You are on page 1of 72

สือ่ ฝึ กอบรมฝ่ ายการช่างกล การรถไฟแห่งประเทศไทย

คู่มือการงดใช้ Traction

Motor
รถจักรดีเซลไฟฟ้า

ใช้ สาหรับฝึ กอบรมพนักงานการรถไฟแห่ งประเทศไทยเท่ านั้น


ห้ ามจาหน่ ายและคัดลอก

คณะทางานการจัดการองค์ความรู้ฝ่ายการช่างกล การรถไฟแห่งประเทศไทย
Knowledge Management of Mechanical Engineering Department
0213546
89 89989998989 !
999"#$%9&'&89()9*8!89%+,-./*
$%&*8!&08.89+1%8%+90#9*$%&*8!(2
()9&0$%9810#*89+3+&0$%98-*&'949
-*89&'&%9-*89(2&0 %$909+5
6 7 036 6 .95
6 6 8239<;:=>66 .?.@9(.?.A%5
6 6 B80CDE66  %$-99*6!
7 FG$80#+*9-*.09*989 899(2()9
*!8&0H?I.A%2JA989/#*9*+$@9(
9-K998%1%#*.999"&891/#*//*,L3+F(9
89()9*!92*89*&'-!%98*5MNOPQRSTU5VTRTOW5/*"8 X%
4YY9$8/-1/*098(8*9"899"989184/Z094"8.?%%9
899*9%#9&'#9+(.9+41%(..?.@9(1%.?.A%/**8!5

[[[[[[[[[[[[[[[[[\9+.
?.(*]!(%9^5
,.8&0Z#_#9+89'#9*8%5
`ab9 *989 89*!9_#9+89'#9*8%6
5



021321

 789 989 87  !"7#%$8#& %$8
'98()98!!"*+,-./012345367/75383/9:;<=*('9
>9(<=7,9?!*7,<%@+9A8,<9 <>(,BC7D9E0/6090C8 @97FGHH,
(I>?!$8(JKLM2N9O08LPE97DOELJKM((F%Q<=, @!*>R
*)!*7=8BC7D9E0/6090CG,<9 789
98987G,78!*+,) 9R"(, F8@9
7FGHH,(@8QA*89S(8T?<=,7,<(7#$%8<>,<9 989
'98#9@9(=$8Q+,%<U9S(@!*7,<79%*99 <>(,
BC7D9E0/6090C8@97FGHH,G8,@+9A8,  
      

(((((((((((((((((((((((((((((((((((7>?9((**((((*U9VW
((((((((((((T((8A"(((((*U9VX
((((((((((((*R(=8?(((#V7!?!(X
8T(#=>A?((#V7!?!(X
      !(YZZI




[
[
012345
789 

788!"8#$%&'()*+,*(*%-$,.  /
8$%&'()*+,*(*%8!"801    2
8$%&'()*+,*(*%8!"8345(6*7   82
8$%&'()*+,*(*%8!"89)(&'6)  :8
8$%&'()*+,*(*%8!"8013   ;<













คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

ทาไมต้ องงดใช้ มอเตอร์ ลากจูงรถจักร (Traction Motor : TM)


Traction Motor (TM) ของรถจักรดีเซลไฟฟ้ า มีหน้าที่เป็ นอุปกรณ์เปลี่ยน
พลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังกล เพื่อหมุนขับเฟื องเพลาล้อ (Gear Wheel) แต่ละเพลาให้ลอ้ รถ
จักรหมุนเพื่อขับเคลื่อนรถจักร โดยรถจักรหนึ่งคันจะติดตั้ง Traction Motor (TM)
จานวน 6 ลูก เพื่อขับเพลาล้อของรถจักรทั้งหมด 6 เพลา และเมื่อ Traction Motor
(TM) เกิดความชารุ ดขณะรถจักรลากจูงขบวนรถ จะสามารถงดใช้ (Cut Out) Traction
Motor ออกจากการใช้งานได้โดยทั้งนี้จะต้องลดภาระนาหนักลากจูงให้เหมาะสมกับ รถ
จักรจึงสามารถลากจูงขบวนรถถึงปลายทางได้ จะเห็นว่า Traction Motor (TM) เป็ น
อุปกรณ์หลักที่สาคัญที่จะทาให้รถจักรเคลื่อนที่ได้
เหตุผลและความจาเป็ นที่จะต้องงดใช้การ Traction Motor (TM) ในขณะทา
ขบวนหรื ออยูใ่ นบริ เวณโรงรถจักร มีหลายปั จจัย ได้แก่
1.เกิดการลัดวงจร (Ground) ของ Traction Motor (TM)
2.เกิดการลัดวงจร (Ground) ของสายไฟที่ต่อเข้ากับ Traction Motor (TM)
3.อุปกรณ์ส่วนควบของ Traction Motor (TM) ชารุ ดจนเป็ นสาเหตุที่ไม่
สามารถใช้งาน Traction Motor (TM) ได้ เช่น กระโปรงเกียร์(Gear Case) ,หม้อเพลา
หรื อ Bearing หัวเพลา, ล้อดิ้น(Wheel Slip) เป็ นต้น
เพื่อป้ องกันความชารุ ดที่จะส่งผลต่อ Traction Motor (TM) อย่างรุ นแรงจน
เป็ นสาเหตุที่ตอ้ งใช้ระยะเวลาซ่อมนานและมีค่าใช้จ่ายในการซ่อมที่สูง และบางครั้ง
เป็ นสาเหตุจนทาให้ไม่สามารถซ่อม Traction Motor (TM) ให้กลับมาใช้งานได้ดีดงั เดิม
และต้องตัดจาหน่ายเลิกใช้การ ผูใ้ ช้งานซึ่งมีส่วนสาคัญในการป้ องกันและสามารถลด
ความชารุ ดของ Traction Motor (TM) ได้ จึงจาเป็ นต้องมีองค์ความรู ้ในการใช้งาน
Traction Motor (TM) และสามารถงดใช้งาน Traction Motor (TM) เมื่อเกิดความชารุ ด
ได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับเมื่อพนักงานมีองค์
ความรู ้ในการใช้งาน Traction Motor (TM) และสามารถงดใช้งาน Traction Motor
(TM) เมื่อเกิดความชารุ ดได้อย่างถูกต้องตามหลักวิชาการคือ

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 1
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

1.มีจานวน Traction Motor (TM) ที่พร้อมใช้งานเพียงพอ


2.ลดความชารุ ดขณะทาขบวนที่มีสาเหตุมาจาก Traction Motor (TM) และ
อุปกรณ์ส่วนควบ
3.ลดความชารุ ดในสภาพรุ นแรงจนไม่อาจซ่อมได้
4.ประหยัดค่าใช้จ่ายเมื่อเทียบกับการซื้อ Traction Motor (TM) ลูกใหม่
5.พนักงานรถจักร มีความรู ้และทักษะ เกี่ยวกับการใช้งานและการงดใช้งาน
ของ Traction Motor (TM) เพิ่มมากขึ้น
6.เกิดองค์ความรู ้ใหม่ๆในองค์การ
7.มีการบริ หารจัดการสาหรับการซ่อมบารุ ง Traction Motor (TM ) อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ
8.การบริ หารจัดการหมุนเวียน Traction Motor (TM ) เข้ารับการซ่อมตาม
วาระทาได้ง่าย
9.สร้างภาพลักษณ์ที่ดีของการรถไฟแห่งประเทศไทยของผูใ้ ช้บริ การ

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 2
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

การงดใช้ Traction Motor รถจักร GE

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 3
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

การงดใช้ Traction Motor รถจักร GE

G1A1

41 41
A3 A2 A1 A

3 2 1 TRR1
AA3 AA 1
P2 AA 2
LA1
P3 WSR 2 P2 WSR 1 P1 LSA1
B

41A
G1 GV1

F3 F2 F1 TR1
Shunt COMM.
FSR 3 FSR 2 FSR 1 (G) FLD. GVR1

F F
3 FS2 1 G1A2
S S GRCO1 36

FF3 FF2 FF1 E1FF 41B


36A

GR 1 EXC.
P1 DIFF.
P3 P2 FLD.
TR1
(Series) E1F

รู ปที่ 1 รู ปวงจร Power ของรถจักร GE ที่ยงั ไม่ได้เปิ ดไฟลง TM.

G1A1

A3 A2 A1

3 2 1
AA 1
AA 3 AA 2 LA1
P3 WSR 2 P2 P2 WSR 1 P1 LSA1

G1
F3 F2 F1

FSR 3 FSR 2 FSR 1 COMM.


FLD.

FS 3 FS 2 FS 1 G1A2
36
GRCO1
FF3 FF2 FF1
E1FF
36A

GR 1 EXC.

P3 P2 P1 DIFF.
FLD.

TR1
(Series)
E1F

รู ปที่ 2 รู ปวงจร ขณะที่เปิ ดไฟลง Traction Motor (TM)

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 4
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

จากรู ปที่ 2 เมื่อเปิ ด Control ให้ไฟลง Traction Motor (TM) จะทาให้เกิดการ


ควบคุมให้ Contact P1, P2, P3 ต่อทางไฟเพื่อจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบั Traction Motor
(TM) ลูกที่ 1, 2, 3 กระแสไฟจากเครื่ องกาเนิด G1 จะไหลผ่าน Armature TM.1,2,3
ไหลผ่านขดลวดสนามแม่เหล็กของ TM. 1,2,3 ผ่าน Contact P1,P2,P3 และไหลผ่านเข้า
ด้านลบของ G1 ครบวงจร ทาให้ TM.1,2,3 หมุนขับเพลาล้อของรถจักร ทาให้รถจักร
เคลื่อนที่
G1A1

A3 A2 A1

3 2 1
AA 1
AA 3 AA 2 LA1
P3 WSR 2 P2 P2 WSR 1 P1 LSA1

G1
F3 F2 F1

FSR 3 FSR 2 FSR 1 COMM.


FLD.

FS 3 FS 2 FS 1 G1A2
36
GRCO1
FF3 FF2 FF1
E1FF
36A

GR 1 EXC.

P3 P2 P1 DIFF.
FLD.

TR1
(Series)
E1F

รู ปที่ 3 รู ปวงจร ขณะที่เปิ ดไฟลง TM. แล้วเกิดการ Ground ที่ Armature

จากรู ปที่ 3 เมื่อเปิ ด Control ให้ไฟลง TM. Contact P1,P2,P3 ต่อทางไฟลง


TM. 1,2,3 กระแสไฟจากเครื่ องกาเนิด G1 จะไหลผ่าน Armature TM.1,2,3 ไหลผ่าน
ขดลวดสนามแม่เหล็กของ TM. 1,2,3 ผ่าน Contact P1,P2,P3 และไหลผ่านเข้าด้านลบ
ของ G1 ที่ TM. 2 ในช่วงที่กระแสไหลผ่าน Armature TM.2 นั้น จะมีกระแสอีกส่วน
หนึ่งไหลผ่านจุด ลง Ground ที่ Armature ผ่านโครงเหล็กของ TM. และโครงรถจักร
ผ่านเข้าจุด ต่อ Ground ของ GR.1 (Ground relay) และเข้าด้านลบของ เครื่ องกาเนิด G1
ครบวงจร ทาให้ Ground relay ทางานตัดทางไฟลง TM.

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 5
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

G1A1

A3 A2 A1

3 2 1
AA 1
AA 3 AA 2 LA1
P3 WSR 2 P2 P2 WSR 1 P1 LSA1

G1
F3 F2 F1

FSR 3 FSR 2 FSR 1 COMM.


FLD.

FS 3 FS 2 FS 1 G1A2
36
GRCO1
FF3 FF2 FF1
E1FF
36A

GR 1 EXC.

P3 P2 P1 DIFF.
FLD.

TR1
(Series)
E1F

รู ปที่ 4 แสดงวงจร การ Cut out TM 2 ที่เปิ ดไฟลง TM. แล้วเกิดการ


Ground ที่ Armature แล้วไม่หาย

รู ปที่ 5 แสดงตาแหน่งจุดติดตั้งชุด Contact P1-6

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 6
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

จากรู ปที่4 เมื่อทาการใช้ไม้หรื อฉนวน ขัดหน้า Contact P2 และที่ Reversing


drum แล้วจะเห็นว่า กระแสไฟที่ผา่ น TM.2 ยังสามารถไหลผ่านจุด ลง Ground ที่
Armature ผ่านโครงเหล็กของ TM. และโครงรถจักร ผ่านเข้าจุด ต่อ Ground ของ
GR.1(Ground relay) และเข้าด้านลบของ เครื่ องกาเนิด G1 ครบวงจร ทาให้ Ground
relay ทางานตัดทางไฟลง TM.

รู ปที่ 6 แสดงตาแหน่ง Finger ของ TM1-6 ที่ชุด Reversing Drum

ดังนั้น ถ้าหากเกิดการ Ground TM. ที่ Armature แล้วไม่สามารถทาการ Cut


out TM. ในขณะทาขบวนได้

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 7
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

G1A1

A3 A2 A1

3 2 1
AA 1
AA 3 AA 2 LA1
P3 WSR 2 P2 P2 WSR 1 P1 LSA1

G1

F3 F2 F1

FSR 3 FSR 2 FSR 1 COMM.


FLD.

FS 3 FS 2 FS 1 G1A2
36
GRCO1

FF3 FF2 FF1


E1FF
36A

GR 1
EXC.
DIFF.
P3 P2 P1
FLD.

TR1
(Series)
E1F

รู ปที่ 7 แสดงวงจร ขณะที่เปิ ดไฟลง TM. แล้วเกิดการ Ground


ที่ขดลวดสนามแม่เหล็กของ TM.2

รู ป เมื่อเปิ ด Control ให้ไฟลง TM. Contact P1,P2,P3 ต่อทางไฟลง TM. 1,2,3


กระแสไฟจากเครื่ องกาเนิด G1 จะไหลผ่าน Armature TM.1,2,3 ไหลผ่านขดลวด
สนามแม่เหล็กของ TM. 1,2,3 ผ่าน Contact P1,P2,P3 และไหลผ่านเข้าด้านลบของ G1
ที่ TM. 2 ในช่วงที่กระแสไหลผ่าน ขดลวดสนามแม่เหล็กของ TM.2 นั้น จะมีกระแสอีก
ส่วนหนึ่งไหลผ่านจุด ลง Ground ที่ขดลวดสนามแม่เหล็ก ผ่านโครงเหล็กของ TM.
และโครงรถจักร ผ่านเข้าจุด ต่อ Ground ของ GR.1(Ground relay) และเข้าด้านลบของ
เครื่ องกาเนิด G1 ครบวงจร ทาให้ Ground relay ทางานตัดทางไฟลง TM.

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 8
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

G1A1

A3 A2 A1

3 2 1

AA 1
AA 3 AA 2 LA1
P3 WSR 2 P2 P2 WSR 1 P1
LSA1

G1

F3 F2 F1

FSR 3 FSR 2 FSR 1 COMM.


FLD.

FS 3 FS 2 FS 1 G1A2
36
GRCO1

FF3 FF2 FF1


E1FF
36A

GR 1
EXC.
P1
DIFF.
P3 P2 FLD.

TR1
(Series)
E1F

รู ปที่ 8 แสดงวงจร ขณะที่เปิ ดไฟลง TM. แล้วเกิดการ Ground


ที่ขดลวดสนามแม่เหล็กของ TM.2

จากรู ปวงจร เมื่อทาการใช้ไม้หรื อฉนวน ขัดหน้า Contact P2และที่ หน้า


Contact Reversing drum TM.2แล้วจะเห็นว่า กระแสไฟที่ไหลไม่สามารถผ่านไปยังจุด
ที่ลง Ground ที่ขดลวดสนามแม่เหล็กได้ แต่กระแสจะไหลผ่าน Relay WSR1, WSR2
ซึ่งกระแสที่ไหลผ่านนี้มีมากที่จะทาให้ ขดลวดของ Relay WSR1,WSR2 ชารุ ดไหม้ได้
(Relay ตรวจสอบ wheel slip)

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 9
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

G1A1

A3 A2 A1

3 2 1
AA 1
AA 3 AA 2 LA1
P3 WSR 2 P2 P2 WSR 1 P1 LSA1

G1

F3 F2 F1

FSR 3 FSR 2 FSR 1 COMM.


FLD.

FS 3 FS 2 FS 1 G1A2
36
GRCO1
FF3 FF2 FF1
E1FF
36A

GR 1 EXC.

P3
P2 P1 DIFF.
FLD.

TR1
(Series)
E1F

รู ปที่ 9 แสดงวงจร ขณะที่เปิ ดไฟลง TM. แล้วเกิดการ Ground


ที่ขดลวดสนามแม่เหล็กของ TM.2
จากรู ปวงจร เมื่อทาการใช้ไม้หรื อฉนวน ขัดหน้า Contact P2 และที่ หน้า
Contact Reversing drum แล้วจะจะต้องใช้กระดาษหรื อฉนวนขัดหน้า Contact Inter
lock P2 ด้วย ซึ่งจะทาให้กระแสไม่สามารถไหลผ่านขดลวด Relay WSR1, WSR2 จึงไม่
เกิดความชารุ ด
ในการทาขบวน ถ้า Cut out TM.2 ไม่หาย เราสามารถ Cut out TM.1 หรื อ
TM.3 โดยการย้ายไม้หรื อฉนวนที่ขดั หน้า Contact P2 และหน้าContact Reversing
drum TM.2 ไปขัดหน้า Contact P และหน้าContact Reversing drum TM. 1 หรื อ TM.3
ส่วนกระดาษหรื อฉนวนขัดหน้า Contact Inter lock P2 ให้ขดั หน้า Contact ไว้
เหมือนเดิม ส่วนการหาสาเหตุการ Ground TM.4,TM.5,TM.6 ก็จะมีลกั ษณะเดียวกัน

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 10
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

การ Cut out TM. GE


ในขณะทาขบวน รถจักร เกิดอาการ ตัดไฟลง TM. ลดรอบเครื่ องยนต์ และ
ปุ่ ม Ground เด้ง ยาวออกมา แสดงว่า เกิดการ Ground ขึ้น การ Reset ระบบ โดยการกด
ปุ่ ม Ground relay

รู ปที่ 10 แสดงตาแหน่งของ Ground Relay

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 11
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 11 แสดงการนับ ชุด Contact P1 ถึง P6

รู ปที่ 12 แสดงการนับ Contact ของ TM.1 ถึง TM.6 ที่ Reversing drum

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 12
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

ขั้นตอนการ Cut out เพือ่ หาสาเหตุการ Ground จะมีข้นั ตอนดังต่อไปนี้


การหาสาเหตุ Ground เครื่องยนต์ 1
ในขณะทาขบวน รถจักร เกิดอาการคือ เครื่ องยนต์ 1 ตัดไฟลง TM. ลดรอบ
เครื่ องยนต์ และ ปุ่ ม Ground เด้ง ยาวออกมา แสดงว่า เกิดการ Ground ขึ้น
1.ปิ ด control แล้วเลื่อนคัน Reverser ให้อยูต่ รงกลาง

รู ปที่ 13 แสดงการ Reset คันเร่ งรอบและ Reverser

2, Reset ระบบ โดยการกด ปุ่ ม Ground relay

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 13
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 14 แสดงการ Reset ปุ่ ม Ground Relay

3.ถอดชุดครอบกันประกายไฟ ที่ Contact P1 ออก แล้วใช้ กระดาษหรื อ ฉนวน คัน่


หน้า Contact P1
4.ใช้ กระดาษหรื อ ฉนวน คัน่ หน้า Contact ช่วย(Inter lock)ของ P2
5.ใช้กระดาษหนาๆ หรื อ ฉนวนสวมครอบที่ contact เคลื่อนที่ ของ TM.1 ที่ Reversing
drum

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 14
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 15 แสดงขั้นตอนการใช้ฉนวนขัดที่ Contact P1 และ Reversing Drum TM1

6. ทดลองเปิ ดไฟลง หรื อ ทดลองทาขบวน ถ้าเกิดอาการคือ เครื่ องยนต์ ตัดไฟลง TM.


ลดรอบเครื่ องยนต์ และ ปุ่ ม Ground เด้ง ยาวออกมา แสดงว่า เกิดการ Ground ขึ้นให้ทา
การหาสาเหตุต่อโดย
6.1 ปิ ด control แล้วเลื่อนคัน Reverser ให้อยูต่ รงกลาง
6.2 Reset ระบบ โดยการกด ปุ่ ม Ground relay
6.3 ถอดชุดครอบกันประกายไฟ ที่ Contact P2 ออก แล้วใช้ กระดาษหรื อ
ฉนวน คัน่ หน้า Contact P2
6.4 ใช้ กระดาษหรื อ ฉนวน คัน่ หน้า Contact ช่วยของ P2
6.5 ใช้กระดาษหนาๆ หรื อ ฉนวนสวมครอบที่ contact เคลื่อนที่ ของ TM.2 ที่
Reversing drum

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 15
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 16 แสดงขั้นตอนการใช้ฉนวนขัดที่ Contact P2 และ Reversing Drum TM2

7. ทดลองเปิ ดไฟลง หรื อ ทดลองทาขบวน ถ้าเกิดอาการคือ เครื่ องยนต์ ตัดไฟลง TM.


ลดรอบเครื่ องยนต์ และ ปุ่ ม Ground เด้ง ยาวออกมา แสดงว่า เกิดการ Ground ขึ้นให้ทา
การหาสาเหตุต่อโดย
7.1 ปิ ด control แล้วเลื่อนคัน Reverser ให้อยูต่ รงกลาง
7.2 Reset ระบบ โดยการกด ปุ่ ม Ground relay
7.3 ถอดชุดครอบกันประกายไฟ ที่ Contact P3 ออก แล้วใช้ กระดาษหรื อ
ฉนวน คัน่ หน้า Contact P3
7.4 ใช้ กระดาษหรื อ ฉนวน คัน่ หน้า Contact ช่วยของ P2
7.5 ใช้กระดาษหนาๆ หรื อ ฉนวนสวมครอบที่ contact เคลื่อนที่ ของ TM.3 ที่
Reversing drum

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 16
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 17 แสดงขั้นตอนการใช้ฉนวนขัดที่ Contact P3 และ Reversing Drum TM3

8.ทดลองเปิ ดไฟลง หรื อ ทดลองทาขบวน ถ้าเกิดอาการคือ เครื่ องยนต์ ตัดไฟลง TM.


ลดรอบเครื่ องยนต์ และ ปุ่ ม Ground เด้ง ยาวออกมา แสดงว่า เกิดการ Ground ขึ้นอีก
ให้ทาการงดใช้เครื่ องยนต์ 1

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 17
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

การหาสาเหตุ Ground เครื่องยนต์ 2


ในขณะทาขบวน รถจักร เกิดอาการคือ เครื่ องยนต์ 2 ตัดไฟลง TM. ลดรอบ
เครื่ องยนต์ และ ปุ่ ม Ground เด้ง ยาวออกมา แสดงว่า เกิดการ Ground ขึ้น
1. ปิ ด control แล้วเลื่อนคัน Reverser ให้อยูต่ รงกลาง

รู ปที่ 18 แสดงการ Reset คันเร่ งรอบและ Reverser

2. Reset ระบบ โดยการกด ปุ่ ม Ground relay

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 18
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 19 แสดงการ Reset ปุ่ ม Ground Relay

3.ถอดชุดครอบกันประกายไฟ ที่ Contact P4 ออก แล้วใช้ กระดาษหรื อ ฉนวน คัน่


หน้า Contact P4
4.ใช้ กระดาษหรื อ ฉนวน คัน่ หน้า Contact ช่วยของ P5
5.ใช้กระดาษหนาๆ หรื อ ฉนวนสวมครอบที่ contact เคลื่อนที่ ของ TM.4 ที่ Reversing
drum

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 19
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 20 แสดงขั้นตอนการใช้ฉนวนขัดที่ Contact P4 และ Reversing Drum TM4

6. ทดลองเปิ ดไฟลง หรื อ ทดลองทาขบวน ถ้าเกิดอาการคือ เครื่ องยนต์ ตัดไฟลง TM.


ลดรอบเครื่ องยนต์ และ ปุ่ ม Ground เด้ง ยาวออกมา แสดงว่า เกิดการ Ground ขึ้นให้ทา
การหาสาเหตุต่อโดย
6.1 ปิ ด control แล้วเลื่อนคัน Reverser ให้อยูต่ รงกลาง
6.2 Reset ระบบ โดยการกด ปุ่ ม Ground relay
6.3 ถอดชุดครอบกันประกายไฟ ที่ Contact P5 ออก แล้วใช้ กระดาษหรื อ
ฉนวน คัน่ หน้า Contact P5
6.4 ใช้ กระดาษหรื อ ฉนวน คัน่ หน้า Contact ช่วยของ P5
6.5 ใช้กระดาษหนาๆ หรื อ ฉนวนสวมครอบที่ contact เคลื่อนที่ ของ TM.5 ที่
Reversing drum

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 20
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 21 แสดงขั้นตอนการใช้ฉนวนขัดที่ Contact P5 และ Reversing Drum TM5

7.ทดลองเปิ ดไฟลง หรื อ ทดลองทาขบวน ถ้าเกิดอาการคือ เครื่ องยนต์ ตัดไฟลง TM.


ลดรอบเครื่ องยนต์ และ ปุ่ ม Ground เด้ง ยาวออกมา แสดงว่า เกิดการ Ground ขึ้นให้ทา
การหาสาเหตุต่อโดย
7.1 ปิ ด control แล้วเลื่อนคัน Reverser ให้อยูต่ รงกลาง
7.2 Reset ระบบ โดยการกด ปุ่ ม Ground relay
7.3 ถอดชุดครอบกันประกายไฟ ที่ Contact P6 ออก แล้วใช้กระดาษหรื อ
ฉนวน คัน่ หน้า Contact P6
7.4 ใช้ กระดาษหรื อ ฉนวน คัน่ หน้า Contact ช่วยของ P5
7.5 ใช้กระดาษหนาๆ หรื อ ฉนวนสวมครอบที่ contact เคลื่อนที่ของ TM.6 ที่
Reversing drum

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 21
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 22 แสดงขั้นตอนการใช้ฉนวนขัดที่ Contact P6 และ Reversing Drum TM6


8. ทดลองเปิ ดไฟลง หรื อ ทดลองทาขบวน ถ้าเกิดอาการคือ เครื่ องยนต์ ตัดไฟลง TM.
ลดรอบเครื่ องยนต์ และ ปุ่ ม Ground เด้ง ยาวออกมา แสดงว่า เกิดการ Ground ขึ้นอีก
ให้ทาการงดใช้เครื่ องยนต์ 2
สรุปขั้นตอนการงดใช้ Traction Motor ของรถจักร GE
1.ปิ ด Control แล้วเลื่อนคัน Reverser ให้อยูต่ รงกลาง
2.Reset ปุ่ ม Ground Relay
3.ใช้ กระดาษหรื อ ฉนวน คัน่ หน้า Contact P และ Inter Lock ของชุด Contact P
4.นาฉนวนขัดด้าน ‚ลบ‛ ที่ Finger ของ Reversing Drum ของ TM ลูกที่ทาการงดใช้การ
หมายเหตุ
-งดใช้ TM1 คัน่ หน้า Contact P1 และ Inter Lock ของชุด Contact P2 ทั้งชุด
-งดใช้ TM2 คัน่ หน้า Contact P2 และ Inter Lock ของชุด Contact P2 ทั้งชุด
-งดใช้ TM3 คัน่ หน้า Contact P3 และ Inter Lock ของชุด Contact P2 ทั้งชุด
-งดใช้ TM4 คัน่ หน้า Contact P4 และ Inter Lock ของชุด Contact P5 ทั้งชุด
-งดใช้ TM5 คัน่ หน้า Contact P5 และ Inter Lock ของชุด Contact P5 ทั้งชุด
-งดใช้ TM6 คัน่ หน้า Contact P6 และ Inter Lock ของชุด Contact P5 ทั้งชุด

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 22
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

การงดใช้ Traction Motor รถจักร Alsthom

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 23
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

การงดใช้ Traction Motor รถจักร Alsthom


เมือ่ เกิดการผิดปกติในวงจรไฟฟ้า
หลอดสัญญาณ LSE. ( ) ติดแสดง
รถจักร Alsthom เป็ นรถจักรดีเซลไฟฟ้ าโดยใช้เครื่ องยนต์ดีเซลหมุนขับทุ่น
Rotor ของ Main Alternator (ALTP) ผลิตกระแสไฟฟ้ าจ่ายให้กบั Traction Motor (TM)
เพื่อหมุนขับเพลาล้อรถจักร เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าบนรถจักร Alsthom มีอยู่ 3 ตัว คือ
STC (Statodyne Battery Circuit) , STE (Statodyne Circuit Excitation) , ALTP. (Main
Alternator) ซึ่งทั้งหมดจะผลิตกระแสไฟฟ้ าสลับชนิด 3 phase โดยมีเครื่ องยนต์ดีเซล
เป็ นตัวหมุนขับสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าตัดกับขดลวดตัวนา (ซึ่งแตกต่างจากรถจักร GE ที่
เครื่ องยนต์ดีเซลหมุนขับขดลวดตัวนาให้หมุนตัดกับสนามแม่เหล็กผลิตกระแสไฟฟ้ า
เป็ นกระแสตรง) เมื่อเครื่ องยนต์หมุนขับ ALTP., STC และ STE. แต่ยงั ไม่มี
กระแสไฟฟ้ าจ่ายออก เพราะยังขาดกระแสไฟ Excite Field ส่วน STC. ซึ่งอยูแ่ กน
เดียวกับ STE. จะมีกระแสไฟจาก Battery มา Excite Field ผลิตกระแสไฟสลับ(AC)
ผ่าน Rectifier (VSBA) เพื่อเปลี่ยนกระแสไฟสลับ(AC) เป็ นกระแสไฟตรง (DC) เข้า
Regulator – STC เพื่อควบคุมให้แรงดันไฟฟ้ าประจุ Battery ไม่ให้สูงเกินกว่า 79-80
Volt. อีกทางกระแสไฟสลับ(AC) ทางสาย 515และ518 ผ่าน Contact ของ Relay CE
21 A เข้า Regulator – STE ออกเป็ นกระแสไฟ DC เข้า Excite Field ของ STE. ผลิต
กระแสไฟกระแสสลับ (AC) ผ่าน Rectifier (VSEX) เพื่อเปลี่ยนกระแสไฟสลับเป็ น
กระแสไฟตรง (DC) ออกทางสาย 504 ผ่าย Q10 (Over Current Relay) ผ่านสาย 505
ผ่าน Contact CE 22 เข้า Field ของ Main Alternator ( ALTP.) ทางขั้ว HH. ออกทางขั้ว
H. ครบวงจรที่สาย B- Main Alternator ( ALTP.)ผลิตกระแสไฟสลับ (AC) ผ่าน
Rectifier(RM) เพื่อเปลี่ยนกระแสไฟสลับ(AC)เป็ นกระแสไฟตรง (DC) จ่ายเข้า
Traction Motor (TM) ทางขั้วบวก สาย 303 ผ่านสาย 305 ผ่าน Line Contact L1-L6 เข้า
Armature ของ Traction Motor (TM) ทางขั้ว A ออก AA ผ่าน Q51 หรื อ Q52
(Auxiliary Wheel Slip Relay) ผ่านเข้า Field ของ Traction Motor โดยมี Reversing
Drum ทาหน้าที่เปลี่ยนทิศทางกระแสไฟฟ้ าเข้า Field ให้ Traction Motor หมุนกลับ

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 24
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

ทิศทางเพื่อให้รถจักรเดินหน้าหรื อถอยหลัง ผ่านออกทางสาย 312 ผ่าน Shunt Amp.ของ


Amp. Meter (AM) ที่หน้าห้องขับ ผ่านสาย 304 กลับเข้า ALTP.ครบวงจร ทาให้
Traction Motor เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานกลหมุนขับเพลาล้อรถจักร
โดยปกติ Relay QSEC จะมีกระแสไฟมาเลี้ยง Coil ตลอดเวลา เริ่ มตั้งแต่
HVBA(Main Switch) เข้าต่อวงจร ไฟจาก Battery จากสาย 2 ผ่าน Contact ของ
QJ20,Q92,QoHT,Q10 (รถจักรรุ่ นALS) และ TEL2(รถจักรรุ่ น ADD) เข้า Coil QSEC
ทาให้ Contact ของ QSEC ขาที่ 1 ต่อทางไฟให้ QSEC ตลอด เมื่อเครื่ องยนต์ติด QVEA
ทางาน Contact ของ QVEA ขาที่4 จะต่อทางไฟให้ QSEC ตลอดเวลา

รู ปที่ 23 แสดงวงจรไฟฟ้ าระบบควบคุมความผิดปกติของระบบไฟฟ้ ากาลัง

รู ปที่ 24 แสดงวงจรไฟฟ้ าระบบควบคุมเร่ งรอบเครื่ องยนต์

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 25
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

เพราะเมื่อรถจักรเคลื่อนที่เดินหน้าหรื อถอยหลัง QJ20 จะทางานตัดทางไฟ QSEC แต่


กระแสไฟยังคงเข้า Coil QSEC ได้โดยอาศัย Contact ของ QVEA และ Contact ของ
QSEC เป็ นตัวต่อทางไฟให้ ดังนั้น Relay QSEC จะมีไฟเข้า Coil ตลอดเวลา นอกจาก
สาเหตุต่อไปนี้
1.เกิดจาก พขร. เปิ ด Control ให้ไฟลง TM โดยใช้รอบเครื่ องยนต์เกิน 1,100
รอบ/นาที แล้วรถจักรไม่เคลื่อนที่นานเกิน 30 นาที
2.เกิดจาก Ground ในวงจร Power หรื อกระแสไฟเข้า Field ของ ALTP
เกินที่กาหนด
3.เกิดจากความเร็ วของรถจักรเกิน 95 Km/hr หรื อ TEL 2 ซึ่งอยูท่ ี่ Speed
Meter Cab 2 ทางาน ( TEL 2 ทางานที่ 95 Km/hr)
จากสาเหตุที่ 1) มี Relay QPMT เป็ นตัวกาหนด โดยตั้ง QPMT ที่ 90 V. จึง
จะทางาน เมื่อ พขร.ใช้ Control เพื่อออกขบวนรถกระแส ALTP จากจะถูกจ่ายให้กบั
TM ทั้ง 6 ลูกเท่ากันหมดทุกลูก เพราะ TM ทั้ง 6 ลูกนั้นต่อกันแบบขนาน สมมุติวา่
รอบเครื่ องยนต์ 1500 รอบ/นาที Alternator จะจ่ายกระแสออกไปได้ 1,760 kw. (1 kw.
= 1,000 W.)
ดังนั้นกระแสไฟลง TM แต่ละลูก = = 293,333 W.

ในครั้งแรก Armature ของ TM ยังไม่เคลื่อนที่น้ นั ความต้านทานของ TM สูงมาก


จาเป็ นต้องอาศัยกระแสไฟฟ้ ามากแต่ยงิ่ ใช้กระแสไฟมากเท่าใด แรงเคลื่อนก็จะน้อยลง
เท่านั้น สมมุติวา่ พขร.ใช้ Control เพื่อออกขบวนรถ โดยใช้รอบ 1500 รอบ/นาที
กระแสไฟลง TM แรงเคลื่อนจะไม่ถึง 90 Volts ในครั้งแรก
จากสูตร ; W = IV
W = พลังงานที่ได้รับจาก ALTP
= 293,333 W.
I = กระแสไฟฟ้ า
= 3,500 Amp.

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 26
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

V = แรงเคลื่อนไฟฟ้ า
แทนค่า ; V. =
= 83.809 Volts.
= 84 Volts.
เมื่อเป็ นเช่นนี้ QPMT จึงไม่ทาการต่อทางไฟให้ QSEC ต้องอาศัย Q92
เท่านั้น แต่จะทางานอยูเ่ พียง 30 วินาที เพราะเมื่อรอบเกิน 1,100 รอบ/นาที TM3
(Tachometer) จะต่อทางไฟให้ Q92 แต่ Q92 เป็ น Relay หน่วงเวลาจะทางานก็ต่อเมื่อ
ไฟเข้าเลี้ยง Coil แล้ว 30 วินาที ถ้า พขร. ยังใช้รอบเครื่ องสูงเกิน 1,100 รอบ/นาทีเกิน
30 วินาที QSEC จะขาดวงจร ทาให้เกิดการกระตุกและกระแทรกระหว่างรถจักรกับรถ
โดยสาร วิธีการปฏิบตั ิที่ถูกต้องเมื่อจาเป็ นต้องใช้รอบเกิน 1,100 รอบ/นาที กระแสไฟลง
TM สูง ในการเคลื่อนที่รถครั้งแรกเมื่อใช้ครบ 30 วินาที ก็ควรจะหมุน Control Hand
Wheel ลดรอบเครื่ องยนต์ให้ต่ากว่า 1,100 รอบ/นาที แล้วจึงเร่ งขึ้นไปใหม่ ทาอย่างนี้
ประมาณ 2-3 ครั้ง ขบวนรถก็จะเคลื่อนที่ได้โดยไม่กระตุกและกระแทก
จากสาเหตุที่ 2) ให้พนักงานรถจักรสังเกต Breaker ข้างตูไ้ ฟฟ้ าว่า Breaker
DJS. Q10 หรื อ DJS. QoHT เด้งออกมา
1.หาก DJS. Q10 เด้ง แสดงว่ามีกระแสไฟ Excite Field ของ ALTP เกิน
320 ± 20 Amp. หรื อเกิดจากความต้านทานของฉนวน(Insulation) ในขดลวด Field
ของ ALTP ลดน้อยลง ให้พนักงานรถจักรหมุนคันบังคับการ(Control Hand Wheel)
มาที่ ‘N’ แล้วดับเครื่ องยนต์ตรวจสอบ ALTP โดยสังเกตที่ Pole ถ้าพบรอยไหม้เกรี ยม
หรื อ Rotor ทรุ ดตัวลงมาเบียด ให้ทาเป็ นรถจักรชารุ ด แต่ถา้ ไม่พบการผิดปกติที่
ALTP ให้ Reset DJS.Q10 เข้าที่เดิมแล้วติดเครื่ องทาขบวนต่อไป พยายามสังเกตเข็ม
Traction Ammeter ไว้ เพื่อที่จะได้แจ้งอาการให้หน่วยซ่อมทราบและหากเกิดอาการ
DJS.Q10 เด้งอีกบ่อยครั้ง ให้ทาเป็ นรถจักรชารุ ด
2.หาก DJS. QoHT เด้ง แสดงว่า เกิดการ Ground ในวงจร Power อาจจะ
เป็ นที่ ALTP หรื อ TM พนักงานรถจักรมีวธิ ีการแก้ไข ดังนี้

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 27
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

ในขณะทาขบวน เกิดมีอาการเครื่ องยนต์ลดรอบและตัดไฟลง TM. ในขณะ


เปิ ด Control อยู่ หลอดสัญญาณ LSE ติด และเป็ นบ่อยครั้งรวมถึง Breaker DJS QoHT
เด้ง

รู ปที่ 25 แสดงหลอดสัญญาณ LSE และตาแหน่งของ Breaker DJS QoHT


1. ให้ทาการบิด Control hand wheel ไปอยู่ ตาแหน่ง N และคัน Reverser ไป
อยู่ ตาแหน่ง N
2. ทดลอง บิด switch Cut out TM.(ZMT) พร้อมกันทุกลูก

รู ปที่ 26 แสดงตาแหน่งจุดติดตั้ง switch ZMT1,2,3


คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 28
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 27 แสดงวิธีการบิด switch ZMT1,2,3 งดใช้ TM ทั้ง 6 ลูก

3. ใส่หา้ มล้อรถจักรและห้ามล้อขบวนรถ
4. เลื่อนคัน REVERSOR ไปตาแหน่ง เดินหน้า หรื อ ถอยหลัง
5. บิด Control hand wheel ไปตาแหน่งลบ
6. ตรวจสอบ Line contact L1-L6 จะต้ องไม่ ยกต่อทางไฟ

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 29
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

Line Contact รถจักร ALSTHOM รุ่ น 41XX,42XX

รู ปที่ 28 แสดงจุดติดตั้ง Line Contact L1-6 และ CE22

Line Contact รถจักร ALSTHOM รุ่ น 43XX,44XX

รู ปที่ 29 แสดงจุดติดตั้ง Line Contact L1-6 และ CE22

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 30
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

Line Contact

Line Contact

รู ปที่ 30 แสดงวิธีการสังเกต Line Contact ขณะทางานและไม่ทางาน

7. ตรวจสอบ ชุด Contact CE22 จะต้องยกต่อทางไฟ

รู ปที่ 31 แสดงวิธีการสังเกต ชุด Contact CE22 ขณะทางานและไม่ทางาน

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 31
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

8. เปิ ด Control hand wheel ไปตาแหน่งบวก เพื่อเร่ งรอบเครื่ องยนต์ไป


เรื่ อยๆจนถึงรอบ 1,500 rpm ถ้าไม่มีการตัดไฟลง TM. ให้ทดลอง Cut out TM. ทีละลูก
แล้วทาขบวนโดยมีข้ นั ตอนดังนี้
ก่ อนทีจ่ ะทาการใดๆจะต้องแน่ ใจว่ าคันบังคับการอยู่ตาแหน่ ง ‘N’ เพราะกาลังไฟฟ้าใน
วงจรสู งมากอาจจะเป็ นอันตรายต่ อชีวติ ทันที
8.1 ให้ ทาการบิด Control hand wheel ไปอยู่ ตาแหน่ ง N และคัน Reverser
ไปอยู่ ตาแหน่ ง N
8.2 ทาการ Cut out TM.1 ทั้งด้านบวกและด้านลบโดยการใช้ไม้หรื อฉนวน
ขัดที่ Contact ด้านลบของ TM.1 ที่ Reversing drum ส่ วน TM. 2,3,4,5,6 ให้ เปิ ดใช้ การ

รู ปที่ 32 แสดงวิธีการงดใช้ Traction Motor ลูกที่1

8.3 ทดลองทาขบวน และในขณะทาขบวน เกิดมีอาการเครื่ องยนต์ลดรอบ


และตัดไฟลง TM. หลอดสัญญาณ LSE ติดแสดงและBreaker DJS QoHT เด้ง

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 32
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

8.3.1 ให้ ทาการบิด Control hand wheel ไปอยู่ ตาแหน่ ง N และคัน


Reverser ไปอยู่ ตาแหน่ ง N
8.3.2 แล้วทาการบิด Switch cut out TM.2 และใช้ไม้หรื อฉนวนขัด
ที่ Contact ด้านลบของ TM.2 ที่ Reversing drum
8.3.3 เปิ ดใช้การ TM.1 และเอาฉนวนขัดที่ Contact ด้านลบของ
TM.1 ออก จากนั้นทดลองทาขบวน

รู ปที่ 33 แสดงวิธีการงดใช้ Traction Motor ลูกที่2

8.4 ในขณะทาขบวน เกิดมีอาการเครื่ องยนต์ลดรอบและตัดไฟลง TM.


หลอดสัญญาณ LSE ติด Breaker DJS QoHT เด้ง
8.4.1 บิด Control hand wheel ไปอยู่ ตาแหน่ง N และคัน Reverser
ไปอยู่ ตาแหน่ง N
8.4.2 บิด Switch cut out TM.3 และใช้ไม้หรื อฉนวนขัดที่ Contact
ด้านลบของ TM.3 ที่ Reversing drum

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 33
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

8.4.3 เปิ ดใช้การ TM.2 และเอาฉนวนขัดที่ Contact ด้านลบออก


จากนั้นทดลองทาขบวน
8.5 ทดลองทาขบวน และในขณะทาขบวน เกิดมีอาการเครื่ องยนต์ลดรอบ
และตัดไฟลง TM. หลอดสัญญาณ LSE ติดแสดงและ Breaker DJS QoHT เด้ง
8.5.1 บิด Control hand wheel ไปอยู่ ตาแหน่ง N และคัน Reverser
ไปอยู่ ตาแหน่ง N
8.5.2 บิด Cut out TM.3 และใช้ไม้หรื อฉนวนขัดที่ Contact ด้านลบ
ของ TM.3 ที่ Reversing drum
8.5.3 เปิ ดใช้การ TM.2 และฉนวนขัดที่ Contact ด้านลบออก
จากนั้นทดลองทาขบวน

รู ปที่ 34 แสดงวิธีการงดใช้ Traction Motor ลูกที่3

8.6 ในขณะทาขบวน ไม่มีอาการเครื่ องยนต์ลดรอบและตัดไฟลง TM.


ในขณะเปิ ด Control อยู่ แสดงว่า TM.3 Ground แต่ถา้ ในขณะทาขบวน เกิดมีอาการ
เครื่ องยนต์ลดรอบและตัดไฟลง TM. ในขณะเปิ ด Control อยู่ หลอดสัญญาณ LSE ติด

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 34
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

Breaker DJS QoHT เด้ง ก็ให้หาสาเหตุโดย Cut out TM. 4,5,6 ตามขั้นตอนที่ผา่ นมา
ตามลาดับ
9. จากหัวข้อที่ 8 เมื่อบิด Switch cut out TM. ทุกลูกแล้ว บิดคัน Reverser
ไปตาแหน่ง เดินหน้าหรื อถอยหลัง จากนั้นเปิ ด Control hand wheel ไปตาแหน่งบวก
เพื่อเร่ งรอบเครื่ องยนต์ แล้วมีการตัดไฟลง TM. และเครื่ องยนต์ลดรอบ หลอดสัญญาณ
LSE ติด Breaker DJS QoHT เด้งให้ทาการหาสาเหตุโดยมีข้ นั ตอนดังนี้
9.1 ให้ ทาการบิด Control hand wheel ไปอยู่ ตาแหน่ ง N และคัน Reverser
ไปอยู่ ตาแหน่ ง N
9.2 ทาการ Cut out TM. ด้านบวกทุกลูกและเอาไม้ หรื อฉนวนที่ขดั Contact
ด้านลบของ TM.ทุกลูกตามรู ป

รู ปที่ 35 แสดงวิธีการขัด Contact ด้านลบของ TM.ทุกลูก

9.3 บิดคัน Reverser ไปตาแหน่งเดินหน้าหรื อถอยหลัง แล้วเปิ ด Control


hand wheel ไปตาแหน่งบวก เร่ งรอบเครื่ องยนต์ จนถึง1,500 RPM. ถ้าหลอดสัญญาณ
LES ยังติดแสดง DJS. QoHT เด้งอีก แสดงว่าเกิด Ground ในเครื่ องกาเนิดไฟฟ้ า
ประธาน (ALTP) ให้สงั เกตที่ ALTP ว่ามีการผิดปกติหรื อไม่ หากแก้ไขไม่ได้ให้ทา
เป็ นรถจักรชารุ ด ถ้าไม่มีการตัดไฟลง TM. ให้ทาการหาสาเหตุดงั ต่อไปนี้

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 35
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

9.3.1 บิด Control hand wheel ไปอยู่ ตาแหน่ ง N และคัน Reverser


ไปอยู่ ตาแหน่ ง N
9.3.2 เอาฉนวนที่ขดั Contact ด้านลบของ TM. ออกทีละลูกตัวอย่าง
เช่นเอาฉนวนที่ขดั ด้านลบของTM.3ออก

รู ปที่ 36 แสดงวิธีการนาฉนวนที่ขดั ด้านลบของTM.3ออก

9.4 บิดคัน Reverser ไปตาแหน่ง เดินหน้าหรื อถอยหลัง แล้วเปิ ด Control


hand wheel ไปตาแหน่งบวก เร่ งรอบเครื่ องยนต์ จนถึง1,500 RPM. ไม่มีการตัดไฟลง
TM.แสดงว่า TM.3 ปกติ
9.4.1 บิด Control hand wheel ไปอยู่ ตาแหน่ ง N และคัน Reverser
ไปอยู่ ตาแหน่ ง N
9.4.2 เอาฉนวนที่ขดั ด้านลบของ TM.2 ออก

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 36
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 37 แสดงวิธีการนาฉนวนที่ขดั ด้านลบของTM.2และ3 ออก

9.5 บิดคัน Reverser ไปตาแหน่ง เดินหน้าหรื อถอยหลัง แล้วเปิ ด Control


hand wheel ไปตาแหน่งบวก เร่ งรอบเครื่ องยนต์ แล้ว มีการตัดไฟลง TM. แสดงว่า TM.
2 Ground
9.5.1 บิด Control hand wheel ไปอยู่ ตาแหน่ ง N และคัน Reverser
ไปอยู่ ตาแหน่ ง N
9.5.2 เอาฉนวนขัด Contact ด้านลบของ TM.2 ไว้ ตามเดิม
9.5.3 เอาฉนวนที่ขดั ด้านลบของ TM.1 ออก

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 37
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 38 แสดงวิธีการนาฉนวนที่ขดั ด้านลบของTM.1และ3 ออก

9.6 บิดคัน Reverser ไปตาแหน่ง เดินหน้าหรื อถอยหลัง แล้วเปิ ด Control


hand wheel ไปตาแหน่งบวก เร่ งรอบเครื่ องยนต์ จนถึง1,500 RPM. ไม่มีการตัดไฟลง
TM. แสดงว่า TM.1 ปกติ
9.6.1 บิด Control hand wheel ไปอยู่ ตาแหน่ ง N และคัน Reverser
ไปอยู่ ตาแหน่ ง N
9.6.2 เอาฉนวนที่ขดั ด้านลบของ TM.4 ออก

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 38
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 39 แสดงวิธีการนาฉนวนที่ขดั ด้านลบของTM.1,3,4 ออก

9.7 บิดคัน Reverser ไปตาแหน่ง เดินหน้าหรื อถอยหลัง แล้วเปิ ด Control


hand wheel ไปตาแหน่งบวก เร่ งรอบเครื่ องยนต์ จนถึง1,500 RPM. ไม่มีการตัดไฟลง
TM.แสดงว่า TM.4 ปกติ
9.7.1 บิด Control hand wheel ไปอยู่ ตาแหน่ ง N และคัน Reverser
ไปอยู่ ตาแหน่ ง N
9.7.2 เอาฉนวนที่ขดั ด้านลบของ TM.4 ออก
9.8 ให้ทาการทดลองหาสาเหตุตามขั้นตอนนี้ จนครบทุกลูก และถ้า TM. ลูก
ไหน Ground ก็เอาฉนวนที่ขดั Contact ด้านลบของ TM. ลูกนั้น เมื่อทาจนครบทุกลูก
แล้ว พบว่าลูกไหน Ground ก็ให้ cut out TM. ลูกนั้นทั้งด้านบวกและลบ ส่วน TM. ลูก
อื่นที่ไม่ Ground ให้เปิ ดใช้การตามเดิม

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 39
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

10. เมื่อทาการตัด TM ลูกที่ Ground แล้วต้องปฏิบตั ิ ดังนี้


ก.เมื่อตัด TM 1 ลูก อย่าใช้กระแสไฟลง TM เกิน 4,000 A. เมื่อรอบ
เครื่ องยนต์ 1,300 รอบ/นาที ถ้าหน่วยลากจูงสูงให้ตดั หน่วยลากจูงออก
ข.เมื่อตัด TM 2 ลูก อย่าใช้กระแสไฟลง TM เกิน 3,200 A. เมื่อรอบ
เครื่ องยนต์ 1,130 รอบ/นาที ถ้าหน่วยลากจูงสูงให้ตดั หน่วยลากจูงออก
ค.เมื่อตัด TM 3 ลุก ห้ามใช้การรถจักรให้ขอรถจักรช่วยการวิง่ รถจักรตัว
เปล่าให้กระทาช่วงใกล้ที่สุดเท่านั้น
วิธีการคิดหน่วยลากจูง กรณี ตดั Traction Motor
หน่วยลากจูงใหม่ = (พิกดั ลากจูงในทางตอนนั้น+หน่วยรถจักร) x จานวน TM ที่เหลือ - หน่วยรถจักร
จานวน TM ทั้งหมด

สรุปขั้นตอนการงดใช้ Traction Motor ของรถจักร Alsthom


1.นา Control Hand Wheel (คันเร่ งรอบเครื่ องยนต์) ไว้ตาแหน่ง N
2.นาคัน Reverser ไว้ตาแหน่ง N
3.บิด Switch ZMT เพื่องดใช้ Traction Motor ลูกที่ตอ้ งการ
4.นาฉนวนขัดด้าน ‚ลบ‛ ที่ Finger ของ Reversing Drum ของ Traction Motor ลูกที่
ทาการงดใช้การและทดลองจ่ายกระแสไฟลง Traction Motor
5.หากเกิดการ Ground ให้กลับไปดาเนินการตามข้ อ 8 (8.1-8.6)
หมายเหตุ การบิด Switch ZMT จะเป็ นการตัดวงจรไฟฟ้ า Line Contact ของลูกที่งดใช้
ไม่ทางาน

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 40
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

วงจรไฟฟ้ ากาลังของรถจักร Alsthom

STC

STE 2 501
1 500
3
1

3 502
2

522

523

508

507
+

516

-
+

-
524
509

REG-STE
REG-STC

503
QPAT 2

525
510

CCSTC 518
V SEX

Q31
CCCE 11
511
RRCA

515

517

512
526 513 RCA

CE 21 A
518

CE 21 B
521

519
514

CCCE 21
515

B-
VSBA
CC-PGO
PGO

2
535 534

532
ZPGO
CC-PGR
PGR

504
533
CPGR

B-
CC-CPA
CPA

CCPA CCPA
528 527

Q 10
F E

519
2 CCC

505
D C
CCV

RE 22
VBA

506
B+
BA

+ CCBA
-

HH
HVBA
HVBA

CE 22
ABA

B
ALTP
A
302
301
300

AM

304 303

QPMT RQPMT

QoHT

RQoHT1 RQoHT2 ZQo


305B 305

305
312

Q51
J 20

TM 1

L1
F

FF

Q52

TM 2
J 20

L2
FF
F

TM 3
J 20

L3
FF
F

TM 4
J 21

L4
FF
F

Q52

TM 5
J 21

L5
Q51
FF
F

TM 6
J 21

L6
FF
F

รู ปที่ 40 แสดงวงจรไฟฟ้ ากาลัง


คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 41
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

การงดใช้ Traction Motor รถจักร Hitachi

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 42
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

การงดใช้ Traction Motor รถจักร Hitachi

การตรวจสอบ และแก้ ไขเมือ่ เกิดอาการ Ground Power รถจักร Hitachi


1.อาการที่แสดง
1.1 หลอด Earth Fault ติดแสดง ร่ วมกับหลอด General Warning (1,2) ติด
แสดง
2.2 ตัดไฟลง TM.
3.3 ออดสัญญาณดังแล้วหยุดพร้อมกับลดรอบเครื่ องยนต์มาที่รอบ Idle

Parking Dynamic Aux.ALT/ Loco Wheel Slip/ General


Brake Brake Battery Over Brake Warning 1
Failure Charge Speed Current

Low BLOWER Main Engine Low water General


Water ALT. Over Press Warning 2
Level Excite. Speed

FIRE EARTH High Engine Gen.warn.


FAULT water/ Low oil Other
Lube oil Press Loco
Temp.

รู ปที่ 41 แสดงหลอดสัญญาณ Earth Fault ติดแสดง ร่ วมกับหลอด General Warning 2

2.การ Reset
2.1 เลื่อนคันกลับอาการ( Reverser) ไว้ตาแหน่ง ‚NEU‛
2.2 เลื่อนคันเร่ งรอบ (Throttle Handle) ไว้ตาแหน่ง ‚OFF‛
2.3 กดปุ่ ม Reset ที่หน้าห้องขับ

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 43
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 42 แสดงตาแหน่งของคันกลับอาการ( Reverser) และ


คันเร่ งรอบ (Throttle Handle) เมื่อต้องการ Reset

รู ปที่ 43 แสดงตาแหน่ง Reset Switch

ให้ทาการทดลองเปิ ดไฟลง TM . ต่อไป แต่หากภายหลังพบว่ามีการตาม ข้อ 1.1-1.3 อีก


ให้ทาการแก้ไขโดยการทดลอง Cut Out TM. ที่ Switch MIS1(TM1-3) หรื อ Switch
MIS2(TM4-6) เมื่อต้องการ CUT OUT TM. ลูกใดลูกหนึ่งให้ปฏิบตั ิดงั นี้

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 44
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

3. วิธีงดใช้ TM ของเครื่ องยนต์ที่ 1 (TM.1-3)


3.1 บิด MIS.1(Motor Isolating Switch) ไปตาแหน่ง CUT OUT เช่น M.1
CUT, M.2 CUT หรื อ M.3 CUT แล้วแต่กรณี

รู ปที่ 44 แสดงตาแหน่งของ Switch MIS.1,2 (Motor Isolating Switch)


เมื่อไรก็ตามที่มีการใช้งาน Switch MIS/GCS จะต้องนา Chang Over Switch
for BLM (BLCgS) อยูใ่ กล้กบั Dynamic Brake Resistor (BRe ) ในห้องหลอดดูระดับ
น้ าระบายความร้อนของเครื่ องยนต์ไว้ในตาแหน่งตรงกันข้ามของการงดใช้กลุ่มนั้น ยก
ตัวอย่างเช่น เมื่อต้องการงดใช้ TM 1,2,3,หรื องดใช้เครื่ องยนต์ที่1 ต้องนา Chang Over
Switch for BLM (BLCgS) ไว้ตาแหน่ง Group.2 (ลงล่าง) เป็ นต้น

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 45
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 45 แสดงตาแหน่งจุดติดตั้ง Reversing Drum

3.2 ตัดวงจรด้านลบ(-) ของ TM. ลูกที่ตอ้ งการ CUT OUT เพื่อไม่ให้ดา้ นลบ
(-) ต่อกับวงจร การตัดวงจรด้านลบ (-) สามารถเลือกกระทาได้ดงั นี้
3.2.1 โยกคันโยกเหนือ Reversing drum ให้ Contact ของ Reversing
drum อยูต่ รงกลาง

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 46
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

 Contact
Reversing drum Dynamic Brake

 Contact
Reversing drum REVERSING DRUM DYNAMIC BRAKE

P B

TM.1

TM.2

TM.3

รู ปที่ 46 แสดงตาแหน่งคันโยกหน้า Contact ของ Reversing Drum 1

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 47
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

 Contact
Reversing drum

 Contact
Reversing drum REVERSING DRUM DYNAMIC BRAKE

P B

TM.1

TM.2

TM.3

ContactReversing drum

รู ปที่ 47 แสดงตาแหน่งคันโยกหน้า Contact ของ Reversing Drum 1อยูต่ รงกลาง


3.2.2 ใช้กระดาษแข็งขัด (หุม้ ) Finger contact ที่ Reversing drum
RV.1 ดังนี้
TM.1 สาย 51D และ 51H
TM.2 ‚ 52D และ 52H นับจากบนลงล่าง
TM.3 ‚ 53D และ 53H

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 48
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

หมายเหตุ วิธีดงั กล่าวเหมาะสาหรับพนักงานรถจักร หรื อแก้ไขขณะใช้รถจักรทา


ขบวนกลางตอน

รู ปที่ 48 แสดงการใช้กระดาษคัน่ Finger contact ของ TM1 ที่ Reversing drum

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 49
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 49 แสดงการใช้กระดาษคัน่ Finger contact ของ TM2 ที่ Reversing drum

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 50
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 50 แสดงการใช้กระดาษคัน่ Finger contact ของ TM3 ที่ Reversing drum


3.3 BLCGS switch อยูต่ าแหน่ง Group.2 (ลงล่าง) ซึ่งติดตั้งอยูบ่ ริ เวณห้องดู
ระดับน้ าระบายความร้อนของเครื่ องยนต์

รู ปที่ 51 แสดงการนา BLCGS switch อยูต่ าแหน่ง Group.2

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 51
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

เมื่อได้ทาการทดลอง cut out TM.1,2,3 ทุกรู ปแล้วยังเกิดอาการตาม ข้ อ 1.1-


1.3 อีก ให้ทาการงดใช้เครื่ องยนต์ 1 เนื่องจากอาจมีการ Ground ของ TM มากกว่า 1 ลูก
4. วิธีงดใช้ TM ของเครื่ องยนต์ที่ 2 (TM.4-6)
4.1 บิด MIS.2ไปตาแหน่ง M.4 CUT, M.5 CUT หรื อ M.6 CUT แล้วแต่กรณี
4.2 ตัดวงจรด้านลบ(-) ของ TM. ลูกที่ตอ้ งการ CUT OUT เพื่อไม่ให้ดา้ นลบ
(-) ต่อกับวงจร การตัดวงจรด้านลบ (-) สามารถเลือกกระทาได้ดงั นี้
4.2.1 โยกคันโยกเหนือ Reversing drum ให้ Contact ของ Reversing
drum อยูต่ รงกลาง (ดูรูปที่ 45และ46เหมือนกับการงดใช้ TM ของเครื่ องยนต์ที่1)
4.2.2 ใช้กระดาษแข็งหุม้ Finger contact ที่ RV.2 ดังนี้
TM.4 สาย 61D และ 61H
TM.5 ‚ 62D และ 62H นับจากบนลงล่าง
TM.6 ‚ 63D และ 63H

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 52
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 52 แสดงการใช้กระดาษคัน่ Finger contact ของ TM4 ที่ Reversing drum

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 53
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 53 แสดงการใช้กระดาษคัน่ Finger contact ของ TM5 ที่ Reversing drum

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 54
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 54 แสดงการใช้กระดาษคัน่ Finger contact ของ TM6 ที่ Reversing drum


4.3 BLCGS switch อยูต่ าแหน่ง Group.1 (ขึ้นบน) ซึ่งติดตั้งอยูบ่ ริ เวณห้องดู
ระดับน้ าระบายความร้อนของเครื่ องยนต์

รู ปที่ 55 แสดงการนา BLCGS switch อยูต่ าแหน่ง Group.1

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 55
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

เมื่อได้ทาการทดลอง cut out TM.4,5,6 ทุกรู ปแล้วยังเกิดอาการตาม ข้ อ 1.1-


1.3 อีก ให้ทาการงดใช้เครื่ องยนต์ 2 เนื่องจากอาจมีการ Ground ของ TM มากกว่า 1 ลูก

สรุปขั้นตอนการงดใช้ Traction Motor ของรถจักร Hitachi


1.นา คันเร่ งรอบ (Throttle Handle) ไว้ตาแหน่ง ‚off ‛
2.นาคัน Reverser ไว้ต่าแห่นง ‚off ‛
3.บิด Switch MIS1 หรื อ 2 เพื่องดใช้ Traction Motor ลูกที่ตอ้ งการ
4.นาฉนวนขัดด้าน ‚ ลบ ‛ ที่ Finger ของ Reversing Drum ของ Traction Motor ลูกที่
ทาการงดใช้การ
5.นา Chang Over Switch for BLM (BLCgS) ไว้ในตาแหน่งตรงกันข้ามของการงดใช้
กลุ่มนั้น
6.ทดลองจ่ายกระแสไฟลง Traction Motor หากเกิดการ Ground ให้กลับไปดาเนินการ
ตามข้ อ 3 (3.1-3.3) เครื่ องยนต์ที่ 1 หรื อ ข้ อ 4 (4.1-4.3) เครื่ องยนต์ที่ 2

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 56
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

การงดใช้ Traction Motor รถจักร GEA

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 57
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

การงดใช้ Traction Motor รถจักร GEA

การตรวจสอบ และแก้ ไขเมือ่ เกิดอาการ Ground Power รถจักร GEA.


1. อาการที่แสดง
1.1 หลอดจอภาพ Ground relay Tripped ติดร่ วมกับ General Warning No.1
(TM 1-3)หรื อ General Warning No.2 (TM 4-6)
1.2 กริ่ งสัญญาณดังเตือน
1.3 ตัดกระแสไฟจ่ายให้กบั Traction Motor (TM)

รู ปที่ 56 แสดงหลอดสัญญาณ Ground Relay Tripped ติดแสดง


ร่ วมกับหลอด General Warning 1(TM 1-3)

2. การ Reset
2.1 เลื่อนคันเร่ งรอบ (Throttle Handle) ไว้ตาแหน่ง Idle และเลื่อนคันกลับ
อาการ(Reverser) ไว้ตาแหน่ง F หรือ B
2.2 กดปุ่ ม Reset ด้านซ้ายมือพนักงานขับรถ ( พขร.)
คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 58
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 57 แสดงตาแหน่งของคัน Reverser , Throttle Handle


เมื่อต้องการ Reset ระบบและตาแหน่งของ Switch Reset

3. ถ้ าทาตามข้ อ 2 แล้ วหลอด Ground Relay Tripped และ General Warning 1 ยังไม่
ดับ ให้ เลือ่ นคัน Reverser ไว้ ตาแหน่งกลางและให้ ทาการ Reset ที่ตวั Ground Relay
โดยตรงตามรูปที่ 58 (ติดตังอยู
้ ภ่ ายในตู้ PA1 ตู้ต่าด้ านหลัง ชค.)
ให้ทดลองทาขบวนต่อและในขณะที่ทาขบวนรถจักรแสดงอาการ ตัดไฟลง
TM. ลดรอบเครื่ องยนต์และมีหลอดสัญญาณติดแสดงในลักษณะรู ปที่ 56 แสดงว่าเกิด
การ Ground TM. ให้ทดลองงดใช้ TM ทีละลูก

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 59
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 58 แสดงการ Reset เมื่อ Coil ของชุด Reset ไม่สามารถ


Reset ได้ตามปกติภายในตู ้ PA1
4. การงดใช้การ TM ของเครื่ องยนต์ที่ 1
ในขณะที่ทาขบวนรถจักรแสดงอาการ ตัดไฟลง TM. ลดรอบเครื่ องยนต์
และมีหลอดสัญญาณติดแสดงตามรู ปที่ 59 แสดงว่าอาจเกิดการ Ground ที่ TM 1,2,3 ลูก
ใดลูกหนึ่งให้ทาการ Reset ตามขั้นตอนข้อ 2 และ 3 จากนั้นให้ทาตามขั้นตอนต่อไปนี้

รู ปที่ 59 แสดงหลอดสัญญาณ Ground Relay Tripped ติดแสดง


ร่ วมกับหลอด General Warning 1
คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 60
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

4.1 บิด Switch cut out TM.1ในตูไ้ ฟฟ้ าหน้า Cab 1 และห้ ามขัดด้ านลบของ
TM.1 เนื่องจากจะเป็ นการตัดวงจรของระบบป้ องกันไป (ตัด Ground Relay 1 ออกจาก
ระบบ)

รู ปที่ 60 แสดงจุดติดตั้ง Switch MCO ซึ่งอยูใ่ นตาแหน่งงดใช้ TM 1

ให้ทดลองทาขบวนต่อและในขณะที่ทาขบวนรถจักรแสดงอาการ ตัดไฟลง
TM. ลดรอบเครื่ องยนต์และมีหลอดสัญญาณติดแสดงตามรู ปที่ 59 แสดงว่าอาจเกิดการ
Ground ที่ TM 2หรื อ3 ให้ทาการ Reset ตามขั้นตอนข้อ 2 และ 3 จากนั้นให้ทาตาม
ขั้นตอนต่อไปนี้
4.2 บิด Switch cut out TM.2ในตูไ้ ฟฟ้ าหน้า Cab 1
4.2.1 ใช้ฉนวนสวมไปที่ Contact ด้านลบของ TM 2 (ด้านซ้าย) ที่
Reversing drum ซึ่งอาจเป็ นกระดาษหนาๆ ม้วนเป็ นวงกลม หรื อตัดขวดน้ าพลาสติก

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 61
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 61 แสดงการบิด MCO ในตาแหน่งงดใช้ TM 2


และใช้ฉนวนสวมไปที่ Contact ด้านลบของ TM 2

ให้ทดลองทาขบวนต่อและในขณะที่ทาขบวนรถจักรแสดงอาการ ตัดไฟลง
TM. ลดรอบเครื่ องยนต์และมีหลอดสัญญาณติดแสดงตามรู ปที่ 59 แสดงว่าอาจเกิดการ
Ground ที่ TM 3 ให้ทาการ Reset ตามขั้นตอนข้อ 2 และ 3 จากนั้นให้ทาตามขั้นตอน
ต่อไปนี้
4.3 บิด Switch cut out TM.3 ในตูไ้ ฟฟ้ าหน้า Cab 1
4.3.1 ใช้ฉนวนสวมไปที่ Contact ด้านลบของ TM 3 (ด้านซ้าย) ที่
Reversing drum ซึ่งอาจเป็ นกระดาษหนาๆ ม้วนเป็ นวงกลม หรื อตัดขวดน้ าพลาสติก

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 62
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 62 แสดงการบิด MCO ในตาแหน่งงดใช้ TM 3


และใช้ฉนวนสวมไปที่ Contact ด้านลบของ TM 3
ให้ทดลองทาขบวนต่อและในขณะที่ทาขบวนรถจักรแสดงอาการ ตัดไฟลง
TM. ลดรอบเครื่ องยนต์และมีหลอดสัญญาณติดแสดงตามรู ปที่ 59 แสดงว่าอาจเกิดการ
Ground ที่ TM มากกว่า 1 ลูก ให้ทาการ Reset ตามขั้นตอนข้อ 2 และ 3 จากนั้นให้งดใช้
ระบบควบคุมการจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบั Traction Motor ของเครื่ องยนต์ที่ 1 โดยทา
การบิด Switch Engine Control 1 ให้อยูใ่ นท่า ISOLATE

รู ปที่ 63 แสดงการบิด Switch Engine Control 1 ให้อยูใ่ นท่า ISOLATE

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 63
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

หมายเหตุ การบิด Switch Engine Control 1 ให้อยูใ่ นท่า ISOLATE นั้นจะยังคงให้


เครื่ องยนต์ที่1 ติดอยูเ่ พื่อ Charge Battery และควบคุมให้ Compressor 1 ทางานช่วย
เครื่ องยนต์ที่ 2 ต่อไปได้ เมื่อทาการ Cut Out TM. ลูกใดลูกหนึ่ง ระบบควบคุมจะลด
กาลังเครื่ องยนต์ที่ Cut Out TM ไปประมาณ 30%
5. การงดใช้การ TM ของเครื่ องยนต์ที่ 2
ในขณะที่ทาขบวนรถจักรแสดงอาการ ตัดไฟลง TM. ลดรอบเครื่ องยนต์
และมีหลอดสัญญาณติดแสดงตามรู ปที่ 59 แต่หลอดสัญญาณ Ground relay Tripped จะ
ติดร่ วมกับ General Warning No.2 แสดงว่าอาจเกิดการ Ground ที่ TM 4,5,6 ลูกใดลูก
หนึ่งให้ทาการ Reset ตามขั้นตอนข้อ 2 และ 3 จากนั้นให้ทาตามขั้นตอนต่อไปนี้
5.1 บิด Switch cut out TM.6 ในตูไ้ ฟฟ้ าหน้า Cab 2 และห้ ามขัดด้านลบของ
TM.6 เนื่องจากจะเป็ นการตัดวงจรของระบบป้ องกันไป (ตัด Ground Relay 2 ออกจาก
ระบบ)

รู ปที่ 64 แสดงจุดติดตั้ง Switch MCO ซึ่งอยูใ่ นตาแหน่งงดใช้ TM 6

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 64
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

ให้ทดลองทาขบวนต่อและในขณะที่ทาขบวนรถจักรแสดงอาการ ตัดไฟลง
TM. ลดรอบเครื่ องยนต์และมีหลอดสัญญาณติดแสดงตามรู ปที่ 59 แต่หลอดสัญญาณ
Ground relay Tripped จะติดร่ วมกับ General Warning No.2 แสดงว่าอาจเกิดการ
Ground ที่ TM 4 หรื อ5 ให้ทาการ Reset ตามขั้นตอนข้อ 2 และ 3 จากนั้นให้ทาตาม
ขั้นตอนต่อไปนี้
5.2 บิด Switch cut out TM.5 ในตูไ้ ฟฟ้ าหน้า Cab 2
5.2.1 ใช้ฉนวนสวมไปที่ Contact ด้านลบของ TM 5 (ด้านซ้าย) ที่
Reversing drum ซึ่งอาจเป็ นกระดาษหนาๆ ม้วนเป็ นวงกลม หรื อตัดขวดน้ าพลาสติก

รู ปที่ 65 แสดงการบิด MCO ในตาแหน่งงดใช้ TM 5


และใช้ฉนวนสวมไปที่ Contact ด้านลบของ TM 5

ให้ทดลองทาขบวนต่อและในขณะที่ทาขบวนรถจักรแสดงอาการ ตัดไฟลง
TM. ลดรอบเครื่ องยนต์และมีหลอดสัญญาณติดแสดงตามรู ปที่ 59 แต่หลอดสัญญาณ
Ground relay Tripped จะติดร่ วมกับ General Warning No.2 แสดงว่าอาจเกิดการ
Ground ที่ TM 4 ให้ทาการ Reset ตามขั้นตอนข้อ 2 และ 3 จากนั้นให้ทาตามขั้นตอน
ต่อไปนี้
คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 65
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

5.3 บิด Switch cut out TM.4ในตูไ้ ฟฟ้ าหน้า Cab 2


5.3.1 ใช้ฉนวนสวมไปที่ Contact ด้านลบของ TM 4 (ด้านซ้าย) ที่
Reversing drum ซึ่งอาจเป็ นกระดาษหนาๆ ม้วนเป็ นวงกลม หรื อตัดขวดน้ าพลาสติก

รู ปที่ 66 แสดงการบิด MCO ในตาแหน่งงดใช้ TM 4


และใช้ฉนวนสวมไปที่ Contact ด้านลบของ TM 4

ให้ทดลองทาขบวนต่อและในขณะที่ทาขบวนรถจักรแสดงอาการ ตัดไฟลง
TM. ลดรอบเครื่ องยนต์และมีหลอดสัญญาณติดแสดงตามรู ปที่ 59 แต่หลอดสัญญาณ
Ground relay Tripped จะติดร่ วมกับ General Warning No.2 แสดงว่าอาจเกิดการ
Ground ที่ TM มากกว่า 1 ลูก ให้ทาการ Reset ตามขั้นตอนข้อ 2 และ 3 จากนั้นให้งดใช้
ระบบควบคุมการจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบั Traction Motor ของเครื่ องยนต์ที่ 2 โดยทา
การบิด Switch Engine Control 2 ให้อยูใ่ นท่า ISOLATE

คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 66
คู่มือการงดใช้ Traction Motor รถจักรดีเซลไฟฟ้ า

รู ปที่ 67 แสดงการบิด Switch Engine Control 2 ให้อยูใ่ นท่า ISOLATE

หมายเหตุ การบิด Switch Engine Control 2 ให้อยูใ่ นท่า ISOLATE นั้นจะยังคงให้


เครื่ องยนต์ที่1 ติดอยูเ่ พื่อ Charge Battery และควบคุมให้ Compressor 2 ทางานช่วย
เครื่ องยนต์ที่ 1 ต่อไปได้ เมื่อทาการ Cut Out TM. ลูกใดลูกหนึ่ง ระบบควบคุมจะลด
กาลังเครื่ องยนต์ที่ Cut Out TM ไปประมาณ 30%
สรุปขั้นตอนการงดใช้ Traction Motor ของรถจักร GEA
1.นาคันเร่ งรอบ (Throttle Handle) ไว้ตาแหน่ง Idle และเลื่อนคันกลับอาการ (Reverser)
ไว้ตาแหน่ง F หรือ B
2.กด Switch Reset ถ้าไม่หายให้ Reset ที่ตวั Ground Relay
3.บิด Switch MCO เพื่อเลือกงดใช้ TM ลูกที่ตอ้ งการ
4.นาฉนวนขัดด้าน ‚ ลบ ‛ ที่ Finger ด้านซ้ายของ Reversing Drum ของ Traction Motor
ลูกที่ทาการงดใช้การ ( ถ้างดใช้การ TM 1 และ 6 ไม่ตอ้ งขัดด้าน ‚ ลบ ‛ ที่ Finger ของ
Reversing Drum )
5.ทดลองจ่ายกระแสไฟลง Traction Motor หากเกิดการ Ground ให้กลับไปดาเนินการ
ตามข้ อ 4 (4.1-4.3) เครื่ องยนต์ที่ 1 หรื อ ข้ อ 5 (5.1-5.3) เครื่ องยนต์ที่ 2
คณะทางานจัดการองค์ความรู ้ฝ่ายการช่างกล 67
0123451647178
!"#$$%&')(*+-,.+/012$'3%4657%#
48919:/8%-8);-/-<-'8-=>4?'@9:=/$$%()2?7#
>A#
*B9CC=>>5-#!"#2-,?C$'-(/C(/'.+/#
01D6/EFG%H
I2--+-,J!""KLMN#!O#PQRSMSTUJ!PV##-$W-6-2--$'-#
X<-')'YZ-'+Z<57%8-'#[\]^_`Z?575'6)(#
#Ia#0-/$B:B*bbI##1.'+(A8C-'A)#
c2--+-,J!""KLMN#!O#PQRSMSTUJ!PV##-$W-6-2--$'-#
Z-'+Z<57%8-'#[\]^_`Z?575'6)(I#0d-$F%#
$B:B*bbc##1#?5'@9<06:6-,C-'=>>5-.''-92H
#
#

You might also like