You are on page 1of 80

มยผ.

1332-55
มาตรฐานงานคอนกรีตเมือ่ พิจารณาความคงทนและอายุการใช้ งาน
(ปรับปรุงครั้งที่ 1)

สํ านักควบคุมและตรวจสอบอาคาร
กรมโยธาธิการและผังเมือง
กระทรวงมหาดไทย
พ.ศ.2555
กรมโยธาธิการและผังเมือง
มาตรฐานงานคอนกรี ตเมื่อพิจารณาความคงทนและอายุการใช้งาน (ปรับปรุ งครั้งที่ 1)
1. มาตรฐานงานคอนกรี ตเมื่อพิจารณาความคงทน

ISBN XXX-XXX-XXX-XXX-X

สงวนลิขสิ ทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิ ทธิ์ พ.ศ. 2537


โดย สํานักควบคุมและตรวจสอบอาคาร
กรมโยธาธิการและผังเมือง
ถนนพระรามที่6 แขวงสามเสนใน
เขตพญาไท กรุ งเทพฯ 10400
โทรศัพท์ 0 2299 4351 โทรสาร 0 2299 4366

พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ.2555 จํานวน 300 เล่ม


พิมพ์ที่ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โทรศัพท์: 0 2564 3111 ต่อ 201-204 โทรสาร 0 2564 3119
(2)
คํานํา

กรมโยธาธิ การและผังเมืองได้ประกาศมาตรฐานงานคอนกรี ตเมื่อพิจารณาความคงทนและอายุการ


ใช้งาน หรื อ มยผ. 1332-50 เพื่อใช้ประกอบการปฏิบตั ิในการก่อสร้างอาคารคอนกรี ตให้มีความคงทนและมี
อายุการใช้งานที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมต่างๆซึ่ งจะทําให้ประหยัดงบประมาณ ลดค่าใช้จ่ายในการ
ซ่อมแซมหรื อบํารุ งรักษาอาคารลงอย่างมาก และถึงแม้กรมโยธาธิการและผังเมืองจะได้ประกาศใช้มาตรฐาน
งานคอนกรี ตฯแล้ว แต่ยงั คงเห็ นถึงความสําคัญในเรื่ องความคงทนของอาคารคอนกรี ตดังกล่าวอยู่ จึงได้
ทํา การศึ ก ษาในเรื่ อ งนี้ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะความคงทนของอาคารคอนกรี ต เสริ ม เหล็ก ที่ อ ยู่ ใ น
สิ่ งแวดล้อมทะเล ซึ่ งอาคารส่ วนใหญ่ที่อยู่ในสิ่ งแวดล้อมดังกล่าวมักมีอายุการใช้งานที่ไม่ยืนยาวนักปั ญหา
หลักมักเกิดจากการเป็ นสนิมของเหล็กเสริ มคอนกรี ตจากการทําปฏิกิริยากับคลอไรด์ในนํ้าทะเล กรมโยธาธิ
การและผังเมื องจึ งได้มอบหมายให้สถาบันวิจยั และให้คาํ ปรึ กษาแห่ งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดาํ เนิ น
การศึกษาเพื่อกําหนดปริ มาณคลอไรด์ในโครงสร้างคอนกรี ต พร้อมกับปรับปรุ งมาตรฐาน มยผ. 1332 ให้มี
ความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพสิ่ งแวดล้อมในประเทศไทยมากยิ่งขึ้น โดยการปรับปรุ งมาตรฐาน
ดังกล่าวได้ผา่ นขั้นตอนตามหลักการจัดทํามาตรฐานอันเป็ นที่ยอมรับ ได้แก่ การศึกษามาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
ของประเทศที่เป็ นสากล การรับฟั งความเห็นจากผูท่ รงคุณวุฒิ และศึกษาผลกระทบจากการปฏิบตั ิ จนสําเร็ จ
เป็ นมาตรฐานฉบับนี้

กรมโยธาธิ การและผังเมืองขอขอบคุณศาสตราจารย์ ดร. สมนึ ก ตั้งเติมสิ ริกุล และคณะที่ปรึ กษาที่


ช่ ว ยปรั บ ปรุ ง มาตรฐาน มยผ.1332 จนสํา เร็ จ ลุ ล่ ว งเป็ นอย่า งดี และหวัง เป็ นอย่า งยิ่ง ว่า การปฏิ บ ัติต าม
มาตรฐานดังกล่าว จะทําให้อาคารที่อยู่ในสภาพแวดล้อมต่างๆมีความคงทนและมีอายุการใช้งานที่ยืนยาว
อันจะเป็ นการประหยัดงบประมาณและลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมบํารุ งรักษาลง อีกทั้งยังเสริ มสร้างความ
ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมากยิง่ ขึ้นด้วย

(นายอุดม พัวสกุล)
อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง

(3)
บทนํา

ประเทศไทยมีการก่อสร้างและใช้งานโครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็กมาเป็ นเวลายาวนาน ในอดีต


จวบจนกระทัง่ ปั จจุบนั การออกแบบและก่อสร้างโครงสร้างคอนกรี ตจะคํานึงถึงกําลังการรับนํ้าหนักบรรทุก
เป็ นหลักโดยไม่มีการคํานึงถึงความคงทนและอายุการใช้งานของโครงสร้าง วัสดุที่ใช้ในการผลิตคอนกรี ตก็
เป็ นเพียงวัสดุพ้นื ฐาน เช่น ปูนซีเมนต์ หิ น ทราย นํ้า และนํ้ายาผสมคอนกรี ต ข้อกําหนดคุณสมบัติคอนกรี ตที่
ใช้ในโครงสร้างคอนกรี ตก็ไม่ได้มีความแตกต่างกันแม้ว่าโครงสร้างจะถูกสร้างในสิ่ งแวดล้อมที่แตกต่างกัน
จากวิ ธี ป ฏิ บ ัติ ดัง กล่ า วทํา ให้ โ ครงสร้ า งคอนกรี ต ที่ ถู ก สร้ า งขึ้ น มี อ ายุก ารใช้ง านไม่ ย าวนานเท่ า ที่ ค วร
โดยเฉพาะอย่างยิง่ หากโครงสร้างคอนกรี ตดังกล่าวตั้งอยูใ่ นสิ่ งแวดล้อมที่มีการทําลาย เช่น สิ่ งแวดล้อมทะเล
สิ่ งแวดล้อมที่มีความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูง หรื อ สิ่ งแวดล้อมที่มีปริ มาณซัลเฟตสูง เป็ นต้น

จากการพัฒนาองค์ความรู ้ตลอดจนงานวิจยั ทางด้านคุณสมบัติของคอนกรี ตและกระบวนการการ


เสื่ อมสภาพของโครงสร้างคอนกรี ต ตลอดจนนวัตกรรมของวัสดุที่ใช้ในการผลิตคอนกรี ต จึงนําไปสู่ การ
พัฒนาวิ ธีการออกแบบโครงสร้ างคอนกรี ตที่ ไม่ เ พียงแค่ใ ห้มีกาํ ลังเพี ยงพอในการรั บนํ้าหนัก บรรทุ ก ที่
ออกแบบ แต่ยงั มีความคงทนในสภาพแวดล้อมการทําลายต่างๆ โดยประยุกต์ใช้วสั ดุและส่ วนผสมคอนกรี ต
ที่แตกต่างกันได้ ประกอบกับการที่กรมโยธาธิการและผังเมืองได้ริเริ่ มนโยบายในการปรับปรุ งมาตรฐานการ
ปฏิบตั ิงานก่อสร้างให้มีความทันสมัย จึงถือเป็ นโอกาสอันดีที่จะมีการนําเสนอมาตรฐานการออกแบบใหม่
สํา หรั บการออกแบบโครงสร้ างคอนกรี ต โดยให้มีก ารคํานึ งถึ งความคงทนและอายุก ารใช้งานได้ด้ว ย
มาตรฐานฉบับ นี้ จึ ง ถื อ ได้ว่ า เป็ นมาตรฐานการออกแบบโดยคํา นึ ง ถึ ง ความคงทนและอายุก ารใช้ง าน
โครงสร้างคอนกรี ตฉบับแรกของประเทศไทย โดยในฉบับนี้ จะครอบคลุมสิ่ งแวดล้อมเพียง 3 ประเภทก่อน
คือ สิ่ งแวดล้อมทะเล (ปั ญหาการทําลายโดยคลอไรด์) สิ่ งแวดล้อมคาร์ บอเนชั่น (ปั ญหาการทําลายโดย
คาร์ บอนไดออกไซด์) และสิ่ งแวดล้อมซัลเฟต ซึ่ งเป็ นปั ญหาที่พบบ่อยในประเทศไทย ในอนาคตมีความ
จําเป็ นที่ตอ้ งขยายขอบเขตมาตรฐานการออกแบบโดยคํานึ งถึงความคงทนและอายุการใช้งานนี้ ให้สามารถ
ครอบคลุมปัญหาความคงทนอื่นๆด้วย

ประการสําคัญที่จาํ เป็ นต้องกล่าวไว้ในที่น้ ี ประการหนึ่ ง คือ เนื้ อหาตลอดจนสมการ ตาราง และ


แผนภูมิ ที่ใช้ประกอบการออกแบบในมาตรฐานเล่มนี้ ได้ถูกพัฒนาขึ้นโดยใช้ขอ้ มูลในห้องทดลองที่ใช้
วัตถุดิบจริ งที่มีอยูใ่ นประเทศไทย ประกอบกับข้อมูลสภาพแวดล้อมและโครงสร้างคอนกรี ตจริ งในประเทศ
ไทยเป็ นหลัก จึ ง กล่ า วได้ว่ า มาตรฐานฉบับ นี้ มี ค วามเหมาะสมกับ การใช้ง านในประเทศไทยมากกว่ า
(4)
มาตรฐานที่ถูกพัฒนาขึ้นในประเทศอื่นๆ คณะผูจ้ ดั ทํามาตรฐานฉบับนี้จึงหวังเป็ นอย่างยิง่ ว่ามาตรฐานฉบับนี้
จะสามารถนําไปสู่ การใช้งานเพื่อทําให้โครงสร้างคอนกรี ตของประเทศไทยมีความคงทนมากขึ้น สามารถ
ประเมินอายุการใช้งาน เป็ นประโยชน์ในการวางแผนงบประมาณและการวางแผนการบํารุ งรักษาโครงสร้าง
และที่ สําคัญทําให้ประเทศไทยสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการบํารุ งรั กษา ซ่ อมแซม ตลอดจนสร้ าง
ทดแทนโครงสร้างคอนกรี ตได้เป็ นจํานวนมหาศาลต่อไป

(ศาสตราจารย์ ดร. สมนึก ตั้งเติมสิ ริกลุ )


สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หัวหน้าโครงการวิจยั

(5)
คณะผู้วจิ ยั มาตรฐานงานคอนกรีตเมื่อพิจารณาความคงทนและอายุการใช้ งาน มยผ.1332-55

 หัวหน้ าโครงการวิจัย

ศาสตราจารย์ ดร. สมนึก ตั้งเติมสิ ริกลุ


สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

 คณะผู้วจิ ัย

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ทวีชยั สําราญวานิช


คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิ ติศานต์ กรํ้ามาตร
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ดร. เฉลิมชัย วาณิ ชย์ล้ าํ เลิศ
สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ดร. รักติพงษ์ สหมิตรมงคล
สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ดร. ภัควัฒน์ แสนเจริ ญ
สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ดร. วรางคณา แสงสร้อย
สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ดร. พงษ์ศกั ดิ์ โชคทวีกาญจน์
สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

(6)
คณะกรรมการกํากับดูแลการปฏิบัตงิ านของทีป่ รึกษา
มาตรฐานงานคอนกรีตเมื่อพิจารณาความคงทนและอายุการใช้ งาน มยผ.1332-55

 ประธานกรรมการ

วิศวกรใหญ่ นายสุ รชัย พรภัทรกุล


กรมโยธาธิการและผังเมือง

 คณะกรรมการ

นางสมจิต ปิ ยะศิลป์
กรมโยธาธิการและผังเมือง
นายสิ นิทธิ์ บุญสิ ทธิ์
กรมโยธาธิการและผังเมือง
นายเกียรติชยั ลิ้มทองคํา
กรมโยธาธิการและผังเมือง
นายวิบูลย์ ลีพฒั นากิจ
กรมโยธาธิการและผังเมือง

 กรรมการและเลขานุการ

ดร. เสถียร เจริ ญเหรี ยญ


กรมโยธาธิการและผังเมือง

 กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

นายวิโชติ กันภัย
กรมโยธาธิการและผังเมือง

(7)
(8)
สารบัญ
หน้า

คํานํา.............................................................................................................................................................(3)
บทนํา............................................................................................................................................................(4)

ส่ วนที่ 1 ขอบข่ าย...........................................................................................................................................1

ส่ วนที่ 2 นิยามและสั ญลักษณ์ .........................................................................................................................1


2.1 นิยาม.........................................................................................................................................1
2.2 สัญลักษณ์..................................................................................................................................2

ส่ วนที่ 3 คุณสมบัติของคอนกรีตเมื่อพิจารณาเรื่องความคงทน.....................................................................5
3.1 สถานะของคอนกรี ต.................................................................................................................5
3.2 คุณสมบัติของคอนกรี ตในสถานะต่างๆ....................................................................................5
3.3 คอนกรี ตในสภาพแวดล้อมต่างๆ..............................................................................................9
3.4 อายุการใช้งานปลอดการซ่อมแซมขั้นตํ่าของโครงสร้างคอนกรี ต..........................................11

ส่ วนที่ 4 ข้ อกําหนดทัว่ ไปในการออกแบบเมื่อพิจารณาด้ านความคงทน......................................................12


4.1 ระยะหุ ม้ เหล็กเสริ มน้อยสุ ด.....................................................................................................12
4.2 อัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสู งสุ ด.......................................................................................16
4.3 ความกว้างรอยร้าวมากที่สุดที่ยอมรับได้.................................................................................17
4.4 ปริ มาณคลอไรด์ท้ งั หมดที่ยอมให้ในส่ วนผสมคอนกรี ต.........................................................18

ส่ วนที่ 5 การออกแบบเมื่อพิจารณาการเกิดสนิม..........................................................................................19
5.1 การเกิดสนิมเนื่องจากคลอไรด์ในสิ่ งแวดล้อมทะเล................................................................19
5.2 การเกิดสนิมเนื่องจากปฏิกิริยาคาร์บอเนชัน............................................................................24

(9)
หน้า

ส่ วนที่ 6 การออกแบบเมื่อพิจารณาการหดตัว..............................................................................................27
6.1 การหดตัวแบบแห้ง.................................................................................................................27
6.2 การหดตัวแบบออโตจีนสั .......................................................................................................30

ส่ วนที่ 7 การออกแบบเมื่อพิจารณาการกัดกร่ อน..........................................................................................32


7.1 การกัดกร่ อนเนื่องจากสารละลายโซเดียมซัลเฟต....................................................................32
7.2 การกัดกร่ อนเนื่องจากสารละลายแมกนีเซียมซัลเฟต..............................................................34

ส่ วนที่ 8 การออกแบบเมื่อพิจารณาเรื่องอัคคีภัย...........................................................................................35

เอกสารอ้ างอิง................................................................................................................................................36

ภาคผนวก ก ตารางและแผนภูมิการออกแบบสํ าหรับโครงสร้ างในสิ่ งแวดล้ อมทะเล...................................37


ภาคผนวก ข ตัวอย่ างการคํานวณ.................................................................................................................41
ข1 การเกิดสนิมของเหล็กเสริ มเนื่องมาจากคลอไรด์จากนํ้าทะเล...................................................41
ข2 การเกิดสนิมของเหล็กเสริ มเนื่องจากปฏิกิริยาคาร์บอเนชัน......................................................60
ข3 การหดตัวแบบแห้งของคอนกรี ต..............................................................................................63
ข4 การหดตัวแบบออโตจีนสั ของคอนกรี ต.....................................................................................65
ข5 การกัดกร่ อนของคอนกรี ตเนื่องจากสารละลายโซเดียมซัลเฟต.................................................67

(10)
มยผ. 1332-55
มาตรฐานงานคอนกรีตเมื่อพิจารณาความคงทนและอายุการใช้ งาน

ส่ วนที่ 1 ขอบข่ าย
1.1 มาตรฐานงานคอนกรี ตนี้ ครอบคลุมถึงงานคอนกรี ตทัว่ ไปและโครงสร้ างคอนกรี ตอัดแรง แต่ไม่
ครอบคลุ มถึ งโครงสร้ างคอนกรี ตชนิ ดพิเศษบางชนิ ดที่ มีการใช้วสั ดุ พิเศษ เช่ น โพลิ เมอร์ คอนกรี ต
คอนกรี ตมวลเบา คอนกรี ตมวลหนัก คอนกรี ตผสมไฟเบอร์ คอนกรี ตบ่มด้วยตัวเอง เป็ นต้น
1.2 มาตรฐานนี้ใช้หน่วย SI (International System Units) เป็ นหลัก
1.3 มาตรฐานนี้ ไม่ ไ ด้ค รอบคลุ ม ทุ ก ชนิ ด ของปั ญ หาความคงทน ดัง นั้น ผู้ป ฏิ บ ัติ ต ามมาตรฐาน
จําเป็ นต้องใช้ขอ้ กําหนดหรื อมาตรฐานอื่นที่เป็ นที่ยอมรับสําหรับประกอบในการพิจารณาชนิ ดปั ญหา
ความคงทนที่ไม่ได้ครอบคลุม

ส่ วนที่ 2 นิยามและสั ญลักษณ์


2.1 นิยาม
“การเสื่ อมสภาพ (deterioration)” หมายถึง การเปลี่ยนสภาพของวัสดุ เนื่ องจากแรง สิ่ งแวดล้อมหรื อ
อิทธิ พลภายใน ทําให้คอนกรี ตหรื อเหล็กเสริ มภายในคอนกรี ต มีความสามารถในการรับนํ้าหนักหรื อ
ความคงทนตํ่าลง เช่น การแตกร้ าวของคอนกรี ต การหลุดล่อนของคอนกรี ต การบวมตัวของคอนกรี ต
การเกิดสนิมของเหล็กเสริ ม การสูญเสี ยกําลังของคอนกรี ต การสูญเสี ยกําลังของเหล็กเสริ ม เป็ นต้น
“การหดตัวแบบแห้ ง (drying shrinkage)” หมายถึ ง การหดตัวเนื่ องจากการสู ญเสี ยความชื้ นจาก
คอนกรี ตไปสู่สิ่งแวดล้อม ซึ่ งอาจเป็ นการเปลี่ยนแปลงด้านความยาวหรื อปริ มาตร
“การหดตัวแบบออโตจีนัส (autogenous shrinkage)” หมายถึง ผลรวมของการหดตัวทางเคมีที่เกิดจาก
ปฏิกิริยาไฮเดรชัน่ (chemical shrinkage) และการหดตัวที่เกิดจากการสู ญเสี ยความชื้นในช่องว่างแคปิ ล
ลารี ใ นเพสต์ ทําให้เ กิ ด แรงดึ ง แคปิ ลลารี (capillary tension) ขึ้ น ในช่ อ งว่า งแคปิ ลลารี ซึ่ ง มี ผ ลให้
คอนกรี ตหดตัว (physical shrinkage due to self-desiccation) ทั้งนี้ ไม่รวมการหดตัวแบบแห้งที่เกิดจาก
การสูญเสี ยความชื้นให้กบั สิ่ งแวดล้อม
“ความคงทน (durability)” หมายถึง ความสามารถของโครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็กในการต้านทาน
การเสื่ อมสภาพ
“ความลึกคาร์ บอเนชั น (carbonation depth)” หมายถึง ระยะที่วดั จากผิวของคอนกรี ต เข้าไปข้างใน
เนื้อคอนกรี ตจนถึงแนวแบ่งแยกระหว่างส่วนที่เกิดคาร์ บอเนตและยังไม่เกิดคาร์บอเนต จากปฏิกิริยาคาร์
บอเนชัน
“คาร์ บอเนชัน (carbonation)” หมายถึง ปฏิกิริยาระหว่างก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์จากสิ่ งแวดล้อมกับ
สารละลายไฮดรอกไซด์ในเพสต์ มอร์ ตา้ ร์ หรื อคอนกรี ต ได้ผลลัพธ์เป็ นสารประกอบคาร์ บอเนต
“ปลอดการซ่ อมแซม (repair-free)” หมายถึง การที่ไม่ตอ้ งทําการซ่อมแซมองค์อาคารของโครงสร้าง
คอนกรี ตเสริ มเหล็ก ทั้งนี้ไม่รวมถึงการตรวจสอบต่างๆในด้านวิศวกรรมโยธา
“ระยะหุ้มเหล็กเสริ ม (covering)” หมายถึง ระยะที่วดั จากผิวคอนกรี ตถึงผิวนอกสุ ดของเหล็กปลอก
เดี่ยว หรื อเหล็กปลอกเกลียว หรื อเหล็กลูกตั้ง ในกรณี ไม่มีเหล็กดังกล่าว ให้วดั ถึงผิวของเหล็กเสริ มที่อยู่
ใกล้กบั ผิวนอกที่สุด
“วัสดุเติมเต็ม (filler)” หมายถึง วัสดุผงที่สามารถใช้ทดแทนบางส่วนของปูนซีเมนต์ หรื อใส่ เติมเพิ่มเข้า
ไปในวัสดุ ป ระสาน แต่ ไม่ สามารถทําปฏิ กิ ริ ย าไฮเดรชั่นหรื อ พอซโซลานิ ก ได้ เช่ น ผงหิ นปู น, ผง
แคลเซี ยมคาร์ บอเนต เป็ นต้น
“วัสดุประสาน (binder)” หมายถึง วัสดุผงที่ใช้ประสานมวลรวมเข้าด้วยกัน อาจเป็ นปูนซี เมนต์ไฮเดรต
สารพอซโซลาน หรื อผลผลิตจากการเกิดปฏิกิริยาของปูนซี เมนต์ ที่ก่อตัวเป็ นคอนกรี ต มอร์ตาร์
“อายุการใช้ งาน (service life)” หมายถึง ระยะเวลาในการใช้งานของโครงสร้างคอนกรี ตโดยที่
โครงสร้างคอนกรี ตดังกล่าวยังมีความแข็งแรงและความปลอดภัยในระดับที่สามารถรับนํ้าหนักบรรทุก
ที่ออกแบบได้
“อายุการใช้ งานปลอดการซ่ อมแซม (repair free service life)” หมายถึง ระยะเวลาในการใช้งานของ
โครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็กและโครงสร้างคอนกรี ตอัดแรงนับตั้งแต่วนั ที่สร้างเสร็ จภายใต้มาตรฐาน
การก่ อสร้ างที่ ดีและมี การใช้งานและบํา รุ งรั กษาถู กต้องตามหลักวิชาการและวัตถุ ประสงค์ในการ
ออกแบบโดยไม่จาํ เป็ นต้องได้รับการซ่ อมแซมโครงสร้าง ทั้งนี้ ไม่รวมถึงการตรวจสอบด้านวิศวกรรม
โยธาที่จาํ เป็ นต้องตรวจสอบเป็ นประจําอยูแ่ ล้ว โครงสร้างคอนกรี ตอาจมีรอยร้าวได้แต่ตอ้ งมีขนาดรอย
ร้าวไม่เกินกว่าที่มาตรฐานนี้ กาํ หนด ยกเว้นรอยร้าวที่เกิดจากการใช้งานผิดวัตถุประสงค์หรื ออุบตั ิเหตุ
หรื อภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ

2.2 สั ญลักษณ์
b หมายถึง นํ้าหนักวัสดุประสานในส่ วนผสมคอนกรี ตปริ มาตร 1 ม.3 หน่วยเป็ น กก.
c หมายถึง ระยะหุม้ เหล็กเสริ ม หน่วยเป็ น มม.

2
c0 หมายถึง ค่าแนะนําสําหรับระยะหุม้ เหล็กเสริ มทัว่ ไป หน่วยเป็ น มม.
cmin หมายถึง ระยะหุม้ เหล็กเสริ มน้อยสุด หน่วยเป็ น มม.
C0 หมายถึง ปริ มาณคลอไรด์ในคอนกรี ตที่บริ เวณผิวเหล็กเสริ ม โดยเป็ นคลอไรด์ส่วนที่
อยูใ่ นส่วนผสมของคอนกรี ตตั้งแต่แรก หน่วยเป็ น ร้อยละโดยนํ้าหนักของ
วัสดุประสาน
Cd หมายถึง ปริ มาณคลอไรด์ในคอนกรี ตที่บริ เวณผิวเหล็กเสริ ม หน่วยเป็ น ร้อยละโดย
นํ้าหนักของวัสดุประสาน
Clim หมายถึง ปริ มาณคลอไรด์วิกฤติ เป็ นปริ มาณคลอไรด์ที่จะทําให้เหล็กเสริ มในคอนกรี ต
เริ่ มเกิดสนิมได้ หน่วยเป็ น ร้อยละโดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน
Cs หมายถึง ปริ มาณคลอไรด์ที่ผิวหน้าของคอนกรี ต หน่วยเป็ น ร้อยละโดยนํ้าหนักของ
วัสดุประสาน
Da หมายถึง สัมประสิ ทธิ์การแพร่ ของคลอไรด์ (apparent chloride diffusion coefficient)
ในคอนกรี ต หน่วยเป็ น ซม.2 ปี -1
Dk หมายถึง สัมประสิ ทธิ์การแพร่ ของคลอไรด์ (apparent chloride diffusion coefficient)
ในคอนกรี ตที่ไม่มีรอยแตกร้าว หน่วยเป็ น ซม.2 ปี -1
Do หมายถึง ตัวแปรซึ่งแสดงถึงผลของรอยร้าวต่อการแพร่ ของคลอไรด์ในคอนกรี ต
หน่วยเป็ น ซม.2 ปี -1
erf หมายถึง สมการ error function หรื อ Gauss error function เป็ นสมการคณิ ตศาสตร์
รู ปแบบหนึ่ง √
f c' หมายถึง กําลังอัดประลัยของคอนกรี ต หน่วยเป็ น เมกกะปาสคาล
fc'  28 หมายถึง กําลังอัดประลัยของคอนกรี ตที่อายุ 28 วัน หน่วยเป็ น เมกกะปาสคาล
k หมายถึง สัมประสิ ทธิ์ ความลึกคาร์ บอเนชัน หน่วยเป็ น มม. ปี -0.5
kr หมายถึง สัมประสิ ทธิ์ผลของเถ้าลอยที่มีต่อความลึกคาร์ บอเนชัน
(เถ้าลอยชนิด 2ก และ 2ข ตามมาตรฐาน มอก. 2135 หรื อ ว.ส.ท. 1014)
RH หมายถึง ความชื้นสัมพัทธ์ หน่วยเป็ น ร้อยละ
S หมายถึง พื้นที่ผวิ ซึ่ งสัมผัสอากาศของโครงสร้างคอนกรี ต หน่วยเป็ น มม.2
t หมายถึง อายุของคอนกรี ตที่ตอ้ งการคํานวณค่าการหดตัว ที่อณ ุ หภูมิเฉลี่ยเท่ากับ
อุณหภูมิมาตรฐาน 20 องศาเซลเซียส หน่วยเป็ น วัน

3
tc หมายถึง อายุของคอนกรี ตขณะเผชิญการแห้งที่ได้รับการปรับแก้เนื่องจากผลของ
อุณหภูมิ หน่วยเป็ น วัน
t0 หมายถึง อายุของคอนกรี ตเมื่อเริ่ มเผชิญการแห้ง ที่อณ
ุ หภูมิเฉลี่ยเท่ากับอุณหภูมิ
มาตรฐาน 20 องศาเซลเซี ยส หน่วยเป็ น วัน
t0c หมายถึง อายุของคอนกรี ตเมื่อเริ่ มเผชิญการแห้งที่ได้รับการปรับแก้เนื่องจากผลของ
อุณหภูมิ หน่วยเป็ น วัน
tr หมายถึง อายุการใช้งานปลอดการซ่อมแซมของโครงสร้างคอนกรี ตที่ตอ้ งการ
หน่วยเป็ น ปี
ts หมายถึง ระยะเวลาก่อตัวสุ ดท้ายของคอนกรี ต (ปกติ ระหว่าง 0 ถึง 1 วัน) ที่อณ ุ หภูมิ
เฉลี่ยเท่ากับอุณหภูมิมาตรฐาน 20 องศาเซลเซี ยส หน่วยเป็ น วัน
ti หมายถึง จํานวนวันที่มีอุณหภูมิเท่ากับ Ti หน่วยเป็ น วัน
Ti หมายถึง อุณหภูมิของสิ่ งแวดล้อมในช่วงเวลา ti หน่วยเป็ น องศาเซลเซี ยส
V หมายถึง ปริ มาตรของโครงสร้างคอนกรี ต หน่วยเป็ น มม.3
V/S หมายถึง อัตราส่วนปริ มาตรต่อพื้นที่ผิวซึ่ งสัมผัสอากาศของโครงสร้างคอนกรี ต
หน่วยเป็ น มม.
w หมายถึง ปริ มาณนํ้า ในส่ วนผสมคอนกรี ตปริ มาตร 1 ม.3 หน่วยเป็ น กก.
W หมายถึง ขนาดความกว้างของรอยแตกร้าว หน่วยเป็ น มม.
Wa หมายถึง ขนาดความกว้างของรอยแตกร้าวที่มากที่สุดที่ยอมให้ได้ หน่วยเป็ น มม.
w/b หมายถึง อัตราส่วนโดยนํ้าหนักของนํ้าต่อวัสดุประสาน
wc หมายถึง อัตราส่วนโดยนํ้าหนักของนํ้าต่อปูนซี เมนต์
Xc หมายถึง ความลึกคาร์ บอเนชันวัดจากผิวคอนกรี ตที่เผชิญกับสภาพแวดล้อม ณ อายุ
คอนกรี ตที่ออกแบบ หน่วยเป็ น มม.
 หมายถึง สัมประสิ ทธิ์ระยะหุม้ เหล็กเสริ ม
c หมายถึง ตัวแปรซึ่งแสดงผลของประเภทปูนซี เมนต์ ใช้ในการคํานวณหา
ค่าการหดตัวแบบแห้งสุดท้าย
1 หมายถึง สัมประสิ ทธิ์การสัมผัสความเปี ยกชื้นที่มีผลต่อความลึกคาร์ บอเนชัน
2 หมายถึง สัมประสิ ทธิ์ระดับความรุ นแรงของสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อ
ความลึกคาร์ บอเนชัน
 หมายถึง ตัวแปรซึ่งแสดงถึงการแปรผันตามเวลาของการหดตัวแบบแห้ง

4
b หมายถึง ตัวแปรซึ่งแสดงถึงอิทธิ พลของชนิดปูนซีเมนต์และวัสดุประสาน
ใช้ในการคํานวณหาค่าการหดตัวแบบออโตจีนสั
 'as  t  หมายถึง ค่าการหดตัวแบบออโตจีนสั ของคอนกรี ตตั้งแต่เริ่ มก่อตัวจนถึงอายุ t
หน่วยเป็ น ไมโครสเตรน หรื อ x10-6
 'as  t,t0  หมายถึง ค่าการหดตัวแบบออโตจีนส ั ของคอนกรี ตระหว่างอายุ t0 ถึง t
หน่วยเป็ น ไมโครสเตรน หรื อ x10-6
 'as หมายถึง ค่าการหดตัวแบบออโตจีนสั สุดท้าย หน่วยเป็ น ไมโครสเตรน หรื อ x10-6
 cs
'
 t,t0  หมายถึง ค่าการหดตัวของคอนกรี ตระหว่างอายุ t0 ถึง t หน่วยเป็ น ไมโครสเตรน
หรื อ x10-6
 'ds  t,t0  หมายถึง ค่าการหดตัวแบบแห้งของคอนกรี ตระหว่างอายุ t0 ถึง t หน่วยเป็ น
ไมโครสเตรน หรื อ x10-6
 'ds หมายถึง ค่าการหดตัวแบบแห้งสุดท้าย หน่วยเป็ น ไมโครสเตรน หรื อ x10-6
 'sh หมายถึง ค่าการหดตัวสุดท้าย หน่วยเป็ น ไมโครสเตรน หรื อ x10-6

ส่ วนที่ 3 คุณสมบัตขิ องคอนกรีตเมื่อพิจารณาเรื่องความคงทน


3.1 สถานะของคอนกรีต
3.1.1 คอนกรี ตสด หมายถึง คอนกรี ตหลังจากการผสมแล้วจนถึงช่วงเสร็ จสิ้ นการเทคอนกรี ตเข้า
แบบแล้ว
3.1.2 คอนกรี ตในสถานะพลาสติก หมายถึง คอนกรี ตหลังจากเสร็ จสิ้ นการเทจนถึงช่วงเวลาที่
คอนกรี ตก่อตัวขั้นสุ ดท้าย
3.1.3 คอนกรี ตอายุตน้ หมายถึง คอนกรี ตหลังจากการก่อตัวขั้นสุ ดท้ายจนถึงช่วงเวลาก่อนที่
คอนกรี ตจะพัฒนากําลังรับแรงได้ถึงค่ากําลังที่ออกแบบไว้
3.1.4 คอนกรี ตที่แข็งตัวแล้ว หมายถึง คอนกรี ตหลังจากพัฒนากําลังได้ถึง หรื อเกินค่ากําลังที่
ออกแบบไปแล้ว และต้องคงทนเป็ นเวลายาวนานในสภาวะแวดล้อม

3.2 คุณสมบัตขิ องคอนกรีตในสถานะต่ างๆ


3.2.1 คอนกรี ตสด
คอนกรี ต สดควรมี ความสามารถในการเทได้และเติ ม เต็ม เข้า แบบได้ดี มี ค่า การสู ญ เสี ย
ความสามารถในการเทได้อยูใ่ นเกณฑ์ที่ยอมรับได้ ความสามารถในการเทได้ที่ดี หมายถึง

5
(ก) มีความสามารถในการเทได้ หรื อการไหล ที่เหมาะสมกับการก่อสร้างนั้นๆ
(ข) ไม่แยกตัว
(ค) ไม่เกิ ดการติดขัดเนื่ องจากหิ นกองรวมกันที่ส่วนหนึ่ งส่ วนใดของแบบหรื อเหล็ก
เสริ มในระหว่างเท
3.2.2 คอนกรี ตในสถานะพลาสติก
คอนกรี ตในสถานะพลาสติก ควรมีลกั ษณะดังต่อไปนี้
(ก) ไม่มีการเยิม้ นํ้า หรื อมีเพียงเล็กน้อย
(ข) ไม่มีการทรุ ดตัวแบบพลาสติก หรื อมีเพียงเล็กน้อย
(ค) ไม่เกิดการแตกร้าวเนื่องจากการหดตัวแบบพลาสติก
(ง) แต่งผิวง่าย
3.2.3 คอนกรี ตอายุตน้
คอนกรี ตอายุตน้ ควรมีลกั ษณะดังต่อไปนี้
(ก) ไม่มีการหดตัวแบบออโตจี นสั ที่มากเกินไป โดยไม่ก่อให้เกิ ดปั ญหาการแตกร้ าว
เนื่องมาจากหน่วยแรงยึดรั้งที่มีสาเหตุมาจากการหดตัวแบบออโตจีนสั
(ข) ไม่มีการแตกร้าวเนื่องจากอุณหภูมิ
(ค) มีกาํ ลังอัดที่อายุตน้ เพียงพอ
3.2.4 คอนกรี ตที่แข็งตัวแล้ว
คอนกรี ตที่แข็งตัวแล้วควรมี คุณสมบัติตามที่ตอ้ งการในระยะยาว คุณสมบัติดงั กล่าว
ได้แก่
(ก) คุณสมบัติทางกล
คุณสมบัติทางกล ได้แก่ กําลังอัดและโมดูลสั ยืดหยุน่ คอนกรี ตควรมีกาํ ลังอัดมาก
พอที่จะรับหน่วยแรงที่เกิดขึ้นเนื่ องจากนํ้าหนักบรรทุกที่ออกแบบไว้โดยมีตวั คูณ
ความปลอดภัย ที่ เ หมาะสม โมดู ล ัส ยื ด หยุ่น ไม่ ค วรมี ค่ า น้อ ยกว่ า ที่ ใ ช้ใ นการ
ออกแบบโครงสร้าง
(ข) คุณสมบัติดา้ นความคงทน
คุณลักษณะด้านความคงทนของคอนกรี ตสําหรับอายุการใช้งานในระยะยาวขึ้นอยู่
กับสภาพแวดล้อมที่ คอนกรี ตจะต้อ งเผชิ ญ คอนกรี ตจะต้องถูก ออกแบบให้มี
คุณภาพสู ง มีการซึ มผ่านของสารที่เป็ นอันตรายต่อคอนกรี ตหรื อเหล็กเสริ มตํ่า
และมี ร ะยะหุ ้มเหล็กเสริ ม ที่ เพี ยงพอ ในการเผชิ ญ กับสภาพแวดล้อมชนิ ดและ

6
ระดับต่าง ๆ เพื่อให้คอนกรี ตมีความทนทานต่อการเสื่ อมสภาพในสภาพแวดล้อม
ของการใช้งานและสามารถป้ องกันการเกิดสนิ มของเหล็กเสริ มได้ โดยพิจารณา
ตามหัวข้อต่อไปนี้
1) การขยายตัวในสภาวะเปี ยก
คอนกรี ตต้องไม่ขยายตัวมากเกินไปในสภาวะเปี ยก ค่าการขยายตัวที่ได้
จากการทดสอบมาตรฐานต้อ งมี ค่ า ไม่ สู ง จนก่ อ ให้เ กิ ด ผลเสี ย ต่ อองค์
อาคารที่ ติ ด กัน ค่ า การขยายตัว (คิ ด เป็ นร้ อ ยละของความยาวของชิ้ น
ทดสอบเริ่ มต้น) ของชิ้นทดสอบที่ได้จากการทดสอบมาตรฐานต้องมีค่า
ไม่เกินกว่าที่กาํ หนด ในระยะเวลาที่กาํ หนด
2) การหดตัวแบบแห้ง
คอนกรี ตต้องไม่หดตัวมากเกินไปจนก่อให้เกิดรอยร้าวที่มองเห็นได้ดว้ ย
ตาเปล่า ค่าการหดตัวของคอนกรี ตต้องมีค่าไม่เกินกว่าที่กาํ หนด ซึ่ งขึ้นอยู่
กับลักษณะของการยึดรั้ง กําลังรับแรงดึง หรื อความต้านทานการแตกร้าว
ของคอนกรี ต และคุณสมบัติของคอนกรี ตอื่นๆ เช่น การล้า เป็ นต้น
3) คาร์ บอเนชัน
ความลึ ก คาร์ บ อเนชั น ของคอนกรี ตมาตรฐานทดสอบโดยวิ ธี เ ร่ ง
(Standard Accelerated Test) ต้องมีค่าไม่เกินกว่าที่กาํ หนด ค่าดังกล่าว
กําหนดโดยที่ความลึกคาร์ บอเนชันต้องไม่เข้าไปถึงตําแหน่ งเหล็กเสริ ม
ชั้นนอกสุดก่อนอายุการใช้งานที่ปลอดการซ่อมแซมที่ได้ออกแบบไว้
4) การเกิดสนิมของเหล็กเสริ ม
คอนกรี ตควรมีการซึ มผ่านตํ่าเพื่อจํากัดการเข้าไปของนํ้า ก๊าซ สารละลาย
และอิออน เพื่อเป็ นการป้ องกันเหล็กเสริ มในคอนกรี ต ซึ่ งอาจประเมิ น
การซึ มผ่านโดยการใช้การทดสอบค่าการซึ มผ่านของนํ้า ค่าการซึ มผ่าน
ของนํ้าต้องมีค่าไม่เกินกว่าที่กาํ หนด ค่าการซึ มผ่านของนํ้าที่กาํ หนดอาจ
เปลี่ยนแปลงได้ตามระยะหุ ้มเหล็กเสริ ม คอนกรี ตที่มีระยะหุม้ มาก อาจ
กําหนดค่าการซึ มผ่านของนํ้าสู งขึ้น การกําหนดค่าต้องคํานึ งถึงปริ มาณ
คลอไรด์ดว้ ย โดยที่ปริ มาณคลอไรด์ที่ละลายนํ้าได้ ณ ตําแหน่งเหล็กเสริ ม
ชั้นนอกสุดต้องมีค่าไม่เกินกว่าที่กาํ หนด

7
5) ปฏิกิริยาระหว่างด่างกับมวลรวม
คอนกรี ตต้องไม่ มีความเสี่ ยงต่ อการเกิ ดปฏิ กิริ ยาระหว่างด่ างกับซิ ลิก้า
ด่ า งกั บ ซิ ลิ เ กต หรื อด่ า งกั บ คาร์ บอเนต หากมี ค วามเสี่ ยงต่ อ การ
เกิดปฏิกิริยาระหว่างด่างกับมวลรวม ปริ มาณด่างในปูนซี เมนต์ตอ้ งไม่สูง
เกินกว่าที่กาํ หนด หากสู งเกิ นกว่าที่กาํ หนดควรใช้วสั ดุประสานชนิ ดอื่น
ร่ วมด้วย เช่น เถ้าลอย เป็ นต้น เพื่อลดความเป็ นด่างในคอนกรี ต
6) การสึ กกร่ อน
คอนกรี ต ไม่ ค วรสึ ก กร่ อ นมากถึ ง ขั้น รุ น แรงในช่ ว งอายุก ารใช้ง านที่
ออกแบบไว้ ควรมี วิ ธี ก ารทดสอบความต้า นทานการสึ ก กร่ อ นของ
คอนกรี ต ข้อกําหนดในเรื่ องการสึ กกร่ อนของคอนกรี ตขึ้นอยูก่ บั ชนิดของ
องค์อาคารหรื อโครงสร้าง และสภาวะแวดล้อมที่คอนกรี ตต้องเผชิญ
7) การเผชิญกับซัลเฟต
คอนกรี ตต้องมีความต้านทานซัลเฟต ค่าการขยายตัว (ร้อยละของความ
ยาวของชิ้ น ทดสอบเริ่ ม ต้น ) และ/หรื อค่ าการสู ญ เสี ย นํ้า หนัก ของชิ้ น
ทดสอบที่ ไ ด้จ ากการทดสอบการขยายตัว และ/หรื อ การทดสอบการ
สู ญเสี ยนํ้าหนักเนื่ องจากซัลเฟตตามวิธีการมาตรฐาน (Standard Sulfate
Expansion or Weight Loss Test) ต้องมีค่าไม่เกินกว่าที่กาํ หนด ใน
ระยะเวลาที่กาํ หนด
8) การเผชิญกับสารเคมีอื่นๆ
คอนกรี ตต้องทนต่ อการกัดกร่ อนโดยสารเคมี อื่น เช่ น กรด และ เกลื อ
ร้อยละการสู ญเสี ยนํ้าหนักเมื่อเทียบกับค่าเริ่ มต้นต้องไม่เกินกว่าที่กาํ หนด
ในระยะเวลาที่กาํ หนด
9) การแข็งตัวและหลอมละลายของนํ้าในคอนกรี ต
คอนกรี ตต้องสามารถทนต่อรอบการแข็งตัวและหลอมละลายของนํ้าใน
คอนกรี ตได้โดยที่ค่าโมดูลสั ยืดหยุน่ ลดลงไม่เกินกว่าร้อยละที่กาํ หนดเมื่อ
เทียบกับค่าเริ่ มต้น

8
10) การเสื่ อมสภาพโดยกระบวนการทางชีววิทยา
ร้ อยละของการสู ญ เสี ย กําลังอัดเที ยบกับ กําลังอัดเมื่ อเริ่ มทดสอบ โดย
ทดสอบด้วยวิธีเร่ ง (Specified Accelerated Degradation Test) ต้องไม่เกิน
กว่าที่กาํ หนด

3.3 คอนกรีตในสภาพแวดล้ อมต่ างๆ


ในอดีตที่ผา่ นมาการออกแบบโครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็ก มีการกําหนดข้อกําหนดของคอนกรี ตเป็ น
ลักษณะเดียวกัน แม้วา่ สภาพแวดล้อมของโครงสร้างจะมีความแตกต่างกัน ทําให้โครงสร้างคอนกรี ตที่
อยู่ใ นสภาพแวดล้อ มที่ รุ น แรงมี อ ายุก ารใช้ง านสั้นลง ซึ่ ง ทํา ให้มี ค่า ใช้จ่ า ยในการบํา รุ ง รั ก ษา และ
ซ่ อมแซมสู ง หากสามารถกําหนดคุณสมบัติของคอนกรี ตโดยให้มีความเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมที่
โครงสร้างจะต้องเผชิญ ก็จะทําให้คอนกรี ตมีอายุการใช้งานยาวนาน ลดค่าใช้จ่ายในการบํารุ งรักษา และ
ซ่ อมแซมในอนาคต ดังนั้น ในการก่อสร้ างโครงสร้ างคอนกรี ตเสริ มเหล็กให้พิจารณาถึ งปั ญหาด้าน
ความคงทนที่จะต้องเผชิญในแต่ละลักษณะสภาวะแวดล้อม ดังในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 คุณสมบัตขิ องคอนกรีตทีต่ ้ องคํานึงถึงตามลักษณะงานก่ อสร้ างและ


สภาพแวดล้อมของโครงสร้ าง
(ข้อ 3.3)
ลักษณะงานก่ อสร้ างและสภาพแวดล้ อม การออกแบบให้ คาํ นึงถึงหัวข้ อความคงทนต่ อไปนีเ้ ป็ นหลัก
1. นํ้าจืด
ก) ใต้น้ าํ การสึ กกร่ อนของผิวคอนกรี ต
ข) เผชิญวัฏจักรเปี ยกสลับแห้ง การเกิดสนิมของเหล็กเสริ ม และ/หรื อ การสึ กกร่ อนของผิวคอนกรี ต
ค) บรรยากาศบริ เวณที่สมั ผัสละอองนํ้าได้ การเกิดสนิมของเหล็กเสริ มเนื่องจากคาร์บอเนชัน และ/หรื อ การเกิดสนิมของ
เหล็กเสริ มทัว่ ไป
2. นํ้ากร่ อย
ก) ใต้น้ าํ การต้านทานซัลเฟต และ/หรื อ การเกิดสนิมของเหล็กเสริ มเนื่องจากคลอไรด์
จากนํ้าทะเล และ/หรื อ การสึ กกร่ อนของผิวคอนกรี ต
ข) เผชิญวัฏจักรเปี ยกสลับแห้ง การเกิดสนิมของเหล็กเสริ มเนื่องจากคลอไรด์จากนํ้าทะเล และ/หรื อ
การสึ กกร่ อนของผิวคอนกรี ต
ค) บรรยากาศบริ เวณที่สมั ผัสละอองนํ้าได้ การเกิดสนิมของเหล็กเสริ มเนื่องจากคาร์บอเนชัน และ/หรื อ การเกิดสนิมของ
เหล็กเสริ มเนื่องจากคลอไรด์จากนํ้าทะเล

9
ตารางที่ 1 (ต่ อ) คุณสมบัติของคอนกรีตทีต่ ้ องคํานึงถึงตามลักษณะงานก่ อสร้ างและ
สภาพแวดล้อมของโครงสร้ าง
(ข้อ 3.3)
ลักษณะงานก่ อสร้ างและสภาพแวดล้ อม การออกแบบให้ คาํ นึงถึงหัวข้ อความคงทนต่ อไปนีเ้ ป็ นหลัก
3. นํ้าทะเล
ก) ใต้น้ าํ การต้านทานซัลเฟต และ/หรื อ การเกิดสนิมของเหล็กเสริ มเนื่องจาก
คลอไรด์จากนํ้าทะเล และ/หรื อ การสึ กกร่ อนของผิวคอนกรี ต
ข) เผชิญวัฏจักรเปี ยกสลับแห้ง การเกิดสนิมของเหล็กเสริ มเนื่องจากคลอไรด์จากนํ้าทะเล และ/หรื อ
การสึ กกร่ อนของผิวคอนกรี ต
ค) บรรยากาศบริ เวณที่สมั ผัสละอองนํ้าได้ การเกิดสนิมของเหล็กเสริ มเนื่องจากคาร์บอเนชัน และ/หรื อ การเกิดสนิม
ของเหล็กเสริ มเนื่องจากคลอไรด์จากนํ้าทะเล
4. นํ้าเสี ย การต้านทานกรดซัลฟุริก และ การต้านทานซัลเฟต หรื อสารเคมีอื่นๆ
5. ใต้ดิน และใต้พ้นื ท้องทะเล
ก) มีซลั เฟต การต้านทานซัลเฟต
ข) ไม่มีซลั เฟต ไม่มี
6. ติดผิวดิน (เช่น ตอม่อ คานคอดิน
โครงสร้างบริ เวณติดผิวดิน)
ก) สัมผัสคลอไรด์ การเกิดสนิมของเหล็กเสริ มเนื่องจากคลอไรด์ในดิน
ข) ไม่สมั ผัสคลอไรด์ การเกิดสนิมของเหล็กเสริ มทัว่ ไป
7. ในบรรยากาศที่ตอ้ งสัมผัสกับก๊าซ การเกิดสนิมของเหล็กเสริ มเนื่องจากคาร์บอเนชัน
คาร์บอนไดออกไซด์ (ใกล้โรงงาน ใกล้ถนนที่
มีการจราจรหนาแน่น อุโมงค์ทางลอด)
8. ในบรรยากาศที่ตอ้ งคํานึงถึงการหดตัวแบบ การแตกร้าวเนื่องจากการหดตัวแบบแห้ง
แห้ง (กลางแจ้ง หรื อ มีลมพัดแรง)
9. โครงสร้างคอนกรี ตหลา เช่น เขื่อน ฐานราก การแตกร้าวเนื่องจากอุณหภูมิ หรื อ การแตกร้าวเนื่องจากการหดตัว
ขนาดใหญ่ และโครงสร้างที่มีความหนามาก
10. ชิ้นส่ วนบางต่อเนื่องที่มีการยึดรั้ง การแตกร้าวเนื่องจากการหดตัว
11. โครงสร้างคอนกรี ตที่มีอตั ราส่ วน การหดตัวแบบออโตจีนสั
นํ้าต่อวัสดุประสานตํ่า มีความทึบนํ้าสูง
12. งานก่อสร้างที่สมั ผัสสารเคมีอื่น ความสามารถในการต้านทานสารเคมีที่เกี่ยวข้อง

10
ข้ อแนะนํา
หากโครงสร้ างคอนกรี ตได้รับการปกป้ องพื้นผิวในด้านที่สัมผัสกับสิ่ งแวดล้อมเป็ นอย่างดี และวัสดุ
ปกป้ องพื้นผิวนั้นได้รับการดูแลรั กษาที่ เหมาะสมในช่ วงการใช้งานโครงสร้ าง จะทําให้โครงสร้ าง
คอนกรี ตที่ ได้รับการปกป้ องพื้นผิว นั้นมี อายุการใช้งานที่ ยาวนานขึ้ น ยกเว้นการแตกร้ าวเนื่ องจาก
อุณหภูมิของคอนกรี ตหลา ที่ไม่อาจป้ องกันได้ดว้ ยวิธีการเคลือบผิวคอนกรี ต (ลําดับที่ 9 ในตารางที่ 1)

3.4 อายุการใช้ งานปลอดการซ่ อมแซมขั้นตํ่าของโครงสร้ างคอนกรีต


อาคารโครงสร้ างคอนกรี ตเสริ มเหล็กแต่ละประเภทมีความสําคัญและส่ งผลกระทบในเชิ งเศรษฐกิ จ
แตกต่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากต้องปิ ดการใช้อาคารเพื่อการซ่อมแซม ตัวอย่างโครงสร้างที่มีผลต่อ
ระบบเศรษฐกิ จมาก ได้แก่ เขื่อน สนามบิน โรงไฟฟ้ า ทางด่วน โครงสร้ างระบบขนส่ งมวลชน และ
สะพานขนาดใหญ่ เป็ นต้น นอกจากนี้ แหล่งเงินงบประมาณในการก่อสร้างและซ่อมแซมบํารุ งรักษาก็มี
ที่มาที่แตกต่างกัน เช่น อาคารหน่วยงานของรัฐที่มาจากเงินภาษีอากรของประชาชน อาคารของเอกชนที่
เจ้าของอาคารต้องรั บผิดชอบค่าใช้จ่ายเอง เป็ นต้น ดังนั้นเพื่อให้การออกแบบอายุการใช้งานให้แก่
โครงสร้ างคอนกรี ตเสริ มเหล็กมี ความเหมาะสมต่อลักษณะสภาพการใช้งานอาคารของโครงสร้ าง
คอนกรี ตเสริ มเหล็กและสภาพทางเศรษฐกิจของประเทศไทย จึงกําหนดข้อแนะนําอายุการใช้งานปลอด
การซ่อมแซมขั้นตํ่าสําหรับอาคารโครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็ก ดังในตารางที่ 2

ตารางที่ 2 ค่ าแนะนําอายุการใช้ งานปลอดการซ่ อมแซมขั้นตํ่าของอาคาร


โครงสร้ างคอนกรีตเสริมเหล็กประเภทต่ างๆ
(ข้อ 3.4)
อายุการใช้ งานปลอดการซ่ อมแซมขั้นตํ่า
ประเภทของอาคาร
(ปี )
1. อาคารที่จาํ เป็ นต่อความเป็ นอยูข่ องสาธารณชนและอาคาร
สาธารณูปโภคขนาดใหญ่ เช่น อาคารศูนย์บรรเทาสาธารณภัย
50
อาคารศูนย์สื่อสาร ท่าอากาศยาน โรงไฟฟ้ า โรงผลิตและเก็บ
นํ้าประปา เขื่อน อ่างเก็บนํ้า
2. โครงสร้างทางด้านการคมนาคมขนาดใหญ่ เช่น สะพานข้าม
40
แม่น้ าํ ขนาดใหญ่ ทางด่วน
3. โครงสร้างทางด้านการคมนาคมขนาดเล็ก เช่น สะพานข้าม
30
คลอง สะพานข้ามแยก

11
ตารางที่ 2 (ต่ อ) ค่ าแนะนําอายุการใช้ งานปลอดการซ่ อมแซมขั้นตํ่าของอาคาร
โครงสร้ างคอนกรีตเสริมเหล็กประเภทต่ างๆ
(ข้อ 3.4)
ประเภทของอาคาร อายุการใช้ งานปลอดการซ่ อมแซมขั้นตํ่า
(ปี )
4. อาคารสูง อาคารขนาดใหญ่พิเศษ อาคารชุมนุมคน
20
อาคารชุด โรงแรมที่มีหอ้ งพักตั้งแต่ 80 ห้องขึ้นไป
5. อาคารสถานที่ราชการทุกประเภท 20
6. อาคารสํานักงาน โรงมหรสพ สถานบริ การ โรงงาน
20
สถานศึกษา โรงแรมที่มีหอ้ งพักน้อยกว่า 80 ห้อง
7. อาคารเพื่อการพักอาศัยที่สร้างขึ้นสําหรับจําหน่าย เช่น
20
หมู่บา้ นจัดสรร อาคารพาณิ ชย์ เป็ นต้น
8. อาคารที่เจ้าของสร้างขึ้นเพื่อใช้ในการพักอาศัยเอง ไม่กาํ หนด
9. อาคารที่ไม่ใช่เพื่อการพักอาศัย เช่น ป้ ายโฆษณา ไม่กาํ หนด

ข้ อแนะนํา
ค่าที่ให้ในตารางที่ 2 นี้เป็ นค่าแนะนํา ผูอ้ อกแบบและเจ้าของอาคารสามารถกําหนดให้อาคารมีอายุการ
ใช้งานปลอดการซ่อมแซมมากกว่าหรื อน้อยกว่าที่แนะนําในตารางที่ 2 นี้ได้ โดยปกติอายุการใช้งานจะ
ถูกกําหนดตามความประสงค์ของเจ้าของอาคาร

ส่ วนที่ 4 ข้ อกําหนดทัว่ ไปในการออกแบบเมือ่ พิจารณาด้ านความคงทน


4.1 ระยะหุ้มเหล็กเสริมน้ อยสุ ด
ในการออกแบบคอนกรี ตเพื่อให้คอนกรี ตมีความคงทนต่อการเสื่ อมสภาพและสามารถป้ องกันการเกิด
สนิมของเหล็กเสริ มได้ โครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็กจะต้องมีระยะหุม้ เหล็กเสริ มไม่นอ้ ยกว่าระยะหุม้
เหล็กเสริ มน้อยสุ ด ซึ่ งระยะหุ ้มเหล็กเสริ มน้อยสุ ดสามารถคํานวณได้จากสมการ (4.1-ก) และ (4.1-ข)
ต่อไปนี้

c  cmin (4.1-ก)

cmin    c0 (4.1-ข)

12
โดยที่ c0 ค่าแนะนําสําหรับระยะหุม้ เหล็กเสริ ม ดูตารางที่ 4, ตารางที่ 5, และ ตารางที่ 21
 ขึ้นอยูก่ บั คุณภาพของคอนกรี ต หรื อกําลังอัดของคอนกรี ตที่ใช้ ดูตารางที่ 3
cmin ระยะหุม้ เหล็กเสริ มน้อยสุ ดที่จาํ เป็ นต้องใช้เพื่อให้คงทน สําหรับทุกสภาพสิ่ งแวดล้อม
c ค่าที่ได้จากการคํานวณให้ปัดเศษทศนิยมขึ้นเป็ นจํานวนเต็มครั้งละ 5 มม.

ตารางที่ 3 ค่ าสั มประสิ ทธิ์ระยะหุ้มเหล็กเสริม (  )


(ข้อ 4.1)
ค่ าอัตราส่ วนนํ้าต่ อวัสดุประสาน ( w/b ) หรือ
ค่ าสั มประสิ ทธิ์ระยะหุ้มเหล็กเสริม
กําลังอัดประลัย ( f c' ) ทรงกระบอกที่อายุ 28 วัน
w/b > 0.65 หรื อ f c' < 20 เมกกะปาสคาล 1.2
0.45 < w/b ≤ 0.65 หรื อ
1.0
20 เมกกะปาสคาล < f c' ≤ 40 เมกกะปาสคาล
w/b ≤ 0.45 หรื อ f c' > 40 เมกกะปาสคาล 0.9*
หมายเหตุ *กรณี ที่ระยะหุ ม้ เหล็กเสริ มทัว่ ไปไม่เกิน 20 มม. หรื อกรณี ที่ตอ้ งเผชิ ญกับกรดหรื อเผชิ ญกับสภาวะ
ซัลเฟตตั้งแต่ระดับปานกลางขึ้นไป ให้ใช้ค่าสัมประสิ ทธิ์ระยะหุม้ เหล็กเสริ มเท่ากับ 1.0

ตารางที่ 4 ระยะหุ้มเหล็กเสริมทัว่ ไป ( c0 ) สํ าหรับโครงสร้ างคอนกรีตทัว่ ไป


(ข้อ 4.1)
ลักษณะงานก่ อสร้ าง ระยะหุ้มตํ่าสุ ด (มม.)
1. คอนกรีตหล่ อในที่ (ไม่ อัดแรง)
(ก) คอนกรี ต ที่ ห ล่ อ ติ ด กับ ดิ น โดยใช้ดิ น เป็ นแบบ และผิ ว คอนกรี ตสั ม ผัส กับ ดิ น 75
ตลอดเวลาที่ใช้งาน
(ข) คอนกรี ตที่สมั ผัสกับดิน หรื อถูกแดดฝน
สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 40 มม. ขึ้นไป 60
สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 20 มม. ถึง 36 มม. 50
สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 16 มม. และเล็กกว่า 40

13
ตารางที่ 4 (ต่ อ) ระยะหุ้มเหล็กเสริมทัว่ ไป ( c0 ) สํ าหรับโครงสร้ างคอนกรีตทัว่ ไป
(ข้อ 4.1)
ลักษณะงานก่ อสร้ าง ระยะหุ้มตํ่าสุ ด (มม.)
(ค) คอนกรี ตที่ไม่สมั ผัสดิน หรื อไม่ถูกแดดฝน
ในผนัง แผ่นพื้น และตง
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 40 มม. ขึ้นไป 40
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 20 มม. ถึง 36 มม. 30
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 16 มม. และเล็กกว่า 20
ในคาน และเสา
- เหล็กเสริ มหลัก เหล็กลูกตั้งในคาน 40
- เหล็กเสริ มหลัก เหล็กปลอกเดี่ยวหรื อเหล็กปลอกเกลียวในเสา 40
ในหลังคาเปลือกบางและแผ่นพื้นพับจีบ
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 20 มม. ขึ้นไป 20
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 16 มม. และเล็กกว่า 13
2. คอนกรีตหล่ อในที่ (อัดแรง)
(ก) คอนกรี ต ที่ ห ล่ อ ติ ด กับ ดิ น โดยใช้ ดิ น เป็ นแบบ และผิ ว คอนกรี ตสั ม ผัส กับ ดิ น 75
ตลอดเวลาที่ใช้งาน
(ข) คอนกรี ตที่สมั ผัสดิน หรื อถูกแดดฝน
ในผนัง แผ่นพื้น และตง 25
ในองค์อาคารอื่น 40
(ค) คอนกรี ตที่ไม่สมั ผัสดิน หรื อไม่ถูกแดดฝน
ในผนัง แผ่นพื้น และตง 20
ในคาน และเสา
- เหล็กเสริ มหลัก เหล็กลูกตั้งในคาน 40
- เหล็กเสริ มหลัก เหล็กปลอกเดี่ยวหรื อเหล็กปลอกเกลียวในเสา 25
ในหลังคาเปลือกบางและแผ่นพื้นพับจีบ
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 16 มม. และเล็กกว่า 10
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดอื่นๆ ขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางแต่ไม่นอ้ ย
กว่า 20 มม.

14
ตารางที่ 4 (ต่ อ) ระยะหุ้มเหล็กเสริมทัว่ ไป ( c0 ) สํ าหรับโครงสร้ างคอนกรีตทัว่ ไป
(ข้อ 4.1)
ลักษณะงานก่ อสร้ าง ระยะหุ้มตํ่าสุ ด (มม.)
3. คอนกรีตหล่ อสํ าเร็จ (ควบคุมคุณภาพจากโรงงาน) ทั้งอัดแรงและไม่ อดั แรง
(ก) คอนกรี ตที่สมั ผัสดิน หรื อถูกแดดฝน
ในแผ่นผนัง
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 40 มม. ขึ้นไป 40
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 20 มม. ถึง 36 มม. 30
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 16 มม. และเล็กกว่า 20
ในองค์อาคารอื่น
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 40 มม. ขึ้นไป 50
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 20 มม. ถึง 36 มม. 40
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 16 มม. และเล็กกว่า 30
(ข) คอนกรี ตที่ไม่สมั ผัสดิน หรื อไม่ถูกแดดฝน
ในผนัง แผ่นพื้น และตง
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 40 มม. ขึ้นไป 30
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 20 มม. ถึง 36 มม. 20
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 16 มม. และเล็กกว่า 16
ในคาน และเสา
- เหล็กเสริ มหลัก เหล็กลูกตั้งในคาน 25
- เหล็กเสริ มหลัก เหล็กปลอกเดี่ยวหรื อเหล็กปลอกเกลียวในเสา 30
ในหลังคาเปลือกบางและแผ่นพื้นพับจีบ
- สําหรับลวดอัดแรง (Prestressing tendons) 20
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 20 มม. ขึ้นไป 15
- สําหรับเหล็กเสริ มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 16 มม. และเล็กกว่า 10
4. คอนกรีตที่หล่ อในนํ้า 100
5. เหล็กเสริมมัดรวมกันเป็ นกํา
ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กเส้นเดียวซึ่งมีเนื้อที่หน้าตัดเท่ากับเหล็กทั้งกํารวมกัน แต่ไม่จาํ เป็ นต้องมากกว่า
50 มม. ยกเว้นกรณี คอนกรี ตที่สมั ผัสดิน ระยะหุม้ ตํ่าสุ ดต้องเท่ากับ 75 มม.

15
ตารางที่ 5 ระยะหุ้มเหล็กเสริมทัว่ ไป ( c0 ) สํ าหรับโครงสร้ างคอนกรีตทีม่ คี วามเสี่ ยง
ต่ อการเกิดสนิมของเหล็กเสริม
(ข้อ 4.1)
ลักษณะงานก่ อสร้ าง ระยะหุ้มตํ่าสุ ด (มม.)
1. คอนกรีตหล่ อในที่ ทั้งอัดแรงและไม่ อดั แรง
แผ่นพื้น และผนัง 50
องค์อาคารอื่น 65
2. คอนกรีตหล่ อสํ าเร็จ (ควบคุมคุณภาพจากโรงงาน) ทั้งอัดแรงและไม่ อดั แรง
แผ่นพื้น และผนัง 40
องค์อาคารอื่น 50

ข้ อแนะนํา
วิศวกรผูอ้ อกแบบไม่สามารถกําหนดระยะหุม้ เหล็กเสริ มให้นอ้ ยกว่า cmin แต่สามารถกําหนดระยะหุม้
เหล็กเสริ มให้มากกว่าค่า cmin นี้ ได้ ขึ้นอยู่กบั อายุการใช้งานที่ตอ้ งการ ซึ่ งระยะหุ ้มเหล็กเสริ มที่
เหมาะสมตามอายุการใช้งานสามารถคํานวณได้จากหัวข้อที่ 5.1 สําหรับสภาพแวดล้อมคลอไรด์ และ
5.2 สําหรับสภาพแวดล้อมคาร์ บอเนชัน

4.2 อัตราส่ วนนํ้าต่ อวัสดุประสานสู งสุ ด


โดยปกติ จะกําหนดอัต ราส่ วนนํ้าต่ อวัสดุ ประสานเพื่อให้ได้กาํ ลังอัดของคอนกรี ตตามต้องการ แต่
สําหรับลักษณะงานก่อสร้างและสภาพแวดล้อมดังที่กาํ หนดในหัวข้อ 3.3 เพื่อให้คอนกรี ตมีความคงทน
ต่อการเสื่ อมสภาพและสามารถป้ องกันการเกิดสนิมของเหล็กเสริ มได้ จําเป็ นต้องกําหนดอัตราส่ วนนํ้า
ต่อวัสดุประสานให้ต่าํ ถึงแม้วา่ กําลังอัดของคอนกรี ตที่ได้จะสูงกว่ากําลังอัดที่ตอ้ งการในการรับนํ้าหนัก
บรรทุกที่ออกแบบก็ตาม อัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสูงสุ ดให้เป็ นไปตามข้อกําหนดดังตารางที่ 6

ข้ อแนะนํา
(1) วิศวกรผูอ้ อกแบบสามารถกําหนดอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานให้ต่าํ กว่าหรื อสูงกว่าค่าที่กาํ หนดใน
หัวข้อนี้ได้โดยสามารถคํานวณได้จากหัวข้อที่ 5.1 สําหรับสภาพแวดล้อมคลอไรด์ และ 5.2 สําหรับ
สภาพแวดล้อมคาร์ บอเนชัน

16
(2) สภาวะที่เสี่ ยงต่อการเกิ ดสนิ มของเหล็กเสริ มระดับปานกลาง ได้แก่ สภาพแวดล้อมที่เสี่ ยงต่อคาร์
บอเนชันรุ นแรง (ดูหวั ข้อที่ 5.2) หรื อสภาพแวดล้อมคลอไรด์ที่อยู่ห่างจากชายฝั่ งตั้งแต่ 100 ม.
จนถึง 1,000 ม. (ดูหวั ข้อที่ 5.1)
(3) สภาวะที่เสี่ ยงต่อการเกิดสนิ มของเหล็กเสริ มระดับรุ นแรง ได้แก่ สภาพแวดล้อมคลอไรด์ที่อยู่ห่าง
จากชายฝั่งไม่เกิน 100 ม. (ดูหวั ข้อที่ 5.1)
(4) สภาวะที่เสี่ ยงต่อการเสื่ อมสภาพของคอนกรี ตระดับปานกลาง ได้แก่ สภาพแวดล้อมที่เสี่ ยงต่อการ
กัดกร่ อนโดยสารละลายซัลเฟตระดับปานกลาง (ดูหวั ข้อที่ 7)
(5) สภาวะที่เสี่ ยงต่อการเสื่ อมสภาพของคอนกรี ตระดับรุ นแรง ได้แก่ สภาพแวดล้อมที่เสี่ ยงต่อการกัด
กร่ อนโดยสารละลายซัลเฟตระดับรุ นแรง (ดูหวั ข้อที่ 7)

ตารางที่ 6 อัตราส่ วนนํา้ ต่ อวัสดุประสานสู งสุ ด


(ข้อ 4.2)
อัตราส่ วนนํา้ ต่ อ
คอนกรีตในสภาวะต่ างๆ
วัสดุประสานสู งสุ ด
1. โครงสร้างคอนกรี ตที่ตอ้ งการความทึบนํ้า 0.50
2. โครงสร้างคอนกรี ตในสภาวะที่เสี่ ยงต่อการเกิดสนิมของเหล็กเสริ มหรื อการ
0.50
เสื่ อมสภาพของคอนกรี ต ระดับปานกลาง
3. โครงสร้างคอนกรี ตในสภาวะที่เสี่ ยงต่อการเกิดสนิมของเหล็กเสริ มหรื อการ
0.45
เสื่ อมสภาพของคอนกรี ต ระดับรุ นแรง

4.3 ความกว้ างรอยร้ าวมากทีส่ ุ ดทีย่ อมรับได้


ในบางโอกาส องค์อาคารบางประเภท เช่น คาน อาจไม่สามารถหลีกเลี่ยงรอยร้าวดังเช่น รอยร้าวที่เกิด
จากโมเมนต์ดดั ได้ ซึ่ งรอยร้ าวเหล่านี้ มกั ไม่มีผลต่อความสามารถในการรับแรงขององค์อาคารถ้าองค์
อาคารนั้นไม่ ได้มี ก ารเสื่ อมสภาพ อย่า งไรก็ดี รอยร้ าวที่ มี ค วามกว้า งมากก็จ ะเป็ นผลให้สารที่ เ ป็ น
อันตรายต่อคอนกรี ตและเหล็กเสริ มซึ มผ่านเข้าไปได้ง่าย ทําให้องค์อาคารนั้นเสื่ อมสภาพเร็ วขึ้น และมี
อายุการใช้งานสั้นลง ดังนั้น จึงจําเป็ นต้องควบคุมขนาดความกว้างของรอยร้าวไม่ให้มากเกินไป ความ
กว้างรอยร้าวที่มากที่สุด สําหรับโครงสร้างในสภาพแวดล้อมทัว่ ไป หรื อในสภาพแวดล้อมที่เผชิญต่อ
การเกิดสนิมของเหล็กเสริ ม สามารถกําหนดได้จากตารางที่ 7

17
ตารางที่ 7 ความกว้ างรอยร้ าวมากทีส่ ุ ดทีย่ อมรับได้
(ข้อ 4.3)
ความรุนแรงของสภาพแวดล้ อม เหล็กเสริมทั่วไป (มม.) เหล็กเสริมอัดแรง (มม.)
1. สภาวะทัว่ ไป 0.005  c 0.004  c
2. สภาวะเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมปานกลาง 0.004  c ห้ามมีรอยร้าว
3. สภาวะเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมรุ นแรง 0.0035  c ห้ามมีรอยร้าว
หมายเหตุ หากระยะหุม้ เหล็กเสริ ม ( c ) เกิน 100 มม. ให้ใช้ค่า 100 มม. ในการคํานวณหาความกว้างรอยร้าวที่
มากที่สุด

ข้ อแนะนํา
1. วิศวกรผูอ้ อกแบบสามารถเลื อกกําหนดขนาดความกว้างรอยร้ าวที่มากที่ สุดให้ต่ าํ กว่าค่าใน
ตารางได้หากต้องการให้โครงสร้างมีอายุการใช้งานที่ยาวนานขึ้น
2. สภาวะที่เสี่ ยงต่อการเกิดสนิ มระดับปานกลาง ได้แก่ สภาพแวดล้อมคาร์ บอเนชันที่เสี่ ยงต่อคาร์
บอเนชันรุ นแรง หรื อสภาพแวดล้อมคลอไรด์ที่อยูห่ ่างจากชายฝั่งตั้งแต่ 100 ม. จนถึง 1,000 ม.
3. สภาวะที่เสี่ ยงต่อการเกิดสนิ มระดับรุ นแรง ได้แก่ สภาพแวดล้อมคลอไรด์ที่อยูห่ ่ างจากชายฝั่ ง
น้อยกว่า 100 ม.

4.4 ปริมาณคลอไรด์ ท้งั หมดทีย่ อมให้ ในส่ วนผสมคอนกรีต


คลอไรด์เป็ นสาเหตุหนึ่ งที่ทาํ ให้เกิดการกัดกร่ อนของเหล็กเสริ มได้ โดยอิออนของคลอไรด์ (Chloride
Ions) เป็ นตัวการที่ ทาํ ให้ความต้านทานการเกิ ดสนิ มของเหล็กเสริ มลดลง และเมื่ อปริ มาณคลอไรด์
บริ เวณเหล็กเสริ มถึงระดับวิกฤตแล้ว ถ้ามีน้ าํ และออกซิเจนเพียงพอ ก็จะทําให้เหล็กเกิดสนิมได้
คลอไรด์อาจมีอยูใ่ นคอนกรี ตเอง เช่น มีอยูใ่ นนํ้าที่ใช้ผสมคอนกรี ต หิ น ทราย (โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใน
ทรายจากแหล่งใกล้ทะเล) หรื อนํ้ายาผสมคอนกรี ตบางชนิ ด เช่น แคลเซี ยมคลอไรด์ (CaCl2) ที่มกั มีอยู่
ในสารเร่ งการก่อตัว ดังนั้นเพื่อเป็ นการควบคุมปริ มาณคลอไรด์ต้ งั แต่ข้ นั ตอนการผลิตคอนกรี ต จึงควร
กําหนดมาตรฐานไว้สาํ หรับปริ มาณคลอไรด์ท้ งั หมดในคอนกรี ตที่มาจากส่วนผสมแต่ละชนิด (ไม่รวมที่
ซึ มผ่านเข้ามาจากสิ่ งแวดล้อม) โดยจะต้องมีค่าไม่เกินกว่าที่กาํ หนดในตารางที่ 8

18
ตารางที่ 8 ปริมาณคลอไรด์ ท้งั หมดทีย่ อมให้ ในส่ วนผสมคอนกรีต
(ข้อ 4.4)
ปริมาณคลอไรด์ ทลี่ ะลายในกรด
ลักษณะงานก่ อสร้ าง ที่ยอมให้ ในส่ วนผสมคอนกรีต
(ร้ อยละโดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน)
1. คอนกรี ตอัดแรง 0.08
2. คอนกรี ตเสริ มเหล็กที่ขณะใช้งานมีการสัมผัสกับคลอไรด์ เช่ น 0.20
กําแพงกันคลื่น (Sea-Retaining Walls)
3. คอนกรี ตเสริ มเหล็กที่มีสภาพแห้ง หรื อขณะใช้งานมีการป้ องกัน 1.00
ความชื้น
4. คอนกรี ตเสริ มเหล็กอื่น 0.30
หมายเหตุ การทดสอบเพื่อหาปริ มาณคลอไรด์รวมที่ละลายในกรดได้ให้เป็ นไปตามมาตรฐาน
ASTM C 1152/C 1152M : Standard Test Method for Acid-Soluble Chloride in Mortar and Concrete

ข้ อแนะนํา
ในทางปฏิ บตั ิ สามารถทดสอบวัดปริ มาณคลอไรด์ท้ งั หมดที่ ยอมให้ในส่ วนผสมคอนกรี ต เมื่ ออยู่ใน
สภาวะคอนกรี ตสดโดยทดสอบในขณะเดี ยวกับการทดสอบค่าการยุบตัวของคอนกรี ตสด หรื อเมื่ อ
คอนกรี ตแข็งตัวแล้วตามมาตรฐาน ASTM C 1152/C 1152M กําหนด

ส่ วนที่ 5 การออกแบบเมือ่ พิจารณาการเกิดสนิม


5.1 การเกิดสนิมเนื่องจากคลอไรด์ ในสิ่ งแวดล้ อมทะเล
เมื่อคอนกรี ตเผชิญต่อคลอไรด์ในสภาพแวดล้อม คลอไรด์จะซึ มเข้าสู่คอนกรี ต หากปริ มาณคลอไรด์ ณ
ตําแหน่งเหล็กเสริ มมีมากเกินกว่าค่าวิกฤติจะทําให้เหล็กเสริ มเริ่ มเป็ นสนิ มได้ ตัวอย่างของโครงสร้างที่
อยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีคลอไรด์ เช่น โครงสร้ างใต้ทะเล โครงสร้ างริ มทะเลบริ เวณนํ้าขึ้น-นํ้าลงหรื อ
บริ เวณที่สัมผัสคลื่นและละอองทะเล โครงสร้ างใกล้ทะเลหรื อต้องเผชิ ญกับลมทะเล และโครงสร้าง
บนผิวดินที่มีคลอไรด์ เป็ นต้น เพื่อให้คอนกรี ตมีความคงทนต่อการเกิ ดสนิ มของเหล็กเสริ มเนื่ องจาก
คลอไรด์ คอนกรี ตจะต้องถูกออกแบบให้ปริ มาณคลอไรด์ ณ ตําแหน่งเหล็กเสริ มมีค่าไม่เกินค่าวิกฤติที่
จะทําให้เหล็กเสริ มเริ่ มเกิดสนิ มได้ ในช่วงระยะเวลาอายุการใช้งานที่ปลอดการซ่ อมแซม (Repair-free
service life) ดังแสดงในสมการ (5.1-ก)

19
Cd  Clim (5.1-ก)

โดยที่ Clim ขึ้นอยูก่ บั ประเภทและสัดส่วนของวัสดุประสานที่ใช้ โดยกําหนดให้มีค่าดังตารางที่ 9


Cd สามารถคํานวณได้จากสมการ (5.1-ข)

  c 
C d  (C s  C 0 ) 1  erf    C 0 (5.1-ข)
  2 D t 
 a r 

โดยที่ c จากการคํานวณทางวิศวกรรมโครงสร้างและ หัวข้อ 4.1 ระยะหุม้ เหล็กเสริ มน้อยสุ ดใน


มาตรฐานฉบับนี้ เฉพาะในสมการ (5.1-ข) นี้กาํ หนดให้ใช้หน่วยเป็ น ซม.
C0 จากการทดสอบหาปริ มาณคลอไรด์ท้ งั หมดที่อยูใ่ นส่วนผสมของคอนกรี ต ตารางที่ 8
Cs ขึ้นอยูก่ บั ตําแหน่งที่ต้งั ของโครงสร้าง และอายุการใช้งานปลอดการซ่อมแซมของ
โครงสร้างคอนกรี ตที่ตอ้ งการ โดยกําหนดให้มีค่าดังตารางที่ 10 และ สมการ (5.1-ค)
tr จากการกําหนดโดยเจ้าของอาคาร ให้พิจารณาจากประเภทของอาคาร ดังตารางที่ 2
erf สมการ error function สามารถหาค่าได้โดยใช้ตาราง ก-1 ในภาคผนวก ก
Da ที่คาํ นวณได้จากสมการ (5.1-ข) จะถูกใช้ในการกําหนดสัดส่ วนผสมคอนกรี ต

ทั้งนี้ C s ต้องมีค่ามากกว่า Cd จึงจะสามารถใช้สมการ (5.1-ข) ได้ หาก C s มีค่าน้อยกว่า Cd ให้ใช้


อัตราส่วนนํ้าต่อวัสดุประสานสูงสุดที่ 0.60 (ดูตวั อย่าง ในภาคผนวก ข)

สมการ (5.1-ค) มี ไว้สําหรั บใช้ในการแปลงหน่ วยของปริ มาณคลอไรด์ที่ผิว จากร้ อยละของนํ้าหนัก


คอนกรี ต (ที่ได้จากตารางที่ 10) เป็ นร้อยละของนํ้าหนักวัสดุประสาน เพื่อนําไปใช้ในสมการ (5.1-ข)

ρconcrete
Cs  Cs'  (5.1-ค)
b

โดยที่ Cs' ขึ้ นอยู่กบั ตําแหน่ งที่ ต้ งั ของโครงสร้ าง และอายุการใช้งานปลอดการซ่ อมแซมของ


โครงสร้างคอนกรี ตที่ตอ้ งการ โดยกําหนดให้มีค่าดังตารางที่ 10
 concrete หน่วยนํ้าหนักของคอนกรี ต หากไม่ทราบค่าให้ใช้ค่า 2,400 กก./ม.3
b นํ้าหนักวัสดุประสานในคอนกรี ต หากไม่ทราบค่าให้ใช้ค่า 350 กก./ม.3

20
ตารางที่ 9 ปริมาณคลอไรด์วกิ ฤติของคอนกรีต
(ข้อ 5.1)
ปริมาณคลอไรด์ วกิ ฤติ
ประเภทของวัสดุประสาน (ร้ อยละของนํา้ หนัก
วัสดุประสาน)
ปูนซีเมนต์ลว้ น 0.45
ปูนซีเมนต์ผสมผงหินปูน
0.45
- ที่มีอตั ราส่ วนโดยนํ้าหนัก ผงหินปูนต่อวัสดุประสานไม่เกิน 0.15
ปูนซีเมนต์ผสมเถ้าลอย
- เมื่ออัตราส่ วนโดยนํ้าหนัก เถ้าลอยต่อวัสดุประสานน้อยกว่า 0.15 0.45
- เมื่ออัตราส่ วนโดยนํ้าหนัก เถ้าลอยต่อวัสดุประสานตั้งแต่ 0.15 แต่ไม่ถึง 0.35 0.35
- เมื่ออัตราส่ วนโดยนํ้าหนัก เถ้าลอยต่อวัสดุประสานตั้งแต่ 0.35 ถึง 0.50 0.30
หมายเหตุ สําหรับปูนซีเมนต์ผสมทั้งผงหินปูนและเถ้าลอย โดยที่มีผงหินปูนต่อวัสดุประสานไม่เกิน 0.15 ให้
ใช้ตามค่าปูนซีเมนต์ผสมเถ้าลอย

ตารางที่ 10 ปริมาณคลอไรด์ ทผี่ วิ ของโครงสร้ าง


(ข้อ 5.1)
ปริมาณคลอไรด์ ทผี่ ิวของโครงสร้ าง, Cs' (ร้ อยละของนํา้ หนักคอนกรีต)
อายุการใช้ งานที่ต้องการ
บริเวณละอองคลืน่ ระยะทางจากแนวชายฝั่งเข้ าสู่ แผ่ นดิน (ม.)
(ปี )
ในทะเล 0 100 250 500 1,000
10 0.971 0.299 0.135 0.061 0.041 0.040
20 1.233 0.389 0.176 0.079 0.054 0.052
30 1.391 0.453 0.205 0.092 0.063 0.060
40 1.504 0.506 0.229 0.103 0.070 0.067
50 1.592 0.551 0.249 0.112 0.076 0.073
หมายเหตุ การวัดค่าของระยะทางให้วดั เป็ นค่าการกระจัด (displacement) ไม่ใช่ระยะทางบนถนน โดยให้ค่า
ความละเอียดอยูท่ ี่ระดับ 50 เมตร เช่น 300 เมตร, 350 เมตร, 400 เมตร เป็ นต้น กรณี ที่ค่าระยะทางจากแนว
ชายฝั่งเข้าสู่แผ่นดิน และ/หรื อ อายุการใช้งานที่ตอ้ งการ มีค่าอยูร่ ะหว่างค่าที่ระบุในตารางนี้ ให้คาํ นวณโดยวิธี
interpolation

21
ค่าของสัมประสิ ทธิ์ การแพร่ ของคลอไรด์ในคอนกรี ต (Apparent chloride diffusion coefficient, Da ) ซึ่ ง
พิจารณาถึงผลของการแตกร้าวของคอนกรี ตด้วย สามารถคํานวณได้จากสมการต่อไปนี้

Da  Dk  D0 (5.1-ง)

D0  0.05  W (5.1-จ)

โดยที่ W จากการคํานวณทางวิศวกรรมโครงสร้าง หากไม่ทราบค่าให้ใช้ความกว้างรอยร้าวมาก


ที่สุดที่ยอมรับได้ ดูตารางที่ 7 อนึ่งค่า D0 ที่ได้จากการใช้ความกว้างรอยร้าวมากที่สุด
ที่ยอมรับได้จะมีค่าสู งกว่าความเป็ นจริ ง ดังนั้นหากก่อสร้างด้วยคอนกรี ตที่ได้จากการ
ออกแบบนี้ จะได้อายุการใช้งานปลอดการซ่อมแซมยาวนานกว่าที่ตอ้ งการจริ ง
Dk สําหรั บคอนกรี ตที่ ใช้ปูนซี เมนต์ลว้ น และคอนกรี ตที่ ผสมผงหิ นปูน คํานวณได้จาก
สมการ (5.1-ฉ) หรื อ จากแผนภูมิการออกแบบ รู ปที่ ก-1 ในภาคผนวก ก
สําหรับคอนกรี ตที่ผสมเถ้าลอย และคอนกรี ตที่ผสมทั้งผงหิ นปูนและเถ้าลอย คํานวณ
ได้จากสมการ (5.1-ช) และ (5.1-ซ) หรื อ จากแผนภูมิการออกแบบ รู ปที่ ก-1 ถึง รู ปที่
ก-6 ในภาคผนวก ก

0.40
1
สําหรับคอนกรี ตที่ใช้ปนู ซีเมนต์ลว้ น Dk ,c  ( w b )  13.5  
3
(5.1-ฉ)
 tr 

สําหรับคอนกรี ตผสมเถ้าลอย Dk , fa  Dk ,c   fa (5.1-ช)

สัมประสิ ทธิ์ผลของการใช้เถ้าลอยคํานวณได้จากสมการ (5.1-ซ)

 ( f / b ) 
 ( f / b )3.5   ( f / b )    e 3( f / b )  
α fa  3.5  
 1 .5   1  t (5.1-ซ)
 1  ( w / b )  1  ( w / b )0.1   r

โดยที่  fa ให้ใช้แผนภูมิการออกแบบรู ปที่ ก-2 ถึง รู ปที่ ก-6 ในภาคผนวก ก โดยต้องกําหนดอายุ


การใช้งานปลอดการซ่อมแซมที่ตอ้ งการก่อน แล้วจึงเลือกใช้แผนภูมิการออกแบบให้

22
เหมาะสมกับอายุดงั กล่าว อนึ่ง กรณี ที่ตอ้ งการอายุการใช้งานปลอดการซ่อมแซมอื่นๆ
นอกเหนือไปจากแผนภูมิการออกแบบที่ให้ ผูอ้ อกแบบสามารถคํานวณได้จาก สมการ
(5.1-ซ)

ข้ อแนะนํา
(1) สมการชุ ด นี้ สามารถใช้ในทั้ง กรณี ค อนกรี ตที่ ไม่ มี ร อยร้ า วและมี ร อยร้ า ว และคอนกรี ต ต้องมี
อัตราส่วนนํ้าต่อวัสดุประสานระหว่าง 0.3 ถึง 0.6 เท่านั้น
(2) กรณี คาํ นวณโดยสมการแล้ว หากได้ค่าอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสูงกว่า 0.6 ให้ใช้ค่าอัตราส่ วน
นํ้าต่อวัสดุประสานเท่ากับ 0.6 หากได้ค่าอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานตํ่ากว่า 0.3 ให้เพิ่มระยะหุม้
เหล็กเสริ มให้มากขึ้นแล้วทําการออกแบบใหม่ หรื อหากจําเป็ นต้องใช้คอนกรี ตที่มีอตั ราส่ วนนํ้าต่อ
วัสดุประสานตํ่ากว่า 0.3 ให้ปรึ กษาผูเ้ ชี่ยวชาญ
(2) สมการชุดนี้ สามารถใช้ออกแบบคอนกรี ตที่มีการใช้ผงหินปูนและเถ้าลอยได้ โดยมีอตั ราส่วนผง
หิ นปูนต่อวัสดุประสานไม่เกิน 0.15 และมีอตั ราส่วนเถ้าลอยต่อวัสดุประสานไม่เกิน 0.50
(3) กรณี ที่มีคลอไรด์ผสมอยูใ่ นส่ วนผสมคอนกรี ตตั้งแต่แรก เช่น การใช้ทรายทะเล ใช้น้ าํ กร่ อย หรื อใช้
สารเคมีผสมเพิ่มที่มีคลอไรด์ผสมอยูด่ ว้ ยในการผลิตคอนกรี ต ปริ มาณคลอไรด์เริ่ มต้นทั้งหมดที่ยอม
ให้ในคอนกรี ต ต้องมีไม่มากเกินกว่าที่กาํ หนดไว้ในตารางที่ 8
(4) กรณี โครงสร้างคอนกรี ตอยูใ่ นสิ่ งแวดล้อมนํ้ากร่ อย ให้ออกแบบโดยวิธีการเดียวกันกับโครงสร้าง
คอนกรี ตที่อยูใ่ นสิ่ งแวดล้อมทะเล
(5) หากต้องการออกแบบอายุการใช้งานปลอดการซ่อมแซมในกรณี ที่โครงสร้างคอนกรี ตต้องเผชิญกับ
สภาพแวดล้อมอื่นๆ ที่มีคลอไรด์ เช่น คอนกรี ตในโรงงานนํ้าแข็ง หรื อ คอนกรี ตใต้ดินบริ เวณที่มี
เกลือสิ นเธาว์ ให้ปรึ กษาผูเ้ ชี่ยวชาญ
(6) โครงสร้ างคอนกรี ตที่ จาํ เป็ นต้องพิจารณาเรื่ องปั ญหาเหล็กเสริ มเป็ นสนิ ม เนื่ องจากคลอไรด์ใน
สิ่ งแวดล้อมทะเล ได้แก่ โครงสร้างคอนกรี ตเสริ มเหล็ก และโครงสร้างคอนกรี ตอัดแรง ในระยะ 1
กิโลเมตรจากแนวชายฝั่งทะเล หรื อแหล่งนํ้าเค็ม หรื อแหล่งนํ้ากร่ อย
(7) กรณี เหล็กเสริ มมี การเคลื อบปกป้ องพื้นผิว เช่ น การเคลื อบด้วยอี พอกซี การชุ บกัลวาไนซ์ (hot-
dipped galvanized) เป็ นต้น และมีการคํานวณอายุการใช้งานของชั้นเคลือบให้สามารถปกป้ องเหล็ก
เสริ มไม่ให้เกิ ดสนิ มได้ตามอายุการใช้งานปลอดการซ่ อมแซมที่กาํ หนด ไม่จาํ เป็ นต้องออกแบบ
คอนกรี ตตามสมการชุดนี้

23
5.2 การเกิดสนิมเนื่องจากปฏิกริ ิยาคาร์ บอเนชัน
เมื่อคอนกรี ตอยูใ่ นสภาพแวดล้อมที่ตอ้ งเผชิญกับก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์จะ
แพร่ เข้าไปในคอนกรี ต และทําปฏิ กิริยาคาร์ บอเนชันซึ่ งจะทําให้ความสามารถของคอนกรี ตในการ
ป้ องกันการเกิดสนิมของเหล็กเสริ มลดลงจนทําให้เหล็กเสริ มเกิดสนิ มได้ ตัวอย่างของสภาพแวดล้อมที่
มี คาร์ บอเนชัน เช่ น โครงสร้ างในที่ จอดรถ โครงสร้ างริ มถนนหรื อใต้สะพานบริ เวณที่ มีการจราจร
หนาแน่ น โครงสร้ างใต้สะพานที่เผชิ ญกับเขม่าควันต่างๆ ตลอดจนในอาคารที่มีผูค้ นอยู่มาก เป็ นต้น
เพื่อให้โครงสร้างคอนกรี ตมีความคงทนต่อการเกิดสนิ มของเหล็กเสริ มเนื่ องจากปฏิกิริยาคาร์ บอเนชัน
และมีอายุการใช้งานที่ปลอดการซ่อมแซม (Repair-free service life) ตามที่กาํ หนด ต้องควบคุมให้ความ
ลึ กคาร์ บอเนชันในช่ วงอายุการใช้งานที่ ปลอดการซ่ อ มแซมมี ค่าน้อยกว่าระยะหุ ้มเหล็กเสริ ม โดย
สามารถใช้สมการ (5.2-ก) ต่อไปนี้ในการออกแบบ

Xc  c (5.2-ก)

โดยที่ c จากกการคํานวณทางวิศวกรรมโครงสร้างและ หัวข้อ 4.1 ระยะหุม้ เหล็กเสริ มน้อยสุ ด


ในมาตรฐานฉบับนี้
Xc สามารถคํานวณได้จากสมการ (5.2-ข)

X c  1   2  k  t r (5.2-ข)

โดยที่ 1 สามารถกําหนดได้จากตารางที่ 11
2 สามารถกําหนดได้จากตารางที่ 12 และรู ปที่ 1 กรณี ที่ไม่สามารถหาข้อมูลใดๆของ
สิ่ งแวดล้อมจริ งได้ตามรู ปที่ 1 ให้ใช้เกณฑ์ดงั นี้ โครงสร้างอยูห่ ่างจากแหล่งกําเนิด CO2
(เช่น ถนน โรงงานอุตสาหกรรม) ไม่เกิน 100 ม. จัดเป็ นสิ่ งแวดล้อมเสี่ ยงต่อคาร์ บอเน
ชันรุ นแรง อยูห่ ่ างมากกว่า 100 ม. แต่ไม่เกิน 500 ม. จัดเป็ นสิ่ งแวดล้อมเสี่ ยงต่อคาร์
บอเนชันปานกลาง อยูห่ ่ างมากกว่า 500 ม. จัดเป็ นสิ่ งแวดล้อมเสี่ ยงต่อคาร์ บอเนชัน
น้อย
tr จากการกําหนดโดยเจ้าของอาคาร ให้พิจารณาจากประเภทของอาคาร ดังตารางที่ 2
k ที่คาํ นวณได้จากสมการ (5.2-ข) จะถูกใช้ในการกําหนดสัดส่ วนผสมคอนกรี ต

24
ระดับความรุ นแรงของสภาพแวดล้อมคาร์ บอเนชัน สามารถกําหนดได้โดยใช้รูปที่ 1 โดยขึ้นอยูก่ บั ความ
เข้มข้นของก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ และความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยของบริ เวณสถานที่ที่จะทําการก่อสร้าง
ในช่วงอายุการใช้งาน สัมประสิ ทธิ์ ความลึกคาร์ บอเนชัน ( k ) สามารถคํานวณได้จากสมการ (5.2-ค)
ดังต่อไปนี้

k = 17.5  kr  (w/b)3 (5.2-ค)

โดยที่ kr กรณี ใช้ปูนซีเมนต์ลว้ นมีค่าเท่ากับ 1 กรณี ใช้ปูนซีเมนต์ผสมเถ้าลอย กําหนดค่าโดยใช้


รู ปที่ 2 ขึ้นอยูก่ บั ชนิดและสัดส่วนการแทนที่ปนู ซี เมนต์ของเถ้าลอย
(เถ้าลอยชนิด 2ก และ 2ข ตามมาตรฐาน มอก. 2135 หรื อ ว.ส.ท. 1014)

ตารางที่ 11 สั มประสิ ทธิ์การสั มผัสความเปี ยกชื้น


(ข้อ 5.2)
สั มประสิ ทธิ์การสั มผัสความเปี ยกชื้น
ลักษณะการสั มผัสความเปี ยกชื้น
( 1 )
1. ผิวคอนกรี ตไม่สมั ผัสความเปี ยกชื้นในขณะใช้งาน 1.0
เช่น ผิวคอนกรี ตที่อยูใ่ นร่ มภายในอาคาร
2. ผิวคอนกรี ตสัมผัสความเปี ยกชื้นในขณะใช้งาน 0.95
เช่น ผิวคอนกรี ตที่อยูก่ ลางแจ้งสามารถสัมผัสกับฝนได้

ตารางที่ 12 สั มประสิ ทธิ์ระดับความรุ นแรงของสภาพแวดล้ อมคาร์ บอเนชัน


(ข้อ 5.2)
สั มประสิ ทธิ์ระดับความรุนแรงของ
ความรุนแรงของสภาพแวดล้ อม
สภาพแวดล้ อมคาร์ บอเนชัน (  2 )
1. เสี่ ยงต่อคาร์บอเนชันน้อย 0.65
2. เสี่ ยงต่อคาร์บอเนชันปานกลาง 0.85
3. เสี่ ยงต่อคาร์บอเนชันรุ นแรง 1.00

25
รู ปที่ 1 การแแบ่ งระดับควาามรุ นแรงของงสภาพแวดล้ออมคาร์ บอเนชัชัน
(ข้อ 5.2)

รู ปที่ 2 ค่ าสั มปประสิ ทธ์ แสดดงผลของการแแทนทีเ่ ถ้ าลอยยในวัสดุประสสาน


(ข้อ 5.2)

26
ข้ อแนะนํา
(1) สมการชุดนี้ สามารถใช้ในกรณี ของคอนกรี ตที่ไม่มีรอยร้าวเท่านั้น โดยคอนกรี ตควรมีอตั ราส่ วนนํ้า
ต่อวัสดุประสานไม่เกิน 0.65 และมีการแทนที่เถ้าลอยในวัสดุประสานไม่เกินร้อยละ 50
(2) กรณี ของคอนกรี ตที่มีรอยร้าว ผลของการมีรอยร้าวจะทําให้อายุการใช้งานที่ปลอดการซ่อมแซมสั้น
ลง ทั้งนี้ ค่าสัมประสิ ทธิ์ ความลึกคาร์ บอเนชัน ( k ) ในสมการที่ (5.2-ค) ไม่ได้คาํ นึ งถึ งผลของรอย
แตกร้าว หากต้องการออกแบบโครงสร้างคอนกรี ตที่มีรอยร้าว หรื อใช้คอนกรี ตที่มีอตั ราส่ วนนํ้าต่อ
วัสดุประสานเกิน 0.65 หรื อมีการแทนที่เถ้าลอยในวัสดุประสานเกิ นกว่าร้ อยละ 50 ให้ปรึ กษา
ผูเ้ ชี่ยวชาญ
(3) กรณี เหล็กเสริ มมี การเคลื อบปกป้ องพื้นผิว เช่ น การเคลื อบด้วยอี พอกซี การชุ บกัลวาไนซ์ (hot-
dipped galvanized) เป็ นต้น และมีการคํานวณอายุการใช้งานของชั้นเคลือบให้สามารถปกป้ องเหล็ก
เสริ มไม่ให้เกิ ดสนิ มได้ตามอายุการใช้งานปลอดการซ่ อมแซมที่กาํ หนด ไม่จาํ เป็ นต้องออกแบบ
คอนกรี ตตามสมการชุดนี้

ส่ วนที่ 6 การออกแบบเมือ่ พิจารณาการหดตัว


6.1 การหดตัวแบบแห้ ง
การหดตัวของคอนกรี ตควรคํานวณโดยคํานึ งถึงความชื้ นบริ เวณรอบๆ โครงสร้าง รู ปร่ าง ขนาดของ
องค์อาคาร (อัตราส่ วนปริ มาตรต่อผิวสัมผัสอากาศ) ส่ วนผสมและสัดส่ วนผสมของคอนกรี ต เป็ นต้น
ค่าการหดตัวแบบแห้งสุดท้ายของคอนกรี ต (Ultimate Drying Shrinkage Strain) อาจกําหนดให้มีค่าตาม
ตารางที่ 13 ในกรณี คอนกรี ตปกติที่ไม่เสริ มเหล็ก และตามตารางที่ 14 ในกรณี ที่มีการเสริ มเหล็ก โดยมี
อัตราส่ วนเหล็กเสริ มหลักประมาณร้ อยละ 1 ค่าการหดตัวแบบแห้งสุ ดท้ายเป็ นค่าที่ ใช้สําหรั บการ
คํานวณการหดตัวแบบแห้ง ณ เวลาใดๆ โดยทัว่ ไปค่าการหดตัวหมายถึงค่าความเครี ยดการหดตัว

หมายเหตุ
ค่าในตารางที่ 13 ใช้ได้ดีสําหรั บคอนกรี ตธรรมดาที่ใช้ปูนซี เมนต์ลว้ น ที่มีกาํ ลังอัดไม่เกิ น 55 เมกกะ
ปาสคาล (หรื อไม่เกิน 70 เมกกะปาสคาล หากใช้การลดอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานในการเพิ่มกําลัง
อัด) มีปริ มาณนํ้าต่อลูกบาศก์เมตร ระหว่าง 160-180 กก. มีปริ มาณปูนซี เมนต์ระหว่าง 350-400 กก. ต่อ
คอนกรี ตปริ มาตร 1 ม.3 และองค์อาคารที่มีอตั ราส่ วนปริ มาตรต่อพื้นที่ผิวสัมผัสอากาศประมาณ 150
มม. อุณหภู มิม าตรฐานที่ ใ ช้ใ นการทดสอบค่า ในตารางที่ 13 คื อ ประมาณ 20 องศาเซลเซี ยส และ

27
ความชื้ นสัมพัทธ์ประมาณร้อยละ 65 กรณี นอกอาคาร ประมาณร้อยละ 40 กรณี ในอาคารที่มีการปรับ
อากาศ และประมาณร้อยละ 50 กรณี ในอาคารที่ไม่มีการปรับอากาศ

ตารางที่ 13 ค่ าการหดตัวสุ ดท้ ายของคอนกรีตไม่ เสริมเหล็ก (Ultimate Shrinkage Strain)


(ข้อ 6.1)
หน่วยเป็ นไมโครสเตรน หรื อ x10-6
อายุคอนกรีต*
สภาพแวดล้อม
น้ อยกว่ า 3 วัน 4 ถึง 7 วัน 28 วัน 3 เดือน 1 ปี
1. นอกอาคาร 400 350 230 200 120
2. ในอาคาร 730 620 380 260 130
*อายุคอนกรี ตเมื่อเริ่ มสัมผัสกับอากาศหลังการบ่ม โดยปกติเท่ากับอายุคอนกรี ตเมื่อเสร็ จสิ้ นการบ่ม

ตารางที่ 14 ค่ าการหดตัวสุ ดท้ ายของคอนกรีตเสริมเหล็ก (Ultimate Shrinkage Strain)


(อัตราส่ วนเหล็กเสริมต่ อพืน้ ทีห่ น้ าตัดประสิ ทธิผลร้ อยละ 1)
(ข้อ 6.1)
หน่วยเป็ นไมโครสเตรน หรื อ x10-6
อายุคอนกรีต*
สภาพแวดล้อม
น้ อยกว่ า 3 วัน 4 ถึง 7 วัน 28 วัน 3 เดือน 1 ปี
1. นอกอาคาร 340 290 180 160 120
2. ในอาคาร 620 520 310 210 120
*อายุคอนกรี ตเมื่อเริ่ มสัมผัสกับอากาศหลังการบ่ม โดยปกติเท่ากับอายุคอนกรี ตเมื่อเสร็ จสิ้ นการบ่ม

คุณสมบัติของมวลรวมและปูนซีเมนต์ สัดส่ วนผสมคอนกรี ต การจี้เขย่าคอนกรี ต การบ่มคอนกรี ต


อุณหภูมิและความชื้นของสิ่ งแวดล้อม ขนาดและรู ปร่ างของพื้นที่หน้าตัดขององค์อาคาร ล้วนมีผลต่อ
การหดตัวของคอนกรี ต ซึ่งหมายรวมถึง การหดตัวแบบแห้ง การหดตัวแบบออโตจีนสั และการหดตัว
แบบคาร์ บอเนชัน ความชื้นของสภาพแวดล้อมและขนาดขององค์อาคารมีผลอย่างมากต่อค่าการหดตัว
แบบแห้งและอัตราการการหดตัวแบบแห้งของคอนกรี ต ซึ่งสามารถคํานวณได้จากสมการ (6.1-ก)
สําหรับคอนกรี ตปกติที่ใช้ปนู ซีเมนต์ลว้ น มีกาํ ลังอัดประลัยไม่เกิน 55 เมกกะปาสคาล (หรื อไม่เกิน 70
เมกกะปาสคาล หากใช้การลดอัตราส่วนนํ้าต่อวัสดุประสานในการเพิ่มกําลังอัด)

28
 cs
'


 t,t0   1  exp 0.108  t  t0 
0.56
   '
sh (6.1-ก)

2
  RH    V / S 
 sh  500  7801  exp   380loge w  50loge   (6.1-ข)
  100    10 

โดยที่ ร้อยละ 45 ≤ RH ≤ ร้อยละ 80


130 กก. ≤ w ≤ 230 กก.
100 มม. ≤ V / S ≤ 300 มม.
หมายเหตุ
สมการ (6.1-ก) ถูกสร้างขึ้นบนพื้นฐานของผลการทดลองที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซี ยส หากอุณหภูมิสูง
กว่านี้ ค่าการหดตัวมักจะมีค่าสูงขึ้น ค่าการหดตัวแบบแห้งที่อุณหภูมิต่างจาก 20 องศาเซลเซี ยส สามารถ
คํานวณได้โดยการปรับแก้ t0 และ t ที่ใช้ในสมการ (6.1-ก) เนื่องจากผลของอุณหภูมิ
การปรับแก้อายุของคอนกรี ตเนื่องจากผลของอุณหภูมิ ใช้สมการ (6.1-ค)

n
 4000 
t0c และ tc   ti  exp 13.65   (6.1-ค)
i 1  273  Ti / T0 

โดยที่ T0 มีค่าเท่ากับ 1 องศาเซลเซี ยส

ข้อจํากัด
ทดสอบที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซี ยส (สามารถใช้ได้ในช่วงอุณหภูมิ 0-40 องศาเซลเซี ยส)
อัตราส่วนนํ้าต่อวัสดุประสานระหว่าง 0.40-0.65
ใช้ปนู ซี เมนต์ปอร์ ตแลนด์ประเภทที่ 1 เป็ นวัสดุประสานเพียงอย่างเดียว

กรณี คอนกรี ตกําลังสู ง (ในที่ น้ ี หมายถึงคอนกรี ตที่ มีกาํ ลังอัดสู งกว่า 55 เมกกะปาสคาล ขึ้นไป) ควร
คํานึงถึงผลของการหดตัวแบบออโตจีนสั เนื่องจากปฏิกิริยาไฮเดรชัน่ ของปูนซีเมนต์ดว้ ย สมการ (6.1-ง)
สามารถใช้ในการคํานวณค่าการหดตัวของคอนกรี ตที่มีกาํ ลังรับแรงอัดสูงถึง 80 เมกกะปาสคาล
ในกรณี น้ ีให้เลือกใช้สมการ (6.1-ก) หรื อ สมการ(6.1-ง) โดยให้เลือกใช้ค่าที่สูงกว่า

 cs
'
t,t0    'ds t,t0    'as t,t0  (6.1-ง)

29
 'ds   t  t0 
 'ds  t,t0   (6.1-จ)
   t  t0 

4w V / S
 (6.1-ฉ)
100  0.7t 0

 'ds
 'ds 
1    t0
(6.1-ช)

 c (1  RH / 100) w
 ds   (6.1-ซ)
 500 
1  150exp  
 f c(28) 

  104 15exp0.07 f c28  0.25w (6.1-ฌ)

โดยที่ ร้อยละ 40 ≤ RH ≤ ร้อยละ 90


130 กก. ≤ w ≤ 230 กก.
100 มม. ≤ V / S ≤ 300 มม.
fc'  28 ≤ 80 เมกกะปาสคาล

c มีค่าเท่ากับ 11 สําหรับปูนซี เมนต์ปอร์ ตแลนด์ประเภทที่ 1 หรื อปูนซี เมนต์ความ


ร้อนตํ่า และมีค่าเท่ากับ 15 สําหรับปูนซี เมนต์ปอร์ ตแลนด์ประเภทที่ 3
1 วัน ≤ t0 ≤ 98 วัน, t0 = 98 วัน กรณี t0 > 98

กรณี คอนกรี ตมวลเบา ค่าการหดตัวจะสู งกว่าคอนกรี ตปกติเนื่ องจากมีค่า stiffness น้อยกว่า ค่าการหด
ตัวสุ ดท้ายของคอนกรี ตมวลเบา อาจใช้ค่าในตารางที่ 13 ในกรณี ที่ไม่เสริ มเหล็ก และตามตารางที่ 14 ใน
กรณี ที่มีการเสริ มเหล็ก โดยมีอตั ราส่ วนเหล็กเสริ มหลักประมาณร้อยละ 1 ได้เช่นเดียวกับคอนกรี ตปกติ

6.2 การหดตัวแบบออโตจีนัส
การหดตัวแบบออโตจีนัสจะเกิ ดขึ้นอย่างมีนยั สําคัญหากคอนกรี ตมีอตั ราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานตํ่า
โดยทัว่ ไป ค่าการหดตัวแบบออโตจีนสั สุดท้ายสําหรับอายุ t0 ที่ต่างๆ กัน อาจใช้ค่าในตารางที่ 15

30
ตารางที่ 15 ค่ าการหดตัวแบบออโตจีนัสสุ ดท้ ายสํ าหรับอายุ t0 ทีต่ ่ างๆ กัน
(ข้อ 6.2)
หน่วยเป็ นไมโครสเตรน หรื อ x10-6
กําลังอัดของคอนกรีตที่อายุ 28 วัน t0
(เมกกะปาสคาล) 1 วัน 3 วัน 7 วัน
100 230 110 50
80 160 80 40
60 150 90 50

หมายเหตุ
เงื่อนไขสําหรับค่าในตารางที่ 15 คือ
(1) กําลังอัดของคอนกรี ตที่อายุ 28 วัน คือ กําลังอัดที่ทดสอบโดยการบ่มก้อนตัวอย่างในนํ้า
(2) ความแม่นยําในการทํานายค่าการหดตัวแบบออโตจีนสั 40%
(3) ทดสอบเฉพาะกับสัดส่ วนผสมที่ใช้ปนู ซี เมนต์ปอร์ ตแลนด์ประเภทที่ 1 ล้วนเท่านั้น

ในการคํานวณ  'as t,t0  เป็ นฟังก์ชนั ของเวลา ให้ใช้สมการ (6.2-ก) และสมการ (6.2-ข) เพื่อคํานวณค่า
การหดตัวแบบออโตจีนสั

 'as  t,t0    'as  t    'as  t0  (6.2-ก)

 
 as t    b as  1  exp  mt  t s n  (6.2-ข)

b มีค่าเท่ากับ 1 กรณี ที่ใช้ปูนซีเมนต์ประเภทที่ 1 ล้วน


ค่าการหดตัวแบบออโตจีนสั สุดท้าย (  'as ) สามารถคํานวณได้จากสมการ (6.2-ค)

 as   3070exp 7.2w / c  (6.2-ค)

ตัวคูณ m และ n ใช้ค่าตามตารางที่ 16

31
ตารางที่ 16 ค่ าตัวคูณ m และ n สํ าหรับใช้ ในสมการ (6.2-ข)
(ข้อ 6.2)
w/c 0.20 0.23 0.30 0.40 > 0.50
m 1.2 1.5 0.6 0.1 0.03
n 0.4 0.4 0.5 0.7 0.8

ส่ วนที่ 7 การออกแบบเมือ่ พิจารณาการกัดกร่ อน


เมื่อคอนกรี ตเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่มีซลั เฟต ซัลเฟตจะทําปฏิกิริยากับบางองค์ประกอบในคอนกรี ต
ซึ่ งจะทําให้คอนกรี ตขยายตัวแตกร้าวหรื อเสื่ อมสภาพ ตัวอย่างของโครงสร้ างที่สัมผัสกับซัลเฟต เช่น
โครงสร้ า งใต้ดิ น โครงสร้ า งที่ สัม ผัสกับ นํ้า ทะเล หรื อ โครงสร้ า งที่ สัม ผัส กับ นํ้า เสี ย โดยทั่ว ไปใน
สภาพแวดล้อมเหล่านี้ จะพบสารละลายซัลเฟตได้ 2 ชนิ ดคื อ โซเดี ยมซัลเฟต และ/หรื อ แมกนี เซี ยม
ซัลเฟต

7.1 การกัดกร่ อนเนื่องจากสารละลายโซเดียมซัลเฟต


ระดับความรุ นแรงของสภาพแวดล้อมที่ มีสารละลายโซเดี ยมซัลเฟต สามารถแบ่งออกได้เป็ นหลาย
ระดับโดยใช้เกณฑ์ตามตารางที่ 17 และเพื่อให้คอนกรี ตมีความสามารถในการต้านทานต่อระดับความ
รุ นแรงนั้นๆ คอนกรี ตจําเป็ นต้องถูกออกแบบให้มีคุณสมบัติดงั ตารางที่ 18

ตารางที่ 17 ระดับความรุ นแรงของสภาพแวดล้อมทีม่ ีโซเดียมซัลเฟต


(ข้อ 7.1)
ความเข้ มข้ นซัลเฟต (SO42-)
ความรุนแรงของสภาพแวดล้ อม ในนํ้า ปริมาณซัลเฟตทีล่ ะลายนํ้าได้ ในดิน
(ppm) (ร้ อยละ โดยนํ้าหนักของดิน)
สภาวะทัว่ ไป น้อยกว่า 150 น้อยกว่า 0.1
เสี่ ยงต่อซัลเฟตปานกลาง 150 – 1,500 0.1 – 0.2
เสี่ ยงต่อซัลเฟตรุ นแรง 1,500 – 10,000 0.2 – 2.0
เสี่ ยงต่อซัลเฟตรุ นแรงมาก มากกว่า 10,000 มากกว่า 2.0

32
ตารรางที่ 18 ข้ อกําหนดของคออนกรีตเพือ่ ให้ห้ มีความคงทนนต่ อโซเดียมซัซัลเฟต
(ข้อ 7.1)
ความรุนแรงขของ อัตราส่ วนนํา้ ตต่ อวัสดุ
ชนิดวัสดุประสานที่ควรใช้
สภาพแวดล้้ อม ประสานสู งสุ ง ด
สภาววะทัว่ ไป ไม่จาํ กัด -
เสี่ ยงต่อซัลเฟตปานนกลาง 2 หรื อ 5 หรื อ 1กับสสารพอซโซลานน 0.50
เสี่ ยงต่อซัลเฟตรุ นแรง
แ 5 หหรื อ 1 กับสารพพอซโซลาน 0.45
เสี่ ยงต่อซัลเฟตรุ นแรงมาก
แ 1 กับสารพอซซโซลาน หรื อ 5 กับสารพอซซโซลาน 0.40

รู ปที่ 3 ปริ
ป มาณเถ้ าลอยยขั้นตํา่ ในการรแทนทีป่ ูนซีเเมนต์ ชนิดที่ 1 เพือ่ ให้ ได้ ปรระสิ ทธิภาพ

ในการต้ านทาานโซเดียมซัลลเฟตเทียบเท่ าาปูนซีเมนต์ ชนิดที่ 5 (ข้อ 77.1)

ในกรรณี ที่ใช้เถ้าลออยเพื่อแทนที่บบางส่วนของปปูนซีเมนต์ ปริ มาณเถ้า้ ลอยขั้นตํ่าที่ควรใช้ในการรแทนที่


ปูนซี เมนต์ปอร์ ตแแลนด์ประเภททที่ 1 เพื่อให้ได้
ไ ประสิ ทธิภาาพในการต้านนทานโซเดียมมซัลเฟตเทียบเท่าการ
ู เมนต์ปอร์ร์ ตแลนด์ประเภทที่ 5 (ปูนซี เมนต์ตา้ นทานซัลเฟต) ขึ้ นอยูก่ บั องค์ประกอบทางเ
ใช้ปนนซี ป คมีของ
เถ้าลอยที่ใช้ โดยสสามารถกําหนนดได้จากรู ปที่ 3

33
7.2 การกัดกร่ อนเนื่องจากสารละลายแมกนีเซียมซัลเฟต
ระดับความรุ นแรงของสภาพแวดล้อมที่มีแมกนี เซี ยมซัลเฟตสามารถแบ่งได้โดยใช้เกณฑ์ตามตารางที่
19 และเพื่อให้คอนกรี ตสามารถต้านทานต่อแมกนี เซี ยมซัลเฟตที่ระดับความรุ นแรงต่างๆได้ คอนกรี ต
จําเป็ นต้องถูกออกแบบให้มีคุณสมบัติดงั ตารางที่ 20

ตารางที่ 19 ระดับความรุ นแรงของสภาพแวดล้ อมทีม่ แี มกนีเซียมซัลเฟต


(ข้อ 7.2)
ความรุนแรงของสภาพแวดล้ อม ความเข้ มข้ นของแมกนีเซียมซัลเฟตในนํ้า (ppm)
สภาวะทัว่ ไป น้อยกว่า 300
เสี่ ยงต่อซัลเฟตปานกลาง 300 – 1000
เสี่ ยงต่อซัลเฟตรุ นแรง 1000 – 3000
เสี่ ยงต่อซัลเฟตรุ นแรงมาก 3000 – ค่าอิ่มตัว

ตารางที่ 20 ข้ อกําหนดของคอนกรีตเพือ่ ให้ มีความคงทนต่ อแมกนีเซียมซัลเฟต


(ข้อ 7.2)
ความรุนแรงของสภาพแวดล้ อม ชนิดปูนซีเมนต์ ทคี่ วรใช้ อัตราส่ วนนํา้ ต่ อวัสดุประสานสู งสุ ด
สภาวะทัว่ ไป ไม่จาํ กัด -
เสี่ ยงต่อซัลเฟตปานกลาง 1 หรื อ 2 หรื อ 5 0.50
เสี่ ยงต่อซัลเฟตรุ นแรง 5 0.45
เสี่ ยงต่อซัลเฟตรุ นแรงมาก 5 0.40

ข้ อแนะนํา
(1) ไม่ควรใช้สารพอซโซลานแทนที่บางส่ วนของปูนซี เมนต์ในคอนกรี ตที่ตอ้ งเผชิ ญกับแมกนี เซี ยม
ซัลเฟต เนื่องจากจะทําให้คอนกรี ตเสื่ อมสภาพในแมกนีเซียมซัลเฟตเร็ วกว่าการใช้ปูนซีเมนต์ลว้ น
(2) เมื่ อจําเป็ นต้องออกแบบคอนกรี ตให้มีอตั ราส่ วนนํ้าต่อวัสดุ ประสานน้อยกว่า 0.35 ผูอ้ อกแบบ
คอนกรี ตจําเป็ นต้องคํานึงถึงการหดตัวแบบออโตจีนสั (autogenous shrinkage) ด้วย

34
ส่ วนที่ 8 การออกแบบเมือ่ พิจารณาเรื่องอัคคีภยั
สําหรั บอาคารที่ ตอ้ งการก่อสร้ างให้สามารถทนไฟได้ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 48 (พ.ศ. 2540) แห่ ง
พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ระยะหุม้ เหล็กเสริ มน้อยสุ ดที่คาํ นวณได้จากสมการใดๆ ต้องมี
ค่าไม่นอ้ ยกว่าค่าที่กาํ หนดในตารางที่ 21

ตารางที่ 21 ระยะหุ้มเหล็กเสริมทัว่ ไป ( c0 ) สํ าหรับคอนกรีตทีต่ ้ องการก่ อสร้ างให้ สามารถทนไฟ


(ข้อ 8)
ลักษณะงานก่ อสร้ าง ระยะหุ้มตํ่าสุ ด (มม.)
1. คอนกรีตเสริมเหล็ก
(ก) เสาสี่ เหลี่ยมที่มีดา้ นแคบขนาด 300 มม. ขึ้นไป 40
(ข) เสากลมหรื อเสาตั้งแต่หา้ เหลี่ยมขึ้นไปที่มีรูปทรงใกล้เคียงเสากลม 40
ซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 300 มม. ขึ้นไป
(ค) คานหรื อโครงข้อหมุนคอนกรี ตขนาดกว้างตั้งแต่ 300 มม. ขึ้นไป 40
(ง) พื้นหนาไม่นอ้ ยกว่า 115 มม. 20
2. คอนกรีตอัดแรง
(ก) คานชนิดดึงลวดก่อน 75
(ข) คานชนิดดึงลวดภายหลัง
- กว้าง 200 มม. โดยปลายไม่เหนี่ยวรั้ง (unrestrained) 115
- กว้างตั้งแต่ 300 มม. ขึ้นไป โดยปลายไม่เหนี่ยวรั้ง (unrestrained) 65
- กว้าง 200 มม. โดยปลายเหนี่ยวรั้ง (restrained) 50
- กว้างตั้งแต่ 300 มม. ขึ้นไป โดยปลายเหนี่ยวรั้ง (restrained) 45
(ค) พื้นชนิดดึงลวดก่อนที่มีความหนาตั้งแต่ 115 มม. ขึ้นไป 40
(ง) พื้นชนิดดึงลวดภายหลังที่มีความหนาตั้งแต่ 115 มม. ขึ้นไป
- ขอบไม่เหนี่ยวรั้ง (unrestrained) 40
- ขอบเหนี่ยวรั้ง (restrained) 20

35
เอกสารอ้ างอิง
1. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
2. สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ข้อกําหนดมาตรฐานวัสดุและการ
ก่อสร้างสําหรับโครงสร้างคอนกรี ต (ปรับปรุ งครั้งที่ 2) พ.ศ. 2550
3. มาตรฐาน ACI 318M-11 Building Code Requirements for Structural Concrete
4. มาตรฐาน ASTM C 1152/C 1152M : Standard Test Method for Acid-Soluble Chloride in Mortar
and Concrete

36
ภาคผนนวก ก ตารางแและแผนภูมกการออกแบบสํ
ิ สํ าหรับโครงสร้ างในสิ่งแวดดล้อมทะเล
ตาราางที่ ก-1 ค่า EError functionn, √

37
รู ปที่ ก-1 สัมมประสิ ทธิ์การแพร่ ของคลอไรด์ในคอนนกรี ตที่ไม่แตกกร้าว และใช้ปปููนซีเมนต์ลว้ น

รู ปที่ ก-2 สัมมประสิ ทธิ์ผลลของการใช้เถ้าลอย ในคอนนกรี ตที่ไม่แตกร้าว (อายุการใช้งาน 10 ปีป)

38
รู ปที่ ก-3 สัมมประสิ ทธิ์ผลลของการใช้เถ้าลอย ในคอนนกรี ตที่ไม่แตกร้าว (อายุการใช้งาน 20 ปีป)

รู ปที่ ก-4 สัมมประสิ ทธิ์ผลลของการใช้เถ้าลอย ในคอนนกรี ตที่ไม่แตกร้าว (อายุการใช้งาน 30 ปีป)

39
รู ปที่ ก-5 สัมมประสิ ทธิ์ผลลของการใช้เถ้าลอย ในคอนนกรี ตที่ไม่แตกร้าว (อายุการใช้งาน 40 ปีป)

รู ปที่ ก-6 สัมมประสิ ทธิ์ผลลของการใช้เถ้าลอย ในคอนนกรี ตที่ไม่แตกร้าว (อายุการใช้งาน 50 ปีป)

40
ภาคผนวก ข ตัวอย่ างการคํานวณ
ข1. การเกิดสนิมของเหล็กเสริมเนื่องมาจากคลอไรด์ จากนํ้าทะเล
ตัวอย่ างที่ 1 โครงสร้ างคอนกรีตเสริมเหล็กตั้งอยู่ในทะเลบริเวณละอองคลืน่ (Splash zone)
จงออกแบบส่ ว นผสมคอนกรี ต ให้มี ค วามคงทนต่ อการเกิ ด สนิ ม ของเหล็ก เสริ ม เนื่ องจากคลอไรด์
สําหรั บหล่อคาน (Girder) ของท่าเที ยบเรื อ (Jetty) ในทะเล โดยกําหนดอายุการใช้งานที่ ปลอดการ
ซ่อมแซม (Repair-free service life) 20 ปี
วิธีคาํ นวณ

กรณีใช้ ปนู ซีเมนต์ ล้วน และกรณีใช้ ปนู ซีเมนต์ ผสมผงหินปูน


จากตารางที่ 6 กําหนดให้ อัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสู งสุ ด สําหรับคอนกรี ตในสภาวะที่เสี่ ยงต่อการ
เกิดสนิมหรื อการเสื่ อมสภาพของคอนกรี ตระดับรุ นแรง เช่น สภาพแวดล้อมคลอไรด์ในระยะ 100 เมตร
จากแนวชายฝั่ง ต้องไม่เกิน 0.45
ดังนั้นจากตารางที่ 3 สําหรับอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสาน w/b < 0.45 จะได้ ค่าสัมประสิ ทธิ์ ระยะหุ ้ม
เหล็กเสริ ม ( α ) เท่ากับ 0.9

จากตารางที่ 5 ซึ่ งใช้สาํ หรับโครงสร้างที่มีความเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมของเหล็กเสริ ม จะได้


ระยะหุม้ เหล็กเสริ มทัว่ ไป ( c0 ) 65 มม. [คอนกรี ตหล่อในที่ ทั้งอัดแรงและไม่อดั แรง >> องค์อาคารอื่น]
ดังนั้น จากสมการที่ (4.1-ข) และตารางที่ 3 จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ มน้อยสุ ด cmin    c0
cmin = 0.9×65 = 58.5 มม.
จากสมการที่ (4.1-ก) จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ ม c  cmin
c  58.5 มม.

หากสมมุติให้ กรณี น้ ีตอ้ งการใช้ผงหินปูน โดยใช้สดั ส่ วนผงหินปูนต่อวัสดุประสานไม่เกิน 15%


จากตารางที่ 9 จะได้ Clim = 0.45 % โดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน
จากสมการที่ (5.1-ก) Cd  Clim
จะได้ ปริ มาณเกลือคลอไรด์ในคอนกรี ตที่ตาํ แหน่งผิวเหล็กเสริ มทั้งหมด (ที่อยูใ่ นส่ วนผสมคอนกรี ต+ที่
แพร่ มาจากสิ่ งแวดล้อม)
Cd  0.45 -----------------(1)

41
เนื่องจากโครงสร้างต้องเผชิญกับสภาวะละอองคลื่นกระแทก (Splash zone) ดังนั้น ตารางที่ 10
Cs = 1.233 % โดยนํ้าหนักของคอนกรี ต
จากสมการที่ (5.1-ค) เมื่อออกแบบคอนกรี ตให้มีน้ าํ หนักวัสดุประสาน (b) 350 กก.
2,400
จะได้ C s  1.233 
350
 8.455 % โดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน

เนื่ องจากใช้น้ าํ ประปา และทรายแม่น้ าํ ในการหล่อคอนกรี ต และไม่มีการใช้สารผสมเพิ่มที่มีคลอไรด์


ดังนั้น ไม่มีคลอไรด์ที่ผสมอยูใ่ นคอนกรี ตตั้งแต่เริ่ มต้น C0 = 0
  c 
จากสมการที่ (5.1-ข) Cd  (Cs  C0 ) 1  erf     C0
 2 D t 
  a r 

แทนค่า Cd , C0 และ c จะได้


  5.85 
0.45  8.455  1  erf  
  2 D  20 
 a 
 5.85  
erf    1  0.45 
 2 D  20   8.455 
 a 
 5.85 
erf    0.947
 2 20 D 
 a 

 5.85 
   1.367
 2 20 D 
 a 

Da = 0.2290 ซม.2 ปี -1 ------------(2)


จากสมการที่ (5.1-ง) Da  Dk  D0
จากสมการที่ (5.1-จ) D0  0.05  W

จากตารางที่ 7 ในสภาวะเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมรุ นแรง


ขนาดความกว้างของรอยแตกร้าวที่มากที่สุดที่ยอมให้ได้ ( W ) = 0.0035 × 58.5 = 0.2048 มม.
ดังนั้น Da = Dk + (0.05 × 0.2048)
 Da = Dk + 0.0102 ------------(3)
(2) = (3); 0.2290 = Dk + 0.0102
 Dk = (0.2290 - 0.0102) = 0.2188 ซม.2 ปี -1
จากสมการที่ (5.1-ฉ) หรื อ จากรู ปที่ ก-1

42
กรณี ใช้ปูนซีเมนต์ลว้ น และกรณี ใช้ปูนซี เมนต์ผสมผงหินปูนไม่เกิน 15%: เมื่อ t r =20 ปี
w/b 0.37 ทําให้ได้ค่า Dk = 0.2063 ซม.2 ปี -1
w/b 0.38 ทําให้ได้ค่า Dk = 0.2235 ซม.2 ปี -1
ดังนั้น w/b ที่มีค่ามากที่สุดที่ทาํ ให้ได้ค่า Dk ไม่เกินเกณฑ์ที่ตอ้ งการ ( Dk = 0.2188 ซม.2 ปี -1) คือ 0.37

กรณีใช้ ปูนซีเมนต์ ผสมเถ้ าลอย และกรณีใช้ ปนู ซีเมนต์ ผสมทัง้ เถ้าลอยและผงหินปูน


จากตารางที่ 6 กําหนดให้ อัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสู งสุ ด สําหรับคอนกรี ตในสภาวะที่เสี่ ยงต่อการ
เกิดสนิมหรื อการเสื่ อมสภาพของคอนกรี ตระดับรุ นแรง เช่น สภาพแวดล้อมคลอไรด์ ในระยะ 100 เมตร
จากแนวชายฝั่ง ต้องไม่เกิน 0.45
ดังนั้นจากตารางที่ 3 สําหรับอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสาน w/b < 0.45 จะได้ ค่าสัมประสิ ทธิ์ ระยะหุ ้ม
เหล็กเสริ ม ( α ) เท่ากับ 0.9

จากตารางที่ 5 ซึ่ งใช้สาํ หรับโครงสร้างที่มีความเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมของเหล็กเสริ ม จะได้


ระยะหุม้ เหล็กเสริ มทัว่ ไป ( c0 ) 65 มม. [คอนกรี ตหล่อในที่ ทั้งอัดแรงและไม่อดั แรง >> องค์อาคารอื่น]
ดังนั้น จากสมการที่ (4.1-ข) และตารางที่ 3 จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ มน้อยสุ ด cmin    c0
cmin = 0.9×65 = 58.5 มม.
จากสมการที่ (4.1-ก) จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ ม c  cmin
c  58.5 มม.

หากสมมุติให้ กรณี น้ ีตอ้ งการใช้เถ้าลอย โดยใช้สดั ส่วนเถ้าลอยต่อวัสดุประสาน 30%


จากตารางที่ 9 จะได้ Clim = 0.35 % โดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน
จากสมการที่ (5.1-ก) Cd  Clim
จะได้ ปริ มาณเกลือคลอไรด์ในคอนกรี ตที่ตาํ แหน่งผิวเหล็กเสริ มทั้งหมด (ที่อยูใ่ นส่ วนผสมคอนกรี ต+ที่
แพร่ มาจากสิ่ งแวดล้อม)
Cd  0.35 -----------------(4)
เนื่องจากโครงสร้างต้องเผชิญกับสภาวะละอองคลื่นกระแทก (Splash zone) ดังนั้น ตารางที่ 10
Cs = 1.233 % โดยนํ้าหนักของคอนกรี ต
จากสมการที่ (5.1-ค) เมื่อออกแบบคอนกรี ตให้มีน้ าํ หนักวัสดุประสาน (b) 350 กก.

43
2,400
จะได้ C s  1.233   8.455 % โดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน
350

เนื่ องจากใช้น้ าํ ประปา และทรายแม่น้ าํ ในการหล่อคอนกรี ต และไม่มีการใช้สารผสมเพิ่มที่มีคลอไรด์


ดังนั้น ไม่มีคลอไรด์ที่ผสมอยูใ่ นคอนกรี ตตั้งแต่เริ่ มต้น C0 = 0
  c 
จากสมการที่ (5.1-ข) Cd  (Cs  C0 ) 1  erf 

   C0

  2 D t
a r 

แทนค่า Cd , C0 และ c จะได้


  5.85 
0.35  8.4551  erf  
  
  2 Da  20 
 5.85  
erf    1  0.35 
 2 D  20   8.455 
 a 
 5.85 
erf    0.959
 2 20 D 
 a 

 5.85 
   1.442
 2 20 D 
 a 

Da = 0.2057 ซม.2 ปี -1 ------------(5)


จากสมการที่ (5.1-ง) Da  Dk  D0
จากสมการที่ (5.1-จ) D0  0.05 W

จากตารางที่ 7 ในสภาวะเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมรุ นแรง


ขนาดความกว้างของรอยแตกร้าวที่มากที่สุดที่ยอมให้ได้ ( W ) = 0.0035 × 58.5 = 0.2048 มม.
ดังนั้น Da = Dk + (0.05 × 0.2048)
 Da = Dk + 0.0102 ------------(6)
(5) = (6); 0.2057 = Dk + 0.0102
 Dk = (0.2057 - 0.0102) = 0.1954 ซม.2 ปี -1

จากสมการที่ (5.1-ฉ), (5.1-ช), และ (5.1-ซ) หรื อ จากรู ปที่ ก-1 และ ก-3

44
กรณี ใช้ปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอย 30% และกรณี ใช้ปูนซี เมนต์ผสมทั้งเถ้าลอย 30% และผสมผงหิ นปูนไม่
เกิน 15%: เมื่อ t r =20 ปี และใช้เถ้าลอย 30%
w/b 0.45 ทําให้ได้ค่า Dk =0.1588 ซม.2 ปี -1
ซึ่ งมีค่าตํ่ากว่าเกณฑ์ ( Dk = 0.1954 ซม.2 ปี -1) ค่อนข้างมาก แปลว่าคอนกรี ตนี้มีความทนทานผ่านเกณฑ์
ที่กาํ หนดแล้ว แต่มีความเป็ นไปได้วา่ อาจสามารถเพิ่ม w/b ขึ้นไปได้อีก ให้ตรวจสอบดังนี้

จากตารางที่ 3 สําหรับอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสาน 0.45 < w/b ≤ 0.65 จะได้ ค่าสัมประสิ ทธิ์ ระยะ
หุม้ เหล็กเสริ ม ( α ) เท่ากับ 1.0

จากตารางที่ 5 ซึ่ งใช้สาํ หรับโครงสร้างที่มีความเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมของเหล็กเสริ ม จะได้


ระยะหุม้ เหล็กเสริ มทัว่ ไป ( c0 ) 65 มม. [คอนกรี ตหล่อในที่ ทั้งอัดแรงและไม่อดั แรง > องค์อาคารอื่น]
ดังนั้น จากสมการที่ (4.1-ข) และตารางที่ 3 จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ มน้อยสุ ด cmin    c0
cmin = 1.0×65 = 65 มม.
จากสมการที่ (4.1-ก) จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ ม c  cmin
c  65 มม.

เนื่องจากโครงสร้างต้องเผชิญกับสภาวะละอองคลื่นกระแทก (Splash zone) ดังนั้น ตารางที่ 10


Cs = 1.233 % โดยนํ้าหนักของคอนกรี ต
จากสมการที่ (5.1-ค) เมื่อออกแบบคอนกรี ตให้มีน้ าํ หนักวัสดุประสาน (b) 350 กก.
2,400
จะได้ C s  1.233   8.455 % โดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน
350

  c 
จากสมการที่ (5.1-ข) Cd  (Cs  C0 ) 1  erf 

   C0

  2 D t
a r 

แทนค่า Cd , C0 และ c จะได้


  6.5 
0.35  8.4551  erf  
  
  2 Da  20 

45
  
erf 
6.5   1  0.35 
 2 D  20   8.455 
 a 
 6.5 
erf    0.959
 2 20 D 
 a 

 6.5 
   1.442
 2 20 D 
 a 

Da = 0.2539 ซม.2 ปี -1 ------------(7)


จากสมการที่ (5.1-ง) Da  Dk  D0
จากสมการที่ (5.1-จ) D0  0.05  W

จากตารางที่ 7 ในสภาวะเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมรุ นแรง


ขนาดความกว้างของรอยแตกร้าวที่มากที่สุดที่ยอมให้ได้ ( W ) = 0.0035 × 65 = 0.2275 มม.
ดังนั้น Da = Dk + (0.05 × 0.2275)
 Da = Dk + 0.0114 ------------(8)
(7) = (8); 0.2539 = Dk + 0.0114
 Dk = (0.2539 - 0.0114) = 0.2425 ซม.2 ปี -1

จากสมการที่ (5.1-ฉ), (5.1-ช), และ (5.1-ซ) หรื อ จากรู ปที่ ก-1 และ ก-3
กรณี ใช้ปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอย 30% และกรณี ใช้ปูนซี เมนต์ผสมทั้งเถ้าลอย 30% และผสมผงหิ นปูนไม่
เกิน 15%: เมื่อ t r =20 ปี และใช้เถ้าลอย 30%
w/b 0.51 ทําให้ได้ค่า Dk = 0.2333 ซม.2 ปี -1
w/b 0.52 ทําให้ได้ค่า Dk = 0.2478 ซม.2 ปี -1
ดังนั้น w/b ที่มีค่ามากที่สุดที่ทาํ ให้ได้ค่า Dk ไม่เกินเกณฑ์ที่ตอ้ งการ ( Dk = 0.2425 ซม.2 ปี -1) คือ 0.51

สรุ ป การออกแบบคอนกรี ตให้มีความคงทนต่อการเกิดสนิ มของเหล็กเสริ มเนื่ องจากคลอไรด์ สําหรับ


คาน (Girder) ของท่าเทียบเรื อ (Jetty) ในบริ เวณละอองคลื่น (Splash zone) โดยกําหนดอายุการใช้
งานที่ปลอดการซ่อมแซม (Repair-free service life) 20 ปี สามารถใช้คอนกรี ตดังต่อไปนี้
1) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ลว้ น ที่มีระยะหุม้ เหล็กเสริ มไม่นอ้ ยกว่า 58.5 มม. และ w/b ไม่เกิน 0.37

46
2) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ผสมผงหิ นปูนไม่เกิ น 15% ที่มีระยะหุ ้มเหล็กเสริ มไม่น้อยกว่า 58.5 มม.
และ w/b ไม่เกิน 0.37
3) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอย 30% ที่มีระยะหุ ้มเหล็กเสริ มไม่นอ้ ยกว่า 58.5 มม. และ w/b
ไม่เกิน 0.45
4) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอย 30% และผสมผงหิ นปูนไม่เกิน 15% ที่มีระยะหุม้ เหล็กเสริ ม
ไม่นอ้ ยกว่า 58.5 มม. และ w/b ไม่เกิน 0.45
5) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอย 30% ที่มีระยะหุม้ เหล็กเสริ มไม่นอ้ ยกว่า 65 มม. และ w/b ไม่
เกิน 0.51
6) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอย 30% และผสมผงหิ นปูนไม่เกิน 15% ที่มีระยะหุม้ เหล็กเสริ ม
ไม่นอ้ ยกว่า 65 มม. และ w/b ไม่เกิน 0.51
นอกจากนี้ ผอู้ อกแบบยังสามารถออกแบบส่ วนผสมคอนกรี ตที่ใช้ปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอยและผงหินปูน
ที่มีสดั ส่ วนผสมอื่นๆได้อีกมากมาย ตามวิธีคาํ นวณที่แสดงในตัวอย่างนี้ ทั้งนี้สมการในการออกแบบชุด
นี้อนุญาตให้ใช้ w/b สู งสุ ดได้ไม่เกิน 0.60 เท่านั้น กรณี ที่ผอู้ อกแบบคํานวณและออกแบบตามวิธีน้ ีแล้ว
ปรากฏว่า ได้ค่าอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสู งเกินกว่าอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสู งสุ ด (หัวข้อ
4.2) ที่กาํ หนดไว้ในตารางที่ 6 ให้ใช้ผลที่ได้จากการคํานวณนี้

ตัวอย่ างที่ 2 โครงสร้ างคอนกรีตเสริมเหล็กตั้งอยู่ในแผ่ นดินห่ างจากชายฝั่ง 100 เมตร


จงออกแบบส่ ว นผสมคอนกรี ต ให้มี ค วามคงทนต่ อการเกิ ด สนิ ม ของเหล็ก เสริ ม เนื่ องจากคลอไรด์
สําหรั บหล่อคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กรับพื้นระเบียงด้านนอกอาคาร ใช้เหล็กเสริ มขนาด 25 มม. โดย
อาคารนี้ ต้ งั อยูบ่ นแผ่นดินห่างจากแนวชายฝั่งเป็ นระยะ 100 เมตร โดยกําหนดอายุการใช้งานปลอดการ
ซ่อมแซม (Repair-freeservice life) 20 ปี
วิธีคาํ นวณ

กรณีใช้ ปูนซีเมนต์ ล้วน และกรณีใช้ ปนู ซีเมนต์ ผสมผงหินปูน


จากตารางที่ 6 กําหนดให้ อัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสู งสุ ด สําหรับคอนกรี ตในสภาวะที่เสี่ ยงต่อการ
เกิดสนิมหรื อการเสื่ อมสภาพของคอนกรี ตระดับรุ นแรง เช่น สภาพแวดล้อมคลอไรด์ ในระยะ 100 เมตร
จากแนวชายฝั่ง ต้องไม่เกิน 0.45

47
ดังนั้นจากตารางที่ 3 สําหรับอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสาน w/b < 0.45 จะได้ ค่าสัมประสิ ทธิ์ ระยะหุ ้ม
เหล็กเสริ ม ( α ) เท่ากับ 0.9

จากตารางที่ 5 ซึ่ งใช้สาํ หรับโครงสร้างที่มีความเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมของเหล็กเสริ ม จะได้


ระยะหุม้ เหล็กเสริ มทัว่ ไป ( c0 ) 65 มม. [คอนกรี ตหล่อในที่ ทั้งอัดแรงและไม่อดั แรง >> องค์อาคารอื่น]
ดังนั้น จากสมการที่ (4.1-ข) และตารางที่ 3 จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ มน้อยสุ ด cmin    c0
cmin = 0.9×65 = 58.5 มม.
จากสมการที่ (4.1-ก) จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ ม c  cmin
c  58.5 มม.

หากสมมุติให้ กรณี น้ ีตอ้ งการใช้ผงหินปูน โดยใช้สดั ส่ วนผงหินปูนต่อวัสดุประสานไม่เกิน 15%


จากตารางที่ 9 จะได้ Clim = 0.45 % โดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน
จากสมการที่ (5.1-ก) Cd  Clim
จะได้ ปริ มาณเกลือคลอไรด์ในคอนกรี ตที่ตาํ แหน่งผิวเหล็กเสริ มทั้งหมด (ที่อยูใ่ นส่ วนผสมคอนกรี ต+ที่
แพร่ มาจากสิ่ งแวดล้อม)
Cd  0.45 -----------------(1)
เนื่องจากโครงสร้างตั้งอยูห่ ่างจากแนวชายฝั่ง 100 เมตร ดังนั้น จากตารางที่ 10
Cs = 0.176 % โดยนํ้าหนักของคอนกรี ต
จากสมการที่ (5.1-ค) เมื่อออกแบบคอนกรี ตให้มีน้ าํ หนักวัสดุประสาน (b) 350 กก.
2,400
จะได้ Cs  0.176 
350
 1.207 % โดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน
เนื่ องจากใช้น้ าํ ประปา และทรายแม่น้ าํ ในการหล่อคอนกรี ต และไม่มีการใช้สารผสมเพิ่มที่มีคลอไรด์
ดังนั้น ไม่มีคลอไรด์ที่ผสมอยูใ่ นคอนกรี ตตั้งแต่เริ่ มต้น C0 = 0
  c 
จากสมการที่ (5.1-ข) Cd  (Cs  C0 ) 1  erf 

   C0

  2 D t
a r 
แทนค่า Cd , C0 และ c จะได้
  5.85 
0.45  1.207  1  erf  
  
 2 Da  20 

48
 5.85   0.45 
erf   1 
 2 D  20   1.207 
 a 
 5.85 
erf    0.627
 2 20 D 
 a 

 5.85 
   0.630
 2 20 D 
 a 

Da = 1.0774 ซม.2 ปี -1 ------------(2)


จากสมการที่ (5.1-ง) Da  Dk  D0
จากสมการที่ (5.1-จ) D0  0.05 W

จากตารางที่ 7 ในสภาวะเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมรุ นแรง


ขนาดความกว้างของรอยแตกร้าวที่มากที่สุดที่ยอมให้ได้ ( W ) = 0.0035 × 58.5 = 0.2048 มม.
ดังนั้น Da = Dk + (0.05 × 0.2048)
 Da = Dk + 0.0102 ------------(3)
(2) = (3); 1.0774 = Dk + 0.0102
 Dk = (1.0774 - 0.0102) = 1.0672 ซม.2 ปี -1
จากสมการที่ (5.1-ฉ) หรื อ จากรู ปที่ ก-1
กรณี ใช้ปูนซีเมนต์ลว้ น และกรณี ใช้ปูนซี เมนต์ผสมผงหินปูนไม่เกิน 15%: เมื่อ t r =20 ปี
w/b 0.45 ทําให้ได้ค่า Dk = 0.371 ซม.2 ปี -1
ซึ่ งมีค่าตํ่ากว่าเกณฑ์ ( Dk = 1.0672 ซม.2 ปี -1) มาก แปลว่าคอนกรี ตนี้มีความทนทานผ่านเกณฑ์ที่กาํ หนด
แล้ว แต่มีความเป็ นไปได้วา่ อาจสามารถเพิม่ w/b ขึ้นไปได้อีก ให้ตรวจสอบดังนี้

จากตารางที่ 3 สําหรับอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสาน 0.45 < w/b ≤ 0.65 จะได้ ค่าสัมประสิ ทธิ์ ระยะ
หุม้ เหล็กเสริ ม ( α ) เท่ากับ 1.0

จากตารางที่ 5 ซึ่ งใช้สาํ หรับโครงสร้างที่มีความเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมของเหล็กเสริ ม จะได้


ระยะหุม้ เหล็กเสริ มทัว่ ไป ( c0 ) 65 มม. [คอนกรี ตหล่อในที่ ทั้งอัดแรงและไม่อดั แรง > องค์อาคารอื่น]
ดังนั้น จากสมการที่ (4.1-ข) และตารางที่ 3 จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ มน้อยสุ ด cmin    c0

49
cmin = 1.0×65 = 65 มม.
จากสมการที่ (4.1-ก) จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ ม c  cmin
c 65 มม.
เนื่องจากโครงสร้างตั้งอยูห่ ่างจากแนวชายฝั่ง 100 เมตร ดังนั้น จากตารางที่ 10
Cs = 0.176 % โดยนํ้าหนักของคอนกรี ต
จากสมการที่ (5.1-ค) เมื่อออกแบบคอนกรี ตให้มีน้ าํ หนักวัสดุประสาน (b) 350 กก.
2,400
จะได้ Cs  0.176 
350
 1.207 % โดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน

  c 
จากสมการที่ (5.1-ข) Cd  (Cs  C0 ) 1  erf 

   C0

  2 D t
a r 
แทนค่า Cd , C0 และ c จะได้
  6.5 

0.45  1.207 1  erf  
  2 D  20 
  a 
  
erf 
6.5   1  0.45 
 2 D  20   1.207 
 a 
 6.5 
erf    0.627
 2 20 D 
 a 

 6.5 
   0.630
 2 20 D 
 a 

Da = 1.3302 ซม.2 ปี -1 ------------(4)


จากสมการที่ (5.1-ง) Da  Dk  D0
จากสมการที่ (5.1-จ) D0  0.05  W

จากตารางที่ 7 ในสภาวะเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมรุ นแรง


ขนาดความกว้างของรอยแตกร้าวที่มากที่สุดที่ยอมให้ได้ ( W ) = 0.0035 × 65 = 0.2275 มม.
ดังนั้น Da = Dk + (0.05 × 0.2275)
 Da = Dk + 0.0114 ------------(5)
(4) = (5); 1.3302 = Dk + 0.0114

50
 Dk = (1.3302 - 0.0114) = 1.3188 ซม.2 ปี -1

จากสมการที่ (5.1-ฉ) หรื อ จากรู ปที่ ก-1


กรณี ใช้ปูนซีเมนต์ลว้ น และกรณี ใช้ปูนซี เมนต์ผสมผงหินปูนไม่เกิน 15%: เมื่อ t r =20 ปี
w/b 0.60 ทําให้ได้ค่า Dk = 0.8798 ซม.2 ปี -1
ซึ่ งมีค่าตํ่ากว่าเกณฑ์ ( Dk = 1.3188 ซม.2 ปี -1) มาก แปลว่าคอนกรี ตนี้มีความทนทานผ่านเกณฑ์ที่กาํ หนด
แล้ว แต่สมการการออกแบบชุดนี้อนุญาตให้ใช้ได้จนถึง w/b สูงสุ ดที่ 0.60 เท่านั้น ดังนั้นไม่สามารถ
เพิ่มอัตราส่วนนํ้าต่อวัสดุประสานขึ้นไปได้มากกว่านี้อีกแล้ว

หมายเหตุ สั งเกตุได้ ว่าจากรู ปที่ ก-1 ค่ า Dk สูงสุดที่ คาํ นวณได้ จากวัสดุนั้น เป็ นค่ าของคอนกรี ตใช้
ปูนซี เมนต์ ล้วนที่มี w/b 0.60 และมีอายุการใช้ งานปลอดการซ่ อมแซมที่ 10 ปี ซึ่ งมีค่า 1.161 ซม.2 ปี -1
(ไม่ ถึง 1.2 ซม.2 ปี -)1 ดังนั้นกรณี คาํ นวณ Dk ที่ใช้ เป็ นเกณฑ์ ได้ ค่ามากกว่ า 1.2 ซม.2 ปี -1และต้ องการอายุ
การใช้ งานปลอดการซ่ อมแซมตั้งแต่ 10 ปี ขึน้ ไป สรุ ปได้ ทันทีว่า ให้ ใช้ w/b 0.60

กรณีใช้ ปูนซีเมนต์ ผสมเถ้ าลอย และกรณีใช้ ปนู ซีเมนต์ ผสมทัง้ เถ้าลอยและผงหินปูน


จากตารางที่ 6 กําหนดให้ อัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสู งสุ ด สําหรับคอนกรี ตในสภาวะที่เสี่ ยงต่อการ
เกิดสนิ มหรื อการเสื่ อมสภาพของคอนกรี ตระดับรุ นแรง เช่น สภาพแวดล้อมคลอไรด์ ในระยะห่ างไม่
เกิน 100 เมตรจากแนวชายฝั่ง ต้องไม่เกิน 0.45
ดังนั้นจากตารางที่ 3 สําหรับอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสาน w/b < 0.45 จะได้ ค่าสัมประสิ ทธิ์ ระยะหุ ้ม
เหล็กเสริ ม ( α ) เท่ากับ 0.9

จากตารางที่ 5 ซึ่ งใช้สาํ หรับโครงสร้างที่มีความเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมของเหล็กเสริ ม จะได้


ระยะหุม้ เหล็กเสริ มทัว่ ไป ( c0 ) 65 มม. [คอนกรี ตหล่อในที่ ทั้งอัดแรงและไม่อดั แรง >> องค์อาคารอื่น]
ดังนั้น จากสมการที่ (4.1-ข) และตารางที่ 3 จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ มน้อยสุ ด cmin    c0
cmin = 0.9×65 = 58.5 มม.
จากสมการที่ (4.1-ก) จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ ม c  cmin
c  58.5 มม.

51
หากสมมุติให้ กรณี น้ ีตอ้ งการใช้เถ้าลอย โดยใช้สดั ส่วนเถ้าลอยต่อวัสดุประสาน 30%
จากตารางที่ 9 จะได้ Clim = 0.35 % โดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน
จากสมการที่ (5.1-ก) Cd  Clim
จะได้ ปริ มาณเกลือคลอไรด์ในคอนกรี ตที่ตาํ แหน่งผิวเหล็กเสริ มทั้งหมด (ที่อยูใ่ นส่ วนผสมคอนกรี ต+ที่
แพร่ มาจากสิ่ งแวดล้อม)
Cd  0.35 -----------------(6)
เนื่องจากโครงสร้างตั้งอยูห่ ่างจากแนวชายฝั่ง 100 เมตร ดังนั้น จากตารางที่ 10
Cs = 0.176 % โดยนํ้าหนักของคอนกรี ต
จากสมการที่ (5.1-ค) เมื่อออกแบบคอนกรี ตให้มีน้ าํ หนักวัสดุประสาน (b) 350 กก.
2,400
จะได้ Cs  0.176 
350
 1.207 % โดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน
เนื่ องจากใช้น้ าํ ประปา และทรายแม่น้ าํ ในการหล่อคอนกรี ต และไม่มีการใช้สารผสมเพิ่มที่มีคลอไรด์
ดังนั้น ไม่มีคลอไรด์ที่ผสมอยูใ่ นคอนกรี ตตั้งแต่เริ่ มต้น C0 = 0
  c 
จากสมการที่ (5.1-ข) Cd  (Cs  C0 ) 1  erf 

   C0

  2 D t
a r 
แทนค่า Cd , C0 และ c จะได้
  5.85 
0.35  1.207 1  erf 
 
  2 D  20 
  a 
 5.85  
erf    1  0.35 
 2 D  20   1.207 
 a 
 5.85 
erf    0.710
 2 20 D 
 a 

 5.85 
   0.748
 2 20 D 
 a 

Da = 0.7642 ซม.2 ปี -1 ------------(7)


จากสมการที่ (5.1-ง) Da  Dk  D0
จากสมการที่ (5.1-จ) D0  0.05  W

52
จากตารางที่ 7 ในสภาวะเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมรุ นแรง
ขนาดความกว้างของรอยแตกร้าวที่มากที่สุดที่ยอมให้ได้ ( W ) = 0.0035 × 58.5 = 0.2048 มม.
ดังนั้น Da = Dk + (0.05 × 0.2048)
 Da = Dk + 0.0102 ------------(8)
(7) = (8); 0.7642 = Dk + 0.0102
 Dk = (0.7642 - 0.0102) = 0.7539 ซม.2 ปี -1

จากสมการที่ (5.1-ฉ), (5.1-ช), และ (5.1-ซ) หรื อ จากรู ปที่ ก-1 และ ก-3
กรณี ใช้ปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอย 30% และกรณี ใช้ปูนซี เมนต์ผสมทั้งเถ้าลอย 30% และผสมผงหิ นปูนไม่
เกิน 15%: เมื่อ t r =20 ปี และใช้เถ้าลอย 30%
w/b 0.45 ทําให้ได้ค่า Dk =0.1588 ซม.2 ปี -1
ซึ่ งมีค่าตํ่ากว่าเกณฑ์ ( Dk = 0.7539 ซม.2 ปี -1) มาก แปลว่าคอนกรี ตนี้มีความทนทานผ่านเกณฑ์ที่กาํ หนด
แล้ว แต่มีความเป็ นไปได้วา่ อาจสามารถเพิ่ม w/b ขึ้นไปได้อีก ให้ตรวจสอบดังนี้

จากตารางที่ 3 สําหรับอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสาน 0.45 < w/b ≤ 0.65 จะได้ ค่าสัมประสิ ทธิ์ ระยะ
หุม้ เหล็กเสริ ม ( α ) เท่ากับ 1.0

จากตารางที่ 5 ซึ่ งใช้สาํ หรับโครงสร้างที่มีความเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมของเหล็กเสริ ม จะได้


ระยะหุม้ เหล็กเสริ มทัว่ ไป ( c0 ) 65 มม. [คอนกรี ตหล่อในที่ ทั้งอัดแรงและไม่อดั แรง > องค์อาคารอื่น]
ดังนั้น จากสมการที่ (4.1-ข) และตารางที่ 3 จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ มน้อยสุ ด cmin    c0
cmin = 1.0×65 = 65 มม.
จากสมการที่ (4.1-ก) จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ ม c  cmin
c  65 มม.

เนื่องจากโครงสร้างตั้งอยูห่ ่างจากแนวชายฝั่ง 100 เมตร ดังนั้น จากตารางที่ 10


Cs = 0.176 % โดยนํ้าหนักของคอนกรี ต
จากสมการที่ (5.1-ค) เมื่อออกแบบคอนกรี ตให้มีน้ าํ หนักวัสดุประสาน (b) 350 กก.
2,400
จะได้ Cs  0.176 
350
 1.207 % โดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน

53
  c 
จากสมการที่ (5.1-ข) Cd  (Cs  C0 ) 1  erf 

   C0

  2 Da t r 
แทนค่า Cd , C0 และ c จะได้
  6.5 

0.35  1.207 1  erf  
  2 D  20 
  a 
  
erf 
6.5   1  0.35 
 2 D  20   1.207 
 a 
 6.5 
erf    0.710
 2 20 D 
 a 

 6.5 
   0.748
 2 20 D 
 a 

Da = 0.9434 ซม.2 ปี -1 ------------(7)


จากสมการที่ (5.1-ง) Da  Dk  D0
จากสมการที่ (5.1-จ) D0  0.05 W

จากตารางที่ 7 ในสภาวะเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมรุ นแรง


ขนาดความกว้างของรอยแตกร้าวที่มากที่สุดที่ยอมให้ได้ ( W ) = 0.0035 × 65 = 0.2275 มม.
ดังนั้น Da = Dk + (0.05 × 0.2275)
 Da = Dk + 0.0114 ------------(8)
(7) = (8); 0.9434 = Dk + 0.0114
 Dk = (0.9434 - 0.0114) = 0.9321 ซม.2 ปี -1

จากสมการที่ (5.1-ฉ), (5.1-ช), และ (5.1-ซ) หรื อ จากรู ปที่ ก-1 และ ก-3
กรณี ใช้ปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอย 30% และกรณี ใช้ปูนซี เมนต์ผสมทั้งเถ้าลอย 30% และผสมผงหิ นปูนไม่
เกิน 15%: เมื่อ t r =20 ปี และใช้เถ้าลอย 30%
w/b 0.60 ทําให้ได้ค่า Dk = 0.3884 ซม.2 ปี -1
ซึ่ งมีค่าตํ่ากว่าเกณฑ์ ( Dk = 0.9321 ซม.2 ปี -1) มาก แปลว่าคอนกรี ตนี้มีความทนทานผ่านเกณฑ์ที่กาํ หนด
แล้ว แต่สมการการออกแบบชุดนี้อนุญาตให้ใช้ได้จนถึง w/b สูงสุ ดที่ 0.60 เท่านั้น ดังนั้นไม่สามารถ
เพิ่มอัตราส่วนนํ้าต่อวัสดุประสานขึ้นไปได้มากกว่านี้อีกแล้ว

54
สรุ ป การออกแบบส่ วนผสมคอนกรี ตให้มีความคงทนต่อการเกิดสนิมของเหล็กเสริ มเนื่ องจากคลอไรด์
สําหรั บหล่อคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กรับพื้นระเบียงด้านนอกอาคาร ใช้เหล็กเสริ มขนาด 25 มม.
โดยอาคารนี้ ต้ งั อยูบ่ นแผ่นดินห่างจากแนวชายฝั่งเป็ นระยะ 100 เมตร โดยกําหนดอายุการใช้งาน
ปลอดการซ่อมแซม (Repair-freeservice life) 20 ปี สามารถใช้คอนกรี ตดังต่อไปนี้
1) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ลว้ น ที่มีระยะหุม้ เหล็กเสริ มไม่นอ้ ยกว่า 58.5 มม. และ w/b ไม่เกิน 0.45
2) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ลว้ น ที่มีระยะหุม้ เหล็กเสริ มไม่นอ้ ยกว่า 65 มม. และ w/b ไม่เกิน 0.60
3) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ผสมผงหิ นปูนไม่เกิ น 15% ที่มีระยะหุ ้มเหล็กเสริ มไม่น้อยกว่า 58.5 มม.
และ w/b ไม่เกิน 0.45
4) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ผสมผงหินปูนไม่เกิน 15% ที่มีระยะหุม้ เหล็กเสริ มไม่นอ้ ยกว่า 65 มม. และ
w/b ไม่เกิน 0.60
5) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอย 30% ที่มีระยะหุ ้มเหล็กเสริ มไม่นอ้ ยกว่า 58.5 มม. และ w/b
ไม่เกิน 0.45
6) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอย 30% ที่มีระยะหุม้ เหล็กเสริ มไม่นอ้ ยกว่า 65 มม. และ w/b ไม่
เกิน 0.60
7) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอย 30% และผสมผงหิ นปูนไม่เกิน 15% ที่มีระยะหุม้ เหล็กเสริ ม
ไม่นอ้ ยกว่า 58.5 มม. และ w/b ไม่เกิน 0.45
8) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอย 30% และผสมผงหิ นปูนไม่เกิน 15% ที่มีระยะหุม้ เหล็กเสริ ม
ไม่นอ้ ยกว่า 65 มม. และ w/b ไม่เกิน 0.60
นอกจากนี้ ผอู้ อกแบบยังสามารถออกแบบส่ วนผสมคอนกรี ตที่ใช้ปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอยและผงหินปูน
ที่มีสดั ส่ วนผสมอื่นๆได้อีกมากมาย ตามวิธีคาํ นวณที่แสดงในตัวอย่างนี้ ทั้งนี้สมการในการออกแบบชุด
นี้อนุญาตให้ใช้ w/b สู งสุ ดได้ไม่เกิน 0.60 เท่านั้น กรณี ที่ผอู้ อกแบบคํานวณและออกแบบตามวิธีน้ ีแล้ว
ปรากฏว่า ได้ค่าอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสู งเกินกว่าอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสู งสุ ด (หัวข้อ
4.2) ที่กาํ หนดไว้ในตารางที่ 6 ให้ใช้ผลที่ได้จากการคํานวณนี้

ตัวอย่ างที่ 3 โครงสร้ างคอนกรีตเสริมเหล็กตั้งอยู่ในแผ่ นดินห่ างจากชายฝั่ง 1,000 เมตร


จงออกแบบส่ ว นผสมคอนกรี ต ให้มี ค วามคงทนต่ อการเกิ ด สนิ ม ของเหล็ก เสริ ม เนื่ องจากคลอไรด์
สําหรั บหล่อคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กรับพื้นระเบียงด้านนอกอาคาร ใช้เหล็กเสริ มขนาด 25 มม. โดย

55
อาคารนี้ต้ งั อยูบ่ นแผ่นดินห่างจากแนวชายฝั่งเป็ นระยะ 1,000 เมตร โดยกําหนดอายุการใช้งานปลอดการ
ซ่อมแซม (Repair-freeservice life) 20 ปี
วิธีคาํ นวณ

กรณีใช้ ปูนซีเมนต์ ล้วน และกรณีใช้ ปนู ซีเมนต์ ผสมผงหินปูน


จากตารางที่ 6 กําหนดให้ อัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสู งสุ ด สําหรับคอนกรี ตในสภาวะที่เสี่ ยงต่อการ
เกิดสนิมหรื อการเสื่ อมสภาพของคอนกรี ตระดับปานกลาง เช่น สภาพแวดล้อมคลอไรด์ ที่ระยะห่างจาก
แนวชายฝั่ง 100 เมตร ถึง 1,000 เมตร ต้องไม่เกิน 0.50

จากตารางที่ 5 ซึ่ งใช้สาํ หรับโครงสร้างที่มีความเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมของเหล็กเสริ ม จะได้


ระยะหุม้ เหล็กเสริ มทัว่ ไป ( c0 ) 65 มม. [คอนกรี ตหล่อในที่ ทั้งอัดแรงและไม่อดั แรง >> องค์อาคารอื่น]
ดังนั้น จากสมการที่ (4.1-ข) และตารางที่ 3 จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ มน้อยสุ ด cmin    c0
cmin = 1.0×65 = 65 มม.
จากสมการที่ (4.1-ก) จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ ม c  cmin
c  65 มม.

หากสมมุติให้ กรณี น้ ีตอ้ งการใช้ผงหินปูน โดยใช้สดั ส่ วนผงหินปูนต่อวัสดุประสานไม่เกิน 15%


จากตารางที่ 9 จะได้ Clim = 0.45 % โดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน
จากสมการที่ (5.1-ก) Cd  Clim
จะได้ ปริ มาณเกลือคลอไรด์ในคอนกรี ตที่ตาํ แหน่งผิวเหล็กเสริ มทั้งหมด (ที่อยูใ่ นส่ วนผสมคอนกรี ต+ที่
แพร่ มาจากสิ่ งแวดล้อม)
Cd  0.45 -----------------(1)
เนื่องจากโครงสร้างตั้งอยูห่ ่างจากแนวชายฝั่ง 1,000 เมตร ดังนั้น จากตารางที่ 10
Cs = 0.052 % โดยนํ้าหนักของคอนกรี ต
จากสมการที่ (5.1-ค) เมื่อออกแบบคอนกรี ตให้มีน้ าํ หนักวัสดุประสาน (b) 350 กก.
2,400
จะได้ Cs  0.052 
350
 0.357 % โดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน

56
สังเกตุได้วา่ Cs มีคา่ น้อยกว่า Clim ซึ่ งจะทําให้ไม่สามารถคํานวณต่อไปได้
มี ความหมายว่า เหล็กเสริ มภายในอาคารคอนกรี ตนี้ ซึ่ งตั้งอยู่ห่างจากแนวชายฝั่ ง 1,000 เมตร จะไม่
สามารถเป็ นสนิ มได้เลยภายในระยะเวลา 20 ปี เมื่อใช้คอนกรี ตที่ใช้ปูนซี เมนต์ลว้ น หรื อ คอนกรี ตที่ใช้
ปูนซี เมนต์ผสมผงหิ นปูนไม่เกิน 15% โดยที่ w/b ไม่เกิน 0.60 ไม่วา่ ระยะหุม้ จะมีค่าเป็ นเท่าใด

กรณีใช้ ปูนซีเมนต์ ผสมเถ้ าลอย และกรณีใช้ ปนู ซีเมนต์ ผสมทัง้ เถ้าลอยและผงหินปูน


จากตารางที่ 6 กําหนดให้ อัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสู งสุ ด สําหรับคอนกรี ตในสภาวะที่เสี่ ยงต่อการ
เกิดสนิมหรื อการเสื่ อมสภาพของคอนกรี ตระดับปานกลาง เช่น สภาพแวดล้อมคลอไรด์ ที่ระยะห่างจาก
แนวชายฝั่ง 100 เมตร ถึง 1,000 เมตร ต้องไม่เกิน 0.50
ดังนั้นจากตารางที่ 3 สําหรับอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสาน 0.45 < w/b ≤ 0.65 จะได้ ค่าสัมประสิ ทธิ์
ระยะหุม้ เหล็กเสริ ม ( α ) เท่ากับ 1.0

จากตารางที่ 5 ซึ่ งใช้สาํ หรับโครงสร้างที่มีความเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมของเหล็กเสริ ม จะได้


ระยะหุม้ เหล็กเสริ มทัว่ ไป ( c0 ) 65 มม. [คอนกรี ตหล่อในที่ ทั้งอัดแรงและไม่อดั แรง >> องค์อาคารอื่น]
ดังนั้น จากสมการที่ (4.1-ข) และตารางที่ 3 จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ มน้อยสุ ด cmin    c0
cmin = 1.0×65 = 65 มม.
จากสมการที่ (4.1-ก) จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ ม c  cmin
c  65 มม.

หากสมมุติให้ กรณี น้ ีตอ้ งการใช้เถ้าลอย โดยใช้สดั ส่วนเถ้าลอยต่อวัสดุประสาน 30%


จากตารางที่ 9 จะได้ Clim = 0.35 % โดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน
จากสมการที่ (5.1-ก) Cd  Clim
จะได้ ปริ มาณเกลือคลอไรด์ในคอนกรี ตที่ตาํ แหน่งผิวเหล็กเสริ มทั้งหมด (ที่อยูใ่ นส่ วนผสมคอนกรี ต+ที่
แพร่ มาจากสิ่ งแวดล้อม)
Cd  0.35 -----------------(2)
เนื่องจากโครงสร้างตั้งอยูห่ ่างจากแนวชายฝั่ง 1,000 เมตร ดังนั้น จากตารางที่ 10
Cs = 0.052 % โดยนํ้าหนักของคอนกรี ต

57
จากสมการที่ (5.1-ค) เมื่อออกแบบคอนกรี ตให้มีน้ าํ หนักวัสดุประสาน (b) 350 กก.
2,400
จะได้ Cs  0.052 
350
 0.357 % โดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน

เนื่ องจากใช้น้ าํ ประปา และทรายแม่น้ าํ ในการหล่อคอนกรี ต และไม่มีการใช้สารผสมเพิ่มที่มีคลอไรด์


ดังนั้น ไม่มีคลอไรด์ที่ผสมอยูใ่ นคอนกรี ตตั้งแต่เริ่ มต้น C0 = 0
  c 
จากสมการที่ (5.1-ข) Cd  (Cs  C0 ) 1  erf     C0
 2 D t 
  a r 
แทนค่า Cd , C0 และ c จะได้
  6.5 
0.35  0.357 1  erf  
  2 D  20 
  a 
  
erf 
6.5   1  0.35 
 2 D  20   0.357 
 a 
 6.5 
erf    0.018
 2 20 D 
 a 

 6.5 
   0.016
 2 20 D 
 a 

Da = 1979.4434 ซม.2 ปี -1 ------------(3)


จากสมการที่ (5.1-ง) Da  Dk  D0
จากสมการที่ (5.1-จ) D0  0.05  W

จากตารางที่ 7 ในสภาวะเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมปานกลาง


ขนาดความกว้างของรอยแตกร้าวที่มากที่สุดที่ยอมให้ได้ ( W ) = 0.004 × 65 = 0.26 มม.
ดังนั้น Da = Dk + (0.05 × 0.26)
 Da = Dk + 0.013 ------------(4)
(7) = (8); 1979.4434 = Dk + 0.013
 Dk = (1979.4434 - 0.013) = 1979.43 ซม.2 ปี -1

จากสมการที่ (5.1-ฉ), (5.1-ช), และ (5.1-ซ) หรื อ จากรู ปที่ ก-1 และ ก-3

58
กรณี ใช้ปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอย 30% และกรณี ใช้ปูนซี เมนต์ผสมทั้งเถ้าลอย 30% และผสมผงหิ นปูนไม่
เกิน 15%: เมื่อ t r =20 ปี และใช้เถ้าลอย 30%
w/b 0.60 ทําให้ได้ค่า Dk =0.3884 ซม.2 ปี -1
ซึ่ งมีค่าตํ่ากว่าเกณฑ์ ( Dk =1979.4434 ซม.2 ปี -1) มาก แปลว่าคอนกรี ตนี้มีความทนทานผ่านเกณฑ์ที่
กําหนดแล้ว แต่สมการการออกแบบชุดนี้อนุญาตให้ใช้ได้จนถึง w/b สูงสุดที่ 0.60 เท่านั้น ดังนั้นไม่
สามารถเพิ่มอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานขึ้นไปได้มากกว่านี้อีกแล้ว

หมายเหตุ สั งเกตุได้ ว่าจากรู ปที่ ก-1 ค่ า Dk สูงสุดที่ คาํ นวณได้ จากวัสดุนั้น เป็ นค่ าของคอนกรี ตใช้
ปูนซี เมนต์ ล้วนที่มี w/b 0.60 และมีอายุการใช้ งานปลอดการซ่ อมแซมที่ 10 ปี ซึ่ งมีค่า 1.161 ซม.2 ปี -1
(ไม่ ถึง 1.2 ซม.2 ปี -)1 ดังนั้นกรณี คาํ นวณ Dk ที่ใช้ เป็ นเกณฑ์ ได้ ค่ามากกว่ า 1.2 ซม.2 ปี -1และต้ องการอายุ
การใช้ งานปลอดการซ่ อมแซมตั้งแต่ 10 ปี ขึน้ ไป สรุ ปได้ ทันทีว่า ให้ ใช้ w/b 0.60

สรุ ป การออกแบบส่ วนผสมคอนกรี ตให้มีความคงทนต่อการเกิดสนิมของเหล็กเสริ มเนื่ องจากคลอไรด์


สําหรั บหล่อคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กรับพื้นระเบียงด้านนอกอาคาร ใช้เหล็กเสริ มขนาด 25 มม.
โดยอาคารนี้ต้ งั อยูบ่ นแผ่นดินห่างจากแนวชายฝั่งเป็ นระยะ 1,000 เมตร โดยกําหนดอายุการใช้งาน
ปลอดการซ่อมแซม (Repair-freeservice life) 20 ปี สามารถใช้คอนกรี ตดังต่อไปนี้
1) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ลว้ น โดยที่ w/b ไม่เกิน 0.60 ไม่วา่ ระยะหุม้ จะมีค่าเป็ นเท่าใด
2) คอนกรี ตที่ใช้ปูนซี เมนต์ผสมผงหิ นปูนไม่เกิน 15% โดยที่ w/b ไม่เกิน 0.60 ไม่ว่าระยะหุม้ จะมี
ค่าเป็ นเท่าใด
3) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอย 30% โดยที่ w/b ไม่เกิน 0.60 และมีระยะหุม้ เหล็กเสริ มไม่นอ้ ย
กว่า 65 มม.
4) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอย 30% และผสมผงหิ นปูนไม่เกิน 15% ที่โดยที่ w/b ไม่เกิน 0.60
และมีระยะหุม้ เหล็กเสริ มไม่นอ้ ยกว่า 65 มม.
นอกจากนี้ ผอู้ อกแบบยังสามารถออกแบบส่ วนผสมคอนกรี ตที่ใช้ปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอยและผงหินปูน
ที่มีสดั ส่ วนผสมอื่นๆได้อีกมากมาย ตามวิธีคาํ นวณที่แสดงในตัวอย่างนี้ ทั้งนี้สมการในการออกแบบชุด
นี้อนุญาตให้ใช้ w/b สู งสุ ดได้ไม่เกิน 0.60 เท่านั้น กรณี ที่ผอู้ อกแบบคํานวณและออกแบบตามวิธีน้ ีแล้ว
ปรากฏว่า ได้ค่าอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสู งเกินกว่าอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสู งสุ ด (หัวข้อ
4.2) ที่กาํ หนดไว้ในตารางที่ 6 ให้ใช้ผลที่ได้จากการคํานวณนี้

59
ข2. การเกิดสนิมของเหล็กเสริมเนื่องจากปฏิกริ ิยาคาร์ บอเนชัน
ตัวอย่ าง
จงออกแบบคอนกรี ตให้มีความคงทนต่อการเกิ ดสนิ มของเหล็กเสริ มเนื่ องจากปฏิ กิริยาคาร์ บอเนชัน
สําหรับแผ่นพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กของอาคารจอดรถ ซึ่งหล่อในที่และเสริ มด้วยเหล็กข้ออ้อยขนาดเส้น
ผ่านศูนย์กลาง 20 มม. อยูใ่ นสภาพแวดล้อมซึ่ งมีปริ มาณก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์เฉลี่ย 600 ppm และมี
ความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 70% และไม่ถูกฝน โดยกําหนดอายุการใช้งานปลอดการซ่อมแซม (Repair-free
service life) 50 ปี
วิธีคาํ นวณ
จากตารางที่ 6 กําหนดให้ อัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสู งสุ ด สําหรับคอนกรี ตในสภาวะที่เสี่ ยงต่อการ
เกิดสนิมหรื อการเสื่ อมสภาพของคอนกรี ตระดับปานกลาง เช่น สภาพแวดล้อมคาร์ บอเนชัน ต้องไม่เกิน
0.50
ดังนั้นจากตารางที่ 3 สําหรับอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสาน 0.45 < w/b ≤ 0.65 จะได้ ค่าสัมประสิ ทธิ์
ระยะหุม้ เหล็กเสริ ม ( α ) เท่ากับ 1.0

จากตารางที่ 5 ซึ่ งใช้สาํ หรับโครงสร้างที่มีความเสี่ ยงต่อการเกิดสนิมของเหล็กเสริ ม จะได้


ระยะหุม้ เหล็กเสริ มทัว่ ไป ( c0 ) 50 มม. [คอนกรี ตหล่อในที่ ทั้งอัดแรงและไม่อดั แรง >> แผ่นพื้นและ
ผนัง]
ดังนั้น จากสมการที่ (4.1-ข) และตารางที่ 3 จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ มน้อยสุ ด cmin    c0
cmin = 1.0×50 = 50 มม.
จากสมการที่ (4.1-ก) จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ ม c  cmin
c  50 มม.

จากสมการ (5.2-ก) Xc  c
ดังนั้น ความลึกคาร์ บอเนชันวัดจากผิวคอนกรี ตที่เผชิญกับสภาพแวดล้อม ณ อายุคอนกรี ตที่ออกแบบ
Xc  c
X c  50.0 ------------(1)
จากสมการ (5.2-ข) X c  1   2  k  tr

60
สัมประสิ ทธิ์ การสัมผัสความเปี ยกชื้น ( 1 ) จากตารางที่ 11 = 1.0 [สําหรับผิวคอนกรี ตที่ไม่สมั ผัสความ
เปี ยกชื้นขณะใช้งาน]
จากรู ปที่ 1 ปริ มาณก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์เฉลี่ย 600 ppm และมีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 70% จัดอยูใ่ น
ระดับสิ่ งแวดล้อมที่เสี่ ยงต่อการเกิดสนิ มเนื่ องจากคาร์ บอเนชันรุ นแรง ดังนั้นสัมประสิ ทธิ์ ระดับความ
รุ นแรงของสภาพแวดล้อมคาร์ บอเนชัน (  2 ) จากตารางที่ 12 = 1.0 [เสี่ ยงต่อคาร์บอเนชันรุ นแรง]
X c  1   2  k  tr
50  1  1  k  50
k  7.071 มม. ปี -0.5 ------------(2)

กรณีทใี่ ช้ ปนู ซีเมนต์ ล้วน


จากสมการ (5.2-ค) k  17.5  kr  ( w b)3
จากรู ปที่ 2 เมื่อใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ ตแลนด์ ประเภทที่ 1 เป็ นวัสดุประสานเพียงอย่างเดียว หรื อร้อยละการ
แทนที่ของเถ้าลอยมีค่าเป็ น 0 % kr  1.0

ดังนั้น k  17.5  1.0  (w b)3

w b  0.65 จะได้ค่า k = 4.806 มม. ปี -0.5


และยังเป็ นอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสูงสุ ดที่สามารถใช้ได้ในสมการชุดนี้อีกด้วย
ดังนั้น w b  0.65 จึงเป็ นอัตราส่วนนํ้าต่อวัสดุประสานมากสุ ดที่ไม่เกินเกณฑ์ k  7.071มม. ปี -0.5
w b ที่ ค ํา นวณได้น้ ี อยู่ ใ นช่ ว งที่ ส มมุ ติ ค่ า จากตารางที่ 3 คื อ [ w/b ระหว่ า ง 0.45-0.65] จึ ง ไม่
จําเป็ นต้องคํานวณใหม่

กรณีทใี่ ช้ ปนู ซีเมนต์ ผสมเถ้ าลอย (ประเภท 2ก) ร้ อยละ 20 โดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน


จากรู ปที่ 2 เมื่อใช้ปูนซี เมนต์ปอร์ ตแลนด์ ประเภทที่ 1 กับเถ้าลอยประเภท 2ก โดยร้ อยละการแทนที่
ของเถ้าลอยมีค่าเป็ น 20% kr  1.5
ดังนั้น k  17.5  1.5  (w b)3
w b  0.65 จะได้ค่า k = 7.209 มม. ปี -0.5
w b  0.64 จะได้ค่า k = 6.881 มม. ปี -0.5
ดังนั้น w b  0.64 จึงเป็ นอัตราส่วนนํ้าต่อวัสดุประสานมากสุ ดที่ไม่เกินเกณฑ์ k  7.071 มม. ปี -0.5
w/b ที่คาํ นวณได้น้ ี อยูใ่ นช่วงที่สมมุติค่าจากตารางที่ 3 คือ [ w/b ระหว่าง 0.45-0.65] จึงไม่จาํ เป็ นต้อง
คํานวณใหม่

61
กรณีทใี่ ช้ ปนู ซีเมนต์ ผสมเถ้ าลอย (ประเภท 2ก) ร้ อยละ 30 โดยนํ้าหนักของวัสดุประสาน
จากรู ปที่ 2 เมื่อใช้ปูนซี เมนต์ปอร์ ตแลนด์ ประเภทที่ 1 กับเถ้าลอยประเภท 2ก โดยร้ อยละการแทนที่
ของเถ้าลอยมีค่าเป็ น 30% k r  1.9
ดังนั้น k  17.5  1.9  ( w b)3
w b  0.60 จะได้ค่า k = 7.182 มม. ปี -0.5
w b  0.59 จะได้ค่า k = 6.829 มม. ปี -0.5
ดังนั้น w b  0.59 จึงเป็ นอัตราส่วนนํ้าต่อวัสดุประสานมากสุ ดที่ไม่เกินเกณฑ์ k  7.071 มม. ปี -0.5
w/b ที่คาํ นวณได้น้ ี อยูใ่ นช่วงที่สมมุติค่าจากตารางที่ 3 คือ [ w/b ระหว่าง 0.45-0.65] จึงไม่จาํ เป็ นต้อง
คํานวณใหม่

สรุ ป การออกแบบคอนกรี ตให้มีความคงทนต่อการเกิดสนิ มของเหล็กเสริ มเนื่ องจากปฏิกิริยาคาร์ บอ


เนชัน สําหรับแผ่นพื้นคอนกรี ตเสริ มเหล็กของอาคารจอดรถ ซึ่ งหล่อในที่และเสริ มด้วยเหล็กข้อ
อ้อยขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 20 มม. อยู่ในสภาพแวดล้อมซึ่ งมีปริ มาณก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์
เฉลี่ย 600 ppm และมีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 70% และไม่ถูกฝน โดยกําหนดอายุการใช้งานปลอด
การซ่อมแซม (Repair-free service life) 50 ปี สามารถใช้คอนกรี ตดังต่อไปนี้
1) คอนกรี ตปูนซี เมนต์ลว้ น ระยะหุม้ เหล็กเสริ มไม่นอ้ ยกว่า 50 มม. โดยที่ w/b ไม่เกิน 0.65
2) คอนกรี ตที่ใช้ปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอย (ประเภท 2ก) สัดส่ วนการแทนที่ 20% ระยะหุ ้มเหล็ก
เสริ มไม่นอ้ ยกว่า 50 มม. โดยที่ w/b ไม่เกิน 0.64
3) คอนกรี ตที่ใช้ปูนซี เมนต์ผสมเถ้าลอย (ประเภท 2ก) สัดส่ วนการแทนที่ 30% ระยะหุ ้มเหล็ก
เสริ มไม่นอ้ ยกว่า 50 มม. โดยที่ w/b ไม่เกิน 0.59
นอกจากนี้ผอู ้ อกแบบยังสามารถออกแบบส่ วนผสมคอนกรี ตที่ใช้ปนู ซี เมนต์ผสมเถ้าลอย ทั้งประเภท 2
ก และประเภท 2ข ที่มีสดั ส่ วนผสมอื่นๆได้อีกมากมาย ตามวิธีคาํ นวณที่แสดงในตัวอย่างนี้ ทั้งนี้ สมการ
ในการออกแบบชุดนี้ อนุญาตให้ใช้ w/b สู งสุ ดได้ไม่เกิน 0.65 เท่านั้น กรณี ที่ผอู้ อกแบบคํานวณและ
ออกแบบตามวิธีน้ ี แล้วปรากฏว่า ได้ค่าอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสานสู งเกิ นกว่าอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุ
ประสานสูงสุ ด (หัวข้อ 4.2) ที่กาํ หนดไว้ในตารางที่ 6 ให้ใช้ผลที่ได้จากการคํานวณนี้

62
ข3. การหดตัวแบบแห้ งของคอนกรีต
ตัวอย่ าง
จงคํา นวณหาค่ า การหดตัว แบบแห้ง ของพื้ น คอนกรี ต ที่ อ ายุ 30 และ 60 วัน ซึ่ งมี อ ัต ราส่ ว นนํ้า ต่ อ
ปูนซี เมนต์ 0.65 (ปริ มาณนํ้าต่อลบ.ม. ของคอนกรี ตเท่ากับ 180 กก./ลบ.ม.) และเริ่ มเผชิญกับสภาวะแห้ง
ที่มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 75%หลังจากการบ่ม 7 วัน โดยพื้นคอนกรี ตมีอตั ราส่ วนปริ มาตรต่อพื้นที่ผิว
ซึ่ งสัมผัสอากาศของโครงสร้างคอนกรี ต ( V / S ) = 150 มม.
วิธีคาํ นวณ
คอนกรี ตที่ มีอตั ราส่ วนนํ้าต่อปูนซี เมนต์ 0.65 โดยปกติ จะมี กาํ ลังอัดที่ อายุ 28 วัน ไม่เกิ น 21 เมกกะ
ปาสคาล ดังนั้นเมื่อมีกาํ ลังอัดไม่เกิน 55 เมกกะปาสคาล ให้เลือกใช้สมการ (6.1-ก) ในการคํานวณหาค่า
การหดตัวแบบแห้ง
 cs
'


 t,t0   1  exp 0.108  t  t0 
0.56
  '
sh

เนื่องจากอุณหภูมิเฉลี่ยในประเทศไทย เท่ากับ 30 องศาเซลเซี ยส ดังนั้นต้องปรับแก้อายุของคอนกรี ต t


และ t0 เนื่องจากผลของอุณหภูมิ โดยใช้สมการ (6.1-ค)
n
 4000 
ดังนั้น t0 (7 วัน)   ti  exp 13.65  
i 1  273  Ti / T0 
 4000 
 7  exp 13.65 
 273  30 
= 11 วัน
n
 4000 
พิจารณาการหดตัวที่อายุ 30 วัน t (30 วัน)  
i 1
ti  exp 13.65 


273  T / T0  i

 4000 
 30  exp 13.65 
 273  30 
= 47 วัน
n
 4000 
พิจารณาการหดตัวที่อายุ 60 วัน t (60 วัน)  
i 1
ti  exp 13.65 


273  T / T0  i

 4000 
 60  exp 13.65 
 273  30 
= 94 วัน
ความชื้นสัมพัทธ์ ( RH ) = 75%
ปริ มาณนํ้าต่อลูกบาศก์เมตรของคอนกรี ต ( W ) = 180 กก./ลบ.ม.
อัตราส่วนปริ มาตรต่อพื้นที่ผิวซึ่ งสัมผัสอากาศของโครงสร้างคอนกรี ต ( V / S ) = 150 มม.
ค่าการหดตัวสุดท้าย (  'sh ) สามารถคํานวณได้จากสมการ (6.1-ข) ดังนี้

63
2
  RH     V / S 
 'sh  500  780 1  exp     380 loge W  50 loge  
  100     10  
2
  75     150  
 'sh  500  780 1  exp     380 loge 180   50 loge  
  100     10  

= 235 ไมครอน
ค่าการหดตัวของคอนกรี ตที่อายุ 30 วัน ภายหลังบ่ม 7 วันแล้วจึงปล่อยให้เผชิญสภาวะแห้ง
 30,7   1  exp 0.108  47 11   235 = 130 ไมครอน
0.56
 cs
'
 
ค่าการหดตัวของคอนกรี ตที่อายุ 60 วัน ภายหลังบ่ม 7 วันแล้วจึงปล่อยให้เผชิญสภาวะแห้ง
 60,7   1  exp 0.108  94 11   235 = 170 ไมครอน
0.56
 cs
'
 

64
ข4. การหดตัวแบบออโตจีนัสของคอนกรีต
ตัวอย่ าง
จงคํานวณหาค่าการหดตัวแบบออโตจีเนียสที่อายุ 7, 30 และ 60 วัน ของคอนกรี ตที่ใช้ปูนซี เมนต์ปอร์ ต
แลนด์ ประเภทที่ 1 ล้วน และมีอตั ราส่วนนํ้าต่อปูนซี เมนต์เท่ากับ 0.3
วิธีคาํ นวณ
ค่าการหดตัวแบบออโตจีเนี ยสของคอนกรี ตตั้งแต่เริ่ มก่อตัวจนถึงอายุ t (  'as t  ) สามารถคํานวณได้
จากสมการ (6.2-ข)
 as t    b as  1  exp mt  t s n 
เนื่องจากอุณหภูมิเฉลี่ยในประเทศไทย เท่ากับ 30 องศาเซลเซี ยส ดังนั้นต้องปรับแก้อายุของคอนกรี ต t
เนื่องจากผลของอุณหภูมิ โดยใช้สมการ (6.1-ค)
n
 4000 
พิจารณาการหดตัวที่อายุ 7 วัน t (7 วัน)  
i 1
ti  exp 13.65 


273  T / T0  i

 4000 
 7  exp 13.65 
 273  30 
= 11 วัน
n
 4000 
พิจารณาการหดตัวที่อายุ 30 วัน t (30 วัน)  
i 1
ti  exp 13.65 


273  T / T0  i

 4000 
 30  exp 13.65 
 273  30 
= 47 วัน
n
 4000 
พิจารณาการหดตัวที่อายุ 30 วัน t (60 วัน)  
i 1
ti  exp 13.65 


273  T / T0  i

 4000 
 60  exp 13.65 
 273  30 
= 94 วัน
โดยระยะเวลาก่อตัวสุ ดท้าย ( ts ) สมมุติให้เท่ากับ 6 ชัว่ โมง (0.25 วัน)
ใช้อตั ราส่ วนนํ้าต่อปูนซี เมนต์ = 0.3
ค่าการหดตัวแบบออโตจีเนียสสุ ดท้าย (  'as ) สามารถคํานวณได้จากสมการ (6.2-ค) ดังนี้
 as   3070exp 7.2w / c 
= 3070 exp (-7.2 x 0.3)
= 354 ไมครอน
กรณี ใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ ตแลนด์ ประเภทที่ 1 ล้วน ดังนั้น  b = 1

65
จากตารางที่ 16 อัตราส่วนนํ้าต่อปูนซี เมนต์ = 0.3 ดังนั้น m = 0.6 และ n = 0.5
ดังนั้น ค่าการหดตัวแบบออโตจีเนียสของคอนกรี ตตั้งแต่เริ่ มก่อตัวจนถึงอายุ 7 วัน
 as 7   1  3541  exp  0.611  0.250.5 
= 304 ไมครอน
ค่าการหดตัวแบบออโตจีเนียสของคอนกรี ตตั้งแต่เริ่ มก่อตัวจนถึงอายุ 30 วัน (  'as 30  )
 as 30   1  3541  exp  0.647  0.250.5 
= 348 ไมครอน
ค่าการหดตัวแบบออโตจีเนียสของคอนกรี ตตั้งแต่เริ่ มก่อตัวจนถึงอายุ 60 วัน (  'as  60  )
 as 60   1  3541  exp  0.694  0.250.5 
= 353 ไมครอน

66
ข5. การกัดกร่ อนเนื่องจากสารละลายโซเดียมซัลเฟต
ตัวอย่ าง
จงออกแบบส่ วนผสมคอนกรี ตให้มีความคงทนต่อการกัดกร่ อนของคอนกรี ตเนื่ องจากสารละลาย
โซเดียมซัลเฟต สําหรับหล่อคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กที่สมั ผัสกับดินตลอดเวลาที่ใช้งาน และใช้ดินเป็ น
แบบ โดยตรวจสอบพบว่า ปริ มาณซัลเฟตที่ละลายนํ้าได้ในดินมีค่า 3% โดยนํ้าหนักของดิน
วิธีคาํ นวณ
จากตารางที่ 17 ระดับความรุ นแรงของสภาพแวดล้อมโซเดียมซัลเฟตดังกล่าว (ปริ มาณซัลเฟตที่ละลาย
นํ้าได้ในดินมีค่า 3% โดยนํ้าหนักของดิน) จัดได้วา่ “เสี่ ยงต่อซัลเฟตรุ นแรง”

จากตารางที่ 18 ด้วยระดับความรุ นแรง “เสี่ ยงต่อซัลเฟตรุ นแรง” แนะนําให้ใช้ ปูนซี เมนต์ปอร์ ตแลนด์
ประเภทที่ 5 หรื อ ใช้ปนู ซี เมนต์ปอร์ ตแลนด์ประเภทที่ 1 ผสมกับพอซโซลาน โดยมี w/b ไม่เกิน 0.45
ดังนั้นจากตารางที่ 3 สําหรับอัตราส่ วนนํ้าต่อวัสดุประสาน w/b < 0.45 จะได้ ค่าสัมประสิ ทธิ์ ระยะหุ ้ม
เหล็กเสริ ม ( α ) เท่ากับ 0.9

จากตารางที่ 4 ระยะหุม้ เหล็กเสริ มตํ่าสุ ด 75 มม. [คอนกรี ตที่หล่อติดกับดินโดยใช้ดินเป็ นแบบ และผิว


คอนกรี ตสัมผัสกับดินตลอดเวลาที่ใช้งาน]
ดังนั้น จากสมการที่ (4.1-ข) และตารางที่ 3 จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ มน้อยสุ ด cmin    c0
cmin = 0.9×75 = 67.5 มม.
จากสมการที่ (4.1-ก) จะได้
ระยะหุม้ เหล็กเสริ ม c  cmin
c  67.5 มม.

กรณี ใช้เถ้าลอยเป็ นสารพอซโซลาน โดยที่เถ้าลอยที่นาํ มาใช้มีปริ มาณ CaO 13% โดยนํ้าหนักของเถ้า


ลอย จากรู ปที่ 3 ปริ มาณเถ้าลอยที่ควรใช้ จะอยูท่ ี่ 34% โดยนํ้าหนักของวัสดุประสานทั้งหมด เพื่อให้
คอนกรี ตที่ใช้ปูนซี เมนต์ปอร์ ตแลนด์ประเภทที่ 1 ผสมเถ้าลอยนี้ มีความสามารถในการต้านทานการกัด
กร่ อนเนื่องจากโซเดียมซัลเฟตเทียบเท่ากับคอนกรี ตที่ใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ ตแลนด์ประเภทที่ 5 ล้วน

67
สรุ ป สําหรั บหล่อคานคอนกรี ตเสริ มเหล็กที่ สัมผัสกับดิ นตลอดเวลาที่ ใช้งาน โดยตรวจสอบพบว่า
ปริ มาณซัลเฟตที่ละลายนํ้าได้ในดินมีค่า 3% โดยนํ้าหนักของดิน จําเป็ นต้องใช้คอนกรี ตดังนี้
1) ปูนซีเมนต์ปอร์ ตแลนด์ประเภทที่ 5 ที่มีระยะหุม้ ไม่นอ้ ยกว่า 67.5 มม. และ w/b ไม่เกิน 0.45
2) ปูนซี เมนต์ปอร์ ตแลนด์ประเภทที่ 1 ผสมเถ้าลอยที่ มี CaO 13% สัดส่ วนเถ้าลอยต่อวัสดุ
ประสานไม่นอ้ ยกว่า 34% ที่มีระยะหุม้ ไม่นอ้ ยกว่า 67.5 มม. และ w/b ไม่เกิน 0.45

68

You might also like