You are on page 1of 60

หมวดวิชาที่ 4 การฝึ กปฏิบัตกิ ารป้องกัน

และควบคุมอันตราย
ประกอบด้ วยหัวข้ อวิชา
4.1 การฝึ กปฏิบตั ิการตรวจสอบความปลอดภัยตามข้อกำหนดของกฎหมาย
4.2 การฝึ กปฏิบตั ิการจัดทำขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
4.3 การฝึ กปฏิบตั ิการสอบสวนอุบตั ิเหตุและการจัด ทำรายงาน
วัตถุประสงค์
เมื่อเข้าอบรมในหัวข้อวิชานี้ แล้วผูเ้ ข้าอบรมต้องสามารถจัดทำแบบตรวจสอบความ
ปลอดภัยตามข้อกำหนดของกฎหมายได้ จัดทำขั้นตอนการปฏิบตั ิงานได้ สอบสวน
อุบตั ิเหตุจากการทำงานและจัดทำรายงานอุบตั ิเหตุได้
กิจกรรมระหว่ างการอบรมและสื่ อการสอน
1. ทำแบบประเมินก่อนการอบรมในหลักสูตร
2. ศึกษาจากเอกสารคู่มือประกอบการอบรม
3. ศึกษาจากเอกสารเพิ่มเติม
หัวข้ อวิชา 4.1 การฝึ กปฏิบัตกิ ารตรวจสอบความปลอดภัยตามข้ อ
กำหนดของกฎหมาย
ประกอบด้ วยเรื่อง
4.1.1 ฝึ กปฏิบตั ิการจัดทำแบบตรวจสอบความปลอดภัย
4.1.2 การปรับปรุ งสภาพและสิ่ งแวดล้อมในการทำงานด้วยรู ปแบบ WISE (Work
Improvement in Small Enterprises)
แนวคิด
การตรวจสอบความปลอดภัยตามข้อกำหนดของกฎหมาย ภายในสถานประกอบ
กิจการของตนเองจะเป็ นเครื่ องมือที่สถานประกอบกิจการใช้ประเมินตนเองว่าปฏิบตั ิตาม
กฎหมายได้ถูกต้องครบถ้วนหรื อไม่ ทั้งยังเป็ นประโยชน์ในการติดตามผลการแก้ไข
ปรับปรุ งอีกด้วย นอกจากการตรวจสอบตามข้อกำหนดของกฎหมายแล้ว ผูเ้ ข้ารับการฝึ ก
อบรมสามารถดำเนินการปรับปรุ งสภาพและสิ่ งแวดล้อมในการทำงานด้วยรู ปแบบ WISE
ได้
วัตถุประสงค์
เมื่อเข้ารับการอบรมในหัวข้อวิชานี้ แล้วผูเ้ ข้ารับการอบรมต้องสามารถจัดทำแบบ
ตรวจสอบความปลอดภัยตามข้อกำหนดของกฎหมายด้วยตนเองได้ประยุกต์ใช้แบบตรวจ
สอบความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการของตนเองได้
เรื่องที่ 4.1.1 ฝึ กปฏิบัตกิ ารจัดทำแบบตรวจสอบความปลอดภัย

หลังจากที่ผเู ้ ข้าอบรมได้ศึกษากฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพ


แวดล้อมในการทำงานในหมวดวิชาที่ 2 แล้ว ผูเ้ ข้ารับการอบรมต้องศึกษารายละเอียดของ
กฎหมายแต่ละฉบับ เพื่อให้เข้าใจว่ากฎหมายกำหนดให้นายจ้างต้องดำเนินการเรื่ องอะไร
ดำเนินการอย่างไรแล้วพิจารณาข้อกำหนดแต่ละข้อนำมาตั้งคำถาม เพื่อการจัดทำแบบ
ตรวจสอบความปลอดภัยตามข้อกำหนดของกฎหมาย ดังตัวอย่างแบบตรวจสอบความ
ปลอดภัย ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่ อง ความปลอดภัยในการทำงานในหัวข้อ
วิชา 2.2
เรื่องที่ 4.1.1 ฝึ กปฏิบัตกิ ารจัดทำแบบตรวจสอบความปลอดภัย
(ต่ อ)
การฝึ กปฏิบัติ
แบ่งกลุ่มผูเ้ ข้ารับการอบรมออกเป็ นกลุ่มๆ ละ 8-10 คนโดยอาจพิจารณาตาม
ประเภทกิจการที่มีลกั ษณะใกล้เคียงกันก็ได้
วิทยากรให้คำแนะนำให้แต่ละกลุ่มเลือกกฎหมายความปลอดภัยในการทำงานที่
เกี่ยวข้องกับกิจการ 1 ฉบับ ให้สมาชิกกลุ่มช่วยกันพิจารณารายละเอียดของข้อกฎหมายที่
กำหนดไว้
สมาชิกกลุ่มระดมสมองเลือกประเด็นสำคัญที่จะนำมาสร้างแบบตรวจสอบความ
ปลอดภัย แล้วช่วยกันร่ างแบบตรวจสอบความปลอดภัยขึ้น
นำเสนอแบบตรวจสอบความปลอดภัยในการทำงานรายกลุ่ม โดยวิทยากรช่วยให้
คำแนะนำและปรับปรุ งให้เหมาะสม
เรื่องที่ 4.1.1 ฝึ กปฏิบัตกิ ารจัดทำแบบตรวจสอบความปลอดภัย
(ต่ อ)
จากการฝึ กปฏิบตั ิการจัดทำแบบตรวจสอบความปลอดภัยในเรื่ องที่ 4.1.1 แล้ว
แต่ละกลุ่มจะได้แบบตรวจสอบความปลอดภัยในการทำงานตามข้อกำหนดของกฎหมาย
กลุ่มละ 1 ฉบับ ให้แต่ละกลุ่มฝึ กการใช้แบบตรวจสอบดังกล่าวในสถานที่จริ งหรื อสถาน
ที่จำลอง
ในกรณี ที่เป็ นสถานที่จำลองให้วิทยากรเตรี ยมสื่ อการสอนให้เหมาะสม เพื่อให้ผู้
เข้ารับการอบรมสามารถใช้แบบตรวจสอบความปลอดภัยได้อย่างครบถ้วนและ
ครอบคลุมทุกกลุ่ม
เรื่องที่ 4.1.2 การปรับปรุงสภาพและสิ่ งแวดล้ อมในการทำงานด้ วยรู ป
แบบ WISE (Work Improvement in Small Enterprises)
การปรับปรุ งสภาพและสิ่ งแวดล้อมในการทำงานด้วยรู ปแบบ WISE (Work Improvement in Small
Enterprises) เป็ นรู ปแบบซึ่งพัฒนาขึ้นโดยผูเ้ ชี่ยวชาญขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International
Labour Organization หรื อ ILO) เครื่ องมือสำคัญที่ใช้ในการค้นหาสิ่ งที่สามารถดำเนินการปรับปรุ งได้ในสถาน
ที่ทำงานคือ แบบสำรวจจำนวน 46 ข้อ ซึ่งแต่ละข้อจะมิใช่เป็ นเพียงแบบตรวจเพื่อค้นหาปัญหาเท่านั้น แต่จะ
ช่วยชี้แนวคิดในการดำเนินการปรับปรุ งสภาพและสิ่ งแวดล้อมในการทำงาน โดยผูเ้ ชี่ยวชาญขององค์การ
แรงงานระหว่างประเทศ ได้แก่ J.E Thurman, A.E. Louzine และ K. Kogi ได้เรี ยบเรี ยงคู่มือ “Higher
Productivity and A Better Place to Work – Practical ideas for owners and managers of small and medium-
sized industrial enterprises” เพื่อใช้อธิบายการปรับปรุ งสภาพและสิ่ งแวดล้อมในการทำงานด้วยรู ปแบบ WISE
ซึ่ง ดร.ชัยยุทธ ชวลิตนิธิกลุ และคณะ ได้เรี ยบเรี ยงเป็ นภาษาไทย ชื่อว่า “การเพิ่มผลผลิตและการปรับปรุ งสถาน
ที่ทำงาน-แนวปฏิบตั ิสำหรับเจ้าของและผูจ้ ดั การสถานประกอบกิจการขนาดเล็กและขนาดกลาง” ซึ่งแนวคิดใน
การปรับปรุ งส่ วนใหญ่จะเป็ นสิ่ งที่ปรับปรุ งได้ง่าย (Simple) เป็ นสิ่ งที่สามารถดำเนินการปรับปรุ งแก้ไขได้โดย
อาศัยภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่น (Practical) และเป็ นการปรับปรุ งที่ไม่มีค่าใช้จ่ายหรื อมีค่าใช้จ่ายน้อย (Low
cost) ซึ่งอาจกล่าวได้วา่ เป็ นการปรับปรุ งตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
เรื่องที่ 4.1.2 การปรับปรุงสภาพและสิ่ งแวดล้ อมในการทำงานด้ วยรู ป
แบบ WISE (Work Improvement in Small Enterprises) (ต่ อ)
การปรับปรุ งสภาพและสิ่ งแวดล้อมในการทำงาน ประกอบด้วยเนื้ อหาวิชาการ 8
เรื่ อง ได้แก่ การจัดเก็บและขนย้ายวัสดุสิ่งของ สถานีงาน ความปลอดภัยของเครื่ องจักร
การควบคุมสารเคมีอนั ตราย แสงสว่าง สวัสดิการในการทำงาน อาคารและสถานที่ การ
จัดระบบงาน ซึ่งมีตวั อย่างแบบสำรวจพร้อมคำอธิบายแนวทางการปรับปรุ งสภาพและสิ่ ง
แวดล้อมในการทำงาน โดยผูท้ ี่สนใจสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้จากเอกสารต่อ
ไปนี้
1.หนังสื อ “ การเพิ่มผลผลิตและการปรับปรุ งสถานที่ทำงาน-แนวปฏิบตั ิสำหรับ
เจ้าของและผูจ้ ดั การสถานประกอบอุตสาหกรรมขนาดเล็กและขนาดกลาง” ซึ่ง ดร.ชัย
ยุทธ ชวลิตนิธิกลุ และคณะ ได้เรี ยบเรี ยงไว้
2. “แบบสำรวจการปรับปรุ งสภาพการทำงานในสถานประกอบการขนาดกลาง
และขนาดเล็ก” เผยแพร่ ใน www.oshthai.org
3.หนังสื อ “แนวทางการปรับปรุ งสภาพและสิ่ งแวดล้อมในการทำงานของสถาน
ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก” จัดพิมพ์โดยกรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน
หัวข้ อวิชา 4.2 การฝึ กปฏิบัตกิ ารจัดทำขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน

ประกอบด้ วยเรื่อง
4.2.1 ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
4.2.2 การฝึ กปฏิบตั ิการจัดทำขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
แนวคิด
1.ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน เป็ นการนำแนวทางการป้ องกันและการปรับปรุ ง ที่ได้
จากการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย จัดทำเป็ นมาตรฐานการทำงานที่ปลอดภัย
สำหรับงานนั้นๆ
2.การฝึ กปฏิบตั ิการจัดทำขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน เป็ นกิจกรรมกลุ่ม โดยแบ่งผูเ้ ข้า
รับการฝึ กอบรมออกเป็ นกลุ่มๆ ละประมาณ 5-10 คน ผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมในแต่ละกลุ่ม
ร่ วมกันระดมสมองค้นหาแนวทางการป้ องกันและการปรับปรุ งการทำงานให้เกิดความ
ปลอดภัยต่อสุ ขอนามัยของผูป้ ฏิบตั ิงาน เพื่อจัดทำขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
วัตถุประสงค์
เมื่อเข้ารับการอบรมหัวข้อนี้ แล้ว ผูเ้ ข้ารับการอบรมต้องสามารถ
1. จัดทำขั้นตอนการปฏิบตั ิงานได้
2. อธิบายขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่จดั ทำขึ้นได้
เรื่องที่ 4.2.1 ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน
ตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริ หารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549 ของกระทรวงแรงงาน ข้อ 3 กำหนดให้นายจ้างจัดให้มีขอ้ บังคับ
และคู่มือว่าด้วยความปลอดภัยในการทำงานไว้ในสถานประกอบกิจการ ข้อบังคับในการทำงานดังกล่าว
อย่างน้อยต้องกำหนดขั้นตอนและวิธีการทำงานที่ปลอดภัยเพื่อควบคุมมิให้มีการกระทำที่อาจก่อให้เกิด
ความไม่ปลอดภัยในการทำงาน
ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานจึงหมายถึงการกำหนดวิธีการทำงานอย่างปลอดภัยของแต่ละงาน ซึ่งผู ้
ปฏิบตั ิงานจะต้องทำงานตามลำดับที่กำหนดไว้ต้ งั แต่ข้นั ตอนแรกไปจนถึงขั้นตอนสุ ดท้าย หากพนักงานมี
การปฏิบตั ิงานลัดขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน แสดงว่าพนักงานคนนั้นมีการกระทำที่ไม่ปลอดภัย จากการ
สอบสวนอุบตั ิเหตุมกั พบว่าสาเหตุของการประสบอันตรายอันเนื่องมาจากการทำงาน เกิดจากพนักงานมี
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย
การจัดทำขั้นตอนการปฏิบตั ิงานเริ่ มต้นจากการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย โดยศึกษาและ
บันทึกขั้นตอนของงาน วิเคราะห์งานแต่ละขั้นตอนเพื่อให้ทราบถึงอันตรายที่มีอยูห่ รื อแฝงอยูใ่ นแต่ละขั้น
ตอนของงานนั้นๆ ทั้งด้านความปลอดภัยและสุ ขภาพอนามัย แล้วกำหนดแนวทางที่ดีที่สุดในการทำงาน
เพื่อที่จะลดหรื อขจัดและป้ องกันและควบคุมอันตรายเหล่านั้นในแต่ละขั้นตอนของงาน นำแนวทางที่
ปลอดภัยมาเขียนเป็ นขั้นตอนการปฏิบตั ิงานเมื่อได้ข้นั ตอนการปฏิบตั ิงานแล้ว ควรทำสำเนาไปติดไว้ที่
หน้างาน และฝึ กสอนผูป้ ฏิบตั ิงานนั้นให้เข้าใจจนสามารถปฏิบตั ิตามขั้นตอนการทำงานได้อย่างถูกต้อง
เรื่องที่ 4.2.1 ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน (ต่ อ)

วิธีการจัดทำขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน
1. เลือกงานเพื่อทำการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย ซึ่งอาจเริ่ มต้นเลือกจากงาน
ที่มีสถิติการประสบอันตรายบ่อยครั้ง หรื องานที่มีการประสบอันตรายระดับรุ นแรง หรื อ
งานที่มีลกั ษณะทำให้ผปู้ ฏิบตั ิงานอาจเสี่ ยงต่อการประสบอันตราย
2. นำขั้นตอนที่วเิ คราะห์แล้วว่าเป็ นวิธีการทำงานที่ถูกต้องและปลอดภัยมาจัดทำ
เป็ นขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
ตัวอย่ าง การจัดทำขั้นตอนการปฏิบตั ิงานยกกล่องหนังสื อเพื่อความ
ปลอดภัย
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ งานเพือ่ ความปลอดภัย
ชื่องาน ........งานขนย้ายกล่องวัสดุ...... วันที่วเิ คราะห์ ......30 มกราคม 2548......
แผนก ........บรรจุวสั ดุลงกล่อง...... ผูทำ
้ การวิเคราะห์ ......ฉัตรฟ้ า ......
การทำงานที่ถูกต้องปลอดภัย
ขั้นตอน อันตราย (การป้ องกันและปรับปรุง)

1. มองดูกล่องวัสดุประเมินน้ำ ถ้าไม่ประเมินว่ากล่องนั้นมีรูปร่ าง ขนาด และ น้ำหนัก ก่อนยกกล่องวัสดุทุกครั้งให้สงั เกตและประเมิน


หนัก เท่าไหร่ อาจทำให้ รู ปร่ าง ขนาดและน้ำหนักของกล่องนั้นๆ
1. ออกแรงมากเกินไป ทำให้ปวดหลังทันที ก่อนเสมอว่า จะยกคนเดียวไหวหรื อไม่ ถ้า
2. ล้มหงายหลังขณะยกกล่องจากท่านัง่ ไปเป็ นท่ายืน ไม่สามารถยกคนเดียวได้ให้หาคนเพิ่ม ถ้า
ยกได้ ควรยกในลักษณะเช่นใดดี

2. วางเท้าให้มนั่ คง ถ้าวางเท้าไม่มนั่ คง จะทำให้ วางเท้าให้มนั่ คง ห่างจากกันตามถนัดโดยเท้าข้าง


1. ออกแรงมากกว่าที่ควรจะเป็ นและอาจถึงขั้นทำให้ หนึ่งอยูด่ า้ นข้างของกล่องและอีกข้างหนึ่ง
ปวดหลังขึ้นทันที อยูด่ า้ นหลังของกล่อง
2. อาจหงายหลังล้มลง
3. อาจเซไปเซมาขณะยกตัวขึ้นจนไปชนสิ่ งอื่นๆและ/
หรื อล้มลงอีก

3. นัง่ ยองๆในท่าที่ถนัดและจับ เหมือนขั้นตอนที่ 2 นัง่ ยองๆหลังตรงและให้หวั เข่าอยูใ่ นท่าที่ถนัด


กล่องหนังสื อให้มนั่ คง มือจับกล่องให้มนั่ คงแขนชิดลำตัว
การทำงานที่ถูกต้ องปลอดภัย
ขั้นตอน อันตราย
(การป้ องกันและปรับปรุง)
1. ให้หลังตรง เก็บคางและเคลื่อนไหวเฉพาะเข่า
1. เหมือนขั้นตอนที่ 2 และถ้ากล่องห่างจากตัวผูย้ กมากจะ 2. ใช้กำลังของกล้ามเนื้ อขา ยกตัวขึ้นช้าๆ
ทำให้ตอ้ งออกแรงมากขึ้น 3. จับกล่องให้ชิดตัวอย่าให้ห่างตัว
2. อย่ายกในท่าโก้งโค้ง เพราะ 4. อย่าเดินหรื อเปลี่ยนทิศทางจากเดิมจนกว่าจะอยู่
4. ยกตัวขึ้นพร้อมกล่อง
2.1จะต้องออกแรงยกทั้งน้ำหนักตัวเองและน้ำหนักของ ในท่ายืนเรี ยบร้อย
หนังสื อ
กล่องที่มีวสั ดุบรรจุอยู่
2.2 หมอนรองกระดูกอาจแตกหรื อเลื่อนจากตำแหน่ง
เดิมทำให้เจ็บปวดมากและอาจต้องหยุดงาน

5. เดินไปยังตำแหน่งที่จะ 1. ถ้ามีสิ่งกีดขวาง อาจทำให้ 1. ตามองทิศทางที่ตอ้ งเดินว่ามีอะไรกีดขวางหรื อไม่


ต้องการวางกล่องวัสดุ 1.1 สะดุดล้มลง 2. เดินด้วยความเร็ วปกติ
1.2 ต้องยกขาเพื่อข้ามซึ่งอาจทำให้ตอ้ งออกแรงเพิ่มขึ้น 3. ค่อยๆขยับเท้าเปลี่ยนตำแหน่งพร้อมหมุนตัวช้าๆ
และอาจเสี ยหลัก
2. ถ้าต้องหมุนตัว ต้องระวัง
2.1 ถ้าหมุนตัวหรื อเอี้ยวตัวเร็ วไปจะทำให้เจ็บปวดหลัง
ได้
2.2 อาจชนกับคนอื่นหรื อเครื่ องมืออื่นๆ
6. วางกล่องวัสดุลง ถ้าวางโดยไม่งอเข่า ก้มแต่หลังจะทำให้มีแรงกดกระดูก 1. ค่อยๆงอเข่าลง ใช้กล้ามเนื้ อขาช่วยเช่นเดิม
สันหลัง และอาจล้มลงกล่องอาจหล่นเสี ยหาย 2. เมื่อวางกล่องเรี ยบร้อยแล้วปล่อยมือได้
ขั้นตอนที่ 2 จัดทำขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน

ขั้นตอนการปฏิบัตงิ านยกกล่องวัสดุ
ทุกครั้งก่อนยกกล่องวัสดุให้สงั เกตและประเมินรู ปร่ าง ขนาด และน้ำหนักของ
กล่องนั้นก่อนเสมอว่าสามารถยกคนเดียวไหวหรื อไม่ ถ้าไม่สามารถยกคนเดียวได้ให้หา
คนเพิ่ม หรื อใช้อุปกรณ์ช่วยยก ถ้าสามารถยกได้คนเดียว ควรยกในลักษณะเช่นใดดี
วางเท้าทั้งสองข้างให้มนั่ คง ห่างจากกันตามถนัดโดยเท้าข้างหนึ่งอยูด่ า้ นข้างของ
กล่อง และอีกข้างหนึ่งอยูด่ า้ นหลังของกล่อง
ขั้นตอนที่ 2 จัดทำขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน (ต่ อ)

นัง่ ยองๆ หลังตรงและให้หวั เข่าอยูใ่ นท่าที่ถนัด มือจับกล่องให้มนั่ คง แขนชิดลำตัว


ให้ยกตัวขึ้นพร้อมกล่องวัสดุ หลังตรง เก็บคางและเคลื่อนไหวเฉพาะเข่า โดยใช้กำลังของ
กล้ามเนื้ อขายกตัวขึ้นช้าๆ จับกล่องให้ชิดตัวอย่าให้ห่างตัว จนกว่าจะอยูใ่ นท่ายืนเรี ยบร้อย
ตามองไปยังทิศทางที่ตอ้ งเดินว่ามีอะไรกีดขวางหรื อไม่ เดินด้วยความเร็ วปกติตรง
ไปยังตำแหน่งที่จะต้องการวางกล่องวัสดุลง หากต้องการเปลี่ยนทิศทางให้ค่อยๆ ขยับ
เท้าเปลี่ยนตำแหน่งพร้อมหมุนตัวตามไปอย่างช้าๆ ค่อยๆ งอเข่าลง ใช้กล้ามเนื้ อขาช่วย
เช่นเดิม เมื่อวางกล่องเรี ยบร้อยแล้วปล่อยมือได้
เรื่องที่ 4.2.2 การฝึ กปฏิบัตกิ ารจัดทำขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน

ตัวอย่ าง นายกอ นามสกุลขอไข่ ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับ


เทคนิคของโรงงานทอผ้าไทย ได้เดินสำรวจสภาพการทำงานในแผนกต่างๆ พบว่างาน
ทำความสะอาดตูข้ ้ ีฝ้าย แผนกอัดเบลล์และตีฝ้าย พนักงานทำความสะอาดตูข้ ้ ีฝ้ายอาจเสี่ ยง
ต่อการเกิดอุบตั ิเหตุได้ จึงทำการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยสำหรับงานทำความ
สะอาดตูข้ ้ ีฝ้าย
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ งานเพือ่ ความปลอดภัย

ชื่องาน ......งานทำความสะอาดตูข้ ้ ีฝ้าย......วันที่วเิ คราะห์......13 พฤศจิกายน 2548......


แผนก ........อัดเบลล์และตีฝ้าย....... ผูทำ
้ การวิเคราะห์......นายกอ นามสกุล ขอไข่ ......
การทำงานที่ถูกต้ องปลอดภัย
ขั้นตอน อันตราย
(การป้ องกันและปรับปรุ ง)
1.ปิ ดเครื่ องและติดป้ าย ถ้าไม่ปิดเครื่ อง ส่ วนที่เคลื่อนที่ได้ของเครื่ องจักรอาจดึงส่ วนของ ต้องปิ ดสวิตช์และติดป้ าย “ห้ามเปิ ดสวิตช์ กำลังทำความ
“กำลังทำความ ร่ างกายเข้าไป และ ถ้าไม่แขวนป้ าย พนักงานอื่นอาจเปิ ด สะอาด” ใกล้ๆ กับสวิตช์
สะอาด” เครื่ อง ทำให้พนักงานที่ทำความสะอาดอยูด่ า้ นหลังได้รับ
อันตราย

2. เปิ ดฝาของตูข้ ้ ีฝ้ายออก - ขณะเปิ ดฝาของตู ้ มีเศษขี้ดา้ ยฟุ้ งกระจาย อาจเข้าสู่ ระบบทางเดิน -ใส่ ที่กรองอากาศสำหรับครอบจมูกและปากกันฝุ่ นฝ้ าย
และผลักขึ้นติดกับฝา หายใจ ทำให้เกิดการระคายเคืองในระบบทางเดินหายใจได้ ก่อนเช็ดคราบหรื อเศษวัสดุที่ติดอยูท่ ี่ฝาออก แล้ว
ของเครื่ องตีฝ้ายซึ่ งมี หรื ออาจทำให้เกิดโรคปอดจากฝุ่ นฝ้ ายได้ จึงเปิ ดฝาของตูข้ ้ ีฝ้ายออกและผลักขึ้น ให้ติดกับฝา
แผ่นแม่เหล็กติดอยู่ - ถ้ามีเศษวัสดุเกาะแผ่นแม่เหล็ก ฝาตูข้ ้ ีฝ้ายจะไม่ติดแน่นกับฝา ของเครื่ องตีฝ้าย
เครื่ อง ฝาตูข้ ้ ีฝ้ายอาจตกลงมา -ตรวจสอบว่าฝาตูข้ ้ ีฝ้ายติดแน่นกับฝาเครื่ อง
- ถ้าแผ่นแม่เหล็กที่ฝาเครื่ องเสื่ อมคุณภาพ ฝาตูข้ ้ีฝ้ายอาจตกลงมา
- ถ้าฝาตูข้ ้ ีฝ้ายตกลงมา อาจกระแทกหลัง คอ หรื อศีรษะผูป้ ฏิบตั ิ
งานได้

3.เก็บกวาดขี้ฝ้ายที่อยูภ่ ายใน ฝุ่ นขี้ฝ้าย อาจเข้าสู่ ระบบทางเดินหายใจ ทำให้เกิดการระคายเคือง มุดเข้าไปในตูข้ ้ ีฝ้าย เพื่อเก็บกวาดขี้ฝ้ายที่อยูภ่ ายในตูอ้ อก
ตูอ้ อกให้หมด ในระบบทางเดินหายใจได้ หรื อเกิดโรคปอดจากฝุ่ นฝ้ ายได้ และใส่ ถุงหรื อถังที่มีฝาปิ ด

4.ปิ ดฝาของตูข้ ้ ีฝ้ายให้สนิ ท ถ้าปิ ดฝาไม่สนิท ขี้ฝ้ายจะฟุ้ งกระจายออกนอกตูข้ ้ีฝ้ายได้ ปิ ดฝาของตูข้ ้ ีฝ้ายและตรวจสอบว่าฝาของตูข้ ้ ีฝ้ายปิ ดสนิ ท
เข้าล็อคดี
ขั้นตอนการปฏิบัตงิ านทำความสะอาดตู้ขดี้ ้ าย

1. ปรับสวิตช์ไปอยูท่ ี่ตำแหน่ง “ปิ ด” และติดป้ าย “ห้ามเปิ ดสวิตช์ กำลังทำความสะอาด”


ใกล้ๆ กับสวิตช์
2. ใส่ ที่กรองอากาศสำหรับครอบจมูกและปากกันฝุ่ นฝ้ ายก่อน
3. เช็ดคราบหรื อเศษวัสดุที่ติดอยูท่ ี่ฝาออก แล้วจึงเปิ ดฝาของตูข้ ้ีฝ้ายออกและผลักขึ้นให้
ติดกับฝาของเครื่ องตีฝ้าย และตรวจสอบว่าฝาตูข้ ้ ีฝ้ายติดแน่นกับฝาเครื่ อง
4. มุดเข้าไปในตูข้ ้ ีฝ้าย เพื่อเก็บกวาดขี้ฝ้ายที่อยูภ่ ายในตูอ้ อกและใส่ ถุงหรื อถังที่มีฝาปิ ด
5. ปิ ดฝาของตูข้ ้ ีฝ้ายและตรวจสอบว่าฝาของตูข้ ้ ีฝ้ายปิ ดสนิ ทเข้าล็อคดี
ขั้นตอนการปฏิบัตงิ านทำความสะอาดตู้ขดี้ ้ าย (ต่ อ)

กิจกรรม
แบ่งผูเ้ ข้ารับการอบรมออกเป็ นกลุ่มๆ ละ ประมาณ 5-10 คน ให้เลือกงานเพื่อจัดทำขั้น
ตอนการปฏิบตั ิงาน กลุ่มละ 1 งาน
แนวทางการตอบ
แต่ละกลุ่มเลือกงานที่จะทำ แล้วทำการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัยและขั้นตอนการ
ปฏิบตั ิงาน และนำเสนอ
หัวข้ อวิชาที่ 4.3 การฝึ กปฏิบัตกิ ารสอบสวนอุบัตเิ หตุและการจัดทำ
รายงาน
ประกอบด้ วยเรื่อง
4.3.1 การฝึ กปฏิบตั ิการสอบสวนอุบตั ิเหตุ
4.3.2 การฝึ กปฏิบตั ิการจัดทำรายงาน
แนวคิด
1. การฝึ กปฏิบตั ิการสอบสวนอุบตั ิเหตุ เป็ นกิจกรรมกลุ่มเพื่อฝึ กการสอบสวน
อุบตั ิเหตุ โดยแบ่งผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมออกเป็ นกลุ่มๆ ละประมาณ 5-10 คน ร่ วมกัน
ค้นหาปั จจัยที่เป็ นสาเหตุของการเกิดอุบตั ิเหตุ และวิเคราะห์รายละเอียดเกี่ยวกับปัจจัยที่
ทำให้เกิดอุบตั ิเหตุ พร้อมทั้งหาแนวทางดำเนินการป้ องกันควบคุมเพื่อมิให้เกิดอุบตั ิเหตุ
ในลักษณะเดิมอีก แล้วบันทึกลงในแบบรายงานการสอบสวนอุบตั ิเหตุ
2. การฝึ กปฏิบตั ิการจัดทำรายงาน เป็ นกิจกรรมกลุ่มเพื่อฝึ กรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ
การประสบอันตราย วิเคราะห์ขอ้ มูลสถิติ และจัดทำรายงานการประสบอันตราย โดยแบ่ง
ผูเ้ ข้ารับการฝึ กอบรมออกเป็ นกลุ่มๆ ละประมาณ 5-10 คน เพื่อระดมสมองในการนำ
เสนอรายงานเกี่ยวกับการประสบอันตรายในสถานประกอบกิจการ
วัตถุประสงค์
เมื่อเข้ารับการอบรมหัวข้อวิชานี้ แล้ว ผูเ้ ข้ารับการอบรมสามารถปฏิบตั ิตามกฎ
กระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริ หารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549
1. ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรื อการเกิดเหตุเดือดร้อน
รำคาญอันเนื่องจากการทำงานได้
2. รวบรวมสถิติ จัดทำรายงาน และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบอันตราย การ
เจ็บป่ วยหรื อการเกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญอันเนื่องจากการทำงานของลูกจ้างได้รายงานผล
การสอบสวนอุบตั ิเหตุ รวมทั้งเสนอแนะต่อนายจ้างเพื่อป้ องกันการเกิดเหตุได้
หัวเรื่อง 4.3.1 การฝึ กปฏิบัตกิ ารสอบสวนอุบัตเิ หตุ
ก่อนอื่นขอทบทวนเกี่ยวกับ หลักการสอบสวนอุบัตเิ หตุ ว่าวัตถุประสงค์ของการสอบสวน
อุบตั ิเหตุ คือ “การสอบสวนอุบัตเิ หตุเป็ นการค้ นหาข้ อเท็จจริงทีเ่ กิดขึน้ เกีย่ วกับ มิใช่ การหาตัวผู้
กระทำผิด”
ปัจจัยทีสำ่ คัญเกีย่ วกับการสอบสวนอุบัตเิ หตุ ประกอบด้วย
1) เวลา การสอบสวนอุบตั ิเหตุ ควรจะดำเนินการในทันทีที่มีอุบตั ิเหตุเกิดขึ้นควรสอบสวน
โดยมิชกั ช้า
2) สถานที่ การตรวจตราสถานที่ที่เกิดอุบตั ิเหตุ
3) การจัดลำดับความสำคัญ การกำหนดอุบตั ิเหตุที่ตอ้ งดำเนินการสอบสวนและผูทำ ้ การ
สอบสวน อาจดำเนินการได้ 2 ทาง ดังนี้
- กำหนดระดับความรุ นแรงของอุบตั ิเหตุ หรื อกำหนดจำนวนวันที่ตอ้ งหยุดงานเนื่องจาก
การบาดเจ็บเป็ นเกณฑ์ เช่น จะต้องดำเนินการสอบสวน เมื่ออุบตั ิเหตุที่เกิดขึ้นทำให้มีการหยุด
ทำงาน 2 วันทำงาน เป็ นต้น หรื อ
- สรุ ปการเกิดอุบตั ิเหตุทุกกรณี แล้วให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน เป็ นผูค้ ดั
เลือกว่าควรจะทำการสอบสวนอุบตั ิเหตุกรณี ใด
หัวเรื่อง 4.3.1 การฝึ กปฏิบัตกิ ารสอบสวนอุบัตเิ หตุ (ต่ อ)

4) ผู้ทำการสอบสวน ตามที่กระทรวงแรงงานได้ออกกฎกระทรวง กำหนด


มาตรฐานในการบริ หารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทำงาน พ.ศ. 2549 ข้อ6 (7) และ ข้อ12 (4) เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
ระดับหัวหน้างาน และเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค เป็ นบุคคลที่
มีหน้าที่ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรื อการเกิดเหตุเดือดร้อน
รำคาญอันเนื่องจาการทำงาน และรายงานผล รวมทั้งเสนอแนะต่อนายจ้างเพื่อป้ องกันการ
เกิดเหตุโดยไม่ชกั ช้า
ดังนั้น เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับเทคนิค ควรเป็ นผูร้ ับผิดชอบใน
การดำเนินงานด้านการสอบสวนอุบตั ิเหตุ โดยจะต้องทำงานและร่ วมมืออย่างใกล้ชิดกับ
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน ของแผนก/งานที่มีอุบตั ิเหตุเกิด
ขึ้น
หัวเรื่อง 4.3.1 การฝึ กปฏิบัตกิ ารสอบสวนอุบัตเิ หตุ (ต่ อ)

5) กระบวนการดำเนินงานสอบสวนอุบัตเิ หตุ ประกอบด้วย


1. ผูเ้ ห็นเหตุการณ์ เมื่อเกิดอุบตั ิเหตุข้ ึน ผูเ้ ห็นเหตุการณ์ตอ้ งรี บแจ้ง ให้เจ้าหน้าที่
ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างานของแผนก/งานที่เกิดอุบตั ิเหตุทราบ เมื่อเจ้า
หน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างานทราบ จะต้องแจ้งต่อผูม้ ีหน้าที่
สอบสวนตามระดับความรุ นแรงของอุบตั ิเหตุ
2. ผูม้ ีหน้าที่สอบสวนอุบตั ิเหตุ เมื่อผูม้ ีหน้าที่สอบสวนอุบตั ิเหตุได้รับแจ้งแล้ว ต้อง
รี บไปยังสถานที่เกิดเหตุพร้อมอุปกรณ์ เช่น ปากกา แผ่นรองเขียน แบบฟอร์มบันทึก
สอบสวนอุบตั ิเหตุ กล้องถ่ายภาพหรื อกล้องดิจิตอล (ถ้ามี) อุปกรณ์สำหรับปิ ดกั้นพื้นที่ที่
เกิดอุบตั ิเหตุ (กรวย เทป อื่นๆ) เป็ นต้น และตรวจสอบสถานที่ที่เกิดเหตุดว้ ยตนเอง พร้อม
ทั้งให้ผเู ้ ห็นเหตุการณ์เล่าเหตุการณ์ให้ฟังเป็ นเบื้องต้น
หัวเรื่อง 4.3.1 การฝึ กปฏิบัตกิ ารสอบสวนอุบัตเิ หตุ (ต่ อ)

3. การสอบสวน/สัมภาษณ์ ผูม้ ีหน้าที่สอบสวนอุบตั ิเหตุทำการสัมภาษณ์พนักงาน


ที่ได้รับอุบตั ิเหตุหรื อผูเ้ ห็นเหตุการณ์มากที่สุด และบุคคลที่รู้เห็นเหตุการณ์อื่นๆ โดยยึด
หลัก 5 W 1H
WHAT เกิดอะไรขึ้น อะไรเป็ นต้นเหตุ กำลังทำงานอะไร
WHY ทำไมจึงเกิดเหตุการณ์น้ นั ขึ้น
WHEN เวลาที่เกิดอุบตั ิเหตุ
WHERE สถานที่หรื อบริ เวณที่เกิดอุบตั ิเหตุ
WHO มีใครได้รับบาดเจ็บบ้าง มีใครเห็นเหตุการณ์อีกบ้าง
HOW ได้รับบาดเจ็บอย่างไร คิดว่าจะป้ องกันอุบตั ิเหตุเหตุน้ นั
ได้อย่างไร
ผูส้ อบสวน/สัมภาษณ์ ควรจะบันทึกข้อมูลต่างๆ ที่ได้ลงในแบบฟอร์มที่ได้กำหนด
ไว้ (ดังตัวอย่างที่ 1)หรื อ แบบบันทึกการสัมภาษณ์กไ็ ด้
หัวเรื่อง 4.3.1 การฝึ กปฏิบัตกิ ารสอบสวนอุบัตเิ หตุ (ต่ อ)

4. บันทึกภาพ หรื อ เขียนภาพ ผูท้ ี่สอบสวนอุบตั ิเหตุบนั ทึกภาพสถานที่เกิดเหตุ


อย่างชัดเจน เพื่อนำมาประกอบการสอบสวนอุบตั ิเหตุและการวิเคราะห์อุบตั ิเหตุ
5. ตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติม เช่น มาตรฐานการทำงาน รายงานผลการตรวจความ
ปลอดภัย รายงานการซ่อมบำรุ ง ตลอดจนการฝึ กอบรม เป็ นต้น
6. บันทึกผล บันทึกข้อมูลต่างๆ ที่ได้ลงในแบบรายงานการสอบสวนอุบตั ิเหตุ ซึ่ง
ฝ่ ายจัดการกำหนด หรื ออาจเลือกใช้แบบใดแบบหนึ่งได้จากตัวอย่างที่2-4 ของแบบ
รายงานการสอบสวนอุบตั ิเหตุ
7. วิเคราะห์อุบตั ิเหตุ นำผลการสอบสวนอุบตั ิเหตุไปดำเนินการวิเคราะห์สาเหตุ
ของอุบตั ิเหตุต่อไป การวิเคราะห์อุบตั ิเหตุต่างๆจะดำเนินการเป็ นระยะๆและมักต้องใช้
เวลาค่อนข้างมากหลังจากที่อุบตั ิเหตุเกิดขึ้นแล้ว ดังนั้น ถ้าหากการบันทึกอุบตั ิเหตุมิได้จดั
ทำอย่างละเอียดและสมบูรณ์ในทันทีอาจยากที่จะนึกย้อนกลับไปสู่ รายละเอียดของการ
เกิดอุบตั ิเหตุได้อย่างถูกต้อง
ตัวอย่างที่1 แบบบันทึกการสัมภาษณ์

1. อุบัติเหตุเกิดที่ ...............................................................ว/ด/ป ................................ เวลา..................... น.


2. สัมภาษณ์เมื่อ ว/ด/ป .................................. เวลา .............. น. ณ สถานที่ ....................................................
3. ผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อ – นามสกุล .................................................................. แผนก ......................................
4. ผู้เห็นเหตุการณ์ 1)ชื่อ – นามสกุล ............................................................... แผนก ......................................
2)ชื่อ – นามสกุล ............................................................... แผนก ......................................
3)ชื่อ – นามสกุล ............................................................... แผนก ......................................
5.ผู้บาดเจ็บ ชื่อ – นามสกุล .................................................................. แผนก ......................................
6. รายละเอียดของการเกิดอุบัติเหตุ ...................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ข้าพเจ้ าขอรับรองว่ าข้อความข้างต้นเป็นความจริง

ลงชื่อ ....................................................... ผู้ให้สัมภาษณ์


(....................................................)
วั นที่..........................................
เวลา .............. น.
ลงชื่อ ........................................................ ผู้สัมภาษณ์
(....................................................)
วั นที่..........................................
เวลา .............. น.

(ตัวจริงสำหรับผู้สัมภาษณ์ สำเนาสำหรับผู้ให้สัมภาษณ์)
ตัวอย่างที่2 แบบรายงานการสอบสวนอุบัติเหตุ
1. สถานที่เกิดอุบัติเหตุ ............................................................................ แผนก ...........................................
2. วั น/เดือน/ปี ที่เกิดอุบัติเหตุ ......... / ........ /.......... เวลา ....................... รายงานเมื่อ ....... / ......... / .......
3. รายละเอียดของผู้บาดเจ็บ
ชื่อ - นามสกุล......................................................... อายุ ...................เลขประจำตัว ..........................
ทำหน้าที่ .......................................................เข้าทำงานเมื่อ ......./ ........ / .........
อายุงานในแผนก .................ปี......... เดือน
4. ผู้เห็นเหตุการณ์
ชื่อ – นามสกุล ................................................................... แผนก ...................................................
ชื่อ – นามสกุล ................................................................... แผนก ..................................................
5. ผลของอุบัติเหตุ/ความรุนแรงของอุบัติเหตุ ทำเครื่องหมาย  ในช่อง ( ) หน้าข้อความ
( ) ตาย ( ) สูญเสียอวั ยวะ คือ ...................................................
( ) พิการบางส่วน คือ ......................................................
( ) หยุด งาน..............................ชั่วโมง ........................วั น
6. ความสูญเสีย ทำเครื่องหมาย  ในช่อง ( ) หน้าข้อความ
( ) ค่ารักษาพยาบาล...................................บาท
( ) ค่าทดแทน...............................................บาท
( ) ค่าซ่อมแซม (เครื่องจั กร, อุปกรณ์อื่นๆ)......................................................บาท
( ) ค่าใช้จ่ายอื่นๆ..............................................................................................บาท
7. รายละเอียดของการเกิดอุบัติเหตุ (อุบัติเหตุเกิดขึ้นได้อย่ างไร)
................................................... ......................................
.................................................... .....................................
.................................................... ..................................... รูปแสดงการเกิดอุบัติเหตุ
8. การวิเคราะห์สาเหตุของอุบัติเหตุ และการปรับปรุงแก้ไข
( ) การกระทำที่ไม่ปลอดภัย..........................................
.........................................................................................
( ) สภาพแวดล้อม/สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย......................................
..............................................................................................................................................................
9. ข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไข ...........................................................................................................
10. ผู้สอบสวนและรายงานอุบัติเหตุ .......................................................................
วั นที่ .......... / ......... / ..........
11. การสั่งการหรือดำเนินการของฝ่ายบริหาร ..................................................................................................
˜ ª́ ° ¥nµŠš Ȩ́3 ĝ¦ µ¥ Š µœ „ µ¦ ­ ° ­ ª œ °»˜ ´ ·Á®˜»
ªœ´š Ȩ́Á„·—° » ´˜·Á®˜»..ª ´œ ../..Á—œ º° ..../...ž......
e Áª ¨ µ............. œ . ­ ™œ µ š Ȩ́......................................................
Á¦ ¥̧œ .................................................................................................................................................................
1. ¦ µ¥¨ ³ Á° ¥̧— … °Š Ÿ¼
o—µ Áȋ /Ÿ¼ oÁ®ÈÁ
œ˜ ® „– »µ¦ r
-ºÉ° œµ¤ ­ „»¨ ............................................................................. ° µ¥»..................... Á̈ …ž¦ ³ ‹ ε˜/¦
ª́ ®´­ ......................... ..
Ÿœ „ ....................................®œoµ‡ª µ¤¦ ´ Ÿ·—  °  /š 宜oµš Ȩ́........................................................ ° µ¥»µ Š œ ...........................
2. ¦ ³ — ´‡
 ª µ¤ ¦ »œŠ ¦ … °Š ° »´˜·Á®˜»
O˜ µ¥ Oš »¡ ¡ ¨ £µ¡ O¡ ·„µ¦  µŠ­ nªœ‡ º° ...........................................................................................................
š 劵œÅ¤ nŗ oÉ́
 ª ‡¦ µª ˜ o° Š®¥»— Šµœ ................  É́ªÃ¤ Š / ª ´œ­ nª œ…Š ° ¦ nµŠ„µ¥š Ȩ́ŗ o¦´  µ— ÁÈ
‹ ............................................
3. ¦ µ¥¨ ³ Á° ¥̧— … °Š „µ¦ Á„ ·—° » ´˜·Á®˜» 6. …o° Á­ œœ °  ³ Á¡ ºÉ°„ µ¦ „ oŅ ¨ ³ „ž µ¦ j° Š „ ´œ …Š °
............................................................................................... ®ª́ ®œoµŠµœ/   iµ¥ / Ÿœ „
............................................................................................... ...............................................................................................
............................................................................................... ...............................................................................................
............................................................................................... ...............................................................................................
4. ° µ„µ¦ ¨ ³ „µ¦ ¦ ´„¬ µ Áoµ® oµš
‹œ Ȩ́ª
‡ µ¤ ž¨ ° — £¥́Ĝ µ¦ εŠ
„š µœ
............................................................................................... ...............................................................................................
............................................................................................... ...............................................................................................
............................................................................................... ...............................................................................................
5. ­ µÁ®˜„ »µ¦ Á„— · ° » ´˜ ·Á®˜ » o—
¼
Ÿ‹ ´„ µ¦ æ Š Š µœ
5.1 ­ µÁ®˜š» µŠ˜ ¦ Š ............................................................... ...............................................................................................
............................................................................................... ...............................................................................................
............................................................................................... ...............................................................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
5.2 ­ µÁ®˜š» µŠ° o° ¤ ..............................................................
...............................................................................................
...............................................................................................
............................................................................................... £ µ¡ ­ — Š„ µ¦ Á„ ·—° » ´˜·Á®˜»
¨ ³ µ¦ ¦ ´ž¦ »Â
„ž Š„ oŅ
¨Š
ºÉ°®ª́ ®œ oµŠ µœ ..................................................................
¨Š
 ºÉ°®ª́ ®œ oµ  iµ¥ ..................................................................
¨Š
 ºÉ°®ª́ ®œŸ oµÂ œ „..............................................................
¨Š
 ºÉ°Áo µ® oµš
‹œ Ȩ́ª
‡ µ¤ ž¨ ° — £ ¥́² ..........................................
¨Š
Ÿ ºÉ° ¼ o‹´—
„µ¦   iµ¥‡ » ‡.......................................................
¨
¨Š
Ÿ ºÉ° ¼
o‹´—
„µ¦ æ Š Šµœ ...........................................................
ตัวอย่างที่4 รายงานการสอบสวนอุบัติเหตุ
ประเภทอุตสาหกรรม
ชื่อสถานประกอบ
กิจการ

ที่อยู่

ชื่อเจ้าของ
จำนวน 1. จป. ระดับบริหาร…........................................ 2. จป. ระดับวิชาชีพ.....................................
บุคลากรที่เกี่ยวข้อง 3. จป. ระดับหัวหน้างาน ................................... 4. แพทย์..................................................... ....
5. พยาบาล…………………… 6. จำนวนคณะกรรมการความปลอดภัย ฯ ..............................
เวลาทำงานปกติ
จำนวนลูกจ้าง........................ ชาย.................. หญิง...................
ตั้งแต่ : ถึง :
สถานที่ วันที่ : ว/ด/ป
วันที่เกิดอุบัติเหตุ
เกิดเหตุ เวลา :
ผู้ประสบอุบัติเหตุ จำนวนผู้เสียชีวิต : จำนวนผู้สูญหาย : จำนวนผู้รับบาดเจ็บ:

จำ นวนวั นที่ หยุ ด


อายุ งานทั้ งหมด
อายุ งานแ ผนกนี้
ส่วนของร่างกาย
ชื่อผู้ประสบอุบัติเหตุ อายุ หน้าที่ สิ่งที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บ
ที่บาดเจ็บ

สรุปการเกิดอุบัติเหตุ และสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ

ชื่อ / ตำแหน่งของผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อและตำแหน่งของผู้สอบสวน

วันที่สอบสวน
(รายละเอียดการเกิดอุบัติเหตุ)

สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ (พร้อมระบุมาตรการที่มีอยู่เดิมด้วย)

คำแนะนำและความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่หรือผู้สอบสวน

(หมายเหตุ)
ตัวอย่ างกิจกรรมกลุ่มฝึ กการสอบสวนอุบัตเิ หตุ

เมื่อเวลาประมาณ 8.00 น. ของวันที่ 31 พฤษภาคม 2549 เกิด


อุบตั ิเหตุคนงานตายคากระบะวัตถุดิบ อุบตั ิเหตุครั้ งนี้เกิดที่โรงหล่อได้
หล่อดี ลูกจ้างวัย 24 ปี เสี ยชีวติ ในลักษณะส่ วนของอกติดอยูร่ ะหว่าง
กระบะวัตถุดิบและรางโลหะสำหรับนำวัสดุลงสู่ กระบะวัตถุดิบ สาเหตุ
เนื่องมาจากกระบะเลื่อนขึ้นอย่างอัตโนมัติ ขณะเกิดอุบตั ิเหตุผตู ้ ายทำงาน
อยูน่ อกอาคารโรงงานเพียงลำพังและไม่มีใครรู้วา่ เกิดอุบตั ิเหตุข้ ึน คาด
ว่าผูต้ ายได้รับบาดเจ็บสาหัสและสิ้ นใจ ณ ที่เกิดเหตุ
การสอบสวนอุบัตเิ หตุ
กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน ได้ส่งเจ้าหน้าที่ไปทำการสอบสวน
อุบตั ิเหตุทนั ทีที่ทราบข่าว สรุ ปได้วา่
(รายละเอียดการเกิดอุบ ั ติเหตุ)
อุบัติเหตุเกิดเม ื ่ อเวลา 8.00 น. ผ ู ้ ตายกำลัง
รางจ ่ ายห ิ นปูน ทำงานตามลำพังท ี ่ ลานจ่ายวัตถุดิบซ ึ ่ งอยู่นอกอาคาร
อาคาร
ราง ตำแหน ่ งผู ้ ตาย โรงงาน ดูแลการเติมวัตถุดิบลงในกระบะป ้ อน
โรงงาน สายพานลำเลียงเศษเหล็ก วัตถุดิบ กระบะน ี ้ รับวัตถุดิบจาก สายพานลำเลียง
กระบะ เศษเหล็กท ี ่ อยู่ด้านหน้าของกระบะป ้ อนวัตถุดิบ(รูป

้ อน
วัตถุดิบ ระด ั บพ ื ้ นดิ น ท ี ่ 1) และรางจ ่ ายว ั ตถ ุ ด ิ บ 2 รางท ี ่ อย ู ่ ด ้ านข้างของ
อุปกรณ ์ ตรวจจับน้ำ หน ั ก กระบะป ้ อนวัตถุดิบ(รูปท ี ่ 2) ซ ึ ่ ง ประกอบด้วยราง
รูปท ี่ 1 จ่ายถ่านโค้กและรางจ่ายห ิ นปูน ใต้กระบะป ้ อน
วัตถุดิบเป ็ นหลุม ลึกประมาณ 2 เมตร ก้นหลุมน ี ้ ติด
อุปกรณ ์ ตรวจจับน้ำ หนัก อุปกรณ ์ น ี ้ จะทำให ้
สายเคเบ ิ้ล
ราง กระบะป ้ อนวัตถุดิบเล ื ่ อนข ึ ้ นลงอัตโนมัติ เม ื่อ
รางจ่ายห ิ นป ู น
บริเวณท ี่ กระบะป ้ อนวัตถุดิบบรรทุกวัตถุดิบได้ตามน้ำ หนัก
รางจ่ายถ ่ านโค ้ ก ผ
ู ้ ตายติดอย ู่ ท ี ่ กำหนดไว้ อุปกรณ ์ ตรวจจับน้ำ หนักจะส ่ ง
กระบะ

้ อน
ส ั ญญาณไปทำให ้ รอกไฟฟ ้ าทำงาน ดึ งกระบะป ้ อน
วัตถุดิบ วัตถุดิบเคล ื ่ อนท ี่ข ึ ้ นตามราง 2 ราง
ระดับพ ื ้ นดิน ขณะเกิดอุบัติเหตุไม่มีผ ู ้ ใดเห ็ นเหตุการณ ์ ท ี่
อุปกรณ ์ ตรวจจับน้ำ หน ั ก
รูปท ี่ 2 เก ิ ดข ึ ้ น เพ ื ่ อนร ่ วมงานท ี ่ อย ู ่ ในอาคารได ้ ยิ นเส ี ยงร ้ อง
จึงว ิ ่ งออกมาและกดป ุ ่ มหยุดฉ ุ กเฉ ิ น เพ ื่อ
หยุดการทำงานของรอกไฟฟ ้ า ช่วงเวลาประมาณ 20 วินาท ี กระบะป ้ อนวัตถุดิบเคล ื ่ อนท ี่ข ึ ้ นไปได้ประมาณ
2/3 ของระยะทางเคล ื ่ อนส ู ่ ด้านบนส ุ ดของราง ส ่ วนร่างของผ ู ้ เคราะห ์ ร้ายนอนตายอยู่ ในหลุม เพ ื ่ อนร่วมงาน
ที ่ เข้ามาช่วยผ ู ้ เคราะห ์ ร้ายโทร 191 ทันท ี เม ื ่ อเวลา 8.05 น.
สถานท ี ่ เกิดอุบัติเหตุพบว่า
1. ร่างผ ู ้ เคราะห ์ ร้ายพาดอยู่ระหว่างขอบกระบะป ้ อนวัตถุดิบกั บรางจ่ายห ิ นปูน มีโลหะยื่นออก
ทางด้านหน้าของกระบะป ้ อนวัตถุดิบ และกระบะป ้ อนวัตถุดิบไม่ มีอุปกรณ ์ เพ ื ่ อป ้ องกันอันตรายจาก
เคร ื ่ องจักร( Safety Guard) เพ ื ่ อป ้ องกันอันตรายตรงจุดหน ี บ
2. อุปกรณ ์ ตรวจจับน้ำ หนักบรรท ุ ก มีการต ั ้ งให้ทำงานท ี ่ น้ำ หนักบรรท ุ ก 1200 ปอนด์ และ
วัตถุดิบท ี ่ อยู่ในกระบะป ้ อนวัตถุดิบมีน้ำ หนัก 1200 ปอนด์
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ (พร้อมระบุมาตรการที่มีอยู่เดิมด้วย)
1. สันนิษฐานว่าขณะที่กระบะป้อนวั ตถุดิบกำลังเคลื่อนตัวขึ้นอย่ างอั ตโนมัติ ผู้เคราะห์ร้ายเห็นมี
โลหะยื่นออกทางด้านหน้าของกระบะป้อนวั ตถุดิบ ผู้เคราะห์ร้ายอาจตั้งใจเข้าไปดันโลหะที่ยื่นออกมาให้ลง
ในกระบะป้อนวั ตถุดิบ ขอบกระบะป้อนวั ตถุดิบเคลื่อนกระแทกกับหน้าอกผู้เคราะห์ร้ายและยั งคงเคลื่อนที่ขึ้นไป
โรงหล่อแห่งนี้ ไม่มีเจ้ าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานตามกฎหมาย ถึงแม้ว่าจะได้กำหนด
โครงการความปลอดภัยขึ้นเป็นลายลักษณ์อั กษรก็ตาม แต่ไม่มีการกำหนดกฎระเบียบเกี่ยวกับความปลอดภัย
ในการทำงานและขั้นตอนการปฏิบัติงานที่เป็นลายลักษณ์อั กษร ดังนั้นผู้เคราะห์ร้ายจึงไม่รู้วิธีการทำงานที่ปลอดภัย
เพื่อกำจั ดชิ้นส่วนที่ยื่นออกจากกระบะป้อนวั ตถุดิบว่า ต้องหยุ ดเครื่องจั กรก่อน และเดินเข้าไปอีกด้านของ
กระบะซึ่งพ้นจากจุดหนีบ
2. กระบะป้อนวั ตถุดิบไม่มีอุปกรณ์เพื่อป้องกั นอันตรายจากเครื่องจั กร( Safety Guard) เพื่อ
ป้องกันอั นตรายตรงจุดหนีบ ดังนั้นเมื่อลูกจ้ างเข้าบริเวณเสี่ยงต่อการเกิดอั นตรายจากเครื่องจั กร เครื่องจั กร
จึงยั งคงทำงาน

คำแนะนำและความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่ หรือผู้สอบสวน
หลังจากประชุมกลุ่มและทำการวิเคราะห์ข้อมูล โรงหล่อแห่งนี้จำเป็นต้องดำเนินการดังนี้ :-
1. เพื่อป้องกันมิให้เกิดอุบัติเหตุเช่นนี้อีก นายจ้างต้องจั ดทำอุปกรณ์เพื่อป้องกันอันตรายจาก
เครื่องจั กรตามกฎหมาย การจั ดทำอุปกรณ์เพื่อป้องกันอันตรายจากเครื่องจั กรที่ดีโดย การทำรั้ว หรือคอกก ที่ั ้ มนี
ประตูเข้าออกด้านขวาของกระบะซึ่งพ้นจากจุดหนีบ ประตูทำหน้าที่เสมือนไมโครสวิตช์ ทันทีที่ประตูเปิด
ออกเครื่องจั กรจะหยุ ดทำงาน และจั ดทำขั้นตอน lock out/tag out
2. นายจ้ างต้องพัฒนา ประยุ กต์ และ กำกับดูแลโปรแกรม lockout/tag out การกำหนด
ขั้นตอน lockout/tag out ตามกฎหมายสามารถช่วยป้องกันอันตรายที่แฝงอยู่ให้กับลูกจ้ าง และต้องมีการ
บังคับใช้อย่างเคร่งครัด
3. นายจ้ างต้องจั ดให้มีการบริหารและจั ดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทำงาน ตามกฎหมาย
- มีการพัฒนาบุคลากรระดับบริหารและระดับหัวหน้างาน ให้เป็นเจ้ าหน้าที่ความปลอดภัย
ในการทำงาน ปฏิบัติงานตามที่กฎหมายกำหนด นอกจากนี้นายจ้ างต้องจั ดให้มีเจ้ าหน้าที่ความปลอดภัยใน
การทำงานระดับวิชาชีพ อย่างน้อย 1 คน เพื่อปฏิบัติงานเฉพาะด้านความปลอดภตามท ั ย ี ่ กฎหมายกำหนด
- จั ดให้มคี ณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
ปฏิบัติตามกฎหมาย โดยมี กรรมการไม่น้อยกว่า 7 คน ประกอบด้วย นายจ้ างหรือผู้แทนนายจ้างระดับบริหาร
เป็นประธานกรรมการ ผู้แทนนายจ้ างระดับบังคับบัญชา2 คน และผู้แทนลูกจ้ าง 3 คน เป็นกรรมการ โดยมี
เจ้ าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ เป็นกรรมการและเลขานุการ
(หมายเหตุ)
1. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่ อง ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่ องจักร
หมวด 1 ข้อ 10 ให้นายจ้างจัดทำรั้ว คอกกั้น หรื อเส้นแสดงเขตอันตราย ณ ที่ต้ งั ของ
เครื่ องจักร หรื อเขตที่เครื่ องจักรทำงานที่อาจเป็ นอันตราย ให้ชดั เจนทุกแห่ง
หมวด 1ข้อ 6 ก่อนการติดตั้งหรื อซ่อมเครื่ งจักรหรื อเครื่ องป้ องกันอันตรายของ
เครื่ องจักร ให้นายจ้างทำป้ ายปิ ดประกาศไว้ ณ บริ เวณติดตั้งหรื อซ่อมแซม และ
แขวนป้ ายห้ามเปิ ดสวิตช์ไว้ที่สวิตช์
2. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริ หารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีว
อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549 ขอให้ศึกษารายละเอียดจากข้อ
กำหนดของกฎหมาย
รายงานการสอบสวนอุบัติเหตุ
ประเภทอุตสาหกรรมหล่อหลอมโลหะ
ชื่อสถาน โรงหล่อได้หล่อดี
ประกอบกิจการ
ที่อยู่ เลขที่ 22/22 หมู่ 10 ภาษีเจริญ กรุงเทพ
ชื่อเจ้าของ นายรอด ไปไม่รอด
จำนวน 1. จป. ระดับบริหาร…...... 0 ................... 2. จป. ระดับวิชาชีพ... 0 ........................
บุคลากรที่ 3. จป. ระดับหัวหน้างาน ... 0 ....................... 4. แพทย์..... 0 ................................ .........
เกี่ยวข้อง 5.พยาบาล… 0 ……… จำนวนคณะกรรมการความปลอดภัย ฯ ..... 0 .....................
เวลาทำงานปกติ
จำนวนลูกจ้าง..... 120 ........ ชาย...100 ........ หญิง..... 20 ........
ตั้งแต่ : 6.00 น. ถึง : 18.00 น.
สถานที่ เกิด วันที่ : 31/05/2549
ลานจ่ายวั ตถุดิบ นอกอาคารโรงงาน วันที่เกิดอุบัติเหตุ
เหตุ เวลา : 8.00 น.
ผู้ประสบอุบัติเหตุ จำนวนผู้เสียชีวิต : 1 จำนวนผู้สูญหาย : 0 จำนวนผู้รับบาดเจ็บ: 0

จำ นวนวั นที่ หยุ ด


อายุ งานทั้ งหมด
อายุ งานแผนกนี้
ชื่อผู้ประสบ ส่วนของร่างกาย สิ่งที่ทำให้เกิด
อายุ หน้าที่
อุบัติเหตุ ที่บาดเจ็บ การบาดเจ็บ

ดูแลการเติมวั ตถุดิบ ตามมรณบัตร ร่างกาย กระบะป้อนวั ตถุดิบและ


นายงอ 24 6 ด. 6 ด. -
ลงกระบะฯ ส่วนมากบาดเจ็ บ รางจ่ายหินปูน
สรุปการเกิดอุบัติเหตุ และสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ
ลูกจ้ างเข้ าไปดั นโลหะที่ยื่นออกมาให้ลงในกระบะป้อนวั ตถุดิบขณะที่รอกไฟฟ้ากำลั งดึงกระบะขึ้น ขอบกระบะจึง
เคลื่อนกระแทกกับหน้าอกลูกจ้ างและกระบะยั งคงเคลื่อนที่ขึ้นไป ทำให้ลูกจ้ างถูกกระบะและรางจ่ายหินปูนหนีบ
นายจ้ างไม่ปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับ
1. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจั กร
1.1 หมวด 1 ข้ อ 10 ให้นายจ้ างจั ดทำรั้ว คอกกั้น หรือเส้นแสดงเขตอั นตราย ณ ที่ตั้งของเครื่องจั กร หรือ
เขตที่เครื่องจั กรทำงานที่อาจเป็นอั นตราย ให้ชัดเจนทุกแห่ง
1.2 หมวด 1ข้ อ 6 ก่อนการติดตั้งหรือซ่อมเครื่งจั กรหรือเครื่องป้องกั นอั นตรายของเครื่องจั กร ให้นายจ้ าง
ทำป้ายปิดประกาศไว้ ณ บริเวณติดตั้งหรือซ่อมแซม และแขวนป้ายห้ามเปิดสวิตช์ไว้ ที่สวิตช์
2. กฎกระทรวงกำหนด มาตรฐานในการบริหารและจั ดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549
ชื่อ / ตำแหน่งของผู้ให้สัมภาษณ์ ชื่อและตำแหน่งของผู้สอบสวน
นายสงวนนาม ผู้จั ดการโรงงาน นางสิริลั กษณ์ เจติยานุวั ตร นักวิชาการแรงงาน
วันที่สอบสวน 01 / 06 / 2549 01 / 06 / 2549
หัวเรื่อง 4.3.2 การฝึ กปฏิบัตกิ ารจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการประสบอันตราย เป็ นสิ่ งจำเป็ นในการบริ หารงานความ
ปลอดภัย และเป็ นข้อมูลที่ใช้สำหรับการวิเคราะห์อุบตั ิเหตุ การเฝ้ าระวังโรคหรื อระบาด
วิทยา การรณรงค์ส่งเสริ มความปลอดภัย การบ่งชี้แนวโน้มการเกิดอุบตั ิเหตุในอนาคต
ตลอดจนการจัดทำแผนงานและโครงการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ
การรวบรวมสถิติอุบตั ิเหตุที่เกิดขึ้นในสถานประกอบกิจการทำให้ทราบถึง จำนวน
อุบตั ิเหตุที่เกิดขึ้นประเภทของอุบตั ิเหตุ ความรุ นแรงของอุบตั ิเหตุ อุบตั ิเหตุใดเกิดขึ้นบ่อย
ที่สุดในช่วงเวลาใดหรื อสถานที่ใด อุบตั ิเหตุเกิดขึ้นกับพนักงานประเภทใด กลุ่มใด อายุ
เท่าไร  สาเหตุจากปั จจัยสิ่ งแวดล้อมใดที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะช่วยให้มองเห็นสถานการณ์ที่เป็ น
อยูข่ องสถานประกอบกิจการของตน ดังนั้นปัจจัยที่จะทำให้ได้ขอ้ มูลที่ดีและถูกต้องเพื่อ
ใช้อา้ งอิงหรื อสนับสนุนในการจัดทำแผนการป้ องกันได้อย่างมีเหตุมีผล ประกอบด้วย
หัวเรื่อง 4.3.2 การฝึ กปฏิบัตกิ ารจัดทำรายงาน (ต่ อ)

1. แหล่งข้ อมูลของการประสบอันตราย
สถานประกอบกิจการแต่ละแห่งมีแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับความปลอดภัยมากมาย ซึ่ง
หาได้จากห้องพยาบาลฝ่ ายบุคคลหรื อฝ่ ายทรัพยากรบุคคล  ฝ่ ายซ่อมบำรุ ง ฝ่ ายผลิต  ฝ่ าย
ฝึ กอบรมและพนักงานในสถานที่ทำงานข้อมูลที่มีอยู่ ได้แก่ ประวัติของพนักงานทัว่ ไป 
ประวัติเกี่ยวกับสุ ขภาพ ประวัติการทำงาน สถิติการลาป่ วย  เหตุผลในการลาป่ วย การ
ทำงานล่วงเวลา  จำนวนพนักงานที่บาดเจ็บ หรื อเจ็บป่ วย ข้อมูลรายงานการประสบ
อันตรายที่แจ้งต่อสำนักงานกองทุนเงินทดแทน จำนวนวันที่หยุดงาน จำนวนเครื่ องจักรที่
ชำรุ ดความถี่ในการซ่อมแซมเครื่ องจักร  ปัญหาสาเหตุเกี่ยวกับการประสบอันตราย
ประวัติการฝึ กอบรม ความต่อเนื่องในการฝึ กอบรม ทัศนคติและพฤติกรรมของพนักงาน 
บันทึกรายงานการสอบสวนอุบตั ิเหตุ  เป็ นต้น
หัวเรื่อง 4.3.2 การฝึ กปฏิบัตกิ ารจัดทำรายงาน (ต่ อ)

2. การรวบรวมข้ อมูล
จะเห็นได้วา่ แหล่งข้อมูลดังกล่าวข้างต้นอยูอ่ ย่างกระจัดกระจาย ทำให้ไม่สามารถ
เห็นภาพของสาเหตุการประสบอันตรายอย่างชัดเจนได้ ดังนั้น ผูม้ ีหน้าที่รับผิดชอบควร
เก็บรวบรวมสถิติการประสบอันตราย จัดหมวดหมู่ของข้อมูลที่มีและกำหนดหน่วยนับ
เพื่อใช้ประโยชน์ในการเปรี ยบเทียบได้
หัวเรื่อง 4.3.2 การฝึ กปฏิบัตกิ ารจัดทำรายงาน (ต่ อ)

3. การจัดหมวดหมู่
สถานประกอบกิจการอาจนำการจัดหมวดหมู่ของสำนักงานกองทุนเงินทดแทน 
สำนักงานประกันสังคมที่ได้จดั ทำไว้ มาประยุกต์ใช้ดงั นี้
1) สถิตจำ
ิ นวนการประสบอันตราย จำแนกตามความร้ ายแรงรายเดือน
เพื่อประโยชน์ในการจัดการความปลอดภัยและลดความสูญเสี ย สถานประกอบ
กิจการอาจเก็บสถิติการประสบอันตรายจำแนกตามความร้ายแรงเพิ่มเติมในส่ วนนี้ให้
ละเอียดขึ้น เช่น  หยุดงานตั้งแต่ 1 วันขึ้นไปอุบตั ิเหตุไม่ถึงขั้นหยุดงาน  อุบตั ิเหตุที่ทำให้
ทรัพย์สินเสี ยหายที่มีมูลค่าตั้งแต่กี่บาทขึ้นไป ทั้งนี้เพราะ เมื่อเกิดอุบตั ิเหตุทุกครั้งมิได้
ทำให้เกิดการบาดเจ็บเสมอไป นอกจากนี้ ในเรื่ องของการป้ องกัน  ควรมีการบันทึก
เหตุการณ์ที่เกือบเป็ นอุบตั ิเหตุไว้ดว้ ย
1) การประสบอันตรายหรือเจ็บป่ วยเนื่องจากการทำงานปี 2547
จำแนกตามความร้ ายแรงรายเดือน
เดือน ตาย ทุพพลภาพ สู ญเสี ยอวัยวะ หยุดงานมากกว่ า 3 วัน หยุดงานไม่ เกิน 3 วัน รวม

มกราคม 0 0 0 33 71 104

กุมภาพันธ์ 1 0 0 84 206 291

มีนาคม 0 0 1 25 66 92

เมษายน 2 0 0 38 125 165

พฤษภาคม 1 0 0 48 165 214

มิถุนายน 0 0 1 64 156 221

กรกฎาคม 0 0 1 55 205 261

สิ งหาคม 2 0 0 82 256 340

กันยายน 1 0 0 71 339 411

ตุลาคม 0 0 0 51 237 288

พฤศจิกายน 0 0 0 41 250 291

ธันวาคม 0 0 1 40 210 251


2) สถิตกิ ารประสบอันตราย จำแนกตามแผนก/งานทีป่ ระสบอันตราย
และความร้ ายแรง
แผนก/งาน รวม ตาย ทุพพลภาพ สู ญเสี ยอวัยวะ หยุดงานมากกว่า 3 วัน หยุดงานไม่ เกิน3วัน
ช ช ช ญ ช ญ ชาย หญิง ชาย หญิง
ญ ญ

รวม
ตารางนี้ ทำให้ทราบว่า มาตรการความปลอดภัยที่ดำเนินการอยูใ่ นแต่ละแผนก/งาน
ยังไม่เป็ นไปตามมาตรฐาน จึงทำให้ลูกจ้างประสบอันตรายหรื อเจ็บป่ วยเนื่องจากการ
ทำงาน ซึ่งผูท้ ี่ทำหน้าที่กำกับ ดูแล และควบคุมเกี่ยวกับด้านความปลอดภัยในการทำงาน
ควรร่ วมกันวิเคราะห์ปัญหา เพื่อกำหนดมาตรความปลอดภัยที่ดีต่อไป
1.ตกจากท
3) สถิตกิ ารประสบอันตราย จำแนกตามสาเหตุทปี่ ระสบอันตราย
สาเหตุ
ี ่ สูง
รวม ตาย ทุพพลภาพ ส
ู ญเส
ี ยอวัยวะ หยุดงานมากกว่า 3 วัน หยุดงานไม
่ เกิน 3วัน

2.หกล้ม ล ื ่ นล้ม
3. อาคาร/
สิ ่ งก่อสร้าง
พังทลาย
4.วัตถุ/ส ิ ่ งของ
พังทลายหล่นทับ
5.วัตถุ/ส ิ ่ งของ
กระแทก ชน
6.วัตถุ/ส ิ ่ งของ
หน ี บ ชน
7.วัตถุ/ส ิ ่ งของ
หน ี บ ดึง
8.วัตถุ/ส ิ ่ งของตัด
บาด ท ิ ่ มแทง
9.วัตถุ/ส ิ ่ งของ
กระเด็นเข้าตา
10.ยกหรือ
เคล ื ่ อนย้ายของ
หนัก
11.ท่าทางทำงาน
12.อุบัติเหตุจาก
ยานหาหนะ
13.วัตถุ/ส ิ ่ งของ
ระเบิด
14.ไฟฟ ้ าช็อต
15. ผลจากความ
ร้อนสูง/สัมผัส
ของร้อน
16.ผลจากความ
เย็นจัด/สัมผัสของ
เย็น
17. สัมผัสส ิ ่ งมีพิษ
สารเคมี
18.อันตรายจาก
รังส ี
19.อ ื ่ นๆ
รวม :
4)อวั ยวะสถิตกิ ารประสบอั
รวม ตาย นทตราย จำแนกตามอวั ยวะที่ าไ่ 3ด้วั นรับหยอัุ ดงานไม
ุ พพลภาพ สูญเสียอวั ยวะ หยุดงานมากกว นตราย
่ เกิน 3 วั น

1. ตา
2. หู
3. คอ ศีรษะ
4. ใบหน้า
5. มือ
6. นิ้วมือ
7. แขน
8. ลำตัว เอว
9. หลั ง
10.ไหล่
11.เท้า ส้น
เท้า
12.นิ้วเท้า
13.ขา
14. อวั ยวะ
อื่นๆ
15.เจ็ บหลาย
ส่วน
รวม :
5) สถิตกิ รวม
สิ่งที่ทำให้
ประสบ
ารประสบอั
ตาย นทตราย จำแนกตามสิ ่ งทีุ ดงานมากกว
ุ พพลภาพ สูญเสียอวัยวะ หย ่ทำให้ ป่ า 3ระสบอั นตราย
วัน หยุดงานไม
่ เกิน 3วัน

อันตราย
เครื่องมือ
เครื่องจักร
อาคาร/
สิ่งก่อสร้าง
วั ตถุ/สิ่งของ
ท่าทางการ
ทำงาน
ยานพาหนะ
วั ตถุระเบิด
ก๊าซ
ภาชนะรับ
แรงดัน
ไฟฟ ้ าและ
อุปกรณ์ไฟฟ ้ า
สิ่งมีพิษ
สารเคมี
สภาพแวดล้อม
การทำงาน
ภัยธรรมชาติ
เชื้อโรค
คนหรือสัตว์
อื่นๆ
ผลรวม :
6) สถิตกิ ารประสบอันตราย จำแนกตามสภาพของการประสบอันตราย
สภาพ

1.กระดูกหัก
รวม ตาย ทุพพลภาพ สูญเสียอวัยวะ หยุดงานมากกว่า 3 วัน หยุดงานไม่เกิน 3วัน

2.ข้อต่อเคลื่อน
3.ข้อต่อเคล็ด
และการอักเสบ
ตึงตัวของ
กล้ามเน ื้ อ
4.การถูก
กระแทกและ
การบาดเจ็บ
ภายในอ ื ่ นๆ
5.การตัดขาด
และการเลาะ
คว้าน ทำลาย
อวัยวะ
6.บาดแผลอื่นๆ
7.บาดแผลต ื้ น
8.การฟกช้ำ
และการถูกชน
การถูกเบียด
9.บาดแผลไหม้
10การได้รับ
สารพิษ
เฉียบพลัน
11.ผลจาก
สภาพอากาศ
การสัมผัส และ
สถานะท ี่
เกี ่ ยวข้อง
12.หายใจไม่
ออกเน ื ่ องจาก
โลหิตขาด
ออกซิเจน
13.กระแสไฟฟ ้ า
14.ผลกระทบ
จากรังสี
15.หลายสาเหตุ
16.อื่นๆ
รวม :
7) สถิตกิ ารประสบอันตราย จำแนกตามกลุ่มอายุ
กลุ่มอายุ รวม ตาย ทุพพลภาพ สู ญเสี ยอวัยวะ หยุดงานมากกว่ า 3 วัน หยุดงานไม่ เกิน 3วัน

15 - 19

20 -29

30 - 39

40 -49

50 - 59

รวม
หัวเรื่อง 4.3.2 การฝึ กปฏิบัตกิ ารจัดทำรายงาน (ต่ อ)

4. การนำเสนอข้ อมูลการประสบอันตราย
การนำเสนอข้อมูลการประสบอันตราย เพื่อให้ผูท้ ี่เกี่ยวข้องและพนักงานทุกๆ
ระดับได้รับทราบข่าวสารและสถานการณ์อุบตั ิเหตุที่เกิดขึ้นในสถานประกอบกิจการของ
ตน ตลอดจนความสู ญเสี ยหรื อความเสี ยหายที่เกิดขึ้นในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง จะ
เป็ นเครื่ องเตือนใจให้ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องตระหนักถึงอันตรายและสร้างจิตสำนึกด้านความ
ปลอดภัย ดังนั้น การนำเสนอข้อมูลดังกล่าวอาจนำเสนอในรู ปแบบของตัวเลขตาราง
แผนภูมิ หรื อภาพที่เป็ นรู ปคนบ่งบอกอวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บ 
หัวเรื่อง 4.3.2 การฝึ กปฏิบัตกิ ารจัดทำรายงาน (ต่ อ)

5. การจัดทำรายงานการประสบอันตราย
หน้าที่ที่สำคัญประการหนึ่งของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับ
เทคนิคก็คือ การรวบรวมสถิติ การจัดทำรายงาน และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบ
อันตราย การเจ็บป่ วยหรื อเกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญอันเนื่องจากการทำงานของลูกจ้าง นำ
เสนอต่อเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับบริ หารหรื อนำเสนอต่อนายจ้าง เพื่อ
ให้ได้รับการพิจารณาปรับปรุ งแก้ไขปัญหาหรื อข้อบกพร่ องต่างๆ หรื อเพื่อการวางแผน
งานหรื อโครงการเพื่อความปลอดภัยในอนาคต
หัวเรื่อง 4.3.2 การฝึ กปฏิบัตกิ ารจัดทำรายงาน (ต่ อ)

ดังนั้นรายงานที่นำเสนอควรมีขอ้ มูลรายละเอียดสถิติเกี่ยวกับอุบตั ิเหตุและการเจ็บ


ป่ วยตำแหน่งของร่ างกาย สาเหตุที่ทำให้บาดเจ็บ สถิติวนั ทำงานที่สูญเสี ยไป จำนวนค่า
รักษาพยาบาล ค่าความสูญเสี ยอื่นๆ นอกจากนี้ ขอ้ มูลจากการบันทึกและรายงานการ
สอบสวนอุบตั ิเหตุในโรงงานก็เป็ นข้อมูลสำคัญที่จะแสดงในเห็นถึงรายละเอียดเกี่ยวกับ
อุบตั ิเหตุที่เกิดขึ้น ตลอดจนสามารถเปรี ยบเทียบสถิติในเรื่ องเดียวกันช่วงเวลาเดียวกัน
เพื่อให้เห็นผลที่ชดั เจนว่ามีการเพิม่ ขึ้นหรื อลดลงอย่างไร และมีขอ้ เสนอแนะหรื อวิธีการที่
เหมาะสมในการแก้ไขปั ญหา ตลอดจนการติดตามผลการแก้ไข การจัดทำรายงานความ
ปลอดภัยดังกล่าวควรมีการกำหนดความถี่ในการจัดทำรายงาน เช่น เป็ นรายเดือน ราย
ไตรมาสหรื อทุกหกเดือนแล้วแต่ความต้องการของสถานประกอบกิจการ
กิจกรรม
แบ่งผูเ้ ข้ารับการอบรมออกเป็ นกลุ่มๆ ละประมาณ 5-10 คน แต่ละกลุ่มอาจได้ขอ้ มูลเกี่ยว
กับการประสบอันตรายหรื อเจ็บป่ วยแตกต่าง เพื่อจัดทำรายงาน
แนวทางการตอบ
แต่ละกลุ่มนำข้อมูลการประสบอันตรายที่ได้ จัดทำตารางแสดงสถิติการประสบอันตราย
จำแนกตามความร้ายแรง และสรุ ปเป็ นรายงานการประสบอันตราย เพื่อ นำเสนอต่อไป

You might also like