You are on page 1of 20

การสร้าง ใน

ภาษาไทย

คำ
สมาส - สนธิ
คำสมาส

๑.สมาสแบบสมาส ๒.สมาสแบบสนธิ
่ ลืนเสยี ง)
(ไมก (กลืนเสยี ง)

๒.๑ สระสนธิ

๒.๒ พยัญชนะสนธิ

๒.๓นิ คหิต (–ํ) สนธิ


คำสมาส
(อา่ นวา่ สะ-หมาด)

คือคำที่นำเอาภาษาบาลี –สันสกฤตตังแต
้ ่ ๒ คำ
ขึ้นไปมาเรี ยงกัน ตอ
้ งเป็น ภาษาบาลี –สันสกฤต
้ และมีความหมายเก่ียวกัน
เทา่ นัน
คำที่ ลงท้ายด้วยคำด้านล่างนี้ สว
่ นมากมัก
เป็นคำสมาส
ศกึ ษา = สังคมศก ึ ษา พลศก ึ ษา
ศาสตร์ = ศก ึ ษาศาสตร์ มนุ ษยศาสตร์
กรรม = วิศวกรรม สถาปัตยกรรม
ภาพ = มิตรภาพ ชีวภาพ
ภัย = วาตภัย อุทกภัย
ศลิ ป์ = นาฏศลิ ป์ วิจิตรศลิ ป์
วิทยา = ชีววิทยา จิตวิทยา
กร = จิตรกร
ข้อสั งเกต
ก. ต้องเป็ นคำที่ มาจากภาษาบาลี –
บาลี +
สั
บาลี
นสกฤตเท
ราช ่ า
(พระเจ นา
้ ั ้ น
แผ น
่ ดิ น ) + ฐาน ่อยู)่ = ที่อยูข่ อง
(ที
พระเจา้ แผน ่ ดิน
สันสกฤต + อรรถ (เนื้ อความ) + รส (ความไพเราะ)=ถอ ้ ยคำ
บาลี ที่เกิดความ
บาลี + ซาบซ ้ ึง
หัตถ (มือ) + กรรม (การกระทำ) = งานชา่ งที่
สันสกฤต ทำดว้ ยมือ
สันสกฤต + เกษตร (ที่ดิน, ไร่, นา) + กรรม (การกระ
สันสกฤต ทำ) การใชท ้ ่ีดินเพาะปลูก
ข้อสั งเกต

๒. มักแปลความจากหลังไปหน้า

ตัวอย่าง
มหาราช หมายถึง ราชาผูย้ งิ่ ใหญ่
วาทศลิ ป์ หมายถึง ศลิ ปะของถอ ้ ยคำ
ปัจฉิมวาจาหมายถึง คำพูดครัง้ สุดทา้ ย
ข้อสั งเกต
๓. ท้ายศัพท์ตัวแรกห้ามใสรู่ ปสระ อะ และ
ไม้ทัณฑฆาต
ตัวอย่าง ธุระ + กิจ ธุรกิจ
วาทะ + ศิลป์ วาทศิลป์
ครุ ศาสตร์ + บัณฑิต ครุ ศาสตรบัณฑิต

ยกเว้น คำวา่ “กิจจะลักษณะ” มาจาก กิจจะ (ป.) +


ลักษณะ (ส.)
ข้อสั งเกต
๔. ออกเสยี งสระที่ทา้ ยศั พทต
์ ั วแรกหรื อออก
เสยี ง อะ อิ อุ กลางคำ
ตัวอย่าง
อุณหภูมิ อา่ นวา่ อุน – หะ – พูม
ประวัติศาสตร์ อา่ นวา่ ประ – หวัด –
ติ – สาดมาตุภูมิ อา่ นวา่ มา – ตุ –
พูม
ข้อสั งเกต
๕. คำวา่ วร, พระ ตามด้วยภาษาบาลี –
สั นสกฤตถือเป็ นคำสมาส เพราะ “พระ” แผลง
มาจาก “วร”
ตัวอย่าง
วรกาย วรชายา
พระโอษฐ์ พระนาสก ิ
พระกรรณ พระบาท
ยกเว้น คำที่ประสมกับคำที่มาจากภาษาอื่น ไมถ ่ ือวา่
เป็นคำสมาส
และคำที่ข้ึนตน
้ ดว้ ยพระ ที่เป็นยศฐา บรรดาศั กดิ์ ไม่
ทดสอบ

พุทธ + โอวาท พุทโธวาท


วิทยา + อาคม วิทยาคม
คณะ + อาจารย ์ คณาจารย ์
กรฎ + อาคม กรฎาคม
ฆาต + กร ฆาตกร
ฉัตร + มงคล ฉัตรมงคล
สมาสแบบสนธิ
(กลื นเสียง)

ารนำคำบาลี -สั นสกฤต มาเช่ื อม หรือกลมกลื นเส

๒.๑ สระสนธิ ๒.๒ พยัญชนะสนธิ ๒.๓นิ คหิต (–ํ) สนธิ


๑. สระ
สนธิ
๑.๑ ตัดสระพยางคห
์ น้าใชส
้ ระพยางคห
์ ลัง
หิ มะ + อาลัย
หิ มาลัย

-ะ เป็น ิป
๑.๒ เปลี่ยน สระประชาธ -าไประชา +
อธิปไตย ตย

ราชู ปถัมภ์
๑.๔ ตัดสระทา้ ยคำหน้าใชส้ ระพยางคต
์ น
้ คำหลัง
เปลี่ยนสระพยางคต ์ น
้ คำหลัง
ตัวอย่าง

มหา + อิส เป็น มเหส ี
ปรม + อินทร์ เป็น
ปรเมนท
ร์
๑.๕เปลี่ยนสระพยางคท ์ า้ ยของคำหน้าเป็น
พยัญชนะ ธันวาค
อิ อี เป็น ย / อุ อู เป็น ว ม
ตัวอยา่ ง ธนู + อาคม เป็น ก ิ ตยา
๒.พยัญชนะ
สนธิ
๒.๑ แปลงพยัญชนะทา้ ยคำหน้าจาก ส เป็น
สระโอ มโนภา
ตัวอยา่ ง พ
มนส + ภาพ เป็นยโสธร
 ยสส + ธร เป็ น
๒.๒ ลบพยางคส์ ุดทา้ ยของคำหน้าทิ้ง ส ตัด
ออก
ตัวอย่าง นิ รภัย
นิ รส + ภัย เป็น อายุ ร แพ
๓.นิ คหิ ตสนธิ
นิ คหิตสนธิกับพยัญชนะของวรรค ให้
เปลี่ ยนนิ คหิตเป็นพยัญชนะตัวสุ ดท้ายของ
แต่ละวรรค (ง ญ ณ น ม)
ตัวอย่าง
ส ํ + จร เป็น สญ + จร = สัญจร 
ส ํ + นิ บาต เป็น สน + นิ บาต = สันนิ บาต
ตัวอย่าง
สนธิ วรรค สนธิ วรรค
กะ จะ
(ก ข ค ฆ ง) (จ ฉ ช ฌ
ส ํ + ขาร
ญ)
สั งขาร ส ํ + จร
สั ญจร
ส ํ + เกต
สั งเกต สัสญญา
ํ + ญา
ตัวอย่าง
สนธิ วรรค สนธิ วรรค
ฏะ ตะ
(ฏ ฐ ฑ ฒ (ต ถ ท ธ
ณ) น)
สัส ํ ณฐา ส ํ + ธาน
+ ฐาน สั นธาน
น สั นนิ วา
ส ํ + นิ วาส

ตัวอย่าง
สนธิ วรรค
ปะ นิ คหิ ตสนธิกับสระ
(ป ผ พ ภ ให้เปลี่ ยนนิ คหิ ต
ม) เป็น ม
ตัวอย่าง  
สัสมบ
ํ + บัั ตติิ
ส ํ + อาคม เป็น
สม + อาคม =
สัสมภพ
ํ + ภพ สมาคม 
ส ํ + อุทัย เป็น
สรุ ป
๑.ดูชาติคำเป็นภาษาบาลี – สันสกฤตเท่านั้น
๒.มักแปลความจากหลังไปหน้า
๓.ไมม่ ี อะ / ทัณฑฆาต ระหวา่ งคำ
๔ออกเสยี งสระ อุ อิ อะ ระหวา่ งคำ (สมาสแบบสนธิ เอ
อา อู โอ)
๕.พระ นำ ป., ส. เป็นคำสมาส
๖.ลงทา้ ย ศึกษา ศาสตร์ กรรม ภาพ ภัย ศิลป์
วิทยา กร
มักเป็นคำสมาส
๗.ตระกูล นิ ร, ทุ ร, ยุ ร, มโน, ยโส, รโห
จบแล้วค่ะ...

You might also like