You are on page 1of 36

บทปฏิบตั ิการ

เรื่อง QGIS for random points

จัดทำโดย
นายอัคนีรทุ ร์ วัดเวียงคำ
รหัสนิสิต 64010117040

เสนอ
อาจารย์จตุรงค์ สมอาจ

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 0107226
เทคนิคการสำรวจภาคสนามทางภูมิศาสตร์ (Field Techniques for Geographic Survey)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566
สาขาวิชาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
บทปฏิบัติการ

เรื่อง : QGIS for random points


วัตถุประสงค์
1.1 เพื่อเรียนรู้เชิงปฏิบัติการสุ่มตัวอย่าง (Sampling design)
1.2 เพื่อเรียนรู้เชิงปฏิบัติการสุ่มตัวอย่างด้วยโปรแกรม QGIS

ข้อมูลและเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
- โปรแกรม QGIS 3.34.1
- ข้อมูลขอบเขตอำเภอ จังหวัด และข้อมูลประเภทของชุดดินจังหวัดมหาสารคาม
ขั้นตอนการปฏิบัติ

- ปฎิบัตกิ ารนี้ใช้โปรแกรม QGIS เป็นเครื่องมือในการดำเนินการ ดังนั้นผู้ใช้งานต้องติดตั้งโปรแกรม


และเปิดการใช้งานโปรแกรม

รูปที่ 1 Quantum GIS (QGIS)


- ขั้นตอนแรกให้ทำการนำเข้าข้อมูลพื้นที่ศึกษา โดยทำการคลิก Dropdown Layer (1) ที่แถบเครื่องมือเลือก
Add Layer (2) > Add Vector Layer (3)

รูปที่ 2 การนำเข้าข้อมูลพื้นที่ศึกษา
- ทำการนำเข้าข้อมูลพื้นที่ศึกษาทำการคลิกที่จุดสามจุด เพื่อเปิดหน้าต่างในการเลือกไฟล์ข้อมูล

รูปที่ 3 การนำเข้าข้อมูลพื้นที่ศึกษา
- เมื่อปรากฏหน้าต่างในการเลือกไฟล์ข้อมูล ให้ทำการเลือกไฟล์ที่ต้องการ (1) จากนั้นคลิกที่ Open (2)

รูปที่ 4 หน้าต่างในการเลือกไฟล์ข้อมูล
- เมื่อเลือกไฟล์แล้ว จะชื่อไฟล์ที่ Source จากนั้นคลิกที่ Add

รูปที่ 5 การนำเข้าข้อมูลพื้นที่ศึกษา
- ไฟล์ข้อมูลพื้นที่ศึกษาจะปรากฏขึ้นที่หน้าโปรแกรม ตามจำนวนที่ผู้ใช้ได้เลือก Add เข้ามา

รูปที่ 6 ข้อมูลพื้นที่ศึกษา
- การสุ่มข้อมูลจุดตัวอย่าง โดยใช้ข้อมูลแบบ Polygon ให้ทำการคลิก Dropdown ที่ Vector (1) แถบเครื่องมือ
เลือก Research Tools (2) > Random Points in Polygons (3) เพื่อแสดงหน้าต่างการทำงาน

รูปที่ 7 Random Points in Polygons


- ในหน้าต่างเครื่องมือ Random Points in Polygons ในช่อง Input polygon layer
ให้เลือก Mahasarakham province (หรือพื้นที่ศึกษาอื่นๆ) > กำหนดจำนวนจุดตัวอย่างที่ (Number of point
foreach feature ) > ทำการกำหนดระยะห่างขั้นต่ำระหว่างจุดตัวอย่างที่ (Minimum distance between
points [optional]) (1) > เมื่อกำหนดค่าเสร็จสิ้นให้ คลิก Run (2)

รูปที่ 8 Random Points in Polygons


- เมื่อคลิกที่ Run จะแสดงหน้าต่างขั้นตอนการ Process ให้รอสักครู่ จากนั้นเมื่อเสร็จสิ้น ให้คลิก Close เมื่อ
เสร็จกระบวนการ

รูปที่ 9 Process
- ผลลัพธ์ที่ได้จะแสดงจุดสุ่มตัวอย่างตามจำนวนที่กำหนด และระยะห่างภายใน Polygon ตามที่ได้กำหนด
จากภาพเป็นการเป็นการกำหนดจุดตัวอย่าง 200 จุด และทุกจุดมีระยะห่างต่อกันอย่างต่ำ 1000 เมตร หรือ 1
กิโลเมตร

รูปที่ 10 Results
- เมื่อเปิดตาราง Attributes จะแสดงจำนวนจุดสุ่มตัวอย่างตามจำนวนที่กำหนดทั้งสิ้น 200 จุด

รูปที่ 11 Attributes
- ทำการเตรียมข้อมูลขอบเขตอำเภอของจังหวัดมหาสารคามเพื่อใช้ในการสุ่มจุดตัวอย่าง

รูปที่ 12 การเตรียมข้อมูล
- การสุ่มข้อมูลจุดตัวอย่าง โดยใช้ข้อมูลแบบ Polygon ให้ทำการคลิก Dropdown ที่ Vector (1) แถบเครื่องมือ
เลือก Research Tools (2) > Random Points in Polygons (3) เพื่อแสดงหน้าต่างการทำงาน

รูปที่ 13 Random Points in Polygons


- ในหน้าต่างเครื่องมือ Random Points in Polygons ในช่อง Input polygon layer
ให้เลือก Mahasarakham district (หรือพื้นที่ศึกษาอื่นๆ) > กำหนดจำนวนจุดตัวอย่างที่ (Number of point
foreach feature ) > ทำการกำหนดระยะห่างขั้นต่ำระหว่างจุดตัวอย่างที่ (Minimum distance between
points [optional]) (1) > เมื่อกำหนดค่าเสร็จสิ้นให้ คลิก Run (2)

รูปที่ 14 Random Points in Polygons


- ผลลัพธ์ที่ได้จะแสดงจุดสุ่มตัวอย่างตามจำนวนที่กำหนด และระยะห่างภายใน Polygon ตามที่ได้กำหนด
จากภาพเป็นการเป็นการกำหนดจุดตัวอย่าง 100 จุด และทุกจุดมีระยะห่างต่อกันอย่างต่ำ 1000 เมตร หรือ
1 กิโลเมตร ตามขอบเขต Polygon ของอำเภอ โดยมีสุ่มตัวอย่างอำเภอละ 100 จุด

รูปที่ 15 Results
- เมื่อเปิดตาราง Attributes จะแสดงจำนวนจุดสุ่มตัวอย่างตามจำนวนที่กำหนดทั้งสิ้น 1200 จุด โดยจะแบ่ง
ตามขอบเขตของอำเภอต่างๆ

รูปที่ 16 Attributes
- ทำการเตรียมข้อมูลชุดดินของจังหวัดมหาสารคามเพื่อใช้ในการสุ่มจุดตัวอย่าง

รูปที่ 17 การเตรียมข้อมูล
- การสุ่มข้อมูลจุดตัวอย่าง โดยใช้ข้อมูลแบบ Polygon ให้ทำการคลิก Dropdown ที่ Vector (1) แถบเครื่องมือ
เลือก Research Tools (2) > Random Points in Polygons (3) เพื่อแสดงหน้าต่างการทำงาน

รูปที่ 18 Random Points in Polygons


- ในหน้าต่างเครื่องมือ Random Points in Polygons ในช่อง Input polygon layer
ให้เลือก Mahasarakham Soil-type (หรือพื้นที่ศึกษาอื่นๆ) > กำหนดจำนวนจุดตัวอย่างที่ (Number of point
foreach feature ) > ทำการกำหนดระยะห่างขั้นต่ำระหว่างจุดตัวอย่างที่ (Minimum distance between
points [optional]) (1) > เมื่อกำหนดค่าเสร็จสิ้นให้ คลิก Run (2)

รูปที่ 19 Random Points in Polygons


- ผลลัพธ์ที่ได้จะแสดงจุดสุ่มตัวอย่างตามจำนวนที่กำหนด และระยะห่างภายใน Polygon ตามที่ได้กำหนด
จากภาพเป็นการเป็นการกำหนดจุดตัวอย่าง 15 จุด และทุกจุดมีระยะห่างต่อกันอย่างต่ำ 1000 เมตร หรือ
1 กิโลเมตร ตามขอบเขต Polygon ของประเภทของชุดดิน โดยมีสุ่มตัวอย่างชุดดินละ 15 จุด

รูปที่ 20 Results
- เมื่อเปิดตาราง Attributes จะแสดงจำนวนจุดสุ่มตัวอย่างตามจำนวนประเภทของชุดดิน ดังนี้

รูปที่ 21 Attributes
- ทำการเตรียมข้อมูลชุดดินของจังหวัดมหาสารคามเพื่อใช้ในการสุ่มจุดตัวอย่าง

รูปที่ 22 การเตรียมข้อมูล
- ทำการสร้าง Shapefile ใหม่ โดยไปที่ Layer (1) > Create Layer (2) > New Shapefile Layer (3)

รูปที่ 23 New Shapefile Layer


- ในขั้นตอนการสร้าง Shapefile ให้ทำการตั้งชื่อไฟล์ > เลือกชนิดอักษรที่ตั้งการ > เลือกรูปแบบของ Shapefile
(LineSting) > ทำการเลือกระบบพิกัดใช้ตรงกับข้อมูลพื้นที่ศึกษา (1) จากนั้นคลิกที่ OK (2)

รูปที่ 24 New Shapefile Layer


- เมื่อสร้าง New Shapefile Layer เสร็จแล้ว ให้ไปยังเครือ่ งมือ Toggle Editing (รูปดินสอสีเหลือง) เพื่อทำการ
สร้างเส้น (Line)

รูปที่ 25 Toggle Editting


- จากนั้นทำการเลือกเครื่องมือ Add Line Feature เพื่อสร้างเส้นของ Line

รูปที่ 26 Add Line Feature


- ให้นำเคอเซอร์ของเม้าท์วาดเส้นโดย คลิกซ้ายที่จุดที่ 1 และเลื่อนเคอเซอร์ไปยังจุดที่ 2 และคลิกซ้ายหนึ่งครั้ง

รูปที่ 27 Add Line Feature


- เมื่อลากเส้นเสร็จสิ้น ให้ทำการคลิกที่เม้าท์ขวาเพื่อบันทึก ID ของ Line เพื่อสร้าง Shapefile

รูปที่ 28 Add Line Feature


- เส้น (Line) จะถูกสร้างขึ้นในรูปแบบของ Shapefile

รูปที่ 29 Add Line Feature


- จากนั้นสร้าง Line ตามจำนวนที่ผู้ใช้งานต้องการ

รูปที่ 30 Add Line Feature


- การสุ่มข้อมูลจุดตัวอย่าง โดยใช้ข้อมูลแบบ Line ให้ทำการคลิก Dropdown ที่ Vector (1) แถบเครื่องมือเลือก
Research Tools (2) > Random Points on Lines (3) เพื่อแสดงหน้าต่างการทำงาน

รูปที่ 31 Random Points on Lines


- ในหน้าต่างเครื่องมือ Random Points on Lines ในช่อง Input Line layer
ให้เลือก Shapefile Line ที่ได้สร้างขึ้น (หรือพื้นที่ศึกษาอื่นๆ) > กำหนดจำนวนจุดตัวอย่างที่ (Number of point
foreach feature ) > ทำการกำหนดระยะห่างขั้นต่ำระหว่างจุดตัวอย่างที่ (Minimum distance between
points [optional]) (1) > เมื่อกำหนดค่าเสร็จสิ้นให้ คลิก Run (2)

รูปที่ 32 Random Points on Lines


- จะแสดงผลลัพธ์ โดยเส้น 4 เส้น มีจุด 200 จุด บนทุก ๆ เส้น และมีระยะห่างน้อยที่สุด 1000 เมตร หรือ 1
กิโลเมตร

รูปที่ 33 การสุ่มตัวอย่างจากเส้น
- ภาพขยายมองแผนที่การสุ่มตัวอย่างจากเส้น

รูปที่ 34 การสุ่มตัวอย่างจากเส้น

You might also like