระยะทีถ่ กู ตอง แลวจึงเขียนกลองสีเ่ หลีย่ มผืนผา
Box เพิ่มเติมสวนที่ขาด แลวจึง Union ใหกลายเปนชิ้นเดียวกันอีกครั้ง โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้

19. จากรูปที่ 13.6 (กลาง) ตั ดเฉื อนโซลิ ด โดยใช คําสั่ ง Modify43D Operations 4Slice
Command: _slice {จากรูปที่ 13.6 (กลาง) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}
Select objects to slice: {คลิกบนโซลิดตรงจุดที่ 1 เพือ่ เลือกวัตถุทตี่ อ งการตัด}
Select objects to slice: {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}
Specify start point of slicing plane or [planar
Object/Surface/Zaxis/View/XY/YZ/ZX/3points] <3points>: YZ {ใหพมิ พตวั เลือก YZ แลวกดปุม
Q ใหสงั เกตุระนาบตัดจากยูซเี อสไอคอน}
Specify a point on the YZ-plane <0,0,0>: {เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย }
Specify a point on desired side or [keep Both sides] <Both>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q
เพือ่ ออกจากคําสัง่ ชิน้ งานจะถูกแบงออกเปน 2 สวน ดังรูปที่ 13.6 (ขวา)}

20. จากรูปที่ 13.6 (ขวา) เคลือ่ นยายครึง่ หนึง่ ของโซลิดไปอยูใ นตําแหนงทีถ่ กู ตอง โดย
ใชคําสั่ง Modify4Move ปด # เปด ) เมื่อปรากฏ Select
objects: คลิกโซลิดจุดที่ 2 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏ Specify base point ... คลิก
ประมาณจุดที่ 3 เมื่อปรากฏ Specify second point... เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 4
เมือ่ ปรากฏเวคเตอร ใหพมิ พ 80 แลวกดปุม Q จะปรากฏ
ดังรูปที่ 13.7 (ซาย)

chap-13.PMD 376 12/10/2549, 21:57


377
แบบฝกหัดที่ 2 งานขึ้นรูปชิ้นสวนเครื่องกล I
รูปที่ 13.7

21. จากรูปที่ 13.7 (ซาย) ตรวจสอบระยะจุดที่ 5 และ 6 วามีระยะหาง 250 หนวยหรือไม


โดยใชคําสัง่ Tools4Inquiry4Distance แลวคลิกจุดที่ 5 และ 6
22. จากรูปที่ 13.7 (ซาย) เขียนกลองสีเ่ หลีย่ มผืนผาเติมสวนทีข่ าดหายไป โดยใชคําสัง่
Draw4Modeling4Box เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first corner or [Center]:
เปด # แลวคลิกจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify other corner or [Cube/
Length]: แลวคลิกจุดที่ 8 จะปรากฏดังรูปที่ 13.7 (กลาง)
23. จากรูปที่ 13.7 (กลาง) รวมโซลิดทัง้ หมดใหกลายเปนชิน้ เดียวกัน โดยใชคาํ สัง่ Modify
4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกโซลิดจุดที่ 9 และ
10 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing แลวคลิกขวา จะปรากฏดังรูปที่ 13.7 (ขวา)

Note เปนอันวาเราไดแกไขโมเดลใหมีขนาดความกวาง 250 หนวยซึ่งเปนขนาดที่ถูกตองเรียบรอยแลว

24. จากรู ปที่ 13.7 (ขวา) เขียนรู ปทรงกระบอก โดยใช คําสั่ ง Draw4 Modeling4
Cylinder

Command: _cylinder {จากรูปที่ 13.7 (ขวา) เปด # ปด #}


Specify center point of base or [3P/2P/Ttr/Elliptical]: {ใหแนใจวา UCS Icon ปรากฏดังรูปที่ 13.7
(ขวา) แลวกดปุม S คางไว แลวคลิกขวา เลือกออฟเจกทสแนป Mid Between 2 Points แลวเลือ่ น
เคอรเซอรไปยังจุดที่ 11 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 12 เมือ่ ปรากฏ
มารคเกอร คลิกซาย ศูนยกลางของทรงกระบอกจะปรากฏตรงจุดที่ 13}
Specify base radius or [Diameter]: D {พิมพตวั เลือก D เพือ ่ เลือกเสนผาศูนยกลาง}
Specify diameter: 160 {พิมพคา 160 เพือ ่ กําหนดคาเสนผาศูนยกลาง}
Specify height or [2Point/Axis endpoint] <-190.0000>: 40 {พิมพคา 40 เพือ ่ กําหนดความสูง
ของทรงกระบอก จะปรากฏดังรูปที่ 13.8 (ซาย}

25. จากรูปที่ 13.8 (ซาย) เขียนรูปทรงกระบอกตอไป โดยคลิกขวาเพื่ อทําซ้ําคําสั่ง


Draw4Modeling4Cylinder

chap-13.PMD 377 12/10/2549, 21:57


378

2D Drafting

รูปที่ 13.8

Command: _cylinder {จากรูปที่ 13.8 (ซาย) ปด # เปด #}


Specify center point of base or [3P/2P/Ttr/Elliptical]: {เลือ่ นเคอรเซอรไปบนผิวหนาตรงจุดที่ 1
เมือ่ ผิวหนาปรากฏเปนเสนประ เปด # แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปบนสวนโคงตรงจุดที่ 2 เมือ่
ปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 3 ใหคลิกซาย}
Specify base radius or [Diameter]: D {พิมพตวั เลือก D เพือ ่ เลือกเสนผาศูนยกลาง}
Specify diameter: 90 {พิมพคา 90 เพือ ่ กําหนดคาเสนผาศูนยกลาง}
Specify height or [2Point/Axis endpoint] <40.0000>: 30 {พิมพคา 30 เพือ ่ กําหนดความสูง จะ
ปรากฏดังรูปที่ 13.8 (กลาง)}

26. จากรูปที่ 13.8 (กลาง) เขียนรูปทรงกระบอกตอไป โดยคลิกขวาเพื่อทําซ้ําคําสั่ง


Draw4Modeling4Cylinder

Command: _cylinder {จากรูปที่ 13.8 (ซาย) ปด # เปด #}


Specify center point of base or [3P/2P/Ttr/Elliptical]: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนผิวหนาตรงจุดที่ 4
เมือ่ ผิวหนาปรากฏเปนเสนประ เปด # แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปบนสวนโคงตรงจุดที่ 5 เมือ่
ปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 6 ใหคลิกซาย}
Specify base radius or [Diameter]: D {พิมพตวั เลือก D เพือ ่ เลือกเสนผาศูนยกลาง}
Specify diameter: 80 {พิมพคา 80 เพือ ่ กําหนดคาเสนผาศูนยกลาง}
Specify height or [2Point/Axis endpoint] <30.0000>: 140 {พิมพคา 140 เพือ ่ กําหนดความสูง จะ
ปรากฏดังรูปที่ 13.8 (ขวา)}

27. จากรูปที่ 13.8 (ขวา) รวมโซลิดทัง้ หมดใหกลายเปนชิน้ เดียวกัน โดยใชคาํ สัง่ Modify
4Solid Editing4Union เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกโซลิดจุดที่ 7 และ 8
เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Crossing แลวคลิกขวา
28. จากรูปที่ 13.8 (ขวา) ปรับระนาบ UCS ใหม โดยใชคาํ สัง่ Tools4New UCS4Face
เมือ่ ปรากฏขอความ Select face of solid object: คลิกบนผิวหนาประมาณจุดที่ 9
เมือ่ ปรากฏขอความ Enter an option [Next/Xflip/Yflip] <accept>: คลิกขวาเพือ่
ยอมรับ จะปรากฏดังรูปที่ 13.9 (ซาย)
29. จากรูปที่ 13.9 (ซาย) ยายจุดกําเนิด โดยใชคําสัง่ Tools4 New UCS4 Origin

chap-13.PMD 378 12/10/2549, 21:57


379
แบบฝกหัดที่ 2 งานขึ้นรูปชิ้นสวนเครื่องกล I

เมือ่ ปรากฏขอความ Specify new origin point <0,0,0>: กดปุม S คางไว แลวคลิกขวา
เลือกออฟเจกทสแนป (Quadrant) แลวคลิกตรงจุดที10 ่ จะปรากฏดังรูปที่13.9 (กลาง)

รูปที่ 13.9

30. จากรูปที่ 13.9 (กลาง) เปดโหมดเอกซเรย โดยคลิกบนปุม X-ray mode แลวเขียน


รูปทรงกระบอก โดยใชคําสัง่ Draw4Modeling4Cylinder

Command: _cylinder {จากรูปที่ 13.9 (กลาง) เปด # ปด #}


Specify center point of base or [3P/2P/Ttr/Elliptical]: {ใหแนใจวา UCS Icon ปรากฏดังรูปที่ 13.9
(กลาง) แลวกดปุม S คางไว แลวคลิกขวา เลือกออฟเจกทสแนป (From) }
Base point: {กดปุม  S คางไว แลวคลิกขวา เลือกออฟเจกทสแนป (Quadrant) แลวคลิกจุดที่ 11}
<Offset>: {พิมพรเี ลทีฟคอรออรดเิ นท @70<0 แลวกดปุม  Q เพือ่ กําหนดจุดศูนยกลางของรูปทรงกระบอก}
Specify base radius or [Diameter]: D {พิมพตวั เลือก D เพือ ่ เลือกเสนผาศูนยกลาง}
Specify diameter: 20 {พิมพคา 20 เพือ ่ กําหนดคาเสนผาศูนยกลาง}
Specify height or [2Point/Axis endpoint] <40.0000>: -80 {พิมพคา -80 เพือ ่ กําหนดความลึก
ของทรงกระบอก จะปรากฏดังรูปที่ 13.9 (ขวา}

31. จากรูปที่ 13.9 (ขวา) หักลบทรงกระบอกทีถ่ กู สรางในขอ 30 ออกจากโซลิดชิน้ งานหลัก


โดยใชคาํ สัง่ Modify4Solid Editing4Subtract เมือ่ ปรากฏขอความ Select solids and
regions to subtract from .. Select objects: คลิกจุดที่ 12 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ
Select solids and regions to subtract .. Select objects: คลิกจุดที่ 13 แลวคลิกขวา แลว
ปดโหมดเอกซเรย โดยคลิกบนปุม X-ray mode บนแดชบอรด จะปรากฏดังรูปที่
13.10 (ซาย)
32. จากรูปที่13.10 (ซาย) เริม่ เขียนระนาบตัด โดยกอนอืน่ ใชคาํ สัง่ Format4Layer แลว
คลิกบนปุม New Layer สรางเลเยอรใหม โดยตัง้ ชือ่ เลเยอร SectionPlane แลว
กําหนดสีแดงรหัสสี Red แลวกําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน
33. ปรับ UCS Icon ใหกลับไปที่ World Coordinate System โดยใชคาํ สัง่ Tools4New
UCS4World จะปรากฏดังรูปที่ 13.10 (กลาง)

chap-13.PMD 379 12/10/2549, 21:57


380

รูปที่ 13.10

2D Drafting

34. จากรูปที่ 13.10 (กลาง) ใหแนใจวา เปนเลเยอรใชงาน


แลวสรางระนาบตัด โดยใชคาํ สัง่ Draw4Modeling4Section Plane
Command: _sectionplane {จากรูปที่ 13.10 (กลาง) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}
Select face or any point to locate section line or [Draw section/Orthographic]: D
{พิมพตวั เลือก D เพือ่ ลากเสนระนาบตัด}
Specify start point: {เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย }
Specify next point: {ปด # คลิกประมาณจุดที่ 2 }
Specify next point: {คลิกประมาณจุดที่ 3 }
Specify next point or ENTER to complete: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากเขียนเสน}
Specify point in direction of section view: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร
คลิกซาย เพือ่ กําหนดดานทีต่ อ งการมองเห็น ในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ
เมือ่ คลิกบนระนาบตัด จะปรากฏจุดกริป๊ สบนระนาบตัดดังรูปที่ 13.10 (ขวา)}

35. จากรูปที่ 13.10 (ขวา) ในขณะทีป่ รากฏจุดกริป๊ สบนระนาบตัด คลิกบนจุดกริป๊ สตรง


จุดที่ 5 จะปรากฏช็อทคัทเมนู ใหเลือก Section Plane แลวคลิกขวาบนระนาบตัด

รูปที่ 13.11

chap-13.PMD 380 12/10/2549, 21:57


381
แบบฝกหัดที่ 2 งานขึ้นรูปชิ้นสวนเครื่องกล I

จะปรากฏช็อทคัทเมนู ใหเลือกคําสัง่ Live Section Settings จะปรากฏหนาตาง Live


Settings ดังรูปที่ 13.11 (ซาย) ใหกําหนดคาตางๆ ตามทีป่ รากฏดังรูปที่ 13.10 (ซาย)
แลวออกจากหนาตาง Live Settings แลวกดปุม D คลิกบนระนาบตัดใหปรากฏ
จุดกริป๊ ส แลวคลิกขวาบนระนาบตัด จะปรากฏช็อทคัทเมนู ใหเลือกคําสัง่ Activate
Live Sectioning แลวกดปุม D จะปรากฏดังรูปที่ 13.11 (ขวา)
36. ซอนระนาบตัด โดยปด(Off)เลเยอร SectionPlane โดยคลิกบนไอคอน ของ
เลเยอร SectionPlane แลวกําหนดใหเลเยอร Profile เปนเลเยอรใชงาน แลวซอน
UCS Icon โดยใชคําสัง่ View4Display4UCS Icon4On จะปรากฏดังรูปที่ 13.12

รูปที่ 13.12

เปนอันเสร็จสิน้ การทําแบบฝกหัดงานขึน้ รูปชิน้ สวนเครือ่ งกล I เรียบรอยแลว อยาลืมวาหากตองการนํา


โมเดลไปเขี ยนเส น บอกขนาด เราจะต องยกเลิ ก Section Plane หรื อแช แข็ ง(Freeze)เลเยอร
SectionPlane เสียกอน จึงจะสามารถใชออฟเจกทสแนปชวยในการเขียนเสนบอกขนาดได สวนในการ
สรางภาพฉาย เราก็สามารถใชคําสั่ง Flatshot บนแดชบอรด ชวยในการสรางภาพฉายอยางสะดวก
อยางไรก็ตาม หากมีการแกไขโมเดล ภาพฉาย 2 มิติท่ถี กู สรางขึ้นดวยคําสั่ง Flatshot และ
SectionPlane จะไมอับเดท(Update)ตามการเปลี่ยนของโมเดล นี่คือขอจํากัดของการใช AutoCAD
ใน 3 มิติ ดังนัน้ ผูท ที่ ํางานทางดานเครือ่ งกลจึงนิยมใช Autodesk Inventor หรือ Solidworks ชวยในการ
ขึน้ รูปโมเดล 3 มิติและสรางแบบแปลน 2 มิติ เนือ่ งจากทั้งโมเดล 3 มิติและแบบแปลน 2 มิติมกี าร
เชือ่ มโยงความสัมพันธ หากโมเดล 3 มิติไดรบั การแกไข แบบแปลน 2 มิตกิ จ็ ะอับเดทตามไปดวย อนึง่
การใช AutoCAD ในงาน 3 มิติกย็ งั มีใชงานกันอยางกวางขวาง เนือ่ งจากซอฟทแวรมรี าคาปานกลาง
ไมแพงเหมือนซอฟทแวรดังกลาวทีผ่ ูเขียนไดยกตัวอยางมาขางตน
***************************

chap-13.PMD 381 12/10/2549, 21:57


382

2D Drafting

ขึน้ รูปโมเดลดวย AutoCAD 2007 เรนเดอรใน AutoCAD 2007

รูปถายจากสถานที่จริง

chap-13.PMD 382 12/10/2549, 21:57

You might also like