You are on page 1of 20

การบริหารการจัดเก็บภาษี

สถานบริการอาบน้ำหรืออบตัว
และนวด
เศรษฐพร ศรีติพันธ์
๒๗/๓/๒๕๕๗
พระราชบัญญัติพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต
พ.ศ.๒๕๒๗
• ตอนที่ ๙ สถานบริการ
หมายความว่า สถานที่สำหรับประกอบกิจการใน
ด้านบริการบันเทิงหรือหย่อนใจต่างๆ เพื่อหาราย
ได้เป็ นธุรกิจ เช่น สถานมหรสพที่ฉายภาพยนตร์
สนามแข่งม้า ไนท์คลับ คาบาเรต์ ดิสโกเธค สถาน
อาบน้ำนวด หรืออบตัว เป็ นต้น
เพดานอัตราภาษีสรรพสามิตตามมูลค่าร้อยละ ๒๐
พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ.๒๕๒๗

• ม.๔ ภาษี หมายความว่า ภาษีสรรพสามิตที่เรียกเก็บจาก


สินค้าและบริการตามพระราชบัญญัตินี้
• บริการ : การให้บริการในทางธุรกิจในสถานบริการ
• รายรับ : เงิน ทรัพย์สิน ค่าตอบแทน หรือ ประโยชน์ใดๆ ที่
อาจคำนวณได้เป็ นเงินที่ได้รับหรือพึงได้รับ เนื่องจากการ
ให้บริการ
• สถานบริการ: สถานที่สำหรับประกอบกิจการในด้านบริการ
ตามที่ระบุในกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต
• ผู้ประกอบกิจการสถานบริการ : เจ้าของหรือผู้จัดการหรือ
บุคคลอื่นซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของสถานบริการ
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรื่อง ลดอัตราและยกเว้นภาษีสรรพสามิต (ฉบับที่ ๖๘) ลว.๒๘ มค ๔๖

• ข้อ๒ ให้ลดอัตราและยกเว้นภาษีสรรพสามิต
สถานอาบน้ำหรืออบตัว และนวด
- รายรับของการให้บริการอาบน้ำหรืออบตัว และนวด โดยมีผู้
ให้บริการ ร้อยละ ๒๐ เหลือ ๑๐
- รายรับฯ ในสถานศึกษาหรือในวัด หรือสถานที่สำหรับปฏิบัติพิธีกรรม
ทางศาสนา -ยกเว้นภาษี-
- รายรับฯ ในโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วย
สถานพยาบาล -ยกเว้นภาษี -
- รายรับฯ ในสถานบริการเสริมความงามหรือเพื่อสุขภาพตาม
หลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่อธิบดีฯกำหนด -ยกเว้นภาษี-
ประกาศกรมสรรพสามิต
เรื่อง หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีสรรพสามิตให้แก่สถานบริการ
ประเภทอาบน้ำหรืออบตัว และนวดในสถานบริการเสริมความงามหรือเพื่อ
สุขภาพ ลงวันที่ ๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๒

• ข้อ๒ ให้สถานบริการอาบน้ำหรืออบตัว และนวด ในสถานบริการ


เสริมความงามหรือเพื่อสุขภาพที่ได้รับใบรับรองมาตรฐานตาม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการกำหนดสถานที่เพื่อ
สุขภาพหรือเพื่อเสริมสวย มาตรฐานของสถานที่ การให้บริการ ผู้
ให้บริการ หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจสอบเพื่อการรองรับให้เป็ น
ไปตามมาตรฐานสำหรับสถานที่เพื่อสุขภาพหรือเสริมสวย ตามพ
ระราชบัญญัติสถานบริการ พ.ศ.๒๕๐๙ หรือที่ประกาศดังกล่าว
ถือว่ามีมาตรฐาน ได้รับการยกเว้นภาษีสำหรับรายรับของการให้
บริการอาบน้ำหรืออบตัว และนวด โดยมีผู้ให้บริหาร ตลอดระยะ
เวลาที่ได้รับใบรับรองมาตรฐานหรือถือว่ามีมาตรฐานตามประกาศ
ดังกล่าว
สรุป

• ปัจจุบัน เก็บภาษีในอัตราร้อยละ ๑๐ + ภาษีเก็บ


เพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทยในอัตราร้อยละ ๑๐
ของภาษีสรรพสามิต
• โดยคิดจาก รายรับของการให้บริการอาบน้ำหรือ
อบตัว และนวด โดยมีผู้ให้บริการ
• รายรับ : เงิน ทรัพย์สิน ค่าตอบแทน หรือ ประโย
ชน์ใดๆ ที่อาจคำนวณได้เป็ นเงินที่ได้รับหรือพึง
ได้รับ เนื่องจากการให้บริการ
พรบ.ภาษี ๒๗
ม.๘ ภายใต้บังคับมาตรา๑๑ วรรค๑ มาตรา๑๒ วรรค๑ การเสียภาษีตาม
มูลค่านั้น ให้ถือมูลค่าตาม(๑) (๒) และ (๓) โดยให้รวมภาษีสรรพสามิต
ที่ พึงต้องชำระด้วย
(๒) ในกรณีบริการ ให้ถือรายรับของสถานบริการ
เพื่อประโยชน์ในการคำนวณรายรับของสถานบริการให้พนักงานเจ้า
หน้าที่มีอำนาจกำหนดรายรับขั้นต่ำของสถานบริการตามหลักเกณฑ์วิธี
การที่กำหนดในกฎกระทรวง
ม. ๑๐ ภายใต้บังคับมาตรา๑๑ วรรค๒ มาตรา๑๒ วรรค๒ ความรับผิดใน
อันจะต้องเสียภาษีมีดังนี้
(ข) ในกรณีบริการ ให้ถือความรับผิดในอันจะต้องเสียภาษีเกิดขึ้นเมื่อได้
รับชำระราคาค่าบริการ
ในกรณีที่ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มตามหมวด ๔ ในลักษณะ ๒
แห่งประมวลรัษฎากรไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนเกิดขึ้นก่อนได้รับชำระค่า
บริการให้ถือว่าความรับผิดในอันจะต้องเสียภาษีเกิดขึ้นพร้อมกันความรับ
ผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
ม. ๒๕การจดทะเบียน
(ก)ในกรณีประกอบอุตสาหกรรมหรือประกอบ
กิจการสถานบริการอยู่ก่อนกฎหมายว่าด้วย
พิกัดอัตราภาษีสรรพสามิตใช้บังคับ ให้ยื่น
คำขอจดทะเบียนฯ ภายใน ๓๐ วันนับแต่วันที่
กฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิต
บังคับแก่สินค้าหรือบริการนั้น
(ข)ในกรณีเริ่มประกอบอุตสาหกรรมหรือประกอบ
กิจการสถานบริการเมื่อมีกฎหมายฯ บังคับแล้ว
ให้ยื่นคำขอจดทะเบียนฯ ภายใน ๓๐ วันก่อนวัน
เริ่มผลิตสินค้าหรือเริ่มบริการ
ม.๑๔๘ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม ม.๒๕ ต้องระวางโทษ
มาตรา ๔๘
• การยื่นแบบรายการภาษีและการชำระภาษีให้
เป็ นไปดังนี้
(๒) ในกรณีบริการ ให้ผู้ประกอบกิจการสถาน
บริการยื่นแบบรายการภาษีตามแบบที่อธิบดี
กำหนดพร้อมกับชำระภาษีภายในวันที่สิบห้าของ
เดือนถัดจากเดือนที่มีความรับผิดในอันจะต้องเสีย
ภาษี
มาตรา ๑๑๒
• ให้ผู้ประกอบกิจการสถานบริการทำบัญชีประจำวันและ
งบเดือนแสดงรายการเกี่ยวกับรายรับของกิจการสถาน
บริการ ตามแบบที่อธิบดีกำหนด
• บัญชีประจำวันให้ทำแล้วเสร็จภายในสามวันนับแต่วันที่มี
เหตุที่จะต้องลงรายการนั้นเกิดขึ้น และให้เก็บรักษาไว้ไม่
น้อยกว่าห้าปีที่โรงอุตสาหกรรมหรือสถานบริการพร้อม
ทั้งเอกสารการลงบัญชีดังกล่าว
• งบเดือนตามวรรค ๑ วรรค๒ ให้ยื่นต่อเจ้าพนักงานสรรพ
สามิต ณ สถานที่ที่ระบุไว้ในมาตรา ๕๓ ภายในวันที่ ๑๕
ของเดือนถัดไปและให้เก็บไว้ที่สถานบริการไม่น้อยกว่า
๕ปี
ม.๑๕๙ ผู้ใดฝ่ าฝื นไม่ปฏิบัติตาม ต้องระวางโทษจำคุกไม่
เกิน๑ เดือนหรือปรับไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา ๑๑๗ ทวิ

• เพื่อประโยชน์ในการกำหนดรายรับของสถาน
บริการ ให้ผู้ประกอบกิจการสถานบริการแจ้ง
ราคาค่าบริการที่เรียกเก็บในการประกอบกิจการ
ต่ออธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายตามแบบราย
ละเอียดและกำหนดเวลาที่อธิบดีกำหนด
ถ้าจะมีการเปลี่ยนแปลงราคาที่ได้แจ้งไว้
ตามวรรคหนึ่ง ให้ผู้ประกอบกิจการสถานบริการ
แจ้งราค่าบริการที่เปลี่ยนแปลงต่ออธิบดีหรือผู้ซึ่ง
อธิบดีมอบหมายไม่น้อยกว่าเจ็ดวันก่อนที่จะมีการ
เปลี่ยนแปลงราคา
เบี้ยปรับและเงินเพิ่ม
ม.๑๓๖ ให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเสียเบี้ยปรับในกรณีและตามอัตราดัง
ต่อไปนี้
ก) ในกรณีไม่ได้ยื่นแบบรายการภาษีภายในกำหนดเวลา ไม่ว่าจะ
ยื่นจดทะเบียนสรรพสามิตไว้แล้วหรือไม่ ให้เสียเบี้ยปรับอีกสอง
เท่าของเงินค่าภาษี
ข) ในกรณีที่ยื่นแบบรายการภาษีไว้ไม่ถูกต้องหรือมีข้อผิดพลาด
ทำให้จำนวนเงินภาษีที่ต้องเสียขาดไปให้เสียเบี้ยปรับอีก๑เท่า
ของเงินภาษีที่ขาดไปนั้น
ม.๑๓๗ ผู้ไม่ชำระภาษีภายในกำหนดเวลาหรือชำระขาด ให้เสีย
เงินเพิ่มอีกร้อยละ ๑.๕ต่อเดือนหรือเศษของเดือนของเงินภาษีที่
ต้องชำระโดยไม่รวมเบี้ยปรับ (มิให้คิดทบต้น มิให้เกินกว่าเบี้ยปรับ)
ม.๑๓๘ เบี้ยปรับและเงินเพิ่มอาจงดหรือลดลงได้ตามหลักเกณฑ์
ที่กำหนดในกฎกระทรวง
ม.๑๓๙ เบี้ยปรับและเงินเพิ่ม ให้ถือเป็ นเงินภาษี
พนักงานเจ้าหน้าที่
• ม.๑๑๘ ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจ
(๑) เข้าไปในโรงงานอุตสาหกรรมหรือคลังสินค้าทัณฑ์บน
หรือสถานบริการ ในระหว่างเวลาทำการเพื่อตรวจสอบหรือ
ควบคุมให้การเป็ นไปตามพระราชบัญญัตินี้ (๓) มีหนังสือ
สอบถามหรือเรียกบุคคลใดมาให้ถ้อยคำหรือส่งบัญชี
เอกสาร หลักฐานหรือสิ่งอื่นที่จำเป็ นมาประกอบการพิจารณา
ได้....
• ม.๑๒๘ ในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระ
ราชบัญญัตินี้ให้บุคคลซึ่งเกี่ยวข้องอำนวยความสะดวกตาม
สมควร
• ม.๑๓๐ ในการปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ ให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่เป็ นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามประมวลกฎหมายอาญา
• ม.๑๔๕ ผู้ใดขัดขวางตาม ม.๑๑๘ ต้องระวางโทษจำคุกไม่
เกิน ๑ ปี หรือปรับไม่เกิน ๒ หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ม.๑๖๔ ,๑๖๕,๑๖๗
• ม.๑๖๔ ผู้มีหน้าที่เสียภาษีผู้ใดไม่ยื่นแบบรายการภาษี เพื่อหลีก
เลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษีต้องระวางโทษจำคุก
ไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
• ม.๑๖๕ ผู้ใดแจ้งข้อความอันเป็ นเท็จ ตอบคำถามด้วยถ้อยคำอัน
เป็ นเท็จ นำพยานหลักฐานเท็จมาแสดงหรือยื่นบัญชีหรือยื่น
เอกสารอันเป็ นเท็จ เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการ
เสียภาษี ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินเจ็ดปี และปรับไม่เกินสาม
แสนบาท
• ม.๑๖๗ ในกรณีที่ผู้กระทำความผิดซึ่งต้องรับโทษตามพระราช
บัญญัตินี้เป็ นนิติบุคคล กรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการ หรือผู้แทน
ของนิติบุคคลนั้นต้องได้รับโทษตามที่บัญญัติไว้สำหรับความ
ผิดนั้นๆ ด้วยเว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่าตนมิได้รู้เห็นหรือยินยอมใน
การกะทำความผิดของนิติบุคคลนั้น
วิธีคำนวณภาษี
• ตัวอย่างที่ 1 สมมติให้ผู้ประกอบกิจการสถาน
บริการ อาบอบนวด
เรียกเก็บค่าบริการ 1,000 บาท (รวม vat แล้ว) ต้อง
เสียภาษี
สรรพสามิตเท่าใด
วิธีคิด ค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม = 1,000 x 7% = 65.42
บาท
มูลค่าที่ถือเป็ นเกณฑ์ในการคำนวณภาษี
สรรพสามิต (ราคาขายที่รวมภาษีสรรพสามิตแล้ว)
= 1,000 – 65.42 = 934.58 บาท (คือ ราคาที่แจ้งใน
มูลค่าที่รวมภาษีสรรพสามิตแล้ว
มูลค่าที่รวมภาษีสรรพสามิตแล้ว 934.58
บาท (ภษ.01-44ก)

ต้นทุนและกำไร ภาษีสรรพสามิต
ภาษีมหาดไทย
934.58-93.45-9.34 93.45 9.34
= 831.79
• ตัวอย่างที่ 2 สมมติให้ผู้ประกอบกิจการสถานบริการ
อาบน้ำ อบตัว และนวด เรียกเก็บค่าบริการ 1,000 +
(+ คือ VAT)

ดังนั้น มูลค่าที่รวมภาษีสรรพสามิตแล้ว 1,000 บาท


(ภษ.01-44ก)

ต้นทุนและกำไร ภาษีสรรพสามิต
ภาษีมหาดไทย
1,000-100-10 100 10
=890
• ตัวอย่าง 3 สมมติให้ผู้ประกอบกิจการ เปิดสถานบริการ
ใหม่ แต่เดิมให้บริการในราคา 900 บาท เมื่อเปิดบริการต้อง
เสียภาษีสรรพสามิต โดยต้องจะได้รายรับ 900 บาทเท่าเดิม
จะต้องแจ้งราคาเท่าใด
(อัตราภาษีสรรพสามิต ร้อยละ 10
อัตราภาษีมหาดไทย ร้อยละ 10 ของภาษีสรรพสามิต)

• นั่นคือ ถ้ามูลค่าที่ถือเป็ นเกณฑ์คำนวณภาษี 100 บาท


จะมีภาษีสรรพสามิต 10 บาท
จะมีภาษีเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทย 1 บาท
• ดังนั้น ราคาขายที่ไม่รวมภาษี 100-10-1 = 89
บาท
วิธีคิด
ต้นทุนบวกกำไร 89 บาท ต้องเสียภาษี = 11
บาท
ต้นทุนบวกกำไร 900 บาทต้องเสียภาษี = 11 x 900 /
89 บาท
= 111.23 บาท
ดังนั้น ราคาที่ต้องแจ้งใน ภษ.01-44ก = 900+111.23 = 1,011.23 บาท

ต้นทุนและกำไร ภาษีสรรพสามิต ภาษีมหาดไทย


1,011.23-101.12-10.11 101.12 10.11
= 900
Excise tax Flow Chart
Pre Audit ใช่ Post Audit
ไม่ มาตรการ เอกสาร/หลัก
ยอ ม.8 ฐาน จาก
หน่วยรับแบบ ม (1)วรรค บุคคลภายนอก อธิบดี/ผู้ซึ่งอธิบดี คณะกรรมการ
แจ้งราคาขาย รับ สอง และ และ แก้การ มอบหมาย พิจารณา
Self Declaration วรรคสาม ผู้เสียภาษี
ม.15 ประเมิน วินิจฉัย ภายใน 60 ม.9
อุทธรณ์
ยอมรับเบื้องต้น ม.110 ม.82 วัน ม.88 0
ม.9
5
ม.48
ม.25 ม.117 ม.52 ม.112 หน่วยงาน
ยื่นแบบ ตรวจสอบ
จด แจ้งราคา ภาษี ม.79 ม.86 ม.89 ม.96
ทะเบียน ขาย ณ ราชการ
ภาษี ทำบัญชี
ภาษีสรรพ โรง พนักงานเจ้า คัดค้าน อุทธรณ์ ฟ้อง
ประจำวัน ตรวจ
สามิต อุตสาหกรรม พร้อมกับ งบเดือน สอบ
หน้าที่ ประเมิน คำ ศาล
- ก่อน ชำระ ประเมินภาษี ภายใน วินิจฉัย ภาษี
ภาษี - ยื่นงบเดือน
จำหน่าย เบี้ย 45 วัน คำ อากร
-ตาม ต่อ
ไม่น้อยกว่า ปรับ เงินเพิ่ม คัดค้าน ภายใน
แบบ เจ้าพนักงาน
7วัน เมื่อมี ภายใน 30 วัน
ภษ.01- สรรพสามิต
- ตามแบบ เหตุตาม 45 วัน
12ก ภายใน
ภษ. 01-44ก มาตรา 79
วันที่ 15 ของ
คำนวณพนักงานเจ้าหน้าที่ (1)(2)
ภาษี เดือน
ประเมิน
(3)หรือ(1)
เบื้องต้น (ม.7)

You might also like