You are on page 1of 163

สาขา: อุตสาหการ วิชา: Planning and Control

ขอที่ : 1
ระบบการผลิตที่เนนการลดตนทุนสินคาคงคลังมากที่สุดคือระบบการผลิตแบบใด
คําตอบ 1 : ระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just in Time)
คําตอบ 2 : ระบบการผลิตที่มีการวางแผนความตองการวัสดุ (Material Requirements Planning System)
คําตอบ 3 : ระบบการผลิตแบบระบบการไหลของน้ําในอาง (Pond Draining)
คําตอบ 4 : ระบบการผลิตที่ใชระบบสั่งใหม (Re-order Point System)

ขอที่ : 2
สินคาใดตอไปนี้เปนสินคาประเภทที่มีการผลิตแบบตามสั่ง (Made to Order)
คําตอบ 1 : เรือบรรทุกสินคา
คําตอบ 2 : ผงซักฟอก
คําตอบ 3 : หมอหุงขาว
คําตอบ 4 : ทีวีจอแบน

ขอที่ : 3
การวางแผนในเรื่องใดตอไปนี้เปนการแผนในระยะยาว
คําตอบ 1 : การวางแผนกําลังคน
คําตอบ 2 : การวางแผนวัสดุคงคลัง
คําตอบ 3 : การวางแผนขยายกําลังการผลิต
คําตอบ 4 : การจัดลําดับงาน

หนา 1 จาก 163


ขอที่ : 4
ขอใดตอไปนี้ไมใชลักษณะของการผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just in Time)
คําตอบ 1 : มีระดับของคงคลังลดลง
คําตอบ 2 : เวลาในการเปลี่ยนรุนการผลิตลดลง
คําตอบ 3 : ขนาดรุนการผลิตใหญขึ้น
คําตอบ 4 : คุณภาพการผลิตดีขึ้น

ขอที่ : 5
แนวคิดพื้นฐานของระบบการวางแผนการผลิตระบบใดที่ดําเนินการสั่งผลิตเมื่อมีความตองการ และเนน
การควบคุม วัสดุที่เปนอุปสงคตาม (Dependent Demand)
คําตอบ 1 : Re-order Point (ROP)
คําตอบ 2 : Material Requirements Planning (MRP)
คําตอบ 3 : Just in Time (JIT)
คําตอบ 4 : Theory of Constraint (TOC)

ขอที่ : 6
ระบบการผลิตใดที่ใชกลไกในการสั่งผลิตดวยบัตรคัมบัง (Kanban)
คําตอบ 1 : Re-order Point (ROP)
คําตอบ 2 : Material Requirements Planning (MRP)
คําตอบ 3 : Just in Time (JIT)
คําตอบ 4 : Economic Order Quantity (EOQ)

หนา 2 จาก 163


ขอที่ : 7
ปรัชญาการผลิตของระบบการผลิตใดเนนการขจัดความสูญเสียในกระบวนการผลิต
คําตอบ 1 : Re-order Point (ROP)
คําตอบ 2 : Material Requirements Planning (MRP)
คําตอบ 3 : Just in Time (JIT)
คําตอบ 4 : Economic Order Quantity (EOQ)

ขอที่ : 8
ในการวางแผนการผลิตภายใตการผลิตประเภทใดที่เนนความสําคัญกับสัญญากําหนดสงมอบ
คําตอบ 1 : การผลิตแบบตามสั่ง
คําตอบ 2 : การผลิตเพื่อสตอก
คําตอบ 3 : การประกอบเพื่อสตอก
คําตอบ 4 : การผลิตแบบ Mass Production

ขอที่ : 9
ภายใตสภาพแวดลอมการผลิตเดียวกันการกําหนดกลยุทธทางธุรกิจใดที่จะทําใหชวงเวลานํายาวนาน
ที่สุด
คําตอบ 1 : ผลิตแบบมีสตอก
คําตอบ 2 : ผลิตตามสั่ง
คําตอบ 3 : ประกอบเพื่อสตอก
คําตอบ 4 : ประกอบตามสั่ง

ขอที่ : 10
การวางแผนและควบคุมการผลิตระบบใดที่มีการจัดการวัสดุคงคลังเปนแบบอิสระ

หนา 3 จาก 163


คําตอบ 1 : JIT
คําตอบ 2 : MRP
คําตอบ 3 : ROP
คําตอบ 4 : TOC

ขอที่ : 11
ขอใดคือความตองการของตลาดยุคใหมที่ผูวางแผนและควบคุมการผลิตจะตองรูเขาใจ และ ทําใหบรรลุ
ตามความตองการของตลาด
คําตอบ 1 : สงเวลานําในการสงมอบสั้น
คําตอบ 2 : มีความยืดหยุนในการวางแผนการผลิต
คําตอบ 3 : ชวงเวลานําในการสงมอบเชื่อถือได
คําตอบ 4 : ใชทุกขอที่กลาวมาขางตน

ขอที่ : 12
ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการวางแผนและควบควบคุมการผลิต 2 ถามหลักที่ผูบริหารจะตองตอบคือ
คําตอบ 1 : เราจะทําอะไรตอไป และ ตนทุนเทาไร
คําตอบ 2 : เราจะทําอะไรตอไป และ สงของเมื่อไร
คําตอบ 3 : เราจะทําอะไรตอไป และ มีขีดความสามารถที่จะทําไดหรือไม
คําตอบ 4 : เราจะผลิตสินคาอะไร และ จํานวนเทาไร

ขอที่ : 13
ขอใดตอไปนี้คือวัตถุประสงคโดยทั่วไปของการวางแผนและควบคุมการผลิต
คําตอบ 1 : ระดับการบริการลูกคาสูงสุด
คําตอบ 2 : ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานโรงงานสูงสุด

หนา 4 จาก 163


คําตอบ 3 : การลงทุนในวัสดุคงคลังตําสุด
คําตอบ 4 : ใชทุกขอที่กลาวมา

ขอที่ : 14
ถาเราตองการใหประสิทธิภาพการใชงานเครื่องจักรหรือแรงงานสูง เราควรผลิตสินคาแตละครั้งดวยขนาด
รุนการผลิตใหญ การดําเนินการตามแนวทางดังกลาวอาจจะสงผลเสียทางดานใด
คําตอบ 1 : การลงทุนในสินคาคงคลังสูง
คําตอบ 2 : คาแรงตอหนวยสินคาสูงขึน

คําตอบ 3 : คาเครื่องจักรตอหนวยสินคาสูงขึ้น
คําตอบ 4 : ตนทุนการขนสงวัตถุดิบสูงขึ้น

ขอที่ : 15
ในกระบวนการวางแผนและควบคุมการผลิต กิจกรรมใดคือจุดเริ่มตนของการวางแผนและควบคุมการผลิต
คําตอบ 1 : การวางแผนการผลิตรวม
คําตอบ 2 : การพยากรณความตองการ
คําตอบ 3 : การวิเคราะหการลงทุน
คําตอบ 4 : การวิเคราะหกําลังการผลิต

ขอที่ : 16
ผลิตภาพ หมายถึง
อัตราสวนของคุณคาของสินคาและบริการที่ออกจากระบบตอจํานวนปจจัยการดําเนินงาน
คําตอบ 1 :
ทั้งหมดที่ใชไปในระบบ
อัตราสวนของคุณคาของสินคาและบริการที่ผลิตไดตอจํานวนวัตถุดิบทั้งหมดที่ใชไปในการ
คําตอบ 2 :
ผลิต

หนา 5 จาก 163


อัตราสวนของคุณคาของสินคาและบริการที่ผลิตไดตอจํานวนคาแรง ทั้งหมดที่ใชไปในการ
คําตอบ 3 :
ผลิต
อัตราสวนของคุณคาของสินคาและบริการที่ผลิตไดตอมูลคาวัตถุดิบ ทั้งหมดที่ใชไปในการ
คําตอบ 4 :
ผลิต

ขอที่ : 17
ประเด็นตอไปนี้คือปจจัยที่สนับสนุนการผลิตแบบ JIT ยกเวน
คําตอบ 1 : อัตราการผลิตสม่ําเสมอ
คําตอบ 2 : พนักงานมีความสามารถหลายดาน
คําตอบ 3 : มีคลังสินคาขนาดใหญ
คําตอบ 4 : เวลาในการเตรียมการผลิตสั้น

ขอที่ : 18
ระบบการวางแผนการผลิตใดตอไปนี้ไดนําไปสูการมีวัสดุคงคลังมากเกินไปเมื่อเทียบกับระบบการวาง
แผนการผลิตอื่นๆ
คําตอบ 1 : ระบบการไหลของน้ําในอางหรือ ROP (Re-order point)
คําตอบ 2 : ระบบ MRP (Material Requirements Planning)
คําตอบ 3 : ระบบ JIT (Just-in-Time)
คําตอบ 4 : ระบบ MPS

ขอที่ : 19
ระบบการวางแผนการผลิตใดตอไปนี้ไดนําไปสูการมีวัสดุคงคลังต่ําสุดมื่อเทียบกับระบบการวางแผนการ
ผลิตอื่นๆ
คําตอบ 1 : ระบบการไหลของน้ําในอางหรือ ROP (Re-order point)

หนา 6 จาก 163


คําตอบ 2 : ระบบ MRP (Material Requirements Planning)
คําตอบ 3 : ระบบ JIT (Just-in-Time)
คําตอบ 4 : ระบบ MPS

ขอที่ : 20
ประเด็นตอไปนี้คือเทคนิคการผลิตของ JIT ยกเวน
คําตอบ 1 : ผลิตสิ่งที่ลูกคาตองการและในอัตราที่ลูกคาตองการ
คําตอบ 2 : ผลิตดวยคุณภาพที่สมบูรณแบบ
คําตอบ 3 : ผลิตไดอยางทันทีทันใด
คําตอบ 4 : ผลิตดวยขนาดรุนการผลิตใหญแตจํานวนรุนการผลิตนอยๆ

ขอที่ : 21
ขอใดตอไปนี้คือปญหาที่เปนอุปสรรคตอการวางแผนและควบคุมการผลิต
คําตอบ 1 : ปญหากําลังการผลิตไมเพียงพอ
คําตอบ 2 : ปญหาความไมมีประสิทธิภาพในการควบคุมวัสดุคงคลัง
คําตอบ 3 : ปญหาปญหาความผิดพลาดในการบันทึกขอมูลดานงานทางวิศวกรรมและการผลิต
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 22
สําหรับธุรกิจที่ดําเนินกลยุทธทางธุรกิจแบบประกอบตามสั่งมักจะสตอกวัสดุคงคลังในรูปของ
คําตอบ 1 : สินคาสําเร็จรูป
คําตอบ 2 : วัตถุดิบ
คําตอบ 3 : ชิ้นสวนประกอบ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

หนา 7 จาก 163


ขอที่ : 23
สําหรับธุรกิจที่ดําเนินกลยุทธทางธุรกิจแบบผลิตเพื่อสตอกมักจะสตอกวัสดุคงคลังในรูปของ
คําตอบ 1 : สินคาสําเร็จรูป
คําตอบ 2 : วัตถุดิบ
คําตอบ 3 : ชิ้นสวนประกอบ
คําตอบ 4 : วัตถุดิบแตเก็บไวที่คลังของผูสงมอบ

ขอที่ : 24
หากธุรกิจตองการใหมีการตอบสนองความตองการสินคาของลูกคาทันที่ที่สั่ง บริษัทควรจะดําเนินกลยุทธ
ทางธุรกิจเชนไร
คําตอบ 1 : ผลิตตามสั่ง
คําตอบ 2 : ประกอบตามสั่ง
คําตอบ 3 : ผลิตเพื่อสตอก
คําตอบ 4 : ออกแบบตามสั่ง

ขอที่ : 25
จากรูปแบบผลลัพธการวางแผนการผลิตที่กําหนดให ในตารางตอไปนี้ จงระบุวาเปนรูปแบบการวางแผน
ประเภทใด
ชื่อผลิตภัณฑ พ.ค. มิ.ย. ก.ค

กลุม รุน
รุน A 50 50 80

หนา 8 จาก 163


M58 รุน B 40 40 60

รุน C 20 10 10
รุน A 40 30 40

M62

รุน B 30 30 30
คําตอบ 1 : ตารางการผลิตหลัก
คําตอบ 2 : แผนการผลิตรวม
คําตอบ 3 : รายละเอียดตารางการผลิต
คําตอบ 4 : การควบคุมกําลังการผลิต

ขอที่ : 26
จากรูปแบบผลลัพธการวางแผนการผลิตที่กําหนดให ในตารางตอไปนี้ จงระบุวา เปนรูปแบบการวางแผน
ประเภทใด
ชื่อผลิตภัณฑ เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค ส.ค. ก.ย.

กลุม รุน

หนา 9 จาก 163


รุน A

M58 รุน B 120 100 100 150 80 120

รุน C
รุน A

M62 80 80 80 100 50 100

รุน B

M72 30 30 50 70 20 30

คําตอบ 1 : ตารางการผลิตหลัก
คําตอบ 2 : แผนการผลิตรวม
คําตอบ 3 : รายละเอียดตารางการผลิต
คําตอบ 4 : การควบคุมกําลังการผลิต

หนา 10 จาก 163


ขอที่ : 27
ขอใดตอไปนี้คือปจจัยความลมเหลวของระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต
ผูบริหารขาดความรูและความเขาใจอยางเพียงพอ สงผลใหการ กําหนดนโยบายผิดพลาด
คําตอบ 1 :
หนวยวัดประเมินผลงานมีความขัดแยง การอบรมไมเพียงพอ
แผนกลยุทธการดําเนินงานไมมีประสิทธิภาพ เชน เปาหมายไมชัดเจน การจัดสรรทรัพยากร
คําตอบ 2 : การผลิตไมเพียงพอ การเลือกซอฟทแวรไมเหมาะสม การกําหนดกลยุทธทางธุรกิจไม
สอดคลองกับสภาพทางธุรกิจ
ขอมูลโรงงานมีความผิดพลาด เชน ตารางการผลิตหลักไมมีคุณภาพ ขอมูลวัสดุคงคลังไมมี
คําตอบ 3 : คุณภาพ ชวงเวลานํา (Lead Time)ไมถูกตอง รายการวัสดุ (BOM) ไมถูกตองสารสนเทศไม
เปนปจจุบัน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 28
ขอตอไปนี้คือปจจัยความลมเหลวในการวางวางแผนและควบคุมการผลิตยกเวน
ขาดการสนับสนุนและขาดการแสดงความมุงมั่นจากผูบริหารระดับสูงอยางชัดเจน เชน ไม
คําตอบ 1 :
เขามามีสวนรวมในการบริหารอยางเต็มที่ ไมไดกําหนดนโยบายและวัตถุประสงคที่ชัดเจน
คําตอบ 2 : ตารางการผลิตหลักไมมีคุณภาพมีการเปลี่ยนแปลงบอย
คําตอบ 3 : ชวงเวลานําไมถูกตอง
คําตอบ 4 : คาแรงลวงเวลาสูง

ขอที่ : 29
ประเด็นตอไปนี้คือปจจัยความสําเร็จในการวางแผนและควบคุมการผลิตยกเวน
คําตอบ 1 : ตนทุนแรงงานต่ํา มีลวงเวลานอย
คําตอบ 2 : ทุกฝายทุกแผนกในองคกรที่เกี่ยวของตองใหความรวมมือ
คําตอบ 3 : ขอมูลโรงงานมีความถูกตองแมนยํา

หนา 11 จาก 163


ผูบริหารตองแสดงความมุงมั่นและมีนโยบายที่ชัดเจน พรอมทั้งสื่อสารใหพนักงานทุกระดับ
คําตอบ 4 :
ที่เกี่ยวของไดทราบ และเขาใจ

ขอที่ : 30
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับระบบการวางแผนและควบคุมการผลิต
ความสําเร็จของการพัฒนาระบบ การวางแผนและควบคุมการผลิต อยูที่ซอฟทแวร หรือ
คําตอบ 1 :
ระบบคอมพิวเตอรไมใชอยูที่คน
การพัฒนาระบบ SOP (Sale and Operations Planning) ตองการความรวมมือจากทุกฝาย
คําตอบ 2 : มิใชงานของฝายใดฝายหนึ่ง ดังนั้นจึงตองการเวลา ความรู ความเขาใจ การทํางานเปนทีม
ความรวมมือ นโยบาย และการออกแรงผลักดัน
การตั้งคณะทํางานดานการวางแผนและควบคุมการผลิตจําเปนตองมีตัวแทนจากผูใชระบบ
คําตอบ 3 :
ทุกฝายของบริษัท
คําตอบ 4 : การพัฒนาระบบการวางแผนและควบคุมการผลิตเปนเรื่องของคนในบริษัทไมใชคนนอก

ขอที่ : 31
จากโครงสรางของกําไรและตนทุนของบริษัทแหงหนึ่งที่กําหนดใหขางลางนี้หากบริษัทตองการกําไร
เพิ่มขึ้น 2 เทา โดยเนนการลดคาใชจายในสวนของคาวัสดุและการจัดซื้อ จะตองลดคาใชจายสวนนี้ลงกี่
เปอรเซ็นต

ยอดขาย $ 10,000,000

คาจัดซื้อและคาวัสดุ $ 7,000,000

เงินเดือน $ 2,000,000

หนา 12 จาก 163


คาโสหุย $ 500,000

กําไร $ 500,000
คําตอบ 1 : 7.14%
คําตอบ 2 : 25 %
คําตอบ 3 : 100%
คําตอบ 4 : 10%

ขอที่ : 32
วิธีการพยากรณใดตอไปนี้ไมใชวิธีการพยากรณเชิงปริมาณ
คําตอบ 1 : วิธีเดลฟาย
คําตอบ 2 : วิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่
คําตอบ 3 : วิธีปรับเรียบเอกซโปเนนเชียล
คําตอบ 4 : วิธีกําลังสองนอยที่สุด

ขอที่ : 33
ขอใดไมใชลักษณะของการพยากรณโดยเทคนิคปรับเรียบเอกซโปเนนเชียลอยางงาย
คําตอบ 1 : ใชการหาคาเฉลี่ยของชุดขอมูลในการคํานวณ
คําตอบ 2 : มีลักษณะคลายวิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่
คําตอบ 3 : เหมาะกับการพยากรณในชวงระยะสั้นๆ
คําตอบ 4 : เหมาะกับการพยากรณในกรณีที่มีขอมูลไมมาก

ขอที่ : 34

หนา 13 จาก 163


ถาขอมูลความตองการในอดีต หาคาบยอนหลังเปนดังนี้ 3, 11, 5, 2 และ 4 โดยขอมูลสุดทายคือขอมูล
ลาสุด คาถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่ (n=3) คือ
คําตอบ 1 : 3.67, 6, 6.33
คําตอบ 2 : 6, 6.33, 3.67
คําตอบ 3 : 6.33, 6, 3.67
คําตอบ 4 : 6.33, 3.67, 6

ขอที่ : 35
ถายอดขายรายไตรมาสตัง้ แตไตรมาสที่1ของป 2544 เปนดังนี้ 10,12,15,14 และของป 2545 เปนดังนี้
11,13,14,15 และของป 2546 เปนดังนี้ 10,14,15,15 ดัชนีฤดูกาลโดยวิธี อัตราสวนคาจริงตอคาเฉลี่ย
สําหรับไตรมาสที่สองคือขอใด
คําตอบ 1 : 0.980
คําตอบ 2 : 0.986
คําตอบ 3 : 0.98
คําตอบ 4 : 0.996

ขอที่ : 36
ขอความที่เปนจริงสําหรับการพยากรณเชิงคุณภาพ
คําตอบ 1 : ไดผลการพยากรณที่มีคณ
ุ ภาพเชื่อถือได
คําตอบ 2 : เหมาะกับการพยากรณในระยะกลาง
คําตอบ 3 : คาความคลาดเคลื่อนจะคอนขางตํา
คําตอบ 4 : เหมาะกับผลิตภัณฑใหม

ขอที่ : 37

หนา 14 จาก 163


ถาความคลาดเคลื่อนของผลการพยากรณจํานวน5คาบเวลาโดยวิธี A มีคาดังนี้ -10,2,5,8,-4 สําหรับวิธี B
จะมีความคลาดเคลื่อนดังนี้ 10,5,-10,0,-5 วิธี B และสําหรับวิธี C จะมีความคลาดเคลื่อนดังนี้ 2,5,-
10,4,-5 ควรใชคาพยากรณของวิธีใด
คําตอบ 1 : A
คําตอบ 2 : B
คําตอบ 3 : C
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 38
อุปสงคของโทรศัพทบานและจํานวนบานที่มีการอนุมัติใหมีการกอสรางในแตละปในเขตกรุงเทพมหานคร
มีความสัมพันธกันแบบเสนตรงโดยมีแนวโนมความตองการใชโทรศัพยเพิ่มขึ้นเมื่อจํานวนบานเพิ่มขึ้น ถา
กําหนดใหคาตัดแกนของจํานวนหนวยของโทรศัพทเปน 1000 เครื่องและมีคาความชันเปน 1.2 จง
พยากรณจํานวนเครื่องโทรศัพทถาในปนี้มีจํานวนบานที่มีการอนุมัติใหกอสรางเปน 100,000 หลัง
คําตอบ 1 : 1,300 เครื่อง
คําตอบ 2 : 13,000 เครื่อง
คําตอบ 3 : 130,000 เครื่อง
คําตอบ 4 : 12,120 เครื่อง

ขอที่ : 39
ขอมูลของยอดขายสินคาชนิดหนึ่งในไตรมาสที่ 1, 2 ,3 และ 4 พบวามีจํานวนยอดขายเปน 500, 900,
700 และ 800 หนวย ตามลําดับ จงพยากรณยอดขายในไตรมาสที่ 1 ของปถัดไปดยใชวิธีถัวเฉลี่ย
เคลื่อนที่ (Moving Average) ของอนุกรมเวลา 3 จุด
คําตอบ 1 : 800 หนวย
คําตอบ 2 : 700 หนวย
คําตอบ 3 : 967 หนวย

หนา 15 จาก 163


คําตอบ 4 : 725 หนวย

ขอที่ : 40
ยอดขายสินคาของบริษัทแหงหนึ่งมีแนวโนมเปนแบบคงที่จงพยากรณยอดขายในชวงเวลาที่ 11 วาควรมี
คาเทาใดโดยใชขอมูลยอดขายในชวงเวลาที่ 1 ถึง 10 ซึ่งมีคาตามลําดับดังนี้ ยอดขาย 5 10 15 10 8 7
15 10 12 8
คําตอบ 1 : 9 หนวย
คําตอบ 2 : 10 หนวย
คําตอบ 3 : 11 หนวย
คําตอบ 4 : 12 หนวย

ขอที่ : 41
คํากลาวใดตอไปนี้ไมถูกตอง
วิธีคาเฉลี่ยเคลื่อนที่ที่มีการกําหนดชวงเวลา คิดมากขึ้นจะยิ่งทําใหไดเสนกราฟ
คําตอบ 1 :
ความสัมพันธของชวงเวลาและปริมาณความตองการที่เรียบมากขึ้น
สัญญาณติดตามคาพยากรณ (Tracking Signal) คือวิธีการที่ใชในการควบคุมความ
คําตอบ 2 :
คลาดเคลื่อนจกการพยากรณ
คําตอบ 3 : การพยากรณแบบฤดูกาลของวินเตอร จะตองใชขอมูลอยางนอย 3 ฤดูกาล
การพยากรณโดยการวิจัยตลาดไดมาจากการสงแบบสอบถามการสํารวจของโทรศัพท การ
คําตอบ 4 :
อภิปรายกลุม และการสัมภาษณ

ขอที่ : 42
สินคาใดตอไปนี้ที่ไมมีรูปแบบขอมูลแบบฤดูกาล
คําตอบ 1 : เสื้อผา
คําตอบ 2 : เครือ่ งปรับอากาศ

หนา 16 จาก 163


คําตอบ 3 : กลองถายรูป
คําตอบ 4 : โลชัน
่ บํารุงผิว

ขอที่ : 43
ในการพยากรณแบบอนุกรมเวลา ขอใดตอไปนี้ไมสามารถคาดการณไดลวงหนา
คําตอบ 1 : อิทธิพลทางฤดูกาล
คําตอบ 2 : แนวโนมทางเศรษฐกิจ
คําตอบ 3 : การเพิ่มขึ้นของคาพยากรณ
คําตอบ 4 : ความไมแนนอนแบบสุม (Random Fluctuations)

ขอที่ : 44
พื้นฐานความแตกตางระหวางฤดูกาล และ วัฏจักรในการพยากรณอนุกรมเวลา คือ
คําตอบ 1 : ระยะเวลาของรูปแบบการเกิดซ้ํา
คําตอบ 2 : ความกวางของความแปรปรวน
คําตอบ 3 : ลักษณะการเกิดแนวโนม
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 45
สิ่งใดตอไปนี้มิใชเปนองคประกอบของการพยากรณแบบอนุกรมเวลา
คําตอบ 1 : แนวโนม
คําตอบ 2 : ความแปรปรวนของการดําเนินงาน
คําตอบ 3 : ฤดูกาล
คําตอบ 4 : วัฎจักร

หนา 17 จาก 163


ขอที่ : 46
ขอมูลอนุกรมเวลาอาจจะสะทอนใหเห็นถึงพฤติกรรมดังตอไปนี้
คําตอบ 1 : แนวโนม
คําตอบ 2 : ฤดูกาล
คําตอบ 3 : วัฎจักร
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 47
คํากลาวใดตอไปนี้คือสิ่งที่ถูกตองเกี่ยวกับการพยากรณแบบอนุกรรมเวลา
การพยากรณแบบอนุกรรมเวลาอยูบนพื้นฐานของสมมติฐานที่วาความตองการในอนาคตจะ
คําตอบ 1 :
เหมือนกับในอดีต
การพยากรณแบบอนุกรรมเวลาไดถูกนําไปประยุกตใชอยางกวางขวางในการรวบรวมขอมูล
คําตอบ 2 :
เชิงคุณภาพ
คําตอบ 3 : การวิเคราะหขอมูลในอดีตจะชวยในการพยากรณความตองการอนาคต
เนื่องจากมันไดพิจารณาถึงองคประกอบของ แนวโนม ฤดุกาลและวัฏจักร จึงทําใหมี
คําตอบ 4 :
ศักยภาพในการพยากรณมากกวาวิธี Causal

ขอที่ : 48
วิธีการพยากรณใดตอไปนี้ ไมใชเปนเทคนิคการพยากรณเชิงคุณภาพ
คําตอบ 1 : วิธี Delphi
คําตอบ 2 : การสํารวจผูบริโภค
คําตอบ 3 : สอบถามความคิดเห็นผูบริหาร
คําตอบ 4 : วิธี Moving Average

หนา 18 จาก 163


ขอที่ : 49
แนวทางทั่วไป 2 แนวทางที่ใชในการพยากรณ
คําตอบ 1 : วิธีเชิงปริมาณ และวิธีเชิงคุณภาพ
คําตอบ 2 : วิธีทางคณิตศาสตรและสถิติ
คําตอบ 3 : วิธีเชิงคุณภาพและวิธีระดมสมอง
คําตอบ 4 : ลองผิดลองถูก และวีธีเชิงปริมาณ

ขอที่ : 50
วิธีการพยากรณใดตอไปนี้มิใชวิธีการพยากรณเชิงปริมาณ
คําตอบ 1 : วิธี Exponential Smoothing
คําตอบ 2 : วิธี Simple Moving Average
คําตอบ 3 : Delphi
คําตอบ 4 : Weighted Moving Average

ขอที่ : 51
วัตถุประสงคหลักของการหาคา ความเบี่ยงเบนสมบูรณ (Mean Absolute Deviation-MAD) ในการ
พยากรณคือ
คําตอบ 1 : การประมาณคาแนวโนม
คําตอบ 2 : การขจัดความคลาดเคลื่อนการพยากรณ
คําตอบ 3 : การวัดความคาดเคลื่อนการพยากรณ
คําตอบ 4 : ปรับคาฤดูกาลในการพยากรณ

ขอที่ : 52
จากขอมูลยอดขาย 2 สัปดาห ลาสุด ดังแสดงในตารางตอไปนี้ หากใช การพยากรณโดยวิธี Naive

หนา 19 จาก 163


Method โดยพิจารณาแนวโนม ในสัปดาหที่ 3 คาพยากรณความตองการจะ เทากับเทาไร

สัปดาหที่ ยอดขาย
1 108
2 120
คําตอบ 1 : 96
คําตอบ 2 : 114
คําตอบ 3 : 132
คําตอบ 4 : 144

ขอที่ : 53
จากความคาดเคลื่อนของการพยากรณ 4 ชวงเวลา ดังนี้ -1 , 4 , 8 , และ 3 จงคํานวณคา ความเบี่ยงเบน
สมบูรณเฉลีย
่ (Mean Absolute Deviation)
คําตอบ 1 : 2
คําตอบ 2 : 3
คําตอบ 3 : 4
คําตอบ 4 : 8

ขอที่ : 54
จากสมการแนวโนมแบบอนุกรมเวลาที่คํานวณไดคือ = 25.3 + 2.1(t) จงพยากรณความตองการใน
ชวงเวลาที่ 7
คําตอบ 1 : 23.2

หนา 20 จาก 163


คําตอบ 2 : 25.3
คําตอบ 3 : 27.4
คําตอบ 4 : 40.0

ขอที่ : 55
หัวขอใดตอไปนี้เปนตัวอยางของเทคนิคการพยากรณแบบอนุกรมเวลา
คําตอบ 1 : การวิจัยตลาด
คําตอบ 2 : วิธี Delphi
คําตอบ 3 : ปรับเรียบเอ็กโปเนนเชียลแบบมีแนวโนม
คําตอบ 4 : การอภิปรายทุกๆสัปดาห

ขอที่ : 56
จงคํานวณคาถั่วเฉลี่ยเคลื่อนที่อยางงายแบบ 3 ชวงเวลา ของวันที่ 7 จากขอมูลที่กําหนดใหตอไปนี้

วันที:่ 1 2 3 4 5 6 7

ความตองการ: 12 14 10 8 9 13 11
คําตอบ 1 : 12
คําตอบ 2 : 9
คําตอบ 3 : 10
คําตอบ 4 : 11

ขอที่ : 57
จากขอมูลที่กําหนดใหตอไปนี้ พรอมสมการแนวโนมเสนตรง 3 + 2X จงพยากรณ แนวโนมของชวง

หนา 21 จาก 163


ไตรมาสที่ 3 ของป 2009
X ป-ไตรมาสที่ ความตองการจริง
7 2008-ไตรมาส 3 14.2
8 2008-ไตรมาส 4 18.4
9 2009-ไตรมาส 1 23.9
10 2009-ไตรมาส 2 23.3
คําตอบ 1 : 20
คําตอบ 2 : 25
คําตอบ 3 : 27
คําตอบ 4 : 30

ขอที่ : 58
ภายใตสภาวะเงื่อนไขใด การพยากรณโดยวิธีการปรับเรียบเอ็กซโปเนนเชียลอยางงาย (Simple
Exponential Smoothing) จะทําใหคาพยากรณเหมือนกับคาความตองการจริงในชวงเวลาเดียวกัน
คําตอบ 1 : Alpha = 0
คําตอบ 2 : Alpha = 1
คําตอบ 3 : Alpha = 0.5
คําตอบ 4 : Alpha = 0.1

ขอที่ : 59
โดยหลักการพยากรณแบบอนุกรมเวลา ขอมูลในอดีตจะประกอบไปดวย องคประกอบตอไปนี้ยกเวน
คําตอบ 1 : วัฎจักร (Cyclical)
คําตอบ 2 : ความไมแนนอน (Random)

หนา 22 จาก 163


คําตอบ 3 : แนวโนม (Trend)
คําตอบ 4 : ความถี่ (Frequency)

ขอที่ : 60
วีธีการพยากรณตอไปนี้เปนวิธีการพยากรณเชิงคุณภาพยกเวน
คําตอบ 1 : Delphi
คําตอบ 2 : วิจัยตลาด
คําตอบ 3 : Panel Consensus
คําตอบ 4 : Input-Output Control

ขอที่ : 61
โดยวิธีอัตราสวนตอคาแนวโนม คาฤดูกาลสามารถคํานวณไดจาก
คําตอบ 1 : วิธีการวิเคราะหการถดถอย (Regression Analysis)
คําตอบ 2 : หารยอดขายจริงดวยคาพยากรณแนวโนม
คําตอบ 3 : หารคาพยากรณแนวโนมดวยยอดขายจริง
คําตอบ 4 : หารคาฤดูกาลปจจุบันดวยฤดูกาลที่แลว

ขอที่ : 62
อัตราสวนของความคลาดเคลื่อนพยากรณสะสมตอคาเบี่ยงเบนสมบูรณในชวงเวลา เดียวกัน จะถูกใชใน
การหา
คําตอบ 1 : สัญญาณติดตาม (Tracking Signal)
คําตอบ 2 : การวัดประสิทธิภาพของการพยากรณ
คําตอบ 3 : การประมาณความคลาดเคลื่อนของการพยากรณ
คําตอบ 4 : การประมาณคาความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน

หนา 23 จาก 163


ขอที่ : 63
การพยากรณโดยวิธีปรับเรียบเอ็กซโปเนนเชียลอยางงาย (Simple Exponential Smoothing) การ
กําหนดคา Alpha สูงขึ้น หมายถึง
คําตอบ 1 : การเนนใหความสําคัญกับขอมูลในอนาคตมากกวาในอดีต
คําตอบ 2 : การเนนใหความสําคัญกับอดีตเทาๆกันทุกๆชวงเวลามากยิ่งขึ้น
คําตอบ 3 : การเนนใหความสําคัญกับขอมูลลาสุดมากขึ้นในการชี้นําถึงอนาคต
การเนนใหความสําคัญกับขอมูลในอดีตที่หางไกลจากปจจุบันมากยิ่งขึ้นในการชี้นําอนาคต
คําตอบ 4 :
เนื่องจากสะทอนพฤติกรรมของอนาคตไดดีกวา

ขอที่ : 64
ถาตัวแปร 2 ตัวมีสหสัมพันธกันอยางสมบูรณ (Perfectly Correlated) คาสัมประสิทธสหสัมพันธ
(Correlation Coefficient- r) ควรเปนเทาไร
คําตอบ 1 : 0
คําตอบ 2 : มากวา 0 แตนอยกวา 1
คําตอบ 3 : เทากับ 1 เทานั้น
คําตอบ 4 : -1 หรือ + 1

ขอที่ : 65
จุดมุงหมายพื้นฐานของคาเฉลี่ยเบี่ยงเบนสมบูรณ (Mean Absolute Diviation-MAD) คือ
คําตอบ 1 : ประมาณคาเสนแนวโนม
คําตอบ 2 : ประมาณคาความคลาดเคลื่อนของฤดูกาล
คําตอบ 3 : วัดความแมนยําของการพยากรณ
คําตอบ 4 : ปรับเรียบคาพยากรณ

หนา 24 จาก 163


ขอที่ : 66
ถายอดขายโทรศัพทมือถือในวันพุธ เทากับ 35 เครื่อง เราสามารถพยากรณไดทันทีวายอดขายในวัน
พฤหัสจะเทากับ 35 เครื่อง และ ถายอดขายจริงของวันพฤหัสเทากับ 42 เครื่อง คาพยากรณของวันศุกรก็
คือ 42 เครื่อง วิธีการพยากรณ ดังกลาวคือวิธีใด
คําตอบ 1 : วิธี Naive แบบสม่ําเสมอ
คําตอบ 2 : วิธี Naive แบบมีแนวโนม
คําตอบ 3 : วิธี Naive แบบมีฤดูกาล
คําตอบ 4 : วิธี Naive แบบสุม

ขอที่ : 67
ในการพยากรณแบบ Naive โดยการพิจารณาองคประกอบฤดูกาล เชน ถายอดขายจริงในเดือนกรกฎาคม
ปที่แลวเทากับ 50,000 หนวย ดังนั้นคาพยากรณยอดขายสําหรับเดือนกรกฎาคมปนี้ควรจะเทากับ
คําตอบ 1 : 50,000 หนวย
คําตอบ 2 : 60,000 หนวย
คําตอบ 3 : 70,000 หนวย
คําตอบ 4 : 100,000 หนวย

ขอที่ : 68
บริษัท แหงหนึ่งไดสราง Model สําหรับการพยากรณยอดขายในปถัดไป โดยใชขอมูลยอดขายราย
ไตรมาส 3 ปลาสุดที่ผานมา(12 ชวงเวลา) ซึ่ง Model ดังกลาวประกอบดวย องคประกอบแนวโนมและฤดุ
กาล โดยองคประกอบแนวโนมเปนแบบเสนตรงมีสมการดังตอไปนี้ จงหาคาพยากรณยอดขายสําหรับ
อนาคตปถัดไปในไตรมาสที่ 4 เทากับเทาไร

T = a + b*t = 30 + 2.5*(t)

หนา 25 จาก 163


และสําหรับดัชนีฤดูกาล (S) ในแตละไตรมาส คือ

ไตรมาสที่ 1 เทากับ 1.1

ไตรมาสที่ 2 เทากับ 1.2

ไตรมาสที่ 3 เทากับ 0.8

ไตรมาสที่ 4 เทากับ 0.9


คําตอบ 1 : 68.75
คําตอบ 2 : 78
คําตอบ 3 : 54
คําตอบ 4 : 63

ขอที่ : 69
จากผลการคํานวณตัวแบบการพยากรณที่มีองคประกอบของแนวโนม(เปนแบบเสนตรงมีความชัน)และ
ฤดูกาล ของขอมูลยอดขายชุดหนึ่ง ไดผลลัพธดังตอไปนี้ จงพยากรณยอดขายในชวงเวลาที่ 7 ที่
พิจารณาทั้งแนวโนมและฤดูกาล

สมการเสนตรง = a + b*t

โดย a = 200, b = 20

คาดัชนีฤดูกาลมี 4 ฤดู ดังนี้

หนา 26 จาก 163


S1 = 0.90, S2 = 1.1, S3 = 1.2, S4 = 0.8
คําตอบ 1 : 1,926.0
คําตอบ 2 : 2,432.4
คําตอบ 3 : 154
คําตอบ 4 : 2,568

ขอที่ : 70
จากยอดขายจริง และ คาพยากรณที่คาํ นวณได ในชวง 5 เดือนที่ผานมาดังตอไปนี้ จงคํานวณคาเฉลี่ย
ความคลาดเคลื่อนกําลังสอง (Mean Square Error-MSE)

ยอดขายจริง คาพยากรณ
10 11
8 10
10 8
6 6
9 8
คําตอบ 1 : – 1.2
คําตอบ 2 : 0.0
คําตอบ 3 : 10
คําตอบ 4 : 2

หนา 27 จาก 163


ขอที่ : 71
ผูจัดการราน Pizza แหงหนึ่งกําลังรวบรวมขอมูลเพื่อทําการพยากรณความตองการรายสัปดาหสําหรับ
Pizza ชนิดพิเศษ เพื่อจะไดวางแผนการสั่ง Pizza ในแตละสัปดาหโดยขอมูลยอดขายที่ผานมาไดแสดง
ในตารางขางลางนี้ จากขอมูลที่กําหนดใหจงใชวิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนที่อยางงาย 3 สัปดาห ในการพยากรณ
สัปดาหที่ 7

สัปดาห ความตองการ Pizzas ชนิดพิเศษ


1 50
2 65
3 53
4 56
5 55
6 60
คําตอบ 1 : 55
คําตอบ 2 : 56
คําตอบ 3 : 57
คําตอบ 4 : 58

ขอที่ : 72
ใกลปลายเดือนพฤษภาคม ทานไดรับมอบหมายใหจัดเตรียมการพยากรณเดือนมิถุนายน สําหรับ
ผลิตภัณฑชนิดหนึ่ง คาพยากรณเดือนพฤษภาคมเทากับ 900 หนวย และยอดขายจริงเดือนพฤษภาคม
เทากับ 1,000 หนวย ถาทานใชวิธีการพยากรณแบบปรับเรียบเอ็กโปเนนเชียลอยางงาย ในการพยากรณ
เดือนมิถุนายน โดยกําหนดคาปรับเรียบคงที่ = 0.20 คาพยากรณเดือนมิถุนายน เทากับเทาไร

หนา 28 จาก 163


คําตอบ 1 : นอยกวา 925 หนวย
คําตอบ 2 : มากกวา หรือเทากับ 925 หนวย แตนอยกวา 950 หนวย
คําตอบ 3 : มากกวา หรือเทากับ 950 หนวย แตนอยกวา 1,000 หนวย
คําตอบ 4 : มากกวา หรือ เทากับ 1,000 หนวย

ขอที่ : 73
จงพยากรณชวงเวลาที่ 17 (F17) โดยวิธี Simple Exponential Smoothing จากขอมูลที่กําหนดให
ตอไปนี้ โดยกําหนดให Alpha (α) = 0.1 และคาพยากรณของชวงเวลาที่ 16 (F16) = 92

ชวงเวลา: 15 16 17

ความตองการ: 80 90 98
คําตอบ 1 : 92.6
คําตอบ 2 : 95
คําตอบ 3 : 101
คําตอบ 4 : 94

ขอที่ : 74
กําหนดใหขอมูลความตองการจริงเทากับ 61 คาพยากรณชว งเวลากอนหนาเทากับ 58 และ คา Alpha =
0.3 คาพยากรณสําหรับชวงเวลาถัดไปโดยวิธีปรับเรียบเอ็กซโปเนนเชียลอยางงาย คือเทาไร
คําตอบ 1 : 45.5
คําตอบ 2 : 57.1
คําตอบ 3 : 58.9
คําตอบ 4 : 61.1

หนา 29 จาก 163


ขอที่ : 75
กําหนดใหขอมูลความตองการจริงเทากับ 103 คาพยากรณชวงเวลากอนหนาเทากับ 99 และ คา Alpha
= 0.4 คาพยากรณสําหรับชวงเวลาถัดไปโดยวิธีปรับเรียบเอ็กซโปเนนเชียลอยางงาย คือเทาไร
คําตอบ 1 : 94.6
คําตอบ 2 : 97.4
คําตอบ 3 : 100.6
คําตอบ 4 : 101.6

ขอที่ : 76
ผลการพยากรณจากวิธีการพยากรณวิธีหนึ่งในชวง 5 ชวงเวลาที่ผานมาไดผลดังแสดงในตารางขางลางนี้
จงคํานวณคาเฉลี่ยเบี่ยงเบนสมบูรณ (MAD)

ยอดขายจริง คาพยากรณ
10 11
8 10
10 8
6 6
9 8
คําตอบ 1 : – 0.2
คําตอบ 2 : – 1.0
คําตอบ 3 : 0.0
คําตอบ 4 : 1.2

หนา 30 จาก 163


ขอที่ : 77
จากสมการแนวโนมเสนตรงและขอมูลที่กําหนดใหตอไปนี้ จงคํานวณหาคาดัชนีฤดูกาลของชวง Spring
โดยวิธีอัตรสวนตอคาแนวโนม สมการเสนตรง a + bt = 2 + 3t
ป ฤดู ชวงเวลาที่ ยอดขายจริง
1997 Winter 1 4
1997 Spring 2 9
1997 Summer 3 11
1997 Fall 4 13
1998 Winter 5 16
1998 Spring 6 21
1998 Summer 7 23
1998 Fall 8 26
คําตอบ 1 : 1.12
คําตอบ 2 : 1.05
คําตอบ 3 : 0.91
คําตอบ 4 : 1.09

ขอที่ : 78
ผลการพยากรณจากวิธีการพยากรณวิธีหนึ่งในชวง 5 ชวงเวลาที่ผานมาไดผลดังแสดงในตารางขางลางนี้
จงคํานวณคาเฉลี่ยเปอรเซ็นตความคลาดเคลื่อนสมบูรณ (Mean Absolute Percent Error-MAPE)
ยอดขายจริง คาพยากรณ

หนา 31 จาก 163


10 11
8 10
10 8
6 6
9 8
คําตอบ 1 : 2.0%
คําตอบ 2 : 13.3%
คําตอบ 3 : 4.0%
คําตอบ 4 : 1.2%

ขอที่ : 79
ในการคํานวณคาความคลาดเคลื่อนของการพยากรณของสินคาชนิดหนึ่งบริษัทไดเลือกใชสูตร คาเฉลี่ย
เบี่ยงเบนสมบูรณ (Mean Absolute Deviation- MAD) ซึ่ง คํานวณไดเทากับ 1.2 เมื่อคิดเปนคาเบี่ยงเบน
มาตรฐานจะมีคาประมาณเทาไร
คําตอบ 1 : 1.2
คําตอบ 2 : 0.8
คําตอบ 3 : 0.96
คําตอบ 4 : 1.25

ขอที่ : 80
ถาสมมติวา ผลรวมของความคลาดเคลื่อนของการพยากรณใน 12 ชวงเวลา เทากับ +1000 ขณะที่ คา
MAD สําหรับ 12 ชวงเวลาเดียวกัน เทากับ 250 จงคํานวณคาสัญญาณติดตาม (Tracking Signal)
สําหรับชวงเวลาที่ 12

หนา 32 จาก 163


คําตอบ 1 : 1
คําตอบ 2 : 0.25
คําตอบ 3 : 0.833
คําตอบ 4 : 4

ขอที่ : 81
สมมติวา ในการวางแผนการเก็บสตอกสินคาไวเพื่อขายของบริษัทแหงหนึ่งจะขึ้นอยูกับการพยากรณความ
ตองการ โดยผูแทนฝายขายจากศูนยกระจายสินคาจะสั่งสินคาเขามาเดือนละครั้งในวันแรกของแตละ
เดือน จงพยากรณยอดขายเดือนกันยายนโดยใชวิธีถัวเฉลี่ยเคลื่อนแบบถวงน้ําหนัก 3 ชวงเวลา โดย
บริษัทมีขอมูลยอดขายและใชคาถวงน้ําหนักของเดือนมิถุนายน ถึงเดือนสิงหาคมดังนี้

เดือน ยอดขาย คาถวงน้ําหนัก


มิ.ย. 140 0.2
ก.ค. 180 0.3
ส.ค. 170 0.5

คําตอบ 1 : 167
คําตอบ 2 : 180
คําตอบ 3 : 202
คําตอบ 4 : 187

ขอที่ : 82

หนา 33 จาก 163


บริษัทแหงหนึ่งกําลังพยากรณยอดขายรายไตรมาส ปที่ 6 ของสินคาชนิดหนึ่ง
โดยใชขอมูลยอดขายในอดีตที่ผานมา 5 ป และใชวิธีการพยากรณแบบปรับ
เรียบเอ็กซโปเนนเชียลโดยมีองคประกอบของแนวโนมและ ฤดูกาล
(Exponential Smoothing with Trend and Seasonal) สําหรับคาพยากรณ
ตางๆที่คํานวณไดมีดังนี้ :-

คาพยากรณปรับเรียบถัวเฉลี่ย Y20 = 85.45

คาพยากรณปรับเรียบแนวโนม T20 = -1.309

คาพยากรณปรับเรียบฤดูกาลปที่ 5

ชวงเวลาที่ 17 ไตรมาสที่ 1 I1 = 1.066

ชวงเวลาที่ 18 ไตรมาสที่ 2 I2 = 0.859

ชวงเวลาที่ 19 ไตรมาสที่ 3 I3 = 0.565

ชวงเวลาที่ 20 ไตรมาสที่ 4 I4 = 1.48

จงพยากรณยอดขายรายไตรมาสของปที่ 6

คําตอบ 1 : 89.96 , 71.15 , 46.06 , 118.72


คําตอบ 2 : 89.96 , 91 , 83 , 110
คําตอบ 3 : 98.4 , 84.3 , 86.2 , 112.6

หนา 34 จาก 163


คําตอบ 4 : 77.3 , 83.4 , 65.5 , 90.2

ขอที่ : 83
ผูจัดการราน Pizza แหงหนึ่งกําลังรวบรวมขอมูลเพื่อทําการพยากรณความตองการรายสัปดาหสําหรับ
Pizza ชนิดพิเศษ เพื่อจะไดวางแผนการสั่ง Pizza ในแตละสัปดาห โดยขอมูลยอดขายที่ผานมาไดแสดง
ในตารางขางลางนี้
สัปดาห ความตองการ Pizzas ชนิดพิเศษ
1 50
2 65
3 53
4 56
5 55
6 60
จากขอมูลที่กาํ หนดใหจงใชวิธีถัวเฉลี่ยเคลือ่ นที่ แบบถวงน้ําหนัก 4 สัปดาห ในการพยากรณความตองการ สัปดาหที่ 7
โดยกําหนดคาน้ําหนักตามลําดับ จากลาสุดไปเกาสุด ดังนี้ 0.6, 0.3, 0.07, 0.03
คําตอบ 1 : 58 Pizzas
คําตอบ 2 : 60 Pizzas
คําตอบ 3 : 62 Pizzas
คําตอบ 4 : 64 Pizzas

ขอที่ : 84
จงคํานวณคาความคลาดเคลื่อนของการพยากรณโดยวิธี MAD ของคาพยากรณ 2 ชุด และพิจารณาวา
ชุดใดดีที่สุด

หนา 35 จาก 163


สัปดาห 1 2 3
ความตองการจริง 5 7 8
คาพยากรณชดุ ที่ 1 3 6 9
คาพยากรณชดุ ที่ 2 6 7 12
คําตอบ 1 : ชุดที่ 1 MAD = 1.33 , ชุดที่ 2 MAD = 1.67 , ชุดที่ 2 ดีที่สุด
คําตอบ 2 : ชุดที่ 1 MAD = 0.67 , ชุดที่ 2 MAD = 1.67 , ชุดที่ 1 ดีที่สุด
คําตอบ 3 : ชุดที่ 1 MAD = 1.33 , ชุดที่ 2 MAD = 1.67 , ชุดที่ 1 ดีที่สุด
คําตอบ 4 : ชุดที่ 1 MAD = 0.67 , ชุดที่ 2 MAD = 1.33 , ชุดที่ 1 ดีที่สุด

ขอที่ : 85
สมมติวาในการวางแผนการสตอกสินคาไวเพื่อขายของบริษัทแหงหนึง่ จะขึ้นอยูกับการพยากรณความตองการ โดย
ผูแทนฝายขายจากศูนยกระจายสินคา จะสัง่ สินคาเขามาเดือนละครั้ง ในวันแรกของแตละเดือน จงพยากรณยอดขาย
เดือนกันยายน โดยใชวิธีปรับเรียบ เอกซโปเนนเชียลอยางงาย ภายใตเงื่อนไขสูตรดังนี้

Ft = Ft-1 +α(Dt-1-Ft-1)

กําหนดให F มิ.ย. = 130 และคาปรับเรียบ α = 0.30

โดยบริษัทมีขอ มูลยอดขายของเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคมดังนี้

เดือน ยอดขาย

หนา 36 จาก 163


มิ.ย. 140

ก.ค. 180

ส.ค. 170
คําตอบ 1 : 110
คําตอบ 2 : 123
คําตอบ 3 : 154
คําตอบ 4 : 187

ขอที่ : 86
ขอใดตอไปนี้ไมใชวัตถุประสงคของการวางแผนการผลิตรวม
คําตอบ 1 : เพื่อทราบปริมาณสินคาทีต
่ องผลิตในแตละชวงเวลา
คําตอบ 2 : เพื่อทราบจํานวนพนักงานที่ตองใช
คําตอบ 3 : เพื่อทราบจํานวนสินคาคงคลัง
คําตอบ 4 : เพื่อจัดลําดับงาน

ขอที่ : 87
ใหสินคาคงคลังที่ตนปมีอยู 100 หนวย ถาความตองการสินคาของลูกคาที่สิ้นเดือน มกราคม กุมภาพันธ
และมีนาคม คือ 1,500 หนวย 2,000 หนวย และ 1,000 หนวย โดยในแตละเดือนทางโรงงานสั่งใหมีการ
ผลิตคงที่ที่ระดับ 2,000 หนวย อยากทราบวาที่สิ้นเดือนกุมภาพันธจะมีสินคาคงคลังเหลืออยูกี่หนวย
ภายหลังจากการสงสินคาใหลูกคาในเดือนนั้นแลว
คําตอบ 1 : 500 หนวย
คําตอบ 2 : 600 หนวย

หนา 37 จาก 163


คําตอบ 3 : 700 หนวย
คําตอบ 4 : 1,600 หนวย

ขอที่ : 88
กลยุทธในการวางแผนการผลิตรวมในขอใดตอไปนี้สงผลใหตนทุนสินคาคงคลังสูงที่สุดเมื่อความตองการ
สินคาในแตละชวงเวลาไมเทากัน
คําตอบ 1 : การรักษาระดับกําลังการผลิตใหคงที่
คําตอบ 2 : การทํางานลวงเวลาเมื่อมีความตองการมาก
ใหมีการจางงานพนักงานเพิ่มเมื่อมีความตองการเพิ่มและปลดพนักงานเมื่อมีความตองการ
คําตอบ 3 :
นอย
คําตอบ 4 : มีการจางเหมาชวงเมื่อมีความตองการมาก

ขอที่ : 89
พนักงาน 10 คน สามารถผลิตสินคาได 2,000 ชิ้นตอเดือน ปจจุบันโรงงานมีสินคาคงคลังอยู 2,000 ชิ้น
ถาบริษัทตองการผลิตสินคาใหไดทันสงมอบใหลูกคาในเดือนถัดไปจํานวน 5,000 ชิ้น โรงงานจะตองจาง
พนักงานเพิ่มจํานวนเทาใดถาอัตราการผลิตของพนักงานแตละคนเทากันและใหสินคาสํารองมีคาเปนศูนย
คําตอบ 1 : 5 คน
คําตอบ 2 : 7 คน
คําตอบ 3 : 8 คน
คําตอบ 4 : 10 คน

ขอที่ : 90
ในการวางแผนการผลิตรวมรายไตรมาสสําหรับปที่กําลังจะมาถึง ถาจํานวนวันทํางานของไตรมาสที่ 1-4
เปนดังนี้ 60, 50, 55 และ 62 ตามลําดับ และถาปริมาณความตองการของไตรมาสที่ 1-4 เปนดังนี้ 1000,
800, 900 และ 1,200 ตามลําดับ ถาใชนโยบายกําหนดอัตราการผลิตตอวันคงที่ อัตราการผลิตตอวันควร

หนา 38 จาก 163


เปน
คําตอบ 1 : 19
คําตอบ 2 : 17
คําตอบ 3 : 15
คําตอบ 4 : 13

ขอที่ : 91
จํานวนวันทํางานของไตรมาสที่ 1-4 เปนดังนี้ 60, 55, 56 และ 62 ตามลําดับ และถาปริมาณความ
ตองการของไตรมาสที่ 1-4 เปนดังนี้ 1000, 800, 900 และ 1,400 ตามลําดับ ถาใชนโยบายกําหนดอัตรา
การผลิตตอวันคงที่ โดยกําหนดอัตราการผลิตตอวันเปน 18 จะมีเหตุการณใดเกิดขึ้น
คําตอบ 1 : จะเกิดการขาดพัสดุในไตรมาสที่ 4
คําตอบ 2 : จะเกิดพัสดุเหลือในไตรมาสที่ 4
คําตอบ 3 : จะเกิดการขาดพัสดุในไตรมาสที่ 2
คําตอบ 4 : จะเกิดพัสดุเหลือในไตรมาสที่ 2

ขอที่ : 92
ขอดีของการกําหนดปริมาณการผลิตตามความตองการคือ
คําตอบ 1 : ไมตองมีพัสดุคงคลัง
คําตอบ 2 : ไมมีการเปลี่ยนแปลงจํานวนคนงาน
คําตอบ 3 : ใชเครื่องจักรไดเต็มที่
คําตอบ 4 : ไมตองมีการจัดการมาก

ขอที่ : 93
ถาคาพยากรณความตองการในเดือนตุลาคมมีคาเทากับ 2,125 หนวยและสิ้นเดือนกันยายนคาดวาจะมี

หนา 39 จาก 163


ปริมาณพัสดุคงเหลือ 1,249 หนวย และมีความตองการที่จะมีของคงคลังสํารองในสิ้นเดือนตุลาคมเทากับ
1,200 หนวย ดังนั้นปริมาณความตองการผลิตสําหรับเดือนตุลาคมคือขอใด
คําตอบ 1 : 2,076
คําตอบ 2 : 3,325
คําตอบ 3 : 2,449
คําตอบ 4 : 3,320

ขอที่ : 94
ถาคาดวาจะขายสินคาทีป ่ ถัดไปได 2,000 หนวย และตองการใหมีสินคาสํารองไวในปหนา 1,000 หนวย
และมีสินคาคางสงใหลูกคาอีก 500 หนวย อยากทราบวาจะตองทําการผลิตสินคาสําหรับปหนาจํานวน
เทาใดโดยไมใหมีสินคาคางสงอีก
คําตอบ 1 : 2,000
คําตอบ 2 : 2,500
คําตอบ 3 : 3,000
คําตอบ 4 : 3,500

ขอที่ : 95
คํากลาวเกี่ยวกับตนทุนขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
คาแรงปกติ คือ คาแรงเฉลี่ยของคนงาน 1 คน ที่ทํางาน 1 หนวยเวลาของการผลิตใน
คําตอบ 1 :
ชวงเวลาปกติ
คําตอบ 2 : คาจางผูรับเหมาชวงเปนคาใชจายรวมตอหนวยที่เกิดขึ้นจากการจางเหมาชวง
คาใชจายสินคาขาดมือคือคาใชจายที่คาดวาจะสูญเสียเนื่องจากผูสงวัตถุดิบสงวัตถุดิบให
คําตอบ 3 :
ลาชา
คาใชจายในการเก็บรักษาสินคาคงคลังเปนคาใชจายที่เกิดขึ้นในการสูญเสียโอกาสที่เปน
คําตอบ 4 :
ผลมาจากนําเงินไปจมอยูในรูปสินคาคงคลัง

หนา 40 จาก 163


ขอที่ : 96
ขอมูลใดตอไปนี้ไมใชขอมูลสําหรับการพิจารณาตัวแบบทางคณิตศาสตรของการวางแผนการผลิตรวม
คําตอบ 1 : พยากรณความตองการของลูกคา
คําตอบ 2 : อัตราการผลิต
คําตอบ 3 : ลําดับของงาน
คําตอบ 4 : ความสามารถของระบบ

ขอที่ : 97
ขอใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับการวางแผนการผลิตรวม
คําตอบ 1 : การวางแผนการผลิตรวมครอบคลุมระยะเวลาประมาณ 6-18 เดือน
คําตอบ 2 : ตนทุนต่ําสุดบางครั้งอาจจะไมใชเปาหมายที่สําคัญที่สุดในการวางแผนการผลิตรวม
คําตอบ 3 : การวางแผนการผลิตรวมเปนการเชื่อมเปาหมายเชิงกลยุทธขององคกรไปสูแผนการผลิต
คําตอบ 4 : ถูกตองทุกขอที่กลาวมา

ขอที่ : 98
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับการวางแผนการผลิตรวม
วัตถุประสงคของการวางแผนการผลิตรวมก็คือการทําใหตนทุนในการจัดหากําลังการผลิต
คําตอบ 1 :
ใหสอดคลองกับความตองการต่ําสุดเทานั้น
กระบวนการวางแผนการผลิตรวมโดยปกติจะครอบคลุมถึงการเรงงานและการสงใบสั่งผลิต
คําตอบ 2 :
ผลิตภัณฑแตละรายการเขาสูการผลิต
Linear Programming เปนกระบวนการลองผิดลองถูกกระบวนการหนึ่งของการวางแผนการ
คําตอบ 3 :
ผลิตรวม
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

หนา 41 จาก 163


ขอที่ : 99
ระยะเวลาโดยทั่วไปของการวางแผนการผลิตรวมจะครอบคลุมประมาณ
คําตอบ 1 : นอยกวา 3 เดือน
คําตอบ 2 : มากกวา 2 ป
คําตอบ 3 : 6-18 เดือน
คําตอบ 4 : มากกวา 5 ป

ขอที่ : 100
แผนการผลิตประเภทใดตอไปนี้ครอบคลุมระยะเวลา 6 – 12 เดือน
คําตอบ 1 : การวางแผนความตองการวัสดุ
คําตอบ 2 : ตารางการผลิตหลัก
คําตอบ 3 : การวางแผนความตองการกําลังการผลิต
คําตอบ 4 : การวางแผนการผลิตรวม

ขอที่ : 101
กลยุทธการวางแผนการผลิตรวมใดตอไปนี้ เปนทางเลือกดานกําลังการผลิต
คําตอบ 1 : การเปลี่ยนแปลงราคา
คําตอบ 2 : การเปลี่ยนแปลงระดับสินคาคงคลัง
คําตอบ 3 : การสงยอนหลัง
คําตอบ 4 : ยืดระยะชวงเวลานําออกไป

ขอที่ : 102
กลยุทธการวางแผนการผลิตรวมใดตอไปนี้ ทําใหขัวญและกําลังใจของพนักงานต่ํา

หนา 42 จาก 163


คําตอบ 1 : เปลี่ยนแปลงระดับแรงงานโดยการ จางคนเพิ่ม และ ปลดคนออก
คําตอบ 2 : เปลี่ยนแปลงอัตราการผลิตโดยการทําลวงเวลาหรือปลอยใหวาง (Idle time)
คําตอบ 3 : ใชพนักงานชั่วคราว (Part-time Worker)
คําตอบ 4 : สงยอนหลังในชวงที่มีความตองการสูง

ขอที่ : 103
กลยุทธสม่ําเสมอ (Level) ในการวางแผนการผลิตรวม สิ่งที่กําหนดไวเหมือนๆกันเดือนตอเดือนคืออะไร
คําตอบ 1 : ระดับผูรับเหมาชวง
คําตอบ 2 : ระดับสินคาคงคลัง
คําตอบ 3 : ระดับการผลิตหรือระดับแรงงาน
คําตอบ 4 : ระดับของความตองการ

ขอที่ : 104
วิธีการใดตอไปนี้ไมสอดคลองกับกลยุทธระดับสม่ําเสมอแบบบริสุทธ (Pure Level Strategy)
คําตอบ 1 : ปรับระดับการใชผูรับชวงงาน
คําตอบ 2 : แปรเปลี่ยนระดับแรงงาน
คําตอบ 3 : มีการใชสินคาคงคลังเพียงเล็กนอยหรือไมใชเลยเพื่อใหสอดคลองกับความตองการ
คําตอบ 4 : ไมสอดคลองกับกลยุทธระดับสม่ําเสมอทุกขอ

ขอที่ : 105
กลยุทธการวางแผนการผลิตใดที่ ทําระดับอัตราการผลิตใหสอดคลองกับอัตราความตองการ(Matching
Production Rate to The Order Rate) โดยการจางคนงานเพิ่ม หรือ ปลดคนงานออก เมื่อ อัตราความ
ตองการมีการเปลี่ยนแปลง
คําตอบ 1 : กลยุทธไลตามความตองการ (Chase Strategy)

หนา 43 จาก 163


คําตอบ 2 : กลยุทธสม่ําเสมอ (Level Strategy)
คําตอบ 3 : กลยุทธแรงงานมีเสถียรภาพ (Stable Work Force Strategy)
คําตอบ 4 : รวมระหวางขอ 1 และ 3

ขอที่ : 106
กลยุทธการวางแผนการผลิตใดที่ เนน อัตราผลผลิตคงที่ตลอดชวงระยะเวลาของแผน
คําตอบ 1 : กลยุทธสม่ําเสมอ (Level Strategy)
กลยุทธแรงงานมีเสถียรภาพแตใหชั่วโมงทํางานแปรเปลี่ยน (Stable Work Force
คําตอบ 2 :
Strategy- Variable Work Hours)
คําตอบ 3 : กลยุทธไลตามความตองการ (Shase Strategy)
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 107
การวางแผนการผลิตรวมเปนการตัดสินใจเกี่ยวกับสิ่งใด ในแตละชวงระยะเวลาของแผน
คําตอบ 1 : ระดับแรงงาน (Workforce Level)
คําตอบ 2 : ระดับสินคาคงคลัง (Inventory Level)
คําตอบ 3 : อัตราการผลิต (Production Rate)
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 108
ความแตกตางระหวางอัตราการผลิตที่คงที่และอัตราความตองการสามารถรองรับไดโดย
คําตอบ 1 : Inventory
คําตอบ 2 : Backlog
คําตอบ 3 : Overtime หรือ Part-time Labor And/or Subcontracting

หนา 44 จาก 163


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 109
คาใชจายใดตอไปนี้เกี่ยวของกับการวางแผนการผลิตรวม
คําตอบ 1 : คาใชจายถือครองของคงคลัง
คําตอบ 2 : คาใชจายในการเปลี่ยนแปลงระดับการผลิต
คําตอบ 3 : คาใชจายในการทําลวงเวลา
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 110
คาใชจายใดตอไปนี้ไมเกี่ยวของกับการวางแผนการผลิตรวม
คําตอบ 1 : คาใชจายในการสงผลิตยอนหลัง
คําตอบ 2 : คาใชจายในการจางผูรับเหมาชวง
คําตอบ 3 : คาใชจายในการเปดกะทํางานที่ 2
คําตอบ 4 : คาใชจายในการจัดสมดุลสายการผลิต

ขอที่ : 111
ถาสินคาคงคลังตนงวดเทากับ 100 หนวย ขณะที่คาพยากรณความตองการ เทากับ 1,200 หนวย และ
ตองการใหมีสินคาคงคลังสํารองปลายงวดเทากับ 20 % ของคา พยากรณความตองการ จงคํานวนหาคา
ความตองการผลิต
คําตอบ 1 : 1,200
คําตอบ 2 : 1,300
คําตอบ 3 : 1,340
คําตอบ 4 : 1,540

หนา 45 จาก 163


ขอที่ : 112
ถาสินคาคงคลังตนงวดเทากับ 500 หนวย ขณะที่คาพยากรณความตองการ เทากับ 1,000 หนวย และ
ตองการใหมีสินคาคงคลังสํารองปลายงวดเทากับ 10 % ของคา พยากรณความตองการ จงคํานวนหาคา
ความตองการผลิต
คําตอบ 1 : 1,000
คําตอบ 2 : 900
คําตอบ 3 : 600
คําตอบ 4 : 350

ขอที่ : 113
คาพยากรณความตองการผลิตภัณฑชนิดหนึ่งในปถัดไปรายไตรมาส ของบริษัทแหง หนึ่งคือ 1,000 ;
1,200 ; 800 ; 1,400 หากทําการวางแผนการผลิตรวมโดยกลยุทธ การผลิตระดับสม่ําเสมอ(level
Strategy) แผนการผลิตในแตละไตรมาสเทากับเทาไร
คําตอบ 1 : 800
คําตอบ 2 : 1,000
คําตอบ 3 : 1,100
คําตอบ 4 : 1,400

ขอที่ : 114
คาพยากรณความตองการผลิตภัณฑชนิดหนึ่งในปถัดไปรายไตรมาส ของบริษัทแหง หนึ่งคือ 5,000
หนวย ; 4,500 หนวย ; 5400 หนวย ; 5200 หนวย หากทําการวาง แผนการผลิตรวมโดยกลยุทธการ
ผลิตระดับสม่ําเสมอ (Level Production Strategy) แผนการผลิตในแตละไตรมาส เทากับเทาไร
คําตอบ 1 : 5,000 หนวย
คําตอบ 2 : 5,025 หนวย

หนา 46 จาก 163


คําตอบ 3 : 5,200 หนวย
คําตอบ 4 : 5,400 หนวย

ขอที่ : 115
จากการพยากรณความตองการสินคากลุมหนึ่งในปถัดไปซึ่งประกอบไปดวยสินคา 2 รายการ ดังนี้ A =
1,000 หนวย B = 2,000 หนวย โดยสินคาแตละรายการใชเวลาในการผลิตดังนี้ A = 0.5 ชั่วโมงตอ
หนวย B = 1 ชั่วโมงตอหนวย หากตองการหาความตองการรวม (Aggregate Demand) ในหนวยของ
สินคา B จะหาความตองการรวมไดเทาไร
คําตอบ 1 : 1,000 หนวย
คําตอบ 2 : 2,000 หนวย
คําตอบ 3 : 2,500 หนวย
คําตอบ 4 : 3,000 หนวย

ขอที่ : 116
จากการพยากรณความตองการสินคากลุมหนึ่งในปถัดไปซึ่งประกอบไปดวยสินคา 2 รายการ ดังนี้ A =
1,000 หนวย B = 2,000 หนวย โดยสินคาแตละรายการใชเวลาในการผลิตดังนี้ A = 0.5 ชั่วโมงตอ
หนวย B = 1 ชั่วโมงตอหนวย หากตองการหาความตองการรวม (Aggregate Demand) ในหนวยของ
สินคา A จะหาความตองการรวมไดเทาไร
คําตอบ 1 : 2,000 หนวย
คําตอบ 2 : 3,000 หนวย
คําตอบ 3 : 4,000 หนวย
คําตอบ 4 : 5,000 หนวย

ขอที่ : 117
บริษัทผลิตผงซักฟองแหงหนึ่ง ไดพยากรณยอดขายผงซักฟอกแตละขนาดใน ไตรมาสถัดไปดังนี้ ขนาด

หนา 47 จาก 163


เล็ก = 3,000 ตัน ขนาด กลาง = 1,000 ตัน ขนาด ใหญ = 2,000 ตัน จงหาความตองการรวม
(Aggregate Demand) ในไตรมาสถัดไป
คําตอบ 1 : 6,000 ตัน
คําตอบ 2 : 6,500 ตัน
คําตอบ 3 : 3,250 ตัน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 118
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับการวางแผนการผลิตรวม
ขอดีขอหนึ่งของกลยุทธไลตามความตองการ (Chase Demand Strategy) คือมีการจาง
คําตอบ 1 :
งานที่มีเสถียรภาพ
ประโยชนประการหนึ่งของกลยุทธไลตามความตองการ (Chase Demand Strategy) คือ
คําตอบ 2 :
ไมมีคาใชจายเกี่ยวกับสินคาสําเร็จรูปคงคลังหรือสินคาขาดแคลน
การใชกลยุทธการผลิตแบบผสมมักจะสงผลใหตนทุนการผลิตถูกต่ํากวาการใชกลยุทธบริ
คําตอบ 3 :
สุทธประเภทใดประเภทหนึ่ง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 119
คาพยากรณความตองการผลิตภัณฑปถัดไปรายไตรมาส ของบริษัทแหงหนึ่งคือ 5,000 ; 4,500 ; 5,400
; 5,200 หากทําการวางแผนการผลิตรวมโดยกลยุทธระดับสม่ําเสมอ (Level Strategy) แผนการผลิตใน
แตละไตรมาสเทากับเทาไร และระดับสินคาคงคลังสะสมสูงสุดเทากับเทาไร
คําตอบ 1 : 5,000 ; 500
คําตอบ 2 : 5,025 ; 550
คําตอบ 3 : 5,200 ; 900
คําตอบ 4 : 5,400 ; 1,300

หนา 48 จาก 163


ขอที่ : 120
คาพยากรณความตองการผลิตภัณฑปถัดไปรายไตรมาส ของบริษัทแหงหนึ่งคือ 1,000 ; 1,200 ; 800 ;
1,400 หากทําการวางแผนการผลิตรวมโดยกลยุทธระดับสม่ําเสมอ (Level Strategy) แผนการผลิตในแต
ละไตรมาสเทากับเทาไร และระดับสินคาคงคลังสะสมสูงสุดเทากับเทาไร
คําตอบ 1 : 1,000 ; 200
คําตอบ 2 : 1,200 ; 400
คําตอบ 3 : 1,100 ; 300
คําตอบ 4 : 1,400 ; 1,200

ขอที่ : 121
จากการพยากรณความตองการสินคากลุมหนึ่งในปถัดไปซึ่งประกอบไปดวยสินคา 4 รายการดังนี้ A =
1,000 หนวย, B = 2,000 หนวย, C = 4,000 หนวย, D = 2,500 หนวย โดยสินคาแตละรายการใชเวลา
ในการผลิตดังนี้ A = 0.5 ชั่วโมงตอหนวย B = 1 ชั่วโมงตอหนวย C = 2 ชั่วโมงตอหนวย และ D = 1.5
ชั่วโมงตอหนวย หากตองการหาความตองการรวม (Aggregate Demand) ในหนวยของสินคา B จะหา
ความตองการ
คําตอบ 1 : 9500 หนวย
คําตอบ 2 : 14,250 หนวย
คําตอบ 3 : 28,500 หนวย
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 122
บริษัทผลิตน้ําดืมแหงหนึ่ง ไดพยากรณยอดขายน้าํ ดืมแตละขนาดในไตรมาสถัดไปดังนี้ ขนาด 500 ซีซี =
150,000 แพค, ขนาด 750 ซีซี = 100,000 แพค, ขนาด 1,000 ซีซี = 80,000 แพค, ขนาด 1500 ซีซี
= 70,000 แพค โดย 1 แพค มีจํานวน 12 ขวด หากบริษัทตองการหาความตองการรวม (Aggregate
Demand) ในไตรมาส ถัดไปในหนวยของขนาด 1,000 ซีซี จะไดทั้งหมดกี่แพค

หนา 49 จาก 163


คําตอบ 1 : 230,000 หนวย
คําตอบ 2 : 335,000 หนวย
คําตอบ 3 : 670,000 หนวย
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 123
ผูจัดการโรงงานผลิตตูเย็นแหงหนึ่งไดรับทราบจากฝายขายวาลูกคามีความตองการตูเย็นในเดือนกุมภาพันธ จํานวน
200 เครื่อง และ มีนาคม จํานวน 300 เครื่อง ปลายเดือนมกราคมมีตูเย็นที่ผลิตเสร็จแลวอยูในสตอก 100 เครื่อง พนักงาน
1 คนสามารถประกอบตูเย็นได 10 เครื่องตอเดือน หากผูจัดการโรงงานไมตองการใหปลายเดือนกุมภาพันธและมีนาคม
มีตูเย็นเก็บสตอกอยูเลย ในเดือนกุมภาพันธ และ มีนาคมตองผลิตตูเย็นกี่เครื่อง
คําตอบ 1 : กุมภาพันธ 200 เครื่อง มีนาคม 300 เครื่อง
คําตอบ 2 : กุมภาพันธ 250 เครื่อง มีนาคม 250 เครื่อง
คําตอบ 3 : กุมภาพันธ 100 เครื่อง มีนาคม 300 เครื่อง
คําตอบ 4 : กุมภาพันธ 200 เครื่อง มีนาคม 200 เครื่อง

ขอที่ : 124
ผูจัดการโรงงานผลิตตูเย็นแหงหนึ่งไดรับทราบจากฝายขายวาลูกคามีความตองการตูเย็นในเดือนกุมภาพันธ จํานวน
200 เครื่อง และ มีนาคม จํานวน 300 เครื่อง ปลายเดือนมกราคมมีตูเย็นที่ผลิตเสร็จแลวอยูในสตอก 100 เครื่อง พนักงาน
1 คนสามารถประกอบตูเย็นได 10 เครื่องตอเดือน หากผูจัดการโรงงานไมตองการใหปลายเดือนกุมภาพันธและมีนาคม
มีตูเย็นเก็บสตอกอยูเลย ในเดือนกุมภาพันธ และ มีนาคมผูจัดการโรงงานจะตองจัดพนักงานทําการประกอบตูเย็นกี่คน
คําตอบ 1 : กุมภาพันธ 20 คน มีนาคม 30 คน
คําตอบ 2 : กุมภาพันธ 25 คน มีนาคม 25 คน

หนา 50 จาก 163


คําตอบ 3 : กุมภาพันธ 10 คน มีนาคม 30 คน
คําตอบ 4 : กุมภาพันธ 20 คน มีนาคม 20 คน

ขอที่ : 125
ผูจัดการโรงงานผลิตตูเย็นแหงหนึ่งไดรับทราบจากฝายขายวาลูกคามีความตองการตูเย็นในเดือนกุมภาพันธ จํานวน
200 เครื่อง และ มีนาคม จํานวน 300 เครื่อง ปลายเดือนมกราคมมีตูเย็นที่ผลิตเสร็จแลวอยูในสตอก 100 เครื่อง พนักงาน
1 คนสามารถประกอบตูเย็นได 10 เครื่องตอเดือน หากผูจัดการโรงงานตองการใหแตละเดือนผลิตสม่ําเสมอ ในเดือน
กุมภาพันธ และ มีนาคมตองผลิตตูเย็นกี่เครื่อง
คําตอบ 1 : กุมภาพันธ 300 เครื่อง มีนาคม 300 เครื่อง
คําตอบ 2 : กุมภาพันธ 250 เครื่อง มีนาคม 250 เครื่อง
คําตอบ 3 : กุมภาพันธ 200 เครื่อง มีนาคม 200 เครื่อง
คําตอบ 4 : กุมภาพันธ 100 เครื่อง มีนาคม 100 เครื่อง

ขอที่ : 126
ผูจัดการโรงงานผลิตตูเย็นแหงหนึ่งไดรับทราบจากฝายขายวาลูกคามีความตองการตูเย็นในเดือนกุมภาพันธ จํานวน
200 เครื่อง และ มีนาคม จํานวน 300 เครื่อง ปลายเดือนมกราคมมีตูเย็นที่ผลิตเสร็จแลวอยูในสตอก 100 เครื่อง พนักงาน
1 คนสามารถประกอบตูเย็นได 10 เครื่องตอเดือน หากผูจัดการโรงงานตองการใหแตละเดือนผลิตสม่ําเสมอ ในเดือน
กุมภาพันธ และ มีนาคมผูจัดการโรงงานจะตองจัดพนักงานทําการประกอบตูเย็นกี่คน
คําตอบ 1 : กุมภาพันธ 10 คน มีนาคม 10 คน
คําตอบ 2 : กุมภาพันธ 25 คน มีนาคม 25 คน
คําตอบ 3 : กุมภาพันธ 20 คน มีนาคม 20 คน
คําตอบ 4 : กุมภาพันธ 30 คน มีนาคม 30 คน

หนา 51 จาก 163


ขอที่ : 127
ขอมูลประกอบการวางแผนการผลิตในเดือนหนึ่งของโรงงานผลิตผงซักฟอกแหงหนึ่ง สรุปไดดังตารางนี้
แผนการผลิตรวม (Aggregate Production Planning) ของเดือนดังกลาวเทากับเทาไร

ขนาดเล็ก (ตัน) ขนาดกลาง (ตัน) ขนาดใหญ (ตัน)


คาพยากรณความตองการ 1,000 2,500 3,500

ขนาดเล็ก (ตัน) ขนาดกลาง (ตัน) ขนาดใหญ (ตัน)


สินคาคงคลังตนงวด 200 500 1,000

ขนาดเล็ก (ตัน) ขนาดกลาง (ตัน) ขนาดใหญ (ตัน)


ความตองการสินคาคงคลัง 100 250 350
ปลายงวด
คําตอบ 1 : 6,000 ตัน
คําตอบ 2 : 7,000 ตัน
คําตอบ 3 : 9,400 ตัน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

หนา 52 จาก 163


ขอที่ : 128
ขอมูลการวางแผนการผลิตในเดือนหนึ่งของโรงงานผลิตผงซักฟอกแหงหนึ่ง สรุปไดดังตารางนี้ หากการ
วางแผนการผลิตรวม (Aggregate Production Planning) ของบริษัทในเดือนดังกลาวเทากับ 7,000
หนวย สินคาคงคลังปลายงวดโดยรวมเทากับเทาไร

ขนาดเล็ก (ตัน) ขนาดกลาง (ตัน) ขนาดใหญ (ตัน)


คาพยากรณความตองการ 1,000 2,500 3,500

ขนาดเล็ก (ตัน) ขนาดกลาง (ตัน) ขนาดใหญ (ตัน)


สินคาคงคลังตนงวด 200 500 1,000
คําตอบ 1 : 700 ตัน
คําตอบ 2 : 1,000 ตัน
คําตอบ 3 : 1,700 ตัน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 129
จะตองใชจํานวนพนักงานกี่คนหากใชกลยุทธการผลิตระดับสม่ําเสมอ (Level Production Strategy) กับ
ความตองการรายไตรมาสในปถัดไป ดังนี้ 135, 150, 180, และ 135 หนวย โดยพนักงานแตละคนทํางาน
ได 5 หนวยตอเดือน
คําตอบ 1 : 7 คน
คําตอบ 2 : 8 คน

หนา 53 จาก 163


คําตอบ 3 : 9 คน
คําตอบ 4 : 10 คน

ขอที่ : 130
จะตองใชจํานวนพนักงานกี่คนหากใชกลยุทธการผลิตระดับสม่ําเสมอ (Level Production Strategy) กับ
ความตองการรายไตรมาสในปถัดไป ดังนี้ 135, 150, 180 และ 135 หนวย โดยพนักงานแตละคนทํางาน
ได 15 หนวยตอเดือน และมีสินคาคงคลังตนงวดอยู 60 หนวย
คําตอบ 1 : 7 คน
คําตอบ 2 : 8 คน
คําตอบ 3 : 9 คน
คําตอบ 4 : 10 คน

ขอที่ : 131
จากการพยากรณความตองการผลิตภัณฑสีรายไตรมาสของโรงงานแหงหนึ่งของปถัดไป มีคาดังนี้

ไตรมาสที่ 1 = 40,000 แกลลอน

ไตรมาสที่ 2 = 57,500 แกลลอน

ไตรมาสที่ 3 = 55,000 แกลลอน

ไตรมาสที่ 4 = 52,500 แกลลอน

ในการผลิตสี 1 แกลลอน ตองใชชั่วโมงแรงงานมาตรฐานในการผลิต 2.311 ชั่วโมง โรงงานแหงนีท้ ํางานวันละ 8 ชัว

หนา 54 จาก 163


โมง และสมมติวาแตละไตรมาส มีจํานวนวันทํางานเทาๆกัน คือ 65 วัน จงคํานวณหาจํานวนคนงานที่เพียงพอตอความ
ตองการผลิตสีในแตละไตรมาส
คําตอบ 1 : 178, 256, 245, 234
คําตอบ 2 : 188, 266, 255, 254
คําตอบ 3 : 148, 276, 275, 254
คําตอบ 4 : 154, 165, 144, 134

ขอที่ : 132
จากการพยากรณความตองการผลิตภัณฑสีรายไตรมาสของโรงงานแหงหนึ่งของปถัดไป มีคาดังนี้

ไตรมาสที่ 1 = 40,000 แกลลอน

ไตรมาสที่ 2 = 57,500 แกลลอน

ไตรมาสที่ 3 = 55,000 แกลลอน

ไตรมาสที่ 4 = 52,500 แกลลอน

ในการผลิตสี 1 แกลลอน ตองใชชั่วโมงแรงงานมาตรฐานในการผลิต 2.311 ชั่วโมง หากโรงงานตัดสินใจที่เลือก


แผนการผลิตสม่ําเสมอ โดยการจัดกําลังคนใหสามารถทําการผลิตได ไตรมาสละ 40,000 แกลลอน สําหรับกรณีที่มี
ความตองการมากกวา 40,000 แกลลอน ใหใชการทําลวงเวลา สําหรับคาใชจายในการทําลวงเวลา จะสูงกวาคาแรงปกติ
อยู 9.50 บาทตอชั่วโมง จากแผนการผลิตขางตน โรงงานจะเสียคาใชจายในการทําลวงเวลาทั้งปเทาไร
คําตอบ 1 : 384,204 บาท

หนา 55 จาก 163


คําตอบ 2 : 329,318 บาท
คําตอบ 3 : 274,431 บาท
คําตอบ 4 : 987,953 บาท

ขอที่ : 133
สถานีงาน W04 มีกําลังการผลิตสัปดาหละ 120 คน-ชั่วโมง ตารางการผลิตหลักในสี่สัปดาหขางหนาของ
W04 คือ 50,120,70,20 หนวยสําหรับสินคา A และ 80,50,100,60 หนวย สําหรับ B ถาการผลิต A หนึ่ง
หนวยใช 0.95คน-ชั่วโมง และ B หนึ่งหนวยใช 0.40 คน-ชั่วโมง ตารางการผลิตหลักขางตนเปนไปได
หรือไม ถาเปนไปไมไดปญหาคืออะไร
คําตอบ 1 : เปนไปได
คําตอบ 2 : เปนไปไมไดเพราะกําลังการผลิตเกิน
คําตอบ 3 : เปนไปไมไดเพราะ กําหลังการผลิตขาดในสัปดาหที่ 3
คําตอบ 4 : เปนไปไมไดเพราะ กําหลังการผลิตขาดในสัปดาหที่ 2

ขอที่ : 134
ขอใดตอไปนี้ไมใชเปาหมายของการกําหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduled)
คําตอบ 1 : เพื่อทราบวาจะทําการผลิตสินคาอะไร
คําตอบ 2 : เพื่อทราบกําหนดเวลาผลิต
คําตอบ 3 : เพื่อทราบจํานวนที่จะตองผลิต
คําตอบ 4 : เพื่อทราบจํานวนเงินที่จะตองใช

ขอที่ : 135
กําหนดใหปริมาณความตองการใชโดยเฉลี่ยของผลิตภัณฑทุกชนิดของโรงงานในชวงเวลา t คือ 800 ,
ปริมาณสินคสคงคลังตนงวด t หรือปลายชวงเวลา t - 1 คือ 400 หนวย และปริมาณทีจ ่ ะผลิตตามแผนใน
ชวงเวลา t คือ 1,000 หนวย จงคํานวณหาอัตราการใชสินคาที่มีอยูทั้งหมดในชวงเวลา t

หนา 56 จาก 163


คําตอบ 1 : 2.25
คําตอบ 2 : 1.00
คําตอบ 3 : 1.25
คําตอบ 4 : 1.75

ขอที่ : 136
แผนการผลิตที่มีการกําหนดอยางเปนรูปธรรมวา จะผลิตสินคาอะไร จํานวนเทาไหร และเมื่อไหร คือแผน
ใด
คําตอบ 1 : Aggregate Production Planning
คําตอบ 2 : Master Production Scheduling (MPS)
คําตอบ 3 : Capacity Requirement Planning
คําตอบ 4 : Rough Cut Capacity Planning

ขอที่ : 137
สินคาชนิดหนึ่ง มีสินคาคงคลังตนงวดสัปดาหที่ 1 เทากับ 150 หนวย ความตองการ จากการพยากรณใน
สัปดาหที่ 1 เทากับ 75 หนวย ตารางการผลิตหลักที่กําหนดไวใน สัปดาหที่ 1 เทากับ 250 หนวย ระดับ
สินคาคงคลังปลายสัปดาหที่ 1 เทากับ เทาไร
คําตอบ 1 : 225 หนวย
คําตอบ 2 : 325 หนวย
คําตอบ 3 : 475 หนวย
คําตอบ 4 : 400 หนวย

ขอที่ : 138
สินคาชนิดหนึ่ง มีสินคาคงคลังตนงวดสัปดาหที่ 1 เทากับ 150 หนวย ความตองการ จากการพยากรณใน
สัปดาหที่ 1 เทากับ 75 หนวย บริษท
ั ตองการใหมีสินคาคงคลัง ปลายงวดสัปดาหที่ 1 = 325 หนวย

หนา 57 จาก 163


บริษัทจะตองกําหนดตารางการผลิตหลักใน สัปดาหที่ 1 ไว เทาไร
คําตอบ 1 : 400 หนวย
คําตอบ 2 : 425 หนวย
คําตอบ 3 : 250 หนวย
คําตอบ 4 : 550 หนวย

ขอที่ : 139
ขอใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับการกําหนดตารางการผลิตหลัก
การวางแผนกําลังการผลิตขั้นตนจะถูกนํามาใชหลังจากเราไดวางแผน ความตองการกําลัง
คําตอบ 1 :
การผลิตแลว
การวางแผนกําลังการผลิตขั้นตนจะถูกนํามาใชหลังจากเราไดวางแผนความ ตองการวัสดุ
คําตอบ 2 :
แลว
คําตอบ 3 : เราจัดเตรียมตารางการผลิตหลักเพื่อเปนขอมูลปอนเขาสูการวางแผนการผลิตรวม
ในกระบวนการวางแผนและควบคุมการผลิตทั่วๆไปการกําหนดตารางการผลิต หลักจะเปน
คําตอบ 4 :
ขั้นตอนที่ทําตอจากการวางแผนการผลิตรวม

ขอที่ : 140
คาพยากรณความตองการสินคา 3 ชนิดในเดือนกุมภาพันธ ปรากฏดังนี้ ชนิดที่ 1 = 100 หนวย ชนิดที่ 2
= 150 หนวย และชนิดที่ 3 = 75 หนวย ขณะนี้มีสน ิ คาคงคลังตนงวดของสินคาแตละชนิดดังนี้ ชนิดที่ 1
= 400 หนวย ชนิดที่ 2 = 250 หนวย และชนิดที่ 3 = 150 หนวย หากบริษัทใชเกณฑสินคาคงคลังนอย
ที่สุดผลิตกอน สินคาชนิดใดจะไดรับการผลิตเปนอันดับแรก
คําตอบ 1 : ชนิดที่ 1
คําตอบ 2 : ชนิดที่ 2
คําตอบ 3 : ชนิดที่ 3
คําตอบ 4 : ยังตัดสินไมได

หนา 58 จาก 163


ขอที่ : 141
ผลลัพธจากการวางแผนใดตอไปนี้จะถูกนําไปเปนขอมูลปอนเขาสูการกําหนด ตาราง การผลิตหลัก
คําตอบ 1 : แผนการผลิตรวม
คําตอบ 2 : แผนความตองการวัสดุ
คําตอบ 3 : แผนความตองการกําลังการผลิต
คําตอบ 4 : แผนธุรกิจ

ขอที่ : 142
ผลลัพธ จากการกําหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling) จะเปน ขอมูลปอนเขาสู
คําตอบ 1 : การวางแผนการผลิตรวม
คําตอบ 2 : การจัดตารางการผลิต
คําตอบ 3 : การวางแผนความตองการกําลังการผลิต
คําตอบ 4 : MRP

ขอที่ : 143
ขอใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับการกําหนดตารางการผลิตหลัก
คําตอบ 1 : ในการกําหนดตารางการผลิตหลักจะไมมีการพิจารณาขนาดรุน  การสั่งผลิต
ในการกําหนดตารางการผลิตหลักหากสินคามีความหลากหลายมากๆ เรามักจะวางกลยุทธ
คําตอบ 2 :
การผลิตแบบ ผลิตเพื่อสตอก (Make to Stock)
คําตอบ 3 : ตารางการผลิตหลักมักมีระยะเวลาการวางแผนครอบคลุมมากกวา 1 ป
คําตอบ 4 : ตารางการผลิตหลักที่เปนไปได จะตองมีความเปนไปไดทั้งดานวัสดุและกําลังการผลิต

ขอที่ : 144

หนา 59 จาก 163


การวางแผนกําลังการผลิตขั้นตน (Rough-cut Capacity Planning) จะดําเนินการ วางแผนเมื่อใด
คําตอบ 1 : ภายหลังจากวางแผนความตองการวัสดุ (MRP)
คําตอบ 2 : ภายหลังจากจัดทํารางกําหนดตารางการผลิตหลัก
คําตอบ 3 : ภายหลังจากการวางแผนความตองการกําลังการผลิต
คําตอบ 4 : ภายหลังจากการวางแผนการผลิตรวม

ขอที่ : 145
สินคาชนิดหนึ่ง มีสินคาคงคลังตนงวดสัปดาหที่ 1 เทากับ 400 หนวย ความตองการ จากการพยากรณใน
สัปดาหที่ 1 เทากับ 100 หนวย หากบริษัทไมทําการผลิตใน สัปดาหที่ 1 บริษัทจะมีสินคาคงคลังปลาย
งวดสัปดาหที่ 1 เทาไร
คําตอบ 1 : 100 หนวย
คําตอบ 2 : 200 หนวย
คําตอบ 3 : 300 หนวย
คําตอบ 4 : 400 หนวย

ขอที่ : 146
สินคาชนิดหนึ่ง มีสินคาคงคลังตนงวดสัปดาหที่ 1 เทากับ 250 หนวย ความตองการ จากการพยากรณใน
สัปดาหที่ 1 เทากับ 150 หนวย หากบริษัทไมทําการผลิตใน สัปดาหที่ 1 บริษัทจะมีสินคาคงคลังปลาย
งวดสัปดาหที่ 1 เทาไร
คําตอบ 1 : 100 หนวย
คําตอบ 2 : 200 หนวย
คําตอบ 3 : 300 หนวย
คําตอบ 4 : 400 หนวย

ขอที่ : 147

หนา 60 จาก 163


การกําหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)ในสภาพแวดลอม การผลิตเพื่อสตอก
การพิจารณากําหนดตารางการผลิตจะใหความสําคัญกับวัสดุใน ระดับใด
คําตอบ 1 : วัตถุดิบ
คําตอบ 2 : ชิ้นสวน
คําตอบ 3 : ชิ้นสวนประกอบ
คําตอบ 4 : ผลิตภัณฑสําเร็จรูป

ขอที่ : 148
การกําหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)ในสภาพแวดลอม การผลิตแบบ
ประกอบตามสั่ง การพิจารณากําหนดตารางการผลิตจะให ความสําคัญกับวัสดุในระดับใด
คําตอบ 1 : วัตถุดิบ
คําตอบ 2 : ชิ้นสวนจัดซื้อจากภายนอก
คําตอบ 3 : ชิ้นสวนประกอบ
คําตอบ 4 : ผลิตภัณฑสําเร็จรูป

ขอที่ : 149
การกําหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)ในสภาพแวดลอม การผลิตแบบตาม
สั่ง (Make to Order) การพิจารณากําหนดตารางการผลิตจะให ความสําคัญกับวัสดุในระดับใด
คําตอบ 1 : วัตถุดิบ
คําตอบ 2 : ชิ้นสวน
คําตอบ 3 : ชิ้นสวนประกอบ
คําตอบ 4 : ผลิตภัณฑสําเร็จรูป

ขอที่ : 150

หนา 61 จาก 163


ภายใตสภาพแวดลอมกลยุทธการผลิตแบบใด มี ชวงเวลานํา (Lead Time) สั้นที่สุด
คําตอบ 1 : การผลิตแบบตามสั่ง
คําตอบ 2 : การผลิตเพื่อสตอก
คําตอบ 3 : การประกอบตามสั่ง
คําตอบ 4 : การออกแบบและผลิตตามสั่ง

ขอที่ : 151
ภายใตสภาพแวดลอมกลยุทธการผลิตแบบใด มี ชวงเวลานํา (Lead Time) ยาวที่สุด
คําตอบ 1 : การผลิตแบบตามสั่ง
คําตอบ 2 : การผลิตเพื่อสตอก
คําตอบ 3 : การประกอบตามสั่ง
คําตอบ 4 : การออกแบบและผลิตตามสั่ง

ขอที่ : 152
ในการพิจารณากําหนดตารางการผลิตหลักมักจะอยูภายใตสภาพแวดลอมที่มีขอ จํากัดใดบาง
คําตอบ 1 : กําลังการผลิตจํากัด
คําตอบ 2 : เวลาการจัดสงวัตถุดิบจํากัด
คําตอบ 3 : ชวงเวลานําการสงมอบจํากัด
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 153
ตารางการผลิตหลักเหมาะสมกับสภาพแวดลอมการผลิตหรืออุตสาหกรรมประเภทใด
คําตอบ 1 : ประกอบเพื่อสตอก (Assemble-to-Stock)
คําตอบ 2 : ประกอบตามสั่ง (Assemble-to-Order)

หนา 62 จาก 163


คําตอบ 3 : ผลิตตามสั่ง (Manufacture-to-Order)
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 154
แผนการผลิตใดที่มีการระบุอยางชัดเจนวาในแตละชวงเวลา (สัปดาหหรือเดือน)จะ ผลิตผลิตภัณฑ
สําเร็จรูปชนิดใด เปนจํานวนเทาไร
คําตอบ 1 : แผนการผลิตรวม (Aggregate Production Planning)
คําตอบ 2 : การกําหนดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling)
คําตอบ 3 : การวางแผนความตองการวัสดุ (Material Requirements Planning-MRP)
คําตอบ 4 : การกําหนดรายละเอียดตารางการผลิต (Detail Production Scheduling)

ขอที่ : 155

หนา 63 จาก 163


จากขอมูลในตารางการผลิตหลักที่กําหนดให จงคํานวณปริมาณที่ใหสัญญาได (Available To Promise)
ในสัปดาหที่ 3

คาพยากรณ
1 2 3 4 5 6 7 8
คาพยากรณ 20 20 20 20 40 40 40 40
ใบสั่งลูกคา 23 15 8 4 0 0 0 0
POH 22 2 62 42 2 42 2 42
MPS 80 80 80
ATP ?
คําตอบ 1 : 7
คําตอบ 2 : 68
คําตอบ 3 : 80
คําตอบ 4 : 240

ขอที่ : 156
จากขอมูลในตารางที่กําหนดให จงกําหนดตารางการผลิตหลัก โดยสมมติขนาดรุนการสั่งผลิตเทากับ 70
หนวย และสินคาคงคลังตนงวดเทากับ 64 หนวย หลังจากนั้นใหประมาณการสินคาคงคลังปลายงวด
(Projected On Hand) สัปดาหที่ 4
สินคาคงคลังตนงวด = 64 มิถุนายน กรกฎาคม
1 2 3 4 5 6 7 8

หนา 64 จาก 163


คาพยากรณกอนรับใบสั่ง 30 30 30 30 40 40 40 40
ใบสั่งลูกคา (ทีย่ ืนยันแลว) 33 20 10 4 2
ประมาณการสินคาคงคลัง
กําหนดการผลิตหลัก
คําตอบ 1 : 31
คําตอบ 2 : 1
คําตอบ 3 : 41
คําตอบ 4 : 11

ขอที่ : 157
คาพยากรณความตองการสินคา 3 ชนิดในเดือนกุมภาพันธ ปรากฏดังนี้ ชนิดที่ 1 = 100 หนวย ชนิดที่ 2
= 150 หนวย และชนิดที่ 3 = 75 หนวย ขณะนี้มีสนิ คาคงคลังตนงวดของสินคาแตละชนิดดังนี้ ชนิดที่ 1
= 400 หนวย ชนิดที่ 2 = 250 หนวย และชนิดที่ 3 = 150 หนวย หากบริษัทใชเกณฑ เวลาสินคาคง
คลังหมด (Run-out Time) กอน ผลิตกอน สินคาชนิดใดจะไดรับการผลิตเปนอันดับแรก
คําตอบ 1 : ชนิดที่ 1
คําตอบ 2 : ชนิดที่ 2
คําตอบ 3 : ชนิดที่ 3
คําตอบ 4 : ยังตัดสินไมได

ขอที่ : 158
คาพยากรณความตองการสินคา 3 ชนิดในเดือนกุมภาพันธ ปรากฏดังนี้ ชนิดที่ 1 = 100 หนวย ชนิดที่ 2
= 150 หนวย และชนิดที่ 3 = 75 หนวย ขณะนี้มีสนิ คาคงคลังตนงวดของสินคาแตละชนิดดังนี้ ชนิดที่ 1
= 400 หนวย ชนิดที่ 2 = 250 หนวย และชนิดที่ 3 = 150 หนวย หากบริษัทเลือกผลิตสินคาชนิดที่ 3
กอน โดยทําการผลิต 250 หนวย สินคาชนิดที่ 3 จะคงเหลืออยูในคลังปลายเดือนกุมภาพันธ เทากับ

หนา 65 จาก 163


เทาไร
คําตอบ 1 : 300 หนวย
คําตอบ 2 : 100 หนวย
คําตอบ 3 : 325 หนวย
คําตอบ 4 : 75 หนวย

ขอที่ : 159
คาพยากรณความตองการสินคา 3 ชนิดในเดือนกุมภาพันธ ปรากฏดังนี้ ชนิดที่ 1 = 100 หนวย ชนิดที่ 2
= 150 หนวย และชนิดที่ 3 = 75 หนวย ขณะนี้มีสนิ คาคงคลังตนงวดของสินคาแตละชนิดดังนี้ ชนิดที่ 1
= 400 หนวย ชนิดที่ 2 = 250 หนวย และชนิดที่ 3 = 150 หนวย หากบริษัทเลือกผลิตสินคาชนิดที่ 3
กอน โดยทําการผลิต 250 หนวย สินคาชนิดที่ 2 จะคงเหลืออยูในคลังปลายเดือนกุมภาพันธ เทากับ
เทาไร
คําตอบ 1 : 100 หนวย
คําตอบ 2 : 150 หนวย
คําตอบ 3 : 350 หนวย
คําตอบ 4 : 500 หนวย

ขอที่ : 160
คาพยากรณความตองการสินคาชนิดหนึ่งในเดือนมีนาคม คือ 220 หนวย โดยมีสินคาคงคลังตนงวด =
300 หนวย หากบริษัทกําหนดเปาหมายใหมีสินคารองรับความตองการในเดือนมีนาคมเทากับความ
ตองการใชในชวง 2 เดือน บริษัทจะตองทําการผลิตในเดือนมีนาคมอีกจํานวนเทาไร
คําตอบ 1 : 140 หนวย
คําตอบ 2 : 440 หนวย
คําตอบ 3 : 600 หนวย
คําตอบ 4 : 500 หนวย

หนา 66 จาก 163


ขอที่ : 161
สายงานประกอบพัดลม ของโรงงานแหงหนึ่งมีเวลาทํางานปกติ ประมาณ 48 ชั่วโมง และสามารถเพิ่ม
เวลาการทํางานไดสุงสุดเปน 60 ชั่วโมงโดยการทําลวงเวลา สําหรับเวลาในการประกอบตอหนวยเทากับ
10 นาที หาก มีความตองการพัดลมสั่งเขามาใหม 360 หนวย คาดวาจะตองทําในชวงลวงเวลากี่หนวยจึง
จะสามารถทําการประกอบแลวเสร็จในเวลา 1 สัปดาห
คําตอบ 1 : 12 หนวย
คําตอบ 2 : 60 หนวย
คําตอบ 3 : 72 หนวย
คําตอบ 4 : 300 หนวย

ขอที่ : 162
สายงานประกอบพัดลม ของโรงงานแหงหนึ่งมีเวลาทํางานปกติ ประมาณ 48 ชั่วโมง และสามารถเพิ่ม
เวลาการทํางานไดสุงสุดเปน 60 ชั่วโมงโดยการทําลวงเวลา สําหรับเวลาในการประกอบตอหนวยเทากับ
10 นาที หาก มีความตองการพัดลมสั่งเขามาใหม 300 หนวย คาดวาจะตองทําในชวงลวงเวลาชั่วโมงกี่
ชั่วโมง
คําตอบ 1 : 2 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 12 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 48 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 50 ชั่วโมง

ขอที่ : 163
สายงานประกอบพัดลมของโรงงานแหงหนึ่งมีเวลาทํางานปกติสัปดาหละ 48 ชั่วโมง และสามารถเพิ่มเวลาการทํางาน
ไดสูงสุดเปน 60 ชั่วโมงโดยการทําลวงเวลา ในการสั่งประกอบแตละครั้งตองใชเวลาในการเตรียมการ 2 ชั่วโมง และ

หนา 67 จาก 163


ใชเวลาในการประกอบ เทากับ 10 นาทีตอหนวย หากมีความตองการพัดลมสั่งเขามา 200 หนวย และคาดวามีพัดลม
คางอยูอีก 100 หนวย จะตองใชกําลังการผลิตปกติกี่ชั่วโมง และลวงเวลากี่ชั่วโมงจึงจะผลิตพัดลม ไดทั้งหมดในเวลา 1
สัปดาห
คําตอบ 1 : ใชเวลาปกติ 50 ชั่วโมง ไมตองทําลวงเวลา
คําตอบ 2 : ใชเวลาผลิตปกติ 52 ชั่วโมง ไมตองทําลวงเวลา
คําตอบ 3 : ใชเวลาผลิตปกติ 48 ชั่วโมง ลวงเวลา 2 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : ใชเวลาผลิตปกติ 48 ชั่วโมง ลวงเวลา 4 ชั่วโมง

ขอที่ : 164
สายงานประกอบพัดลมของโรงงานแหงหนึ่งมีเวลาทํางานปกติสัปดาหละ 100 ชั่วโมง และสามารถเพิ่มเวลาการทํางาน
ไดสูงสุดเปน 120 ชั่วโมงโดยการทําลวงเวลา มีผลิตภัณฑ 2 ชนิดที่ทําการประกอบบนสายการประกอบนี้ คือ A และ B
ในการสั่งประกอบผลิตภัณฑ A จะตองใชเวลาในการ (Setup Time) เทากับ 2 ชั่วโมง และใชเวลาในการประกอบ
เทากับ 0.9 ชั่วโมงตอหนวย สําหรับการสั่งประกอบผลิตภัณฑ B จะตองใชเวลาในการ (Setup Time) เทากับ 1 ชัว่ โมง
และใชเวลาในการประกอบ เทากับ 1.6 ชั่วโมงตอหนวย หากตารางการผลิตหลัก ไดกําหนดใหทําการผลิตผลิตภัณฑ A
จํานวน 50 หนวย และ ผลิตภัณฑ B จํานวน 60 หนวย ในชวงเวลา 1 สัปดาห การกําหนดตารางการผลิตหลักดังกลาว มี
ความตองการกําลังการผลิตกี่ชั่วโมง
คําตอบ 1 : 141 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 144 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 120 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 100 ชั่วโมง

ขอที่ : 165

หนา 68 จาก 163


ถากําหนดใหปริมาณความตองการโดยรวมตลอดทั้งปเทากับ 12,000 ชิ้น คาใชจายในการเก็บรักษาพัสดุ
ตลอดทั้งเดือนเทากับ 0.2 บาทตอชิ้น และคาใชจายในการสั่งซื้อเทากับ 100 บาทตอครั้ง ดังนั้นปริมาณ
การสั่งซื้อที่เหมาะสมคือขอใด
คําตอบ 1 : 1,000
คําตอบ 2 : 3,464.1
คําตอบ 3 : 12
คําตอบ 4 : 1,200

ขอที่ : 166
พัสดุรายการหนึ่งมีปริมาณความตองการวันละ 5 หนวย ถาปริมาณการสั่งซื้อตอครั้งคือ 60 หนวย และ
เวลานําสําหรับการสั่งซื้อคือ 3 วัน ดังนั้นจุดสั่งซื้อคือขอใด
คําตอบ 1 : 11
คําตอบ 2 : 12
คําตอบ 3 : 13
คําตอบ 4 : 15

ขอที่ : 167
วิธีใดตอไปนี้สามารถนํามาใชในการวิเคราะหความสําคัญของสินคาคงคลัง
คําตอบ 1 : ABC
คําตอบ 2 : JIT
คําตอบ 3 : MAP
คําตอบ 4 : CRP

ขอที่ : 168

หนา 69 จาก 163


จงหาคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของอัตราการใชในชวงเวลานํา จากขอมูลที่รวบรวมไดตอ ไปนี้ sd = 5 หนวย
ตอวัน LT = 4 วัน (sd = คาเบี่บงเบนมาตรฐานของอัตราการใชตอหนวยเวลา LT = ชวงเวลานํา)
คําตอบ 1 : 20 หนวย
คําตอบ 2 : 5 หนวย
คําตอบ 3 : 10 หนวย
คําตอบ 4 : 80 หนวย

ขอที่ : 169
อัตราความตองการของวัสดุรายการหนึ่งเทากับ 20 หนวยตอสัปดาห และชวงเวลานํา ในการสั่งเทากับ 3
สัปดาห บริษัทไดกําหนดใหมี Safety Stock เทากับ 10% ของอัตรา ความตองการในชวงเวลานํา
ภายใตการควบคุมวัสดุคงคลังระบบจุดสั่งใหมคงที่ (Fixed Re-order Point) หรือ ระบบปริมาณการสั่ง
คงที่ (Fixed Order Quantity ) บริษัทควรกําหนดจุดสั่งใหมไวที่ระดับใด
คําตอบ 1 : 66
คําตอบ 2 : 60
คําตอบ 3 : 20
คําตอบ 4 : 26

ขอที่ : 170
ในการหาขนาดรุนของการสั่งซื้อที่ประหยัด (Economic Order Quantity) ถา I คือ คาใชจายในการเก็บ
รักษาสินคาคงคลังตอหนวยตอป Q คือ ขนาดรุนของการสั่งในแตละครั้ง คาใชจายในการเก็บรักษาสินคา
คงคลังตอป คือ
คําตอบ 1 : I Q/2
คําตอบ 2 : IQ
คําตอบ 3 : 2DP
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

หนา 70 จาก 163


ขอที่ : 171
ปญหาพื้นฐานที่สําคัญ 2 ประการ ในการควบคุมสินคาคงคลังระบบจุดสั่งใหมคืออะไร
คําตอบ 1 : จะสั่งซื้อครั้งละเทาไร และจะสั่งซื้อเมือ
่ ไร
คําตอบ 2 : จะมีสินคาสํารองไวเทาไรและจะยอมใหขาดสตอกเทาไร
คําตอบ 3 : จะควบคุมสตอกสูงสุดไวที่ระดับใด จะสั่งซื้อครั้งละเทาไร
คําตอบ 4 : จะกําหนดชวงเวลานําในการสั่งซื้อเทาไร และจะเผื่อเทาไร

ขอที่ : 172
ในการหาขนาดรุนของการสั่งซื้อที่ประหยัด (Economic Order Quantity) ถา I คือ คาใชจายในการเก็บ
รักษาสินคาคงคลังตอหนวยตอป P คือคาใชจายในการสั่งซื้อตอครั้ง Q คือ ขนาดรุนของการสั่งในแตละ
ครั้ง คาใชจายในการสั่งซื้อตอปคือ
คําตอบ 1 : I (Q/2)
คําตอบ 2 : (Q/2)
คําตอบ 3 : 2DP/I
คําตอบ 4 : P(D/Q)

ขอที่ : 173
ในการหาขนาดรุนของการสั่งซื้อที่ประหยัด (Economic Order Quantity) PD/Q หมายถึง ขอใด
คําตอบ 1 : คาใชจายในการสั่งซื้อตอครั้ง
คําตอบ 2 : คาใชจายในการเก็บรักษาตอป
คําตอบ 3 : คาใชจายสินคาคงคลังขาดแคลนตอป
คําตอบ 4 : คาใชจายในการสั่งซื้อตอป

หนา 71 จาก 163


ขอที่ : 174
ในการหาขนาดรุนของการสั่งซื้อที่ประหยัด (Economic Order Quantity) ของคงคลังถัวเฉลี่ย ตอปคือ
คําตอบ 1 : ครึ่งหนึ่งของคงคลังตนงวด
คําตอบ 2 : เศษหนึ่งสวนสามของคงคลังตนงวด
คําตอบ 3 : เศษหนึ่งสวนสี่ของคงคลังตนงวด
คําตอบ 4 : คิดเทากับระดับของคงคลังตนงวด

ขอที่ : 175
ขอใดคือ คุณลักษณะของการพิจารณาหาสูตรปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด
คําตอบ 1 : P(D/Q) = I(Q/2)
คําตอบ 2 : P=I
คําตอบ 3 : P/Q = I/2
คําตอบ 4 : Q = D/2

ขอที่ : 176
การแบงความสําคัญของคงคลังโดยการวิเคราะห ABC สามารถจัดแบงขอมูลไดเปน 3 กลุม ดังนี้

1. กลุมสินคาคงคลังที่จํานวน 20% ของสินคาคงคลังทั้งหมด แตมีมูลคาประมาณ 70% ของมูลคาทั้งหมด

2. กลุมสินคาคงคลังที่จํานวน 30% ของสินคาคงคลังทั้งหมด แตมีมูลคาประมาณ 25% ของมูลคาทั้งหมด

3. กลุมสินคาคงคลังที่จํานวน 50% ของสินคาคงคลังทั้งหมด แตมีมูลคาประมาณ 5% ของมูลคาทั้งหมด

สินคากลุมใดควรจัดอยูใ นสินคากลุม B

หนา 72 จาก 163


คําตอบ 1 : 1
คําตอบ 2 : 2
คําตอบ 3 : 3
คําตอบ 4 : ทุกกลุมจัดอยูในกลุม B

ขอที่ : 177
ถาความตองการไมสม่ําเสมอ และ คงที่ ความเสี่ยงจากการขาดสตอกสามารถควบคุมไดโดย
คําตอบ 1 : เพิ่มขนาดของปริมาณการสั่ง
คําตอบ 2 : ออกใบสั่งเพิ่มพิเศษ
คําตอบ 3 : ขึ้นราคาขายเพื่อลดความตองการ
คําตอบ 4 : เพิ่ม Safety Stock

ขอที่ : 178
จุดประสงคของ Safety Stock คือ
คําตอบ 1 : การแทนที่ของเสียดวยของดี
คําตอบ 2 : ขจัดความเปนไปไดของการขาดสตอก
คําตอบ 3 : ขจัดความเปนไปไดในการขาดสตอกอันเนื่องมาจากการลงบัญชีทีผิดพลาด
ควบคุมความเปนไปไดในการขาดสตอกอันเนื่องมาจากความแปรปรวนของความตองการ
คําตอบ 4 :
ในชวงเวลานํา

ขอที่ : 179
ในการวิเคราะห ABC จะแบงสินคาคงคลังออกเปน 3 ระดับ โดยทั่วไปจะอยูบน พื้นฐานของ
คําตอบ 1 : คุณภาพของสินคาคงคลัง
คําตอบ 2 : จํานวนสินคาคงคลังที่มีอยูขณะนั้น

หนา 73 จาก 163


คําตอบ 3 : ราคาตอหนวย
คําตอบ 4 : มูลคาการใชตอป

ขอที่ : 180
คํากลาวเกี่ยวกับพื้นฐานตัวแบบการ ควบคุมสินคาคงคลัง EOQ (Economic Order Quantity) ตอไปนี้
ขอใดไมถูกตอง
ถาคาใชจายเกี่ยวกับเวลาเตรียมการผลิต (Setup Cost) ลดลง ปริมาณ EOQ ก็ควรจะ
คําตอบ 1 :
ลดลงดวย
คําตอบ 2 : ถาความตองการรายปเพิม ่ ขึ้น ปริมาณ EOQ ก็ควรจะเพิ่มขึ้นดวย
คําตอบ 3 : ถาคาใชจายในการสั่งซื้อเพิ่มขึ้น ปริมาณ EOQ ก็ควรจะเพิ่มขึน้ ดวย
คําตอบ 4 : ถาความตองการรายปเพิม ่ ขึ้นเปน 2 เทา ปริมาณ EOQ ก็ควรจะเพิ่มเปน 2 เทาดวย

ขอที่ : 181
คํากลาวเกี่ยวกับพื้นฐานตัวแบบการ ควบคุมสินคาคงคลัง EOQ (Economic Order Quantity) ตอไปนี้
ขอใดถูกตอง
คําตอบ 1 : ถาคาใชจายในการสั่งซื้อเพิ่มขึ้น 2 เทา คา EOQ จะเพิ่มขึ้น
คําตอบ 2 : ถา ความตองการรายปเพิ่มขึ้น 2 เทา คา EOQ จะเพิ่มขึ้น
คําตอบ 3 : ถาคาใชจายในการเก็บรักษา (Carrying Cost) ลดลง คา EOQ จะลดลง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 182
คําถาม 2 คําถามที่ตองการคําตอบในพื้นฐานการควบคุมสินคาคงคลังเปนคําถาม เกี่ยวกับ
คําตอบ 1 : ปริมาณการสัง่ และระดับบริการ
คําตอบ 2 : ปริมาณการสัง่ และคาใชจายในการสั่ง

หนา 74 จาก 163


คําตอบ 3 : ปริมาณการสัง่ และเวลาสั่ง
คําตอบ 4 : คาใชจายในการสั่งและคาใชจายในการถือครอง

ขอที่ : 183
ตัวแบบสินคาคงคลัง (Inventory Model) สวนใหญจะพยายามทําใหสิ่งใดนอยที่สุด
คําตอบ 1 : ระดับการขาดสตอก
คําตอบ 2 : จํานวนสินคาคงคลังที่สั่ง
คําตอบ 3 : คาใชจายในการควบคุมสินคาคงคลัง
คําตอบ 4 : สตอกเผื่อความปลอดภัย (Safety Stock)

ขอที่ : 184
หลักการพื้นฐานของการวิเคราะหสินคาคงคลัง ABC คือ
คําตอบ 1 : สินคาคงคลังทุกรายการจะตองไดรับการเฝาติดตามอยางใกลชิด
โดยปกติรายการสินคาคงคลังที่สําคัญจะมีนอย แตรายการสินคาคงคลังที่มีความสําคัญ
คําตอบ 2 :
นอยจะมีจํานวนมาก
คําตอบ 3 : รายการสินคาคงคลังที่สําคัญคือรายการที่มีการใชสูง
สินคาคงคลังสํารอง (Safety Stock) สําหรับสินคาคงคลังประเภท A ควรจะมากกวา
คําตอบ 4 :
ประเภท C

ขอที่ : 185
การคํานวณตนทุนรวมการควบคุมของคงคลังสําหรับตัวแบบการสั่งซื้อที่ประหยัดในกรณีที่ยอมให
ของคงคลังขาดแคลน จะประกอบไปดวยตนทุนชนิดใดบาง
คําตอบ 1 : ตนทุนในการสั่งซื้อ ตนทุนในการถือครองของคงคลัง และ ตนทุนของคงคลังขาดแคลน

หนา 75 จาก 163


คําตอบ 2 : ตนทุนในการสั่งซื้อ ตนทุนการสั่งผลิต และ ตนทุนในการถือครองของคงคลัง
คําตอบ 3 : ตนทุนในการสั่งซื้อ ตนทุนในการถือครองของคงคลัง และ ตนทุนการสั่งผลิต
คําตอบ 4 : ตนทุนในการสั่งซื้อ ตนทุนในการถือครองของคงคลัง

ขอที่ : 186
บริษัทกําลังพิจารณาขนาดรุนการสั่งซื้อของผลิตภัณฑรายการหนึ่ง ซึ่งจากการรวบรวมขอมูลที่จําเปนพอ
สรุปไดดังตอไปนี้ จงหาวารอบเวลาในการสั่งซื้อที่ประหยัดตอครั้งคือกี่วัน (หาก 1 ปมีวน
ั ทํางาน 300
วัน)

- ความตองการตอป (D) = 1,500 หนวย

- ราคาสินคาตอหนวย (c) = 40 บาท

- คาใชจายในการสั่งซื้อ (P) = 300 บาท/ครั้ง

สําหรับคาใชจา ยในการเก็บรักษา (I) = 10 บาท/หนวย/ป


คําตอบ 1 : 60 วัน
คําตอบ 2 : 45 วัน
คําตอบ 3 : 30 วัน
คําตอบ 4 : 15 วัน

ขอที่ : 187
บริษัทกําลังพิจารณาขนาดรุนการสั่งซื้อของผลิตภัณฑรายการหนึ่ง ซึ่งจากการรวบรวมขอมูลที่จําเปนพอ
สรุปไดดังตอไปนี้ จงหาวาจํานวนครั้งในการสั่งซื้อตอปที่ประหยัด

หนา 76 จาก 163


- ความตองการตอป (D) = 1,500 หนวย

- ราคาสินคาตอหนวย (c) = 40 บาท

- คาใชจายในการสั่งซื้อ (P) = 300 บาท/ครั้ง

สําหรับคาใชจา ยในการเก็บรักษา (I) = 10 บาท/หนวย/ป


คําตอบ 1 : 5 ครั้ง
คําตอบ 2 : 6 ครั้ง
คําตอบ 3 : 7 ครั้ง
คําตอบ 4 : 8 ครั้ง

ขอที่ : 188
บริษัทกําลังพิจารณาขนาดรุนการสั่งซื้อของผลิตภัณฑรายการหนึ่ง ซึ่งจากการรวบรวมขอมูลที่จําเปนพอ
สรุปไดดังตอไปนี้ จงหาวาตนทุนรวมในการควบคุมวัสดุคงคลังที่ประหยัดรายปคือเทาไร (ไมรวมราคา
สินคา)

- ความตองการตอป (D) = 1,500 หนวย

- ราคาสินคาตอหนวย (c) = 40 บาท

- คาใชจายในการสั่งซื้อ (P) = 300 บาท/ครั้ง

สําหรับคาใชจา ยในการเก็บรักษา (I) = 10 บาท/หนวย/ป

หนา 77 จาก 163


คําตอบ 1 : 60,000 บาท
คําตอบ 2 : 30,000 บาท
คําตอบ 3 : 3,000 บาท
คําตอบ 4 : 1,500 บาท

ขอที่ : 189
บริษัทแหงหนึ่งกําลังพิจารณาขอเสนอของพอคาในการใหสวนลดถาซื้อสินคาตามปริมาณที่กําหนด โดย
บริษัทไดรวมรวมขอมูลที่เกี่ยวของไดดังตอไปนี้ หากบริษัทตองการซื้อสินคาในราคาหนวยละ $4.50
บาท บริษัทตองซื้อในปริมาณเทาไรจึงเปนการสั่งซื้อที่ประหยัด

ความตองการตอป = 10,000 หนวย

ตนทุนในการสั่งซื้อตอครั้ง = $20

ตนทุนในการเก็บรักษาสินคาคงคลัง = 20% ของมูลคาของคงคลังถัวเฉลี่ยตอป

ราคาที่พอคาเสนอ

ปริมาณ ราคาตอหนวย
0-499 $5.00
500-999 $4.50
1,000 หรือ มากกวา $3.90
คําตอบ 1 : 633 หนวย
คําตอบ 2 : 666 หนวย

หนา 78 จาก 163


คําตอบ 3 : 716 หนวย
คําตอบ 4 : 900 หนวย

ขอที่ : 190
บริษัทผลิตกระปองแหงหนึง่ กําลังพิจารณาหาขนาดรุน ของการสั่งผลิตกระปองทีป่ ระหยัดในแตละครั้ง โดยบริษัท
ประมาณการวา มีความตองการกระปองตอปเทากับ 10,000 หนวย และมีความตองการตอวันโดยเฉลี่ยเทากับ 40 หนวย
(คิด 1 ป เทากับ 250) บริษัทมีเครื่องจักรสําหรับผลิตกระปองไดวนั ละ 100 หนวย คาใชจายในการเตรียมการผลิตแตละ
ครั้งเทากับ 50 บาท และคาใชจายในการเก็บรักษาเทากับ 0.50 บาทตอหนวยตอป ขนาดรุนของการสั่งแตละครั้งที่
ประหยัดคือเทาไร (บริษัททําการผลิตและใชไปพรอมๆกัน)
คําตอบ 1 : 1,414 หนวย
คําตอบ 2 : 1,826 หนวย
คําตอบ 3 : 2,414 หนวย
คําตอบ 4 : 2,826 หนวย

ขอที่ : 191
บริษัทผลิตกระปองแหงหนึง่ กําลังพิจารณาหาขนาดรุน ของการสั่งผลิตกระปองทีป่ ระหยัดในแตละครั้ง โดยบริษัท
ประมาณการวา มีความตองการกระปองตอปเทากับ 10,000 หนวย และมีความตองการตอวันโดยเฉลี่ยเทากับ 40 หนวย
(คิด 1 ป เทากับ 250) บริษัทมีเครื่องจักรสําหรับผลิตกระปองไดวนั ละ 100 หนวย คาใชจายในการเตรียมการผลิตแตละ
ครั้งเทากับ 50 บาท และคาใชจายในการเก็บรักษาเทากับ 0.50 บาทตอหนวยตอป กรณีที่ผลิตแลวใชไปพรอมๆกัน
ระดับสตอกสูงสุดคือเทาไรภายใตขนาดรุน ของการสั่งซื้อที่ประหยัด
คําตอบ 1 : 1,096

หนา 79 จาก 163


คําตอบ 2 : 2,095
คําตอบ 3 : 3,095
คําตอบ 4 : 4,095

ขอที่ : 192
บริษัทแหงหนึ่งกําลังพิจารณากําหนดจุดสั่งซื้อใหม และ สินคาคงคลังสํารอง (Safety Stock) ใหกับ
ผลิตภัณฑชนิดหนึ่ง ซึ่งมีขอมูลดังตอไปนี้ อัตราการใชโดยเฉลี่ยในชวงเวลานํา = 693.7 ปอนด คา
เบี่ยงเบนมาตรฐานของอัตราการใชในชวงเวลานํา = 139.27 ปอนด สมมติวาการกระจายของขอมูลมีการ
แจกแจงแบบปกติ ถากําหนดระดับบริการไวที่ 95% ควรจะกําหนดจุดสั่งซื้อไวที่ระดับใด
คําตอบ 1 : 832.97 ปอนด
คําตอบ 2 : 693.7 ปอนด
คําตอบ 3 : 229 ปอนด
คําตอบ 4 : 923 ปอนด

ขอที่ : 193
สําหรับพื้นฐานตัวแบบสินคาคงคลัง EOQ (Economic Order Quantity) ถาคาใชจายในการสั่งซื้อแตละ
ครั้งเพิ่มขึ้น 2 เทา ขณะที่คาอื่นๆที่เหลืออยูคงที่ คา EOQ จะเปนอยางไร
คําตอบ 1 : เพิ่มขึ้น 41%
คําตอบ 2 : เพิ่มขึ้น 100%
คําตอบ 3 : เพิ่มขึ้น 200 %
คําตอบ 4 : อาจเพิ่มขึ้นหรือลดลง

ขอที่ : 194
คอมพิวเตอรรุนหนึ่งมีราคาขายเทากับ $1,000 และคาใชจายในการถือครองของคงคลัง (Holding Cost)

หนา 80 จาก 163


เทากับ 25% ตอป ความตองการตอปเทากับ 10,000 หนวย และคาใชจายในการสั่งซื้อเทากับ $150 ตอ
ครั้ง จงคํานวณคา EOQ (Economic Order Quantity)
คําตอบ 1 : 16
คําตอบ 2 : 70
คําตอบ 3 : 110
คําตอบ 4 : 183

ขอที่ : 195
ถาคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของความตองการคือ 6 หนวยตอสัปดาห ความตองการเฉลี่ยตอสัปดาหคือ 50
หนวย ถาตองการระดับบริการ 95% จะตองจัดใหมี Safety Stock ไว เทาไร
คําตอบ 1 : 8 หนวย
คําตอบ 2 : 10 หนวย
คําตอบ 3 : 16 หนวย
คําตอบ 4 : ไมสามารถคํานวณไดโดยไมมี ชวงเวลานํา

ขอที่ : 196

สําหรับตนทุนการถือครองของคงคลัง (Holding Cost) ถาจะพิจารณาแยกตามองคประกอบของตนทุนการถือครอง


ของคงคลังออกเปน 2 ประเภท ดังนี้

ตนทุนดอกเบี้ยเงินจม (บาทตอหนวยตอป) (I)

หนา 81 จาก 163


ตนทุนในการเก็บรักษา (บาทตอหนวยตอป) (W)

กรณีสวนของคลังสินคาดังกลาว เก็บของคงคลังไดหลายชนิด ตนทุนการถือครองของคงคลังตอปจะคํานวณไดจาก


สูตรใด
คําตอบ 1 : (W+I)Q/2
คําตอบ 2 : (2I+W)Q/2
คําตอบ 3 : (I+2W)Q/2
คําตอบ 4 : (I+W)2Q/2

ขอที่ : 197
บริษัทแหงหนึ่งกําลังรวบรวมขอมูลเพือ
่ กําหนดนโยบายการควบคุมสินคาคงคลัง โดยใชนโยบายระบบจุด
สั่งใหมคงที่ (Fixed Re-order Point System) หรือปริมาณการสั่งคงที่ (Fixed Order Size System)
โดยขอมูลที่รวบรวมได มีรายละเอียดดังตอไปนี้ ภายใตระดับการบริการ 95 % จงคํานวณหาคา จุดสั่ง
ใหม (Re-order Point)

อัตราการใชเฉลี่ย เทากับ 100 หนวยตอวัน

คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของอัตราการใช (มีการแจกแจงแบบปกติ) เทากับ 10 หนวยตอวัน

ชวงเวลานําโดยเฉลี่ย เทากับ 10 วัน

คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของชวงเวลานํา (มีการแจกแจงแบบปกติ) เทากับ 2 วัน


คําตอบ 1 : 330 หนวย
คําตอบ 2 : 1,000 หนวย

หนา 82 จาก 163


คําตอบ 3 : 1,233 หนวย
คําตอบ 4 : 1,333 หนวย

ขอที่ : 198
บริษัทแหงหนึ่งกําลังรวบรวมขอมูลเพือ
่ กําหนดนโยบายการควบคุมสินคาคงคลัง โดยใชนโยบาย ระบบ
รอบเวลาสั่งคงที่ (Fixed Interval System)โดยกําหนดรอบเวลาสั่งเทากับ 26 วันจากขอมูลการ
ปฏิบัติงานในอดีตที่ผานมา มีรายละเอียดดังตอไปนี้ ภายใตระดับการบริการ 95 % จงคํานวณหาคา
Safety Stock

อัตราการใชเฉลี่ย เทากับ 100 หนวยตอวัน

คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของอัตราการใช (มีการแจกแจงแบบปกติ) เทากับ 10 หนวยตอวัน

ชวงเวลานําโดยเฉลี่ย เทากับ 10 วัน (คงที)่


คําตอบ 1 : 36 หนวย
คําตอบ 2 : 60 หนวย
คําตอบ 3 : 99 หนวย
คําตอบ 4 : 23 หนวย

ขอที่ : 199
บริษัทแหงหนึ่งกําลังรวบรวมขอมูลเพือ
่ กําหนดนโยบายการควบคุมสินคาคงคลัง โดยใชนโยบายระบบจุด
สั่งใหมคงที่(Fixed Re-order Point System)หรือปริมาณการสัง่ คงที่ (Fixed Order Size System)โดย
ขอมูลที่รวบรวมได มีรายละเอียดดังตอไปนี้ ภายใตระดับการบริการ 95 % จงคํานวณหาคา จุดสั่งใหม
(Re-order Point)

หนา 83 จาก 163


อัตราการใชเฉลี่ย เทากับ 50 หนวยตอวัน

คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของอัตราการใช (มีการแจกแจงแบบปกติ) เทากับ 10 หนวยตอวัน

ชวงเวลานําโดยเฉลี่ย เทากับ 16 วัน (คงที)่

คําตอบ 1 : 66 หนวย
คําตอบ 2 : 566 หนวย
คําตอบ 3 : 866 หนวย
คําตอบ 4 : 500 หนวย

ขอที่ : 200
บริษัทแหงหนึ่งกําลังรวบรวมขอมูลเพือ
่ กําหนดนโยบายการควบคุมสินคาคงคลัง โดยใชนโยบายระบบจุด
สั่งใหมคงที่ (Fixed Re-order Point System) หรือปริมาณการสั่งคงที่ (Fixed Order Size System)โดย
ขอมูลที่รวบรวมได มีรายละเอียดดังตอไปนี้ ภายใตระดับการบริการ 95 % จงคํานวณหาคา Safety
Stock

อัตราการใชเฉลี่ย เทากับ 100 หนวยตอวัน (คงที่)

ชวงเวลานําโดยเฉลี่ย เทากับ 10 วัน

คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของชวงเวลานํา (มีการแจกแจงแบบปกติ) เทากับ 2 วัน


คําตอบ 1 : 329 หนวย
คําตอบ 2 : 500 หนวย

หนา 84 จาก 163


คําตอบ 3 : 1,200 หนวย
คําตอบ 4 : 1,500 หนวย

ขอที่ : 201
ผูจัดการฝายวัสดุแหงหนึ่งไดรับมอบหมาย ให วิเคราะหหาระดับบริการที่เหมาะสมสําหรับของคงคลัง
รายการหนึ่ง ซึ่งรวบรวมขอมูลไดดังนี้ ตนทุนในการถือครองของคงคลัง 2000 บาทตอหนวยตอป ตนทุน
กรณีของคงคลังขาดแคลน 5000 บาท ตอหนวยที่ไมไดขาย โดย บริษัททําการสั่งซื้อวัสดุดังกลาว
จํานวน 8 ครั้งตอป บริษัทควรกําหนดระดับบริการที่ระดับใด
คําตอบ 1 : 99%
คําตอบ 2 : 95%
คําตอบ 3 : 90%
คําตอบ 4 : 85 %

ขอที่ : 202
บริษัทแหงหนึง่ กําลังรวบรวมขอมูลเพื่อกําหนดนโยบายการควบคุมสินคาคงคลัง โดยใชนโยบายระบบรอบเวลาสั่ง
คงที่ (Fixed Interval System) โดยกําหนดรอบเวลาสั่งเทากับ 26 วันจากขอมูลการปฏิบัติงานในอดีตที่ผานมา มี
รายละเอียดดังนี้

อัตราการใชเฉลี่ย เทากับ 100 หนวยตอวัน

คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของอัตราการใช (มีการแจกแจงแบบปกติ) เทากับ 10 หนวยตอวัน

ชวงเวลานําโดยเฉลี่ย เทากับ 10 วัน (คงที)่

หนา 85 จาก 163


บริษัทมีนโยบายในการกําหนดระดับ Safety Stock ไวที่ 10% ของอัตราการใชโดยเฉลี่ยในชวงเวลานํา หากในรอบ
เวลาสั่งรอบหนึ่ง บริษัทนับสินคาคงคลังไดเทากับ 2,000 หนวย ในรอบนี้จะตองทําการสั่งสินคาเปนจํานวนเทาไร
คําตอบ 1 : 1,700 หนวย
คําตอบ 2 : 3,600 หนวย
คําตอบ 3 : 3,700 หนวย
คําตอบ 4 : 1,000 หนวย

ขอที่ : 203
ขอใดไมใชขอมูลที่จําเปนในการวางแผนความตองการวัสดุ
คําตอบ 1 : BOM
คําตอบ 2 : MPS
คําตอบ 3 : สถานะของสินคาคงคลัง
คําตอบ 4 : ลําดับงาน

ขอที่ : 204
สมมติวานับจํานวนสินคาคงคลังรายการหนึ่งพบวามีอยูในคลังทั้งหมด 300 หนวย (Onhand = 300
หนวย) นโยบายของคงคลังสํารอง (Safety Stock) กําหนดไวที่ 50 หนวย ปริมาณที่สามารถนําไปใชได
(Available)ในชวงถัดไปคือกี่หนวย
คําตอบ 1 : 300 หนวย
คําตอบ 2 : 50 หนวย
คําตอบ 3 : 350 หนวย
คําตอบ 4 : 250 หนวย

ขอที่ : 205

หนา 86 จาก 163


สมมติวาปจจุบันนับจํานวนสินคาคงคลังรายการหนึ่งพบวามีอยูในคลังทั้งหมด 300 หนวย (Onhand =
300 หนวย) บริษัทไดกําหนดนโยบาย Safety Stock ไวที่ 50 หนวย และจากขอมูลที่บันทึกไวระบุวา มี
คนมาขอจองวัสดุรายการดังกลาวไวจํานวน 50 หนวย ซึ่งไดรับการอนุมัติแลว เพียงแตยังมิไดมาเบิก
ออกไปใช ปริมาณที่สามารถนําไปใชได(Available) ในชวงถัดไปคือกี่หนวย
คําตอบ 1 : 300 หนวย
คําตอบ 2 : 50 หนวย
คําตอบ 3 : 350 หนวย
คําตอบ 4 : 200 หนวย

ขอที่ : 206
จากขอมูลการวางแผนความตองการวัสดุรายการหนึ่งปรากฏดังตารางตอไปนี้ ความตองการสุทธิในสัปดาห
ที่ 4 มีจํานวนเทาไร
สัปดาหที่
1 2 3 4 5 6
ความตองการขั้นตน 300 300 300 300
กําหนดการรับของ 100
ของคงคลังตนงวด = 500
ปริมาณที่นําไปใชได
ความตองการสุทธิ
แผนกําหนดการรับของ

คําตอบ 1 : 300
คําตอบ 2 : 900

หนา 87 จาก 163


คําตอบ 3 : 200
คําตอบ 4 : 0

ขอที่ : 207
จากขอมูลการวางแผนความตองการวัสดุรายการหนึ่งปรากฏดังตาราง หากชวงเวลานําเทากับ 1 สัปดาห
และกําหนดขนาดรุนการสั่งเทากับ 2,000 หนวย การสั่งในสัปดาหที่ 4 จะตองสั่งจํานวนเทาไร
สัปดาหที่
1 2 3 4 5 6
ความตองการขั้นตน 300 300 300 300
กําหนดการรับของ 100
ของคงคลังตนงวด = 500
ปริมาณที่นําไปใชได
ความตองการสุทธิ
แผนกําหนดการรับของ

คําตอบ 1 : 2,000
คําตอบ 2 : 4,000
คําตอบ 3 : 300
คําตอบ 4 : 2,300

ขอที่ : 208
ในตารางประมวลผล MRP ขอความขอใดตอไปนี้ถูกตอง

หนา 88 จาก 163


กําหนดการรับของตามสัง่ (Schedule Receipt) คือ กําหนดการรับของที่เกิดขึ้นจากการสั่ง
คําตอบ 1 :
ที่ไดดําเนินการแลว
คําตอบ 2 : ความตองการสุทธิจะเกิดขึ้นเมื่อปริมาณที่นําไปใชไดมีคามากกวาความตองการขั้นตน
คําตอบ 3 : แผนการออกใบสั่งจะตองเกิดขึ้นเมื่อความตองการสุทธิมีคามากกวาศูนย
คําตอบ 4 : ขอ 1 และ 3 ถูก

ขอที่ : 209
วิธีการวางแผนประเภทใดตอไปนี้จะนําความตองการสินคาสําเร็จรูปจากตารางการ ผลิตหลักมากระจาย
ลงสูชิ้นสวนและสวนประกอบยอยเพื่อสรางแผนวัสดุ
คําตอบ 1 : การวางแผนกําลังการผลิตขั้นตน (Rough-cut Capacity Planning)
คําตอบ 2 : การวางแผนความตองการวัสดุ (Materials Requirements Planning)
คําตอบ 3 : การวางแผนความตองการกําลังการผลิต (Capacity Requirements Planning)
คําตอบ 4 : การจัดตารางการผลิต (Production Scheduling)

ขอที่ : 210
ระบบ MRP จะทําใหเราสามารถบรรลุจุดมุงหมายทางดานวัสดุคงคลังตอไปนี้ยกเวน
คําตอบ 1 : สั่งชิ้นสวนไดถูกตอง
คําตอบ 2 : สั่งชิ้นสวนไดในจํานวนที่ถูกตอง
คําตอบ 3 : สั่งชิ้นสวนไดในเวลาที่ถูกตอง
คําตอบ 4 : สั่งชิ้นสวนไดในราคาถูก

ขอที่ : 211
หัวขอใดตอไปนี้คือวัตถุประสงคของการบริหารของคงคลังภายใตระบบ MRP
คําตอบ 1 : ปรับปรุงระดับบริการลูกคา

หนา 89 จาก 163


คําตอบ 2 : การลงทุนสินคาคงคลังสูงสุด
คําตอบ 3 : ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานผลิตต่ําสุด
คําตอบ 4 : ขอ 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 212
ขอใดตอไปนี้คือแฟมขอมูลปอนเขาสูระบบ MRP.
คําตอบ 1 : แฟมขอมูลบัญชีรายการวัสดุ (Bill of Material File )
คําตอบ 2 : แฟมขอมูลรายงานการบริหารคุณภาพ
คําตอบ 3 : แฟมขอมูลปญหาการผลิต
คําตอบ 4 : แฟมขอมูลตารางแผนการออกใบสั่งผลิต

ขอที่ : 213
หากในระบบ MRP มีความตองการขั้นตน (Gross Requirements) อยู 5,000 หนวย และมีวัสดุคงคลัง
อยู 1,200 หนวย โดยไมมีกําหนดการรับของใดๆจากการผลิตหรือการสั่งซือ
้ อยูเลย จะตองทําการ
วางแผนออกใบสั่งผลิตเปนจํานวนเทาไร
คําตอบ 1 : 5,000
คําตอบ 2 : 4,500
คําตอบ 3 : 3,800
คําตอบ 4 : 2,350

ขอที่ : 214
จากขอมูลในตารางที่กําหนดใหตอไปนี้ เมื่อไรจึงจะออกใบสั่ง และออกจํานวนเมื่อไร ถาสมมติวา
ชวงเวลานํา (Lead Time) เทากับ 2 สัปดาห

หนา 90 จาก 163


สัปดาหที่
7 8 9 10 11
ความตองการขั้นตน 20 25 15
ของคงคลังตนงวด = 50
แผนกําหนดการรับของ

คําตอบ 1 : 10 หนวยในสัปดาหที่ 10
คําตอบ 2 : 60 หนวยในสัปดาหที่ 5
คําตอบ 3 : 60 หนวยในสัปดาหที่ 7
คําตอบ 4 : 10 หนวยในสัปดาหที่ 8

ขอที่ : 215
จากขอมูลในตารางที่กําหนดใหตอไปนี้ เมื่อไรจึงจะออกใบสั่ง และออกจํานวน เทาไร ถาสมมติวา
ชวงเวลานํา (Lead Time) เทากับ 2 สัปดาห และกําหนดขนาดรุน การสั่งเทากับ 60 หนวย

สัปดาหที่
7 8 9 10 11
ความตองการขั้นตน 20 25 15
ของคงคลังตนงวด = 20
แผนกําหนดการรับของ

หนา 91 จาก 163


แผนกําหนดการออกใบสั่ง

คําตอบ 1 : 10 หนวยในสัปดาหที่ 10
คําตอบ 2 : 60 หนวยในสัปดาหที่ 5
คําตอบ 3 : 60 หนวยในสัปดาหที่ 7
คําตอบ 4 : 10 หนวยในสัปดาหที่ 8

ขอที่ : 216
ถาแตละหนวยของ X ตองการ 2 หนวยของ Y แตละหนวยของ Y ตองการ 4 หนวยของ Z ชวงเวลานําใน
การประกอบชิ้นสวน X = 1 สัปดาห ชวงเวลานําในการผลิตชิ้นสวน Y = 1 สัปดาห และ ชวงเวลานําใน
การจัดซื้อ Z = 6 สัปดาห ชวงเวลานําสะสมสําหรับชิ้นสวน X คือ
คําตอบ 1 : 6 สัปดาห
คําตอบ 2 : 7 สัปดาห
คําตอบ 3 : 8 สัปดาห
คําตอบ 4 : 10 สัปดาห

ขอที่ : 217
ตารางการผลิตหลัก (MPS) ไดกําหนดใหทําการผลิต ผลิตภัณฑ M จํานวน 110 หนวย ปจจุบันมี
ผลิตภัณฑ M เก็บอยูในคลัง 30 หนวย แตละหนวยของ M ตองการ ชิ้นสวน N จํานวน 4 หนวย ขณะนี้มี
ชิ้นสวน N เก็บอยูในคลังจํานวน 20 หนวย จงหาความตองการสุทธิของชิ้นสวน N
คําตอบ 1 : 440 หนวย
คําตอบ 2 : 320 หนวย
คําตอบ 3 : 300 หนวย
คําตอบ 4 : 340 หนวย

หนา 92 จาก 163


ขอที่ : 218
ตารางการผลิตหลัก (MPS) ไดกําหนดใหทําการผลิต ผลิตภัณฑ A จํานวน 50 หนวย และ B จํานวน 60
หนวย ปจจุบันมีผลิตภัณฑ B เก็บอยูในคลัง 25 หนวย แตละหนวยของ A ตองการ C จํานวน 2 หนวย
และแตละหนวยของ B ตองการ C จํานวน 5 หนวย ขณะนี้มช ี ิ้นสวน C เก็บอยูในคลัง 160 หนวย จงหา
ความตองการสุทธิของชิ้นสวน C
คําตอบ 1 : 115 หนวย
คําตอบ 2 : 175 หนวย
คําตอบ 3 : 180 หนวย
คําตอบ 4 : 240 หนวย

ขอที่ : 219
ตารางการผลิตหลัก (MPS) ไดกําหนดใหทําการผลิต ผลิตภัณฑ A จํานวน 110 หนวย ปจจุบันมี
ผลิตภัณฑ A เก็บอยูในคลัง 60 หนวย แตละหนวยของ A ตองการชิ้นสวน B จํานวน 4 หนวย ขณะนี้มี
ชิ้นสวน B เก็บอยูในคลังจํานวน 20 หนวย จงหาความตองการสุทธิของชิ้นสวน B
คําตอบ 1 : 20 หนวย
คําตอบ 2 : 120 หนวย
คําตอบ 3 : 180 หนวย
คําตอบ 4 : 240 หนวย

ขอที่ : 220
จากขอมูลในตาราง MRP ที่ไดกําหนดใหนี้ หากกําหนดขนาดรุนการสั่ง ครั้งละ 800 หนวย (ถาตองการ
มากกวา800จะตองสั่งเปนจํานวนเทาของ 800 ) ถากําหนดใหชวงเวลานําในการสั่ง เทากับ 1 สัปดาห จง
คํานวณความตองการสุทธิในสัปดาหที่ 6 (ตัวเลขที่ระบุในตารางเวลาทุกชองหมายถึงเหตุการณที่เกิด
ขึ้นตนชวงเวลา)

หนา 93 จาก 163


สัปดาหที่
1 2 3 4 5 6
ความตองการขั้นตน 1,740 930 100 500
กําหนดการรับของ
วัสดุคงคลังที่พรอมนําไปใชได 640
ความตองการสุทธิ
แผนการรับของ
แผนการออกใบสั่ง

คําตอบ 1 : 200 หนวย


คําตอบ 2 : 230 หนวย
คําตอบ 3 : 800 หนวย
คําตอบ 4 : 1,600 หนวย

ขอที่ : 221
จากขอมูลในตาราง MRP ที่ไดกําหนดใหนี้ หากนโยบายขนาดรุน  การสั่งเปนแบบรุนตอรุน (Lot-for-Lot)
และ ชวงเวลานําในการสั่ง เทากับ 1 สัปดาห จงคํานวณแผนการออกใบสั่ง (Planed Order Releases)ใน
สัปดาหที่ 3 (ตัวเลขที่ระบุในชองตารางเวลาทุกชองหมายถึงเหตุการณที่เกิดตนชวงเวลา)
สัปดาหที่
1 2 3 4 5 6
ความตองการขั้นตน 1,740 930 100 500

หนา 94 จาก 163


กําหนดการรับของ 2,000
วัสดุคงคลังที่พรอมนําไปใชได 640
ความตองการสุทธิ
แผนการรับของ
แผนการออกใบสั่ง
คําตอบ 1 : 30 หนวย
คําตอบ 2 : 100 หนวย
คําตอบ 3 : 500 หนวย
คําตอบ 4 : 630 หนวย

ขอที่ : 222
ตารางการผลิตหลักไดกําหนดความตองการของผลิตภัณฑ M ไว 120 หนวย ปจจุบันมีผลิตภัณฑ M คง
คลังอยู 30 หนวย แตละหนวยของ M ตองการวัสดุ N จํานวน 4 หนวย ขณะนี้มี 20 หนวยของวัสดุ D คง
คลังอยุ จงคํานวณหาความตองการสุทธิของวัสดุ N
คําตอบ 1 : 340 หนวย
คําตอบ 2 : 360 หนวย
คําตอบ 3 : 90 หนวย
คําตอบ 4 : 480 หนวย

ขอที่ : 223
ตารางการผลิตหลักไดกําหนดความตองการของผลิตภัณฑ A ไว 50 หนวย และผลิตภัณฑ B ไว 60
หนวย ปจจุบัน มีผลิตภัณฑ B คงคลังอยู 35 หนวย แตละหนวยของ A ตองการวัสดุ C จํานวน 2 หนวย
แตละหนวยของ B ตองการวัสดุ C จํานวน 5 หนวย ขณะนี้มีวส ั ดุ C อยูในคลังจํานวน 160 หนวย จง
คํานวณหาความตองการสุทธิของวัสดุ C

หนา 95 จาก 163


คําตอบ 1 : 225 หนวย
คําตอบ 2 : 65 หนวย
คําตอบ 3 : 60 หนวย
คําตอบ 4 : 110 หนวย

ขอที่ : 224
จากขอมูลที่กําหนดใหในตารางขางลางนี้ จงพิจารณาวาควรจะตองวางแผนการออกใบสั่งเมื่อไร และ
จํานวนเทาไร ถากําหนดใหชวงเวลานําเทากับ 2 สัปดาห
สัปดาหที่
7 8 9 10 11
ความตองการขั้นตน 20 25 15
กําหนดการรับของ
ของคงคลังตนงวด = 50
แผนกําหนดการรับของ

คําตอบ 1 : สัปดาหที่ 10 จํานวน 10 หนวย


คําตอบ 2 : สัปดาหที่ 5 จํานวน 60 หนวย
คําตอบ 3 : สัปดาหที่ 7 จํานวน 60 หนวย
คําตอบ 4 : สัปดาหที่ 8 จํานวน 10 หนวย

ขอที่ : 225
พิจารณาปญหาการกําหนดขนาดรุนการสั่งของ MRP จากผลการคํานวณความตองการสุทธิ ของวัสดุ D
พรอมทั้งคาใชจายที่เกี่ยวของ ดังแสดงในตารางตอไปนี้ หากกําหนดขนาดรุนการสั่งดวย EOQ = 843

หนา 96 จาก 163


จะตองทําการสั่งทั้งหมดกี่ครั้ง

ตารางแสดงความตองการสุทธิของวัสดุ D และขอมูลคาใชจายทีเ่ กี่ยวของ

รายการ ชวง สัปดาห


ผาน 1 2 3 4 5 6 7 8
หมานเลข ความตองการ
พัสดุคงคลังในมือ 1,740 930 30 455
ชิ้นสวน ขั้นตน
700
กําหนดการรับ
D
ของ
ระดับต่ําสุด ปริมาณที่ตองการ พัสดุคงคลัง 640 640 640 640
จัดสรร พรอมใช
3
ความตองการ 1,100 930 30 455
10
สุทธิ
ชวงเวลานํา มูลภัณฑนิรภัย แผนการรับของ
แผนการออก
1 50
ใบสั่ง

ตนทุนวัสดุตอ หนวย 10 บาท

คาใชจายในการสั่ง 90 บาทตอครั้ง

หนา 97 จาก 163


คาใชจายในการถือครอง 0.1 บาทตอหนวยตอสัปดาห
คําตอบ 1 : 1 ครั้ง
คําตอบ 2 : 2 ครั้ง
คําตอบ 3 : 3 ครั้ง
คําตอบ 4 : 4 ครั้ง

ขอที่ : 226
จากความสัมพันธของโครงสรางผลิตภัณฑ X ที่กําหนดใหตอไปนี้ จงพิจารณาวาจะตองสั่ง วัสดุ M
จํานวนกี่หนวยเพื่อทําเปนวัสดุ X จํานวน 100 หนวย

รายการวัสดุ ทําจาก

X: 2 หนวยของ A, 5 หนวยของ B และ 1 หนวย ของ C

A: 6 หนวยของ L และ 1 หนวยของ M

B: 2 หนวยของ N

C: 2 หนวยของ K และ 2 หนวยของ M

L: 2 หนวยของ M และ 3 หนวยของ P


คําตอบ 1 : 2,400 หนวย
คําตอบ 2 : 2,600 หนวย
คําตอบ 3 : 2,800 หนวย

หนา 98 จาก 163


คําตอบ 4 : 3,600 หนวย

ขอที่ : 227
พิจารณาปญหาการกําหนดขนาดรุนการสั่งของ MRP จากผลการคํานวณความตองการสุทธิของวัสดุ D
พรอมทั้งคาใชจายที่เกี่ยวของ ดังแสดงในตารางตอไปนี้ หากกําหนดขนาดรุนการสั่งดวย EOQ = 843
จะเกิดคาใชจายรวมทั้งสิ้นเทาไร{รวมคาใชจายในการถือครองของคงคลัง (Inventory Holding cost)
และ คาใชจายในการสั่ง (Ordering Cost)}

ตารางแสดงความตองการสุทธิของวัสดุ D และขอมูลคาใชจายทีเ่ กี่ยวของ

รายการ ชวง สัปดาห


ผาน 1 2 3 4 5 6 7 8
หมานเลข พัสดุคงคลังในมือความตองการ 1,740 930 30 455
ชิ้นสวน ขั้นตน
700
กําหนดการรับ
D
ของ
ระดับต่ําสุด ปริมาณที่ตองการ พัสดุคงคลัง 640 640 640 640
จัดสรร พรอมใช
3
ความตองการ 1,100 930 30 455
10
สุทธิ
ชวงเวลานํา มูลภัณฑนิรภัย แผนการรับของ
แผนการออก
1 50

หนา 99 จาก 163


ใบสั่ง

ตนทุนวัสดุตอ หนวย 10 บาท

คาใชจายในการสั่ง 90 บาทตอครั้ง

คาใชจายในการถือครอง 0.1 บาทตอหนวยตอสัปดาห


คําตอบ 1 : 552 บาท
คําตอบ 2 : 530.2 บาท
คําตอบ 3 : 576 บาท
คําตอบ 4 : 510.5 บาท

ขอที่ : 228
แผนการผลิตของสายงานประกอบ ในสัปดาหที่ 3 ของ เดือนมิถุนายน มี ความตองการผลิต สินคา A
จํานวน 100 หนวย และ สินคา B จํานวน 200 หนวย สินคา A แตละหนวยตองใชเวลาผลิต .5 ชั่วโมง
สินคา B แตละหนวยตองใชเวลาผลิต 1.5 ชั่วโมง ความตองการกําลังการผลิตในสัปดาหที่ 3ของสาย
งานประกอบเทากับเทาไร
คําตอบ 1 : 300 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 300 หนวย
คําตอบ 3 : 400 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 350 ชั่วโมง

ขอที่ : 229
การเกิด Underloading หมายถึงกรณีใด

หนา 100 จาก 163


ผลิตภัณฑที่ถูกกําหนดใหทําการผลิตในตารางการผลิตมีจํานวนต่ํากวาขีดความสามารถที่
คําตอบ 1 :
หนวยผลิตจะรับได
ผลิตภัณฑที่ถูกกําหนดใหทําการผลิตในตารางการผลิตมีมากกวาขีดความสามารถที่หนวย
คําตอบ 2 :
ผลิตจะรับได
คําตอบ 3 : กําลังการผลิตอยูภายใตการควบคุม
คําตอบ 4 : กําลังการผลิตอยูเหนือการควบคุม

ขอที่ : 230
การเกิด Overloading หมายถึงกรณีใด
ผลิตภัณฑที่ถูกกําหนดใหทําการผลิตในตารางการผลิตมีจํานวนต่ํากวาขีดความสามารถที่
คําตอบ 1 :
หนวยผลิตจะรับได
ผลิตภัณฑที่ถูกกําหนดใหทําการผลิตในตารางการผลิตมีมากกวาขีดความสามารถที่หนวย
คําตอบ 2 :
ผลิตจะรับได
คําตอบ 3 : กําลังการผลิตอยูภายใตการควบคุม
คําตอบ 4 : กําลังการผลิตอยูเหนือการควบคุม

ขอที่ : 231
ขอใดไมใชจุดประสงคของการวางแผนกําลังการผลิต
คําตอบ 1 : เพื่อตอบสนองวันกําหนดสงมอบงาน
คําตอบ 2 : เพื่อชลอชวงเวลาในการผลิต
คําตอบ 3 : เพื่อขจัดสภาพเกินกําลังและสภาพต่ํากวากําลังของหนวยผลิต
คําตอบ 4 : เพื่อใหมั่นใจวาเครื่องจักรจะไมเสียหาย

ขอที่ : 232
กําลังการผลิตในการวางแผนการผลิตหมายถึง

หนา 101 จาก 163


คําตอบ 1 : อัตราการผลิตตอชั่วโมง
คําตอบ 2 : จํานวนชั่วโมงการทํางานตอวัน
คําตอบ 3 : จํานวนคนที่ทํางานตอวัน
คําตอบ 4 : ขีดความสามารถของคนหรือเครื่องจักรที่สามารถจะนํามาใชได

ขอที่ : 233
ในการวางแผนกําลังการผลิตขอมูลรายการใดตอไปนี้ที่ไมเกี่ยวของ
คําตอบ 1 : ใบแสดงขั้นตอนการผลิต
คําตอบ 2 : ใบสั่งงาน
คําตอบ 3 : ปริมาณสินคาคงคลังตนงวด
คําตอบ 4 : ขอมูลหนวยผลิต

ขอที่ : 234
บริษัทแหงหนึ่งไดทําวางแผนการผลิตสินคาชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสินคาคงคลังตนงวด สัปดาหที่ 1 เทากับ 150
หนวย คาพยากรณความตองการในสัปดาหที่ 1 เทากับ 75 หนวย บริษัทไดกําหนดตารางการผลิตไวใน
สัปดาหที่ 1 เทากับ 300 หนวย สินคาแตละหนวยตองใชเวลาผลิต 0.5 ชั่วโมง ภายใตแผนการผลิต
ดังกลาวนี้ตองการกําลังการผลิตในสัปดาหที่ 1 เทาไร
คําตอบ 1 : 150 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 200 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 300 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 450 ชั่วโมง

ขอที่ : 235
ขอใดเกี่ยวกับการวางแผนกําลังการผลิตตอไปนี้ กลาวไมถูกตอง

หนา 102 จาก 163


การวางแผนกําลังการผลิตไมจํากัดแบบเดินหนาคือการกําหนดใหงานแตละงานเริ่มตนเร็ว
คําตอบ 1 :
สุด
การวางแผนกําลังการผลิตไมจํากัดแบบยอนกลับหมายถึงทุกๆงานจะถูกพิจารณาแบบ
คําตอบ 2 :
ยอนกลับโดยสมมติวาแตละงานจะสามารถทําเสร็จในวันกําหนดสง
คําตอบ 3 : ชวงเวลานํา คือระยะเวลาตั้งแตออกใบสั่งจนกระทั่งไดรับของตามที่สั่ง
คําตอบ 4 : การวางแผนกําลังการผลิตแบบจํากัด คือการวางแผนยอนกลับตามวันกําหนดสง

ขอที่ : 236
ขอใดตอไปนี้ไมใชเปนองคประกอบของชวงเวลานํา (Lead Time)การผลิต
คําตอบ 1 : เวลาผลิต
คําตอบ 2 : เวลาเตรียมการผลิต
คําตอบ 3 : เวลารอคอยการผลิต
คําตอบ 4 : เวลาวางแผนการผลิต

ขอที่ : 237
ขอใดตอไปนี้ไมใชองคประกอบของเวลาในขั้นตอนการผลิต (Operations Time)
คําตอบ 1 : เวลารอคอยการผลิต
คําตอบ 2 : เวลาขนยาย
คําตอบ 3 : เวลารอคอยการขนยาย
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 238
ขอใดตอไปนี้เปนคํากลาวที่ไมถูกตองเกี่ยวกับการวางแผนกําลังการผลิต
คําตอบ 1 : การวางแผนกําลังการผลิตแบบจํากัดมักจะดําเนินการกอนการวางแผนกําลังการผลิตแบบ

หนา 103 จาก 163


ไมจํากัด
การวางแผนความตองการกําลังการผลิต (Capacity Requirement Planning) ตอง
คําตอบ 2 : ดําเนินการภายหลังการจัดรายละเอียดตารางการผลิต (Detail Production Scheduling)
เสร็จเรียบรอยแลว
ภายใตระบบ MRP เมื่อดําเนินการวางแผนความตองการวัสดุแลวขั้นตอนตอไป คือการ
คําตอบ 3 :
วางแผนกําลังการผลิตขั้นตน (Rough-cut Capacity Planning)
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 239
บริษัทแหงหนึ่งไดทําวางแผนการผลิตสินคาชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสินคาคงคลังตนงวด สัปดาหที่ 1 เทากับ 200
หนวย คาพยากรณความตองการในสัปดาหที่ 1 เทากับ 75 หนวย บริษัทไดกําหนดตารางการผลิตไวใน
สัปดาหที่ 1 เทากับ 400 หนวย สินคาแต ละหนวยตองใชเวลาผลิต 0.4 ชั่วโมง ภายใตแผนการผลิต
ดังกลาวนี้ตองการกําลังการ ผลิตในสัปดาหที่ 1 เทาไร
คําตอบ 1 : 160 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 200 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 210 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 525 ชั่วโมง

ขอที่ : 240
การวางแผนกําลังการผลิตจะทําใหเราสามารถ
คําตอบ 1 : วางแผนการทําลวงเวลา
คําตอบ 2 : วางแผนจางผูรับเหมาชวง
คําตอบ 3 : มอบหมายใบสั่งงานใหกับหนวยผลิตไดอยางถูกตอง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

หนา 104 จาก 163


ขอที่ : 241
การวางแผนกําลังการผลิตแบบใดจะเนนที่เครื่องจักรหลักของโรงงานและคํานวณตอจาก MPS (Master
Production Scheduling)
คําตอบ 1 : Rough-cut Capacity Planning
คําตอบ 2 : Capacity Requirements Planning
คําตอบ 3 : Aggregate Capacity Planning
คําตอบ 4 : Capacity Control

ขอที่ : 242
การวางแผนกําลังการผลิตแบบใดคํานวณตอจาก MRP (Material Requirements Planning)
คําตอบ 1 : Rough-cut Capacity Planning
คําตอบ 2 : Capacity Requirements Planning
คําตอบ 3 : Aggregate Capacity Planning
คําตอบ 4 : Capacity Control

ขอที่ : 243
การวางแผนกําลังการผลิตแบบใดคํานวณตอจาก การวางแผนการผลิตรวม (Aggregate Production
Planning)
คําตอบ 1 : Rough-cut Capacity Planning
คําตอบ 2 : Capacity Requirements Planning
คําตอบ 3 : Aggregate Capacity Planning
คําตอบ 4 : Capacity Control

ขอที่ : 244

หนา 105 จาก 163


แหลงกําลังการผลิตของโรงงานสามารถมาจากที่ใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : การผลิตสินคาคงคลังลวงหนา
คําตอบ 2 : การทําลวงเวลา
คําตอบ 3 : กําลังการผลิตปกติ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 245
ขอมูลใดตอไปนี้เปนขอมูลของหนวยผลิตที่เปนประโยชนตอการวางแผนกําลังการผลิต
คําตอบ 1 : เวลารอคอยการผลิต (Queue Time)
คําตอบ 2 : เวลาเคลื่อนยาย (Move Time)
คําตอบ 3 : กําลังการผลิต
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 246
โรงงานแหงหนึ่งหัวหนางานไดรับใบสั่งงาน 6 งาน โดยแตละงานจะตองผานหนวยงาน 3 หนวย เรียง
ตามลําดับที่เหมือนกันดังนี้ จงคํานวณภาระงานทั้งหมดของหนวยผลิตที่ 3
ใบสั่งงาน เวลาที่ใชในแตละหนวยผลิต (ชั่วโมง)
หนวยผลิตที่ 1 หนวยผลิตที่ 2 หนวยผลิตที่ 3
1 4 3 5
2 4 8 2
3 2 3 5

คําตอบ 1 : 13 ชั่วโมง

หนา 106 จาก 163


คําตอบ 2 : 18 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 20 ชัว่ โมง
คําตอบ 4 : 51 ชั่วโมง

ขอที่ : 247
โรงงานแหงหนึ่งหัวหนางานไดรับใบสั่งงาน 6 งาน โดยแตละงานจะตองผานหนวยงาน 3 หนวย เรียง
ตามลําดับที่เหมือนกันดังนี้ จงคํานวณภาระงานทั้งหมดของหนวยผลิตที่ 2
ใบสั่งงาน เวลาที่ใชในแตละหนวยผลิต (ชั่วโมง)
หนวยผลิตที่ 1 หนวยผลิตที่ 2 หนวยผลิตที่ 3
1 4 3 5
2 4 8 2
3 2 3 5

คําตอบ 1 : 13 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 18 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 20 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 51 ชั่วโมง

ขอที่ : 248
บริษัทแหงหนึง่ ไดทําการวางแผนการผลิตสินคาชนิดหนึง่ ซึ่งมีสินคาคงคลังตนงวดสัปดาหที่ 1 เทากับ 150 หนวย คา
พยากรณความตองการในสัปดาหที่ 1 เทากับ 75 หนวย บริษัทไดกําหนดตารางการผลิตไวในสัปดาหที่ 1 เทากับ 400
หนวย สินคาแตละหนวยตองใชเวลาผลิต 0.3 ชั่วโมง บริษัทมีกําลังการผลิตปกติสัปดาหละ 100 ชั่วโมง และกําลังการ

หนา 107 จาก 163


ผลิตสูงสุดเทากับ 130 ชั่วโมง โดยทําการผลิตในชวงลวงเวลาอีก 30 ชั่วโมง ภายใตแผนการผลิตดังกลาวนี้ บริษัทตอง
ทําลวงเวลาในสัปดาหที่ 1 อีกเทาไร
คําตอบ 1 : 15 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 20 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 30 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 45 ชั่วโมง

ขอที่ : 249
บริษัทแหงหนึง่ ไดทําการวางแผนการผลิตสินคาชนิดหนึง่ ซึ่งมีสินคาคงคลังตนงวดสัปดาหที่ 1 เทากับ 150 หนวย คา
พยากรณความตองการในสัปดาหที่ 1 เทากับ 75 หนวย บริษัทไดกําหนดตารางการผลิตไวในสัปดาหที่ 1 เทากับ 400
หนวย สินคาแตละหนวยตองใชเวลาผลิต 0.5 ชั่วโมง บริษัทมีกําลังการผลิตปกติสัปดาหละ 100 ชั่วโมง และกําลังการ
ผลิตสูงสุดเทากับ 130 ชั่วโมง โดยทําการผลิตในชวงลวงเวลาอีก 30 ชั่วโมง ภายใตแผนการผลิตดังกลาวนี้ บริษัทตอง
ทําลวงเวลาในสัปดาหที่ 1 อีกเทาไร
คําตอบ 1 : 15 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 20 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 30 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 250
ในการวางแผนการผลิตสินคาชนิดหนึ่ง มีสินคาคงคลังตนงวดสัปดาหที่ 1 เทากับ 150 หนวย ความ
ตองการ จากการพยากรณในสัปดาหที่ 1 เทากับ 75 หนวยบริษัทตองการใหมีสินคาคงคลังปลายงวด
สัปดาหที่ 1 = 325 หนวย ถาสินคาแตละหนวยตองใช เวลาผลิต 0.5 ชั่วโมง บริษัทจะตองจัดกําลังการ
ผลิตไว เทาไร เพื่อใหเพียงพอกับการกําหนดตารางการผลิตหลักใน สัปดาหที่ 1 ที่จะจัดขึ้น

หนา 108 จาก 163


คําตอบ 1 : 125 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 250 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 300 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 251
บริษัทแหงหนึง่ ไดทําการวางแผนการผลิตสินคาชนิดหนึง่ ซึ่งมีสินคาคงคลังตนงวดสัปดาหที่ 1 เทากับ 200 หนวย คา
พยากรณความตองการในสัปดาหที่ 1 เทากับ 500 หนวย บริษัทตองการใหมีสินคาคงคลังปลายงวดสัปดาหที่ 1 เทากับ
200 หนวย ถาสินคาแตละหนวยตองใชเวลาผลิต 0.2 ชั่วโมง บริษัทมีกาํ ลังการผลิตปกติสัปดาหละ 80 ชั่วโมง และ
กําลังการผลิตสูงสุดเทากับ 110 ชั่วโมง โดยทําการผลิตในชวงลวงเวลาอีก 30 ชั่วโมง ภายใตแผนการผลิตดังกลาวนี้
บริษัทตองทําลวงเวลาในสัปดาหที่ 1 อีกเทาไร
คําตอบ 1 : 15 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 20 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 30 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 252
ในการวางแผนการผลิตสินคาชนิดหนึ่ง มีสินคาคงคลังตนงวดสัปดาหที่ 1 เทากับ 150 หนวย ความ
ตองการ จากการพยากรณในสัปดาหที่ 1 เทากับ 750 หนวย บริษัทตองการใหมีสินคาคงคลังปลายงวด
สัปดาหที่ 1 = 200 หนวย ถาสินคาแตละหนวยตองใช เวลาผลิต 0.5 ชั่วโมง บริษัทจะตองจัดกําลังการ
ผลิตไวเทาไร เพื่อใหเพียงพอกับการกําหนดตารางการผลิตหลักใน สัปดาหที่ 1 ที่จะจัดขึ้น
คําตอบ 1 : 100 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 350 ชั่วโมง

หนา 109 จาก 163


คําตอบ 3 : 400 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 750 ชั่วโมง

ขอที่ : 253
หนวยผลิตหนวยหนึ่งรับใบสั่งงานเขามา 1 ใบมีจํานวนชิ้นงาน 200 ชิ้น เวลาที่ใชในการเตรียมการผลิต
(Setup Time) = 1.3 ชั่วโมง และเวลามาตรฐานการผลิตตอชิ้น = 0.3 ชั่วโมง มีภาระงานที่เกิดขึ้นกับ
หนวยผลิตหนวยนี้กี่ชั่วโมง
คําตอบ 1 : 60 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 61.3 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 260 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 350 ชั่วโมง

ขอที่ : 254

หนา 110 จาก 163


โรงงานแหงหนึ่งประกอบไปดวยหนวยผลิต 3 หนวย คือ A , B , C ซึ่งมีงานที่รอการจัดภาระงานอยู 5
งาน ดังรายละเอียดที่แสดงในตาราง หากงานแตละงานจะตองใชเวลาในการรอคอยและการขนยายโดย
เฉลี่ย 8 ชั่วโมงตอหนวยงาน ถานับเวลาเริ่มตนเร็วสุดที่ 0 และ งานใดที่ผานหนวยผลิตใดเปนหนวยแรก
จะไมคิดเวลารอคอยและเวลาขนยาย จงหาวางาน A จะแลวเสร็จในเวลากี่ชั่วโมง
งาน หนวยผลิต/เวลาในการ วันกําหนดสง (วัน)
ผลิต (ชั่วโมง)
1 A(2), B(3), C(4) 4
2 C(6), A(4) 3
3 B(3), C(2), A(1) 4
4 C(4), B(3), A(3) 4
5 A(5), B(3) 2
คําตอบ 1 : 9 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 25 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 33 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 43 ชั่วโมง

ขอที่ : 255
โรงงานแหงหนึ่งประกอบไปดวยหนวยผลิต 3 หนวย คือ A , B , C ซึ่งมีงานที่รอ การจัดภาระงานอยู 5
งาน ดังรายละเอียดที่แสดงในตาราง หากงานแตละงานจะตองใชเวลาในการรอคอยและการขนยายโดย
เฉลี่ย 8 ชั่วโมงตอหนวยงาน ถานับเวลาเริ่มตนเร็วสุดที่ 0 และ งานใดที่ผานหนวยผลิตใดเปนหนวยแรก
จะไมคิดเวลารอคอยและเวลาขนยาย จงหาวางาน 2 จะแลวเสร็จในเวลากี่ชั่วโมง
งาน หนวยผลิต/เวลาในการ วันกําหนดสง (วัน)
ผลิต (ชั่วโมง)

หนา 111 จาก 163


1 A(2), B(3), C(4) 4
2 C(6), A(4) 3
3 B(3), C(2), A(1) 4
4 C(4), B(3), A(3) 4
5 A(5), B(3) 2
คําตอบ 1 : 10 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 18 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 25 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 33 ชั่วโมง

ขอที่ : 256
โรงงานแหงหนึ่งประกอบไปดวยหนวยผลิต 3 หนวย คือ A , B , C ซึ่งมีงานที่รอ การจัดภาระงานอยู 5
งาน ดังรายละเอียดที่แสดงในตาราง หากงานแตละงานจะตองใชเวลาในการรอคอยและการขนยายโดย
เฉลี่ย 8 ชั่วโมงตอหนวยงาน ถานับเวลาเริ่มตนเร็วสุดที่ 0 และ งานใดที่ผานหนวยผลิตใดเปนหนวยแรก
จะไมคิดเวลารอคอยและเวลาขนยาย งาน 5 จะแลวเสร็จในเวลากี่ชั่วโมง
งาน หนวยผลิต/เวลาในการ วันกําหนดสง (วัน)
ผลิต (ชั่วโมง)
1 A(2), B(3), C(4) 4
2 C(6), A(4) 3
3 B(3), C(2), A(1) 4
4 C(4), B(3), A(3) 4
5 A(5), B(3) 2

หนา 112 จาก 163


คําตอบ 1 : 8 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 16 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 24 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 33 ชั่วโมง

ขอที่ : 257
หนวยผลิตแหงหนึ่ง มีเครื่องจักรอยู 3 เครื่อง ทํางานวันละ 2 กะ ๆละ 8 ชั่วโมง ทํางาน 5 วันตอสัปดาห
กําลังการผลิตตอสัปดาหเทากับเทาไร
คําตอบ 1 : 80 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 200 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 240 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 300 ชั่วโมง

ขอที่ : 258
โรงงานแหงหนึ่งประกอบไปดวยหนวยผลิต 3 หนวย คือ A , B , C ซึ่งมีงานที่รอการจัดภาระงานอยู 5
งาน ดังรายละเอียดที่แสดงในตาราง จงพิจารณาหาวาหนวยผลิต C จะมีภาระงานรวมเทาไร
งาน หนวยผลิต/เวลาในการ วันกําหนดสง (วัน)
ผลิต (ชั่วโมง)
1 A(2), B(3), C(4) 4
2 C(6), A(4) 3
3 B(3), C(2), A(1) 4
4 C(4), B(3), A(3) 4
5 A(5), B(3) 2

หนา 113 จาก 163


คําตอบ 1 : 12 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 15 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 16 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 8 ชั่วโมง

ขอที่ : 259
โรงงานแหงหนึ่งประกอบไปดวยหนวยผลิต 3 หนวย คือ A , B , C ซึ่งมีงานที่รอการจัดภาระงานอยู 5
งาน ดังรายละเอียดที่แสดงในตาราง จงพิจารณาหาวาหนวยผลิต B จะมีภาระงานเทาไร
งาน หนวยผลิต/เวลาในการ วันกําหนดสง (วัน)
ผลิต (ชั่วโมง)
1 A(2), B(3), C(4) 4
2 C(6), A(4) 3
3 B(3), C(2), A(1) 4
4 C(4), B(3), A(3) 4
5 A(5), B(3) 2
คําตอบ 1 : 12 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 15 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 16 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 8 ชั่วโมง

ขอที่ : 260
โรงงานแหงหนึ่งประกอบไปดวยหนวยผลิต 3 หนวย ซึ่งมีงานที่รอการจัดภาระงานอยู 5 งาน ดัง
รายละเอียดที่แสดงในตาราง จงพิจารณาหาวาหนวยผลิต A จะมีภาระงานเทาไร

หนา 114 จาก 163


งาน หนวยผลิต/เวลาในการ วันกําหนดสง (วัน)
ผลิต (ชั่วโมง)
1 A(2), B(3), C(4) 4
2 C(6), A(4) 3
3 B(3), C(2), A(1) 4
4 C(4), B(3), A(3) 4
5 A(5), B(3) 2
คําตอบ 1 : 12 ชั่วโมง
คําตอบ 2 : 15 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 16 ชั่วโมง
คําตอบ 4 : 2 ชั่วโมง

ขอที่ : 261
หนวยผลิตหนวยหนึ่งรับใบสั่งงานเขามา 4 งานในรอบ 4 สัปดาห ดังมีรายละเอียดใบสั่งงานแตละงาน
ดังตอไปนี้ จงคํานวณภาระงานโดยรวมของหนวยผลิตหนวยนี้
ใบสั่งงานที่ ปริมาณการสั่ง เวลาเตรียมการผลิต เวลาผลิตตอชิ้น
1 150 0.25 0.10
2 50 0.40 0.05
3 75 1.00 0.20
4 35 0.25 0.15
คําตอบ 1 : 29.00 ชั่วโมง

หนา 115 จาก 163


คําตอบ 2 : 35.90 ชั่วโมง
คําตอบ 3 : 37.00 ชัว่ โมง
คําตอบ 4 : 39.90 ชั่วโมง

ขอที่ : 262
กระบวนการผลิตหนึ่งประกอบดวย 2 ขั้นตอน งานทุกงานตองผานขั้นตอนที่ 1 กอนแลวจึงจะไปทําตอที่
ขั้นตอนที่ 2 ถาปจจุบันมีงานมารอเขาทํา 5 งาน โดยแตละงานตองใชเวลาทําในขั้นตอนที่ 1 ดังนี้
5,3,1,3 และ 5 ตามลําดับ และ ใชเวลาทําในขั้นตอนที่ 2 ดังนี้ 4,2,2,4,และ 6 ลําดับการจัดงานเขาทํา
ควรเปนดังขอใดจึงจะทําใหชวงการทํางานทั้งหมด สั้นที่สุด
คําตอบ 1 : <1,2,3,4,5>
คําตอบ 2 : <2,3,4,5,1>
คําตอบ 3 : <4,5,1,2,3>
คําตอบ 4 : <3,4,5,1,2>

ขอที่ : 263
เจาหนาที่ฝายควบคุมการผลิตผูหนึ่ง กําลังอยูในระหวางการจัดลําดับการทํางานสําหรับงาน3งาน งาน
ทั้งหมดตองผานเครื่องจักร3เครื่องคือ A,B,C โดยแตละงานมีลําดับขั้นตอนไมเหมือนกัน ถาขั้นตอนการ
ผลิตของงาน1เปนดังนี้ A(2),C(3),B(1) ตัวเลขในวงเล็บคือเวลา และสําหรับงาน2คือ B(1),C(2),A(1)
และสําหรับงาน3 คือA(1),B(1),C(4) ถาใชหลักเกณฑเวลาของขั้นตอนสั้นที่สุดเขาทํากอน ลําดับการ
ทํางานบนเครื่องที่ B คือขอใด
คําตอบ 1 : 3,1,2
คําตอบ 2 : 2,3,1
คําตอบ 3 : 1,2,3
คําตอบ 4 : 3,1,2

หนา 116 จาก 163


ขอที่ : 264
ในการจัดตารางการผลิตใหกับงาน N งาน บนหนวยผลิตหนวยเดียว เกณฑการจัดลําดับงานใดจะให
ผลลัพธ “ เวลาไหลอยูในระบบนอยที่สุด”
คําตอบ 1 : กําหนดสงเร็วที่สุดทํากอน
คําตอบ 2 : เวลางานนอยที่สุดทํากอน
คําตอบ 3 : เวลางานมากที่สุดทํากอน
คําตอบ 4 : เวลาเหลือมากที่สุดทํากอน

ขอที่ : 265
ในการจัดตารางการผลิตใหกับงาน N งาน บนหนวยผลิตหนวยเดียว เกณฑการ จัดลําดับงานใดจะให
ผลลัพธ “ เวลาเบี่ยงเบนจากวันกําหนดสงสูงสุดต่ําสุด (Minimize Max Lateness)”
คําตอบ 1 : กําหนดสงเร็วที่สุดทํากอน
คําตอบ 2 : เวลางานนอยที่สุดทํากอน
คําตอบ 3 : เวลางานมากที่สุดทํากอน
คําตอบ 4 : เวลาเหลือมากที่สุดทํากอน

ขอที่ : 266
ในการจัดลําดับงานบนหนวยผลิตหนึ่งหนวยเพื่อใหมีจํานวนงานสงไมทันกําหนดนอยที่สุด ใชวิธีการ
จัดลําดับแบบใด
คําตอบ 1 : Johnson
คําตอบ 2 : Smith
คําตอบ 3 : Hodgson
คําตอบ 4 : Campbell

หนา 117 จาก 163


ขอที่ : 267
ในการจัดตารางการผลิตบนหนวยผลิต M หนวย แบบขนาดเพื่อลดคาสูงสุดของเวลาสงงานไมทัน
กําหนดสูงสุด ควรใชเกณฑการจัดลําดับงานใด
คําตอบ 1 : กําหนดสงเร็วที่สุดทํากอน
คําตอบ 2 : เวลางานนอยที่สุดทํากอน
คําตอบ 3 : เวลางานมากที่สุดทํากอน
คําตอบ 4 : Johnson

ขอที่ : 268
เครื่องมือใดตอไปนี้ที่ถูกนํามาใชเปนเครื่องมือชวยในการติดตามความกาวหนาของงาน
คําตอบ 1 : แผนภูมแกนตแสดงภาระงาน (Gantt Load Chart)
คําตอบ 2 : แผนภูมิแกนตแสดงตารางการทํางาน (Gantt Scheduling Chart)
คําตอบ 3 : วิธีการมอบหมายงาน (The Assignment Method)
คําตอบ 4 : MPS

ขอที่ : 269
Johnson’s Rule เปนวิธีการหา ลําดับงานในสถานการณใด และวัตุประสงคใด
จัดลําดับงานบนหนวยผลิต M หนวยแบบขนานเพื่อใหชวงกวางการทํางานทั้งหมดสั้นที่สุด
คําตอบ 1 :
(Minimize Makespan)
จัดลําดับงานบนหนวยผลิต 2 หนวยแบบอนุกรมเพื่อใหชวงกวางการทํางานทั้งหมดสั้น
คําตอบ 2 :
ที่สุด (Minimize Makespan)
คําตอบ 3 : จัดลําดับงานบนหนวยผลิต M หนวยแบบอนุกรมเพื่อใหงานสงไมทันกําหนดมีนอยที่สุด
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

หนา 118 จาก 163


ขอที่ : 270
ขอใดตอไปนี้คือขอมูลที่ปอนเขาสูการจัดตารางการผลิต
คําตอบ 1 : เกณฑการจัดลําดับงาน
คําตอบ 2 : ใบสั่งผลิต
คําตอบ 3 : ขอมูลขั้นตอนการปฏิบัติงาน
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 271
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
คําตอบ 1 : แผนภูมิแกนตมีประโยชนทั้งในการจัดทําภาระงานและตารางการทํางานบนเครื่องจักร
การวางแผนและควบคุมการผลิตที่ดีจําเปนจะตองสามารถใหขอมูลปอนกลับเกี่ยวกับ
คําตอบ 2 :
กิจกรรมการผลิตและโรงงาน
การจัดลําดับงานบนหนวยผลิต M หนวยแบบอนุกรม หรือ Flow Shop งานแตละงาน
คําตอบ 3 :
จะตองมีลําดับการผานเครื่องจักรเหมือนกัน
การลดการใชพื้นที่ในโรงงานคือเหตุผลหนึ่งในการจัดลําดับงาน แบบกําหนดสงเร็วที่สุด
คําตอบ 4 :
ทํากอน

ขอที่ : 272
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
ในการจัดตารางการผลิตแบบเดินหนางานทุกงานจะถูกจัดใหเริ่มงานชาที่สุด เทาที่จะ
คําตอบ 1 :
เปนไปไดแตในชวงเวลาที่กําหนดให
การจัดลําดับงานโดยใชเกณฑ Slack นอยที่สุดทํากอน อยูบนพื้นฐานของ ความตองการ
คําตอบ 2 :
ตอบสนองความพึงพอใจของลูกคา
การวางแผนและควบคุมการผลิตที่ดีไมจําเปนตองมีการปอนกลับขอมูล กิจกรรมการผลิต
คําตอบ 3 :
จากโรงงาน

หนา 119 จาก 163


คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 273
เกณฑวัตถุประสงคใดตอไปนี้ไมใชเกณฑในการจัดตารางการผลิต
คําตอบ 1 : Maximize Flow Time (เวลาไหลในระบบสูงสุด)
คําตอบ 2 : Maximize Utilization (ประสิทธิภาพการใชเครื่องจักรสูงสุด)
คําตอบ 3 : Minimize Work-in-Process Inventory (งานระหวางผลิตต่ําสุด)
คําตอบ 4 : Minimize Maximum Tardiness (เวลาสงไมทันกําหนดสูงสุดต่ําสุด )

ขอที่ : 274
ใบสั่งงานที่ถูกนําไปทําการผลิตตามลําดับที่งานนั้นเขามาในบริษัท เรียกเกณฑการจัดลําดับนั้นวา
คําตอบ 1 : มากอน-ทํากอน
คําตอบ 2 : ถึงกําหนดสงกอนทํากอน
คําตอบ 3 : เวลาเหลือนอยกวาทํากอน (Slack Time Remaining)
คําตอบ 4 : Hodgson’s

ขอที่ : 275
เกณฑจัดลําดับงานใดที่มีแนวโนมจะทําใหเวลางานไหลในระบบนอยที่สุด (Minimize Job Flow Time)
คําตอบ 1 : FCFS (First Come First Served)
คําตอบ 2 : SPT (Shortage Processing Time)
คําตอบ 3 : EDD (Earliest Due Date)
คําตอบ 4 : LPT (Longest Processing Time)

ขอที่ : 276

หนา 120 จาก 163


เมื่องาน N งาน ตองผานเครื่องจักร 2 เครื่อง ในลําดับที่เหมือนๆกัน เราจะใชเกณฑใดในการจัดลําดับ
งานเพื่อใหชวงกวางการทํางานทั้งหมดนอยที่สุด (Minimize Makespan)
คําตอบ 1 : Johnson’s Rule
คําตอบ 2 : SPT (Shortage Processing Time)
คําตอบ 3 : EDD (Earliest Due Date)
คําตอบ 4 : LPT (Longest Processing Time)

ขอที่ : 277
ใชเกณฑในการจัดลําดับงาน เวลาผลิตสั้นที่สุดทํากอน (Shortage Processing Time) ผลลัพธทั่วๆไป
ที่ไดคือ
คําตอบ 1 : Minimize Mean Lateness
คําตอบ 2 : Minimize Mean Flow Time
คําตอบ 3 : Maximize Utilization
คําตอบ 4 : Minimize Mean Tardiness

ขอที่ : 278
ในการจัดตารางการผลิตใหกับใบสั่งงานที่มีขนาดรุนการสั่ง 1,000 หนวย ซึ่งตองผานหนวยผลิต 3
หนวยตามลําดับ ดังรูป งานจะเสร็จทั้งหมดในเวลาเทาไร (การเคลื่อนยายผลิตภัณฑจากหนวยผลิตหนึ่ง
ไปยังอีกหนวยผลิตหนึ่งจะตองคอยใหเสร็จสิ้นทั้งหมดถึงทําการยายในครั้งเดียว)
คําตอบ 1 : 210 นาที
คําตอบ 2 : 2,100 นาที
คําตอบ 3 : 3,000 นาที
คําตอบ 4 : 2.1 นาที

ขอที่ : 279

หนา 121 จาก 163


มีงาน 5 งาน (A-B-C-D-E) กําลังรอการผลิต อยู หนาเครื่องจักรเครื่องหนึ่งซึ่งมีขอมูลเวลาผลิตและวัน
กําหนดสงดังแสดงในตาราง โดยการใชเกณฑ “เวลานอยที่สุดทํากอน” จะสามารถจัดลําดับงานเพื่อสง
เขาสูการผลิตไดดังนี้
งาน เวลาผลิต กําหนดสง
A 4 7
B 7 4
C 8 11
D 3 5
E 5 8
คําตอบ 1 : A-B-C-D-E
คําตอบ 2 : C-E-A-D-B
คําตอบ 3 : B-D-A-E-C
คําตอบ 4 : D-A-E-B-C

ขอที่ : 280
มีงาน 5 งาน (A-B-C-D-E) กําลังรอการผลิต อยู หนาเครื่องจักรเครื่องหนึ่งซึ่งมีขอมูลเวลาผลิตและวัน
กําหนดสงดังแสดงในตาราง โดยการใชเกณฑ “เวลานอยที่สุดทํากอน” จะสามารถจัดลําดับงานเพื่อสง
เขาสูการผลิตไดดังนี้
งาน เวลาผลิต กําหนดสง
A 4 7
B 2 4
C 8 11
D 3 5

หนา 122 จาก 163


E 5 8
คําตอบ 1 : A-B-C-D-E
คําตอบ 2 : C-E-A-D-B
คําตอบ 3 : B-D-A-E-C
คําตอบ 4 : D-A-E-B-C

ขอที่ : 281
จากตารางผลลัพธการจัดลําดับงาน 5 งาน เรียงตามลําดับ A-B-C-D-E บนหนวยผลิตหนวยเดียว
ดังตอไปนี้ เวลาเฉลี่ยงานไหลในระบบ (Mean Flow Time) เทาไร

งาน เวลาผลิต (วัน) กําหนดเสร็จ (วัน) กําหนดสง (วัน)


A 4 4 7
B 2 6 4
C 8 14 11
D 3 17 5
E 5 25 8
คําตอบ 1 : 66 วัน
คําตอบ 2 : 13.2 วัน
คําตอบ 3 : 25 วัน
คําตอบ 4 : 35 วัน

หนา 123 จาก 163


ขอที่ : 282
จากตารางผลลัพธการจัดลําดับงาน 5 งาน เรียงตามลําดับ A-B-C-D-E บนหนวยผลิตหนวยเดียว
ดังตอไปนี้ จํานวนงานสงไมทันกําหนดมีกี่งาน
งาน เวลาผลิต (วัน) กําหนดเสร็จ (วัน) กําหนดสง (วัน)
A 4 4 7
B 2 6 4
C 8 14 11
D 3 17 5
E 5 25 8
คําตอบ 1 : 2 งาน
คําตอบ 2 : 3 งาน
คําตอบ 3 : 4 งาน
คําตอบ 4 : 5 งาน

ขอที่ : 283
จากตารางผลลัพธการจัดลําดับงาน 5 งาน เรียงตามลําดับ A-B-C-D-E บนหนวยผลิตหนวยเดียว
ดังตอไปนี้ เวลาสงงานไมทันกําหนดสูงสุดคืองานใด
งาน เวลาผลิต (วัน) กําหนดเสร็จ (วัน) กําหนดสง (วัน)
A 4 4 7
B 2 6 4
C 8 14 11
D 3 17 5

หนา 124 จาก 163


E 5 25 8
คําตอบ 1 : B
คําตอบ 2 : C
คําตอบ 3 : D
คําตอบ 4 : E

ขอที่ : 284
มีงาน 5 งาน(A-B-C-D-E) กําลังรอการผลิต อยู หนาเครื่องจักรเครื่องหนึ่งซึ่งมีขอมูลเวลาผลิตและวัน
กําหนดสงดังแสดงในตาราง โดยการใชเกณฑ “อัตราวิกฤตินอยที่สุด (Smallest Critical Ratio) ของวัน
กําหนดสงสวนเวลาผลิต จะสามารถจัดลําดับงานเพื่อสงเขาสู การผลิตไดดังขอใด
งาน เวลาผลิต กําหนดสง
A 4 7
B 2 4
C 8 11
D 3 5
E 5 8
คําตอบ 1 : A-B-C-D-E
คําตอบ 2 : C-D-A-B-E
คําตอบ 3 : B-D-A-E-C
คําตอบ 4 : D-A-E-B-C

ขอที่ : 285
จากตารางผลลัพธการจัดลําดับงาน 5 งาน เรียงตามลําดับ A-B-C-D-E บนหนวยผลิตหนวยเดียว

หนา 125 จาก 163


ดังตอไปนี้ จงหาเวลาเฉลี่ยงานไหลในระบบ (Mean Flow Time) เทากับเทาไร
งาน เวลาผลิต (วัน) กําหนดเสร็จ (วัน) กําหนดสง (วัน)
A 4 4 7
B 2 6 4
C 8 14 11
D 3 17 5
E 5 25 8

คําตอบ 1 : 5 วัน
คําตอบ 2 : 4.4 วัน
คําตอบ 3 : 7 วัน
คําตอบ 4 : 13.2 วัน

ขอที่ : 286
จากตารางผลลัพธการจัดลําดับงาน 5 งาน เรียงตามลําดับ A-B-C-D-E บนหนวยผลิตหนวยเดียว
ดังตอไปนี้ จงหาเวลาเฉลี่ยสงงานไมทันกําหนดคือเทาไร
งาน เวลาผลิต (วัน) กําหนดเสร็จ (วัน) กําหนดสง (วัน)
A 4 4 7
B 2 6 4
C 8 14 11
D 3 17 5
E 5 25 8

หนา 126 จาก 163


คําตอบ 1 : 6.8 วัน
คําตอบ 2 : 2 วัน
คําตอบ 3 : 8 วัน
คําตอบ 4 : 9 วัน

ขอที่ : 287
มีงาน 5 งาน (V-W-X-Y-Z) กําลังรอการผลิต อยู หนาเครื่องจักรเครื่องหนึ่งซึ่ง มีขอมูลเวลาผลิตและวัน
กําหนดสงดังแสดงในตาราง โดยการใชเกณฑ “เวลานอยที่สุดทํากอน” จงคํานวณเวลาเฉลี่ยงานไหลใน
ระบบ (Mean Flow Time)
งาน เวลาผลิต กําหนดสง
V 20 50
W 10 35
X 50 90
Y 15 35
Z 55 75
คําตอบ 1 : 75 วัน
คําตอบ 2 : 65 วัน
คําตอบ 3 : 70วัน
คําตอบ 4 : 114 วัน

ขอที่ : 288
มีงาน 5 งาน (V-W-X-Y-Z) กําลังรอการผลิต อยู หนาเครื่องจักรเครื่องหนึ่งซึ่งมีขอมูลเวลาผลิตและวัน

หนา 127 จาก 163


กําหนดสงดังแสดงในตาราง โดยการใชเกณฑ “กําหนดสงเร็วสุดทํากอน” จงคํานวณเวลาเฉลี่ยงานไหล
ในระบบ (Mean Flow Time)
งาน เวลาผลิต กําหนดสง
V 20 50
W 10 35
X 50 90
Y 15 35
Z 55 75

คําตอบ 1 : 75 วัน
คําตอบ 2 : 65 วัน
คําตอบ 3 : 70 วัน
คําตอบ 4 : 66 วัน

ขอที่ : 289
มีงาน 5 งาน (V-W-X-Y-Z) กําลังรอการผลิต อยู หนาเครื่องจักรเครื่องหนึ่งซึ่งมีขอมูลเวลาผลิตและวัน
กําหนดสงดังแสดงในตาราง โดยการใชเกณฑ “กําหนดสงเร็วสุดทํากอน” จงคํานวณเวลาเฉลี่ยสงงาน
ไมทันกําหนด (Mean Tardiness)
งาน เวลาผลิต กําหนดสง
V 20 50
W 10 35
X 50 90
Y 15 35

หนา 128 จาก 163


Z 55 75
คําตอบ 1 : 27 วัน
คําตอบ 2 : 16 วัน
คําตอบ 3 : 17 วัน
คําตอบ 4 : 61 วัน

ขอที่ : 290
ผูจัดการบริษัทเคาะ และ พนสีรถยนต มีรถอยู 5 คัน ที่รอจัดตารางการซอมอยูในโรงงาน รถแตละคัน
จะตองดําเนินการ 2 ขั้นตอน คือ เคาะ กอนที่จะ พนสี เวลาโดยประมาณในการทําการเคาะและพนสีรถ
แตละคันแสดงในตารางผูจัดการตองการจัดตารางการผลิตใหชวงกวางการทํางานทั้งหมด (Makespan)
นอยที่สุด ถาใช Johnson’s rule ลําดับงานที่ไดคือ
รถคันที่ เคาะตัวถัง (ชัว่ โมง) พนสี (ชั่วโมง)
A 8 7
B 9 4
C 7 5
D 3 4
E 2 7
คําตอบ 1 : E-D-A-C-B
คําตอบ 2 : E-D-A-B-C
คําตอบ 3 : A-B-C-D-E
คําตอบ 4 : E-B-A-C-D

ขอที่ : 291

หนา 129 จาก 163


จากขอมูลในการจัดตารางการผลิต ของใบสั่งงาน 5 ใบ ของโรงงานแหงหนึ่ง ที่กําหนดให ซึ่งมีรูปแบบ
การผลิตเปนแบบ Flow Shop ผาน 2 ขั้นตอนการผลิตในลําดับที่เหมือนๆกัน จงหาลําดับงานที่จะทําให
ชวงกวางของเวลาในการทํางานทั้งหมด (Makespan) สั้นที่สุด
ใบสั่งงาน ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนที่ 2
1 3 6
2 1 4
3 5 1
4 6 4

คําตอบ 1 : 2-5-1-4-3
คําตอบ 2 : 1-2-3-4-5
คําตอบ 3 : 3-2-4-1-5
คําตอบ 4 : 4-1-2-3-5

ขอที่ : 292
ในการจัดตารางการผลิตใหกับงาน 6 งาน บนหนวยผลิตหนวยเดียวดังขอมูลในตารางที่กําหนดให จงหา
เวลาแลวเสร็จของงาน B ถากําหนดใหใชเกณฑการจัดลําดับงาน (แบบกําหนดสงเร็วที่สุดทํากอน
(Earliest Due Date))
งาน เวลาผลิต กําหนดสง
A 20 25
B 15 20
C 7 16

หนา 130 จาก 163


D 25 50
E 31 33
F 43 55
คําตอบ 1 : 7
คําตอบ 2 : 22
คําตอบ 3 : 42
คําตอบ 4 : 73

ขอที่ : 293
ในการจัดตารางการผลิตใหกับงาน 6 งาน บนหนวยผลิตหนวยเดียวดังขอมูลในตารางที่กําหนดให จงหา
เวลาแลวเสร็จของงาน C ถากําหนดใหใชเกณฑการจัดลําดับงาน แบบเวลานอยที่สุดทํากอน (Shortest
Processing Time-SPT)
งาน เวลาผลิต กําหนดสง
A 20 25
B 15 20
C 7 16
D 25 50
E 31 33
F 43 55
คําตอบ 1 : 7
คําตอบ 2 : 22
คําตอบ 3 : 42

หนา 131 จาก 163


คําตอบ 4 : 63

ขอที่ : 294
ผูจัดการบริษทั เคาะ และ พนสีรถยนต มีรถอยู 5 คัน ที่รอจัดตารางการซอมอยูในโรงงาน รถแตละคันจะตอง
ดําเนินการ 2 ขั้นตอน คือ เคาะ กอนทีจ่ ะ พนสี เวลาโดยประมาณในการทําการเคาะและพนสีรถแตละคันแสดงใน
ตาราง ผูจัดการตองการจัดตารางการผลิตใหชวงกวางการทํางานทั้งหมด (Makespan) นอยที่สุด ถาใช Johnson’s Rule
ในการจัดลําดับงาน งาน A จะแลวเสร็จเมือ่ ไร
(กําหนดใหเริม่ งานแรกที่เวลา 0)

รถคันที่ เคาะตัวถัง (ชัว่ โมง) พนสี (ชั่วโมง)


A 10 11
B 8 17
C 14 9
D 13 7
E 10 8
คําตอบ 1 : 18
คําตอบ 2 : 25
คําตอบ 3 : 36
คําตอบ 4 : 45

ขอที่ : 295

หนา 132 จาก 163


ผูจัดการบริษทั เคาะ และ พนสีรถยนต มีรถอยู 5 คัน ที่รอจัดตารางการซอมอยูในโรงงาน รถแตละคันจะตอง
ดําเนินการ 2 ขั้นตอน คือ เคาะ กอนทีจ่ ะ พนสี เวลาโดยประมาณในการทําการเคาะและพนสีรถแตละคันแสดงใน
ตาราง ผูจัดการตองการจัดตารางการผลิตใหชวงกวางการทํางานทั้งหมด (Makespan) นอยที่สุด ถาใช Johnson’s Rule
ในการจัดลําดับงาน งานทั้งหมดจะแลวเสร็จเมื่อไร
(กําหนดใหเริม่ งานแรกที่เวลา 0)

รถคันที่ เคาะตัวถัง (ชัว่ โมง) พนสี (ชั่วโมง)


A 10 11
B 8 17
C 14 9
D 13 7
E 10 8
คําตอบ 1 : 36
คําตอบ 2 : 45
คําตอบ 3 : 53
คําตอบ 4 : 62

ขอที่ : 296
ผูจัดการบริษทั เคาะ และ พนสีรถยนต มีรถอยู 5 คัน ที่รอจัดตารางการซอมอยูในโรงงาน รถแตละคันจะตอง
ดําเนินการ 2 ขั้นตอน คือ เคาะ กอนทีจ่ ะ พนสี เวลาโดยประมาณในการทําการเคาะและพนสีรถแตละคันแสดงใน
ตาราง ผูจัดการตองการจัดตารางการผลิตใหชวงกวางการทํางานทั้งหมด (Makespan) นอยที่สุด ถาใช Johnson’s Rule

หนา 133 จาก 163


ในการจัดลําดับงาน งาน D จะแลวเสร็จเมือ่ ไร
(กําหนดใหเริม่ งานแรกที่เวลา 0)

รถคันที่ เคาะตัวถัง (ชัว่ โมง) พนสี (ชั่วโมง)


A 10 11
B 8 17
C 14 9
D 13 7
E 10 8
คําตอบ 1 : 36
คําตอบ 2 : 45
คําตอบ 3 : 53
คําตอบ 4 : 62

ขอที่ : 297
ในการจัดตารางการผลิตใหกับงาน 6 งาน บนหนวยผลิตหนวยเดียวดังขอมูลในตารางที่กําหนดให จงคํานวณหาเวลา
เฉลี่ยงานไหลในระบบ (Mean Flow Time) ถากําหนดใหใชเกณฑการจัดลําดับงานแบบเวลายาวทีส่ ุดทํากอน (Long
Processing Time – LPT)

งาน เวลาผลิต กําหนดสง


A 20 25

หนา 134 จาก 163


B 15 20
C 7 16
D 25 50
E 31 33
F 43 55
คําตอบ 1 : 64
คําตอบ 2 : 63
คําตอบ 3 : 67
คําตอบ 4 : 102

ขอที่ : 298
ในการจัดสมดุลสายงานประกอบ ความหมายของ รอบเวลาผลิต (Cycle time) คือ
คําตอบ 1 : เวลาผลิตนอยสุดของสถานีงานในการผลิตผลิตภัณฑ 1 หนวย
คําตอบ 2 : เวลาผลิตมากสุดของสถานีงานในการผลิตผลิตภัณฑ 1 หนวย
คําตอบ 3 : เวลาผลิตเฉลี่ยของสถานีงานในการผลิตผลิตภัณฑ 1 หนวย
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 299
ในการจัดสมดุลสายงานประกอบ ความหมายของ จํานวนสถานีงานที่นอยที่สุด คือ
คําตอบ 1 : อัตราสวนของผลรวมของงานทุกๆงานตอรอบเวลาผลิต
คําตอบ 2 : (ผลรวมของเวลางานยอย x ความตองการตอชั่วโมง)/(เวลาผลิตตอชั่วโมง)
คําตอบ 3 : ขอ 1 และ 2 ถูก
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

หนา 135 จาก 163


ขอที่ : 300
ในการจัดสมดุลสายการผลิต ถาใน 1 วันทํางาน มีเวลาทําการผลิต 480 นาที ถาความตองการ
ผลิตภัณฑตอวันคือ 120 หนวย รอบเวลาผลิต (Cycle Time) คือเทาไร
คําตอบ 1 : 4 นาที
คําตอบ 2 : 5 นาที
คําตอบ 3 : 6 นาที
คําตอบ 4 : 8 นาที

ขอที่ : 301
ในการจัดสมดุลสายการผลิต ถาใน 1 วันทํางาน มีเวลาทําการผลิต 480 นาที ถาความตองการ
ผลิตภัณฑตอวันคือ 80 หนวย แตละหนวยตองใชเวลาในการทํางานทั้งหมด 30 นาที จงหาจํานวนสถานี
งานที่นอยที่สุดตามทฤษฎี
คําตอบ 1 : 2
คําตอบ 2 : 3
คําตอบ 3 : 4
คําตอบ 4 : 5

ขอที่ : 302
สายการผลิตสําหรับผลิตภัณฑชนิดหนึ่งประกอบไปดวยงานยอย 4 งาน เวลาของงานยอยแตละงานคือ
2.4 นาที , 1.4 นาที , 0.9 นาที และ 1.7 นาที รอบเวลาผลิตสั้นสุด(Minimum Cycle Time) คือ
คําตอบ 1 : 1.4 นาที
คําตอบ 2 : 0.9 นาที
คําตอบ 3 : 2.4 นาที
คําตอบ 4 : 6.4 นาที

หนา 136 จาก 163


ขอที่ : 303
ในการจัดสมดุลสายการผลิต รอบเวลาผลิต (Cycle Time) สามารถคํานวณไดโดย
คําตอบ 1 : ความตองตอหนวยเวลาหารดวยเวลาผลิตตอหนวยเวลา
คําตอบ 2 : เวลาผลิตตอวันหารดวยผลรวมของเวลางานยอยบวกความตองการตอวัน
คําตอบ 3 : เวลาผลิตตอวันหารดวยอัตราการผลิตที่ตองการ
คําตอบ 4 : 1 หารดวยผลรวมของเวลางานยอย

ขอที่ : 304
ในการจัดสมดุลสายงานประกอบ เกณฑ Heuristic ใด ตอไปนี้ ไมไดถูกใชในการกําหนดงานเขาสถานี
งาน
คําตอบ 1 : งานที่ใชเวลามากที่สุดกอน
คําตอบ 2 : งานที่มีงานตามหลังมากที่สุดกอน
คําตอบ 3 : งานที่มีกําหนดสงเร็วที่สุดกอน
คําตอบ 4 : งานที่มีงานอยูกอนหนาทันทีมากที่สุดกอน

ขอที่ : 305
ในการจัดสมดุลสายงานประกอบ เกณฑ Heuristic ใด ตอไปนี้ ถูกใชในการจัดสมดุลสายการผลิต
โดยทั่วไป
คําตอบ 1 : งานใดมากอนทํากอน
คําตอบ 2 : งานใดมีแหลงวัตถุดิบอยูใกลกวาทํากอน
คําตอบ 3 : งานใดมีเวลาใกลเคียงเวลางานเฉลี่ยทํากอน
คําตอบ 4 : งานที่มีน้ําหนักตําแหนงสูงสุดทํากอน (Ranked Positional Weight)

หนา 137 จาก 163


ขอที่ : 306
ในการจัดสมดุลสายงานประกอบ โดยใชเกณฑ Heuristic หมายถึงอะไร
คําตอบ 1 : ไมมีทางอื่นที่จะใชในการจัดสมดุลได
คําตอบ 2 : ไมมีคอมพิวเตอรซอฟทแวรใชในการจัดสมดุล
คําตอบ 3 : ปญหามีเพียง 2-3 ทางเลือกในการประเมิน
คําตอบ 4 : ใหคําตอบในระดับพึงพอใจที่ยอมรับได

ขอที่ : 307
Input–Output Control เปนเทคนิคที่ใชเพื่อวัตถุประสงคทางดานใด
คําตอบ 1 : วางแผนตารางการผลิตหลัก
คําตอบ 2 : ติดตามความกาวหนาของงานแตละงาน
คําตอบ 3 : ควบคุมกําลังการผลิต หรือ ชวงเวลานํา (Lead Time)
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 308
ในการพิจารณารายงานจาก Input–Output Control ของหนวยผลิตหนวยหนึ่ง หากปรากฏวามีปริมาณ
งานที่ไหลเขา มากกวาปริมาณงานที่ไหลออก แสดงวาเกิดเหตุการณใดขึน
้ กับหนวยผลิตหนวยนี้
คําตอบ 1 : งานระหวางผลิตของหนวยผลิตลดนอยลง
คําตอบ 2 : เครื่องจักรเสียเกิดขึ้น
คําตอบ 3 : มีของเสียเกิดขึ้น
คําตอบ 4 : มีงานระหวางผลิตสะสมในหนวยผลิตเพิ่มขึ้น

ขอที่ : 309
ในการพิจารณารายงานจาก Input–Output Control ของหนวยผลิตหนวยหนึ่ง หากปรากฏวามีปริมาณ

หนา 138 จาก 163


งานที่ไหลเขา นอยกวาปริมาณงานที่ไหลออก แสดงวาเกิดเหตุการณใดขึน
้ กับหนวยผลิตหนวยนี้
คําตอบ 1 : งานระหวางผลิตของหนวยผลิตลดนอยลง
คําตอบ 2 : เครื่องจักรเสียเกิดขึ้น
คําตอบ 3 : มีของเสียเกิดขึ้น
คําตอบ 4 : มีงานระหวางผลิตสะสมในหนวยผลิตเพิ่มขึ้น

ขอที่ : 310
ในการจัดสมดุลสายการผลิตของโครงขายผลิตภัณฑดังรูป บริษท ั ไดเลือก เกณฑการ จัดงานเขา สถานี
งาน ดังนี้ “เกณฑผลรวมของเวลางานที่ตอเปนลูกโซตั้งแตงานที่พิจารณาถึง งานสุดทายมากที่สุด ทํา
กอน (Ranked Positional Weight)” ถางานที่ตองเลือกเขาสถานีงานคือ C D E และ F ภายใตเกณฑ
ดังกลาวงานที่ถูกเลือกคือ
คําตอบ 1 : C
คําตอบ 2 : D
คําตอบ 3 : E
คําตอบ 4 : F

ขอที่ : 311
ในการจัดสมดุลสายการผลิต ถาใน 1 วันทํางาน มีเวลาทําการผลิต 480 นาที ถาความตองการ
ผลิตภัณฑตอวันคือ 60 หนวย รอบเวลาผลิต (Cycle Time) คือเทาไร
คําตอบ 1 : 4 นาที
คําตอบ 2 : 5 นาที
คําตอบ 3 : 6 นาที
คําตอบ 4 : 8 นาที

ขอที่ : 312

หนา 139 จาก 163


ในการจัดจัดสมดุลสายงานประกอบ รถบรรทุก Model Z ซึ่งประกอบบนสายพานลําเลียง โดยมีความ
ตองการ 500 คันตอวัน เวลาผลิตตอวัน (Productive Time/Day) = 420 นาที สําหรับขั้นตอน เวลา
และ ความสัมพันธในแตละขั้นตอน ไดแสดงในตาราง จงคํานวณรอบเวลาการผลิตสําหรับการผลิตรถ
Model Z
งาน เวลางาน (วินาที) งานที่อยูกอนหนา
A 45 -
B 11 A
C 9 B
D 50 -
E 15 D
F 12 C
G 12 C
H 12 E
I 12 E
J 8 F, G, H, I
K 9 J
รวม 195
คําตอบ 1 : 80 วินาที/หนวย
คําตอบ 2 : 50.4 วินาที/หนวย
คําตอบ 3 : 60 วินาที/หนวย
คําตอบ 4 : 0.84 วินาที/หนวย

หนา 140 จาก 163


ขอที่ : 313
ในการจัดจัดสมดุลสายงานประกอบ รถบรรทุก Model Z ซึ่งประกอบบนสายพานลําเลียง โดยมีความ
ตองการ 500 คันตอวัน เวลาผลิตตอวัน (Productive Time/Day) = 420 นาที สําหรับขั้นตอน เวลา
และ ความสัมพันธในแตละขั้นตอน ไดแสดงในตาราง จงคํานวณหาจํานวนสถานีงานที่นอยที่สุดตาม
ทฤษฎีสําหรับการผลิตรถ Model Z
งาน เวลางาน (วินาที) งานที่อยูกอนหนา
A 45 -
B 11 A
C 9 B
D 50 -
E 15 D
F 12 C
G 12 C
H 12 E
I 12 E
J 8 F, G, H, I
K 9 J
รวม 195

คําตอบ 1 : 7.3 สถานีงาน


คําตอบ 2 : 6.87 สถานีงาน
คําตอบ 3 : 5.87 สถานีงาน

หนา 141 จาก 163


คําตอบ 4 : 3.87 สถานีงาน

ขอที่ : 314
สายการผลิตผลิตภัณฑชนิดหนึ่งถูกออกแบบมาใหทําการผลิตผลิตภัณฑ 1หนวยดวยเวลาทั้งหมด 21
นาที โรงงานแหงนี้มีเวลาทํางาน 400 นาทีตอวัน ถามีความตองการผลิตภัณฑ 100 หนวยตอวัน
สายการผลิตที่มี 5 สถานีงาน เพียงพอสําหรับการทํางานดังกลาวหรือไม
คําตอบ 1 : เพียงพอ
คําตอบ 2 : ไมเพียงพอ ตองใช 4 ถึงจะเพียงพอ
คําตอบ 3 : ไมเพียงพอตองใช อยางนอย 6 สถานี
คําตอบ 4 : เพียงพอแตประสิทธิภาพจะต่ํามาก

ขอที่ : 315
สายการผลิตถูกออกแบบมาใหทําการผลิตตุกตาเด็ก 500 หนวยตอวัน แตละหนวยของตุกตาตองผาน
11 งานยอย โดยมีเวลารวม 16 นาที โรงงานทําการผลิต 750 นาทีตอวัน รอบเวลาที่ตองการสําหรับสาย
การประกอบนี้คือ
คําตอบ 1 : 5 นาที
คําตอบ 2 : 1.5 นาที
คําตอบ 3 : 2 นาที
คําตอบ 4 : 5 นาที

ขอที่ : 316
สายการประกอบที่ประกอบดวย 4 สถานีงาน แตละสถานีงานใชเวลาทํางานมาตรฐาน(หนวยเปนนาที)
ดังนี้ 4,8,6 และ 6 ทางโรงงานไดกําหนดรอบเวลาการผลิต เทากับ 8 นาที ประสิทธิภาพโดยเฉลี่ยของ
สายงานประกอบนี้เทากับเทาไร
คําตอบ 1 : 50 %

หนา 142 จาก 163


คําตอบ 2 : 75%
คําตอบ 3 : 100%
คําตอบ 4 : 150%

ขอที่ : 317
ในการจัดกําหนดการงานโครงการ(Project Scheduling) ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
AON (Activitys on Node) ใชในการสรางโครงขายงานโครงการสําหรับ PERT ขณะที่
คําตอบ 1 :
AOA (Activity on Arrow) ใชในการสรางโครงขายงานโครงการ สําหรับ CPM
สําหรับการกระจายแบบ Beta เมื่อถูกนํามาใชกับการบริหารโครงการจะให น้ําหนัก เวลาที่
คําตอบ 2 : เสร็จโดยสวนใหญ (Most Likely Time) เวลาเร็วที่สุด(Optimistic Time) และ เวลาชา
ที่สุด (Pessimistic Time) เทากัน
คาเบี่ยงเบนมาตรฐานของเวลาแลวเสร็จของโครงการคือคาเฉลี่ยของคาเบี่ยงเบน
คําตอบ 3 :
มาตรฐานของทุกๆกิจกรรมในโครงการ
คําตอบ 4 : ทุกๆโครงขายของโครงการจะมีสายงานวิกฤติอยางนอย 1 สายงาน

ขอที่ : 318
ในการจัดกําหนดการงานโครงการ (Project Scheduling) ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
แผนภูมิแกนตแสดงชวงเวลาการทํางานของแตละกิจกรรมในโครงการแตไมสามารถแสดง
คําตอบ 1 :
ความสัมพันธของกิจกรรมตางๆในโครงการ
คําตอบ 2 : เวลาที่สั้นที่สุดของสายงานในโครงขายของโครงการเรียกวาสายงานวิกฤติ
คําตอบ 3 : สายงานวิกฤติคือสายงานที่เวลาของงานที่ตอกันเปนลูกโซยาวที่สุดในโครงขาย
เวลายืดหยุนของงาน (Float) คือเวลาที่งานสามารถจะลาชาไดโดยไมกระทบเวลาแลว
คําตอบ 4 :
เสร็จของโครงการ

ขอที่ : 319

หนา 143 จาก 163


ขอใดเกี่ยวกับงานใน CPM ตอไปนี้ไมถูกตอง
คําตอบ 1 : เวลาเสร็จเร็วที่สุดของงานใดคือเวลาเริ่มตนเร็วสุดของงานนั้นบวกดวยเวลาของงาน
เวลาเสร็จชาสุดคือเวลาที่เร็วที่สุดของเวลาเริ่มงานชาสุดของทุกๆงานที่อยูตามหลังถัดไป
คําตอบ 2 :
(Successor Activities)
คําตอบ 3 : เวลาเริ่มตนชาสุดของงานคือเวลาเสร็จชาสุดของงานลบดวยเวลางาน
เวลาเสร็จชาสุดของงานคือเวลาที่เร็วที่สุดของเวลาเริ่มตนชาสุดของที่อยูกอนหนาทุกๆ
คําตอบ 4 :
งาน

ขอที่ : 320
ขอใดเกี่ยวกับ PERT ตอไปนี้ถูกตอง
คําตอบ 1 : การประมาณเวลา Optimistic Time คือการประมาณเวลาที่งานจะใชเวลาสั้นที่สุด
คําตอบ 2 : การประมาณเวลา Optimistic Time คือการประมาณเวลาที่งานจะใชเวลายาวที่สุด
คําตอบ 3 : การประมาณเวลา Pessimistic Time คือการประมาณเวลาที่งานจะใชเวลาสั้นที่สุด
คําตอบ 4 : การประมาณเวลา Most Likely Time คือการประมาณเวลาที่งานจะใชเวลายาวที่สุด

ขอที่ : 321
ขอใดเกี่ยวกับ CPM ตอไปนี้ไมถูกตอง
คําตอบ 1 : สายงานวิกฤตคือสายงานที่สั้นที่สุดในทุกๆสายงานในโครงขาย
คําตอบ 2 : สายงานวิกฤติคือสายงานที่มีชุดของงานที่มีคาความยืดหยุนเปน บวก
คําตอบ 3 : บางโครงขายของโครงการอาจไมมีสายงานวิกฤต
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 322
ขอใดเกี่ยวกับ CPM ตอไปนี้ถูกตอง

หนา 144 จาก 163


คําตอบ 1 : งานวิกฤตบางงานอาจมีเวลายืดหยุน
คําตอบ 2 : ทุกๆโครงขายของโครงการจะมีสายงานวิกฤตเพียงสายเดียว
คําตอบ 3 : ชวงเวลาของสายงานวิกฤตคือเวลาเฉลี่ยของทุกๆสายงานในโครงการ
ในโครงขายของโครงการอาจมีสายงานวิกฤตไดหลายสายงานแตชวงเวลาของแตละสาย
คําตอบ 4 :
งานจะเทาๆกัน

ขอที่ : 323
ถางานๆหนึ่งของโครงการมีเวลาปกติเทากับ 15 วัน แตสามารถเรงไดเหลือ 10 วัน โดยเพิ่มคาใชจายอีก
$2,000 คาใชจายในการเรงงานตอวันคือเทาไร
คําตอบ 1 : $400
คําตอบ 2 : $2,000
คําตอบ 3 : $10,000
คําตอบ 4 : $20,000

ขอที่ : 324
ขอใดเกี่ยวกับงานใน CPM ตอไปนี้ไมถูกตอง
คําตอบ 1 : เวลาเสร็จเร็วที่สุดของงานใดคือเวลาเริ่มตนเร็วสุดของงานนั้นบวกดวยเวลาของงาน
เวลาเสร็จชาสุดคือเวลาที่เร็วที่สุดของเวลาเริ่มงานชาสุดของทุกๆงานที่อยูตามหลังถัดไป
คําตอบ 2 :
(Successor Activities)
คําตอบ 3 : เวลาเริ่มตนชาสุดของงานคือเวลาเสร็จชาสุดของงานลบดวยเวลางาน
เวลาเสร็จชาสุดของงานคือเวลาที่เร็วที่สุดของเวลาเริ่มตนชาสุดของที่อยูกอนหนาทุกๆ
คําตอบ 4 :
งาน

ขอที่ : 325
มีงาน 2 งาน เปนตัวเลือกในการพิจารณาเรงงาน ของโครงขาย CPM รายละเอียดของงานได

หนา 145 จาก 163


แสดงในตาราง ในการลดเวลาโครงการลง 1 วันควรจะเลือกเรงงานใดและคาใชจายของ
โครงการจะเพิ่มขึ้นเทาไร
งาน เวลาปกติ คาใชจายปกติ เวลาเรงงาน คาใชจายเรง
งาน
B 8 วัน $6,000 6 วัน $6,800
C 10 วัน $4,000 9 วัน $5,000
คําตอบ 1 : เรงงาน 1 คาใชจายเพิ่มขึ้น $400 จากปกติ
คําตอบ 2 : เรงงาน 1 คาใชจายเพิ่มขึ้น $6,800 จากปกติ
คําตอบ 3 : เรงงาน 2 คาใชจายเพิ่มขึ้น $1,000 จากปกติ
คําตอบ 4 : เรงงาน 2 คาใชจายเพิ่มขึ้น $500 จากปกติ

ขอที่ : 326
มีงาน 2 งาน เปนตัวเลือกในการพิจารณาเรงงาน ของโครงขาย CPM รายละเอียดของงานไดแสดงใน
ตาราง ในการลดเวลาโครงการลง 1 วันควรจะเลือกเรงงานใดและคาใชจายของโครงการจะเพิ่มขึ้น
เทาไร
งาน เวลาปกติ คาใชจายปกติ เวลาเรงงาน คาใชจายเรง
งาน
B 4 วัน $6,000 3 วัน $6,800
C 6 วัน $4,000 4 วัน $6,000
คําตอบ 1 : เรงงาน B คาใชจายเพิ่มขึ้น $2,000 จากปกติ
คําตอบ 2 : เรงงาน B คาใชจายเพิ่มขึ้น $8,000 จากปกติ
คําตอบ 3 : เรงงาน C คาใชจายเพิ่มขึ้น $1,000 จากปกติ
คําตอบ 4 : เรงงาน C คาใชจายเพิ่มขึ้น $6,000 จากปกติ

ขอที่ : 327

หนา 146 จาก 163


จากการวิเคราะหปญหา PERT ไดแสดงใหเห็นวา การประมาณเวลาของสายงานวิกฤตเทากับ
108 วัน โดยมีคาความแปรปรวน (Variance) 64 วัน ประมาณเวลาที่สายงานวิกฤตมีโอกาสจะ
เสร็จได 90 % คือ กอน กี่วัน (ที่ระดับความเชื่อมั่น 90% คา Z เทากับ 1.28)
คําตอบ 1 : 98 วัน
คําตอบ 2 : 108 วัน
คําตอบ 3 : 115 วัน
คําตอบ 4 : 118 วัน

ขอที่ : 328
ในการวิเคราะหโครงขายของ PERT ซึ่งประกอบดวยงาน 30 งาน งาน L เปนงานหนึ่ง ใน
จํานวน 30 งาน ซึ่งมีขอมูลเวลางานดังนี้ เวลาที่เสร็จเร็วที่สุด = 2 วัน เวลาที่เสร็จชาที่สุด = 10
วัน เวลาที่เสร็จโดยสวนใหญ = 3 วัน จงประมาณเวลาเฉลี่ยของงาน L
คําตอบ 1 : 5 วัน
คําตอบ 2 : 7 วัน
คําตอบ 3 : 6 วัน
คําตอบ 4 : 4 วัน

ขอที่ : 329
ในการวิเคราะหโครงขายของ PERT ซึ่งประกอบดวยงาน 30 งาน งาน L เปนงานหนึ่ง ใน
จํานวน 30 งาน ซึ่งมีขอมูลเวลางานดังนี้ เวลาที่เสร็จเร็วที่สุด = 8 วัน เวลาที่เสร็จชาที่สุด = 20
วัน เวลาที่เสร็จโดยสวนใหญ = 17 วัน จงประมาณเวลาเฉลี่ยของงาน L
คําตอบ 1 : 15 วัน
คําตอบ 2 : 16 วัน
คําตอบ 3 : 17 วัน
คําตอบ 4 : 20 วัน

หนา 147 จาก 163


ขอที่ : 330
ในการวิเคราะหโครงขายของ PERT ซึ่งประกอบดวยงาน 20 งาน งาน M เปนงานหนึ่ง ใน
จํานวน 20 งาน ซึ่งมีขอมูลเวลางานดังนี้ เวลาที่เสร็จเร็วที่สุด = 2 วัน เวลาที่เสร็จชาที่สุด = 10
วัน เวลาที่เสร็จโดยสวนใหญ = 3 วัน จงประมาณคาความแปรปรวนของเวลาทํางาน M
คําตอบ 1 : 1.25 วัน
คําตอบ 2 : 2.4 วัน
คําตอบ 3 : 1 วัน
คําตอบ 4 : 1.8 วัน

ขอที่ : 331
ในการวิเคราะหโครงขายของ PERT ซึ่งประกอบดวยงาน 30 งาน งาน M เปนงานหนึ่ง ใน จํานวน 30
งาน ซึ่งมีขอมูลเวลางานดังนี้ เวลาที่เสร็จเร็วที่สุด = 8 วัน เวลาที่เสร็จชาที่สุด = 20 วัน เวลาที่เสร็จ
โดยสวนใหญ = 17 วัน จงประมาณคาความแปรปรวน ของเวลาทํางาน M
คําตอบ 1 : 1 วัน
คําตอบ 2 : 2 วัน
คําตอบ 3 : 3 วัน
คําตอบ 4 : 4 วัน

ขอที่ : 332
คํากลาวใดตอไปนี้ไมถูกตอง
คําตอบ 1 : การวางแผนการผลิตคือการแจกจายกําลังการผลิตกับทุกระดับ
คําตอบ 2 : การจัดตารางการผลิตหลักคือการแจกจายกําลังการผลิตในระดับผลิตภัณฑสุดทาย
คําตอบ 3 : การวางแผนความตองการวัสดุคือการแจกจายกําลังการผลิตในระดับสวนประกอบ
คําตอบ 4 : การวางแผนความตองการกําลังการผลิตคือการกําหนดกําลังการผลิตในแตละชวงเวลาให

หนา 148 จาก 163


เทาๆ กัน

ขอที่ : 333
เครื่องมือชนิดใดตอไปนี้ไมไดใชในการควบคุมและติดตามความกาวหนาของตารางหรือ แผนการผลิต
คําตอบ 1 : Gantt Chart
คําตอบ 2 : Input-Output Control
คําตอบ 3 : Mean Squared Error –MSE
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 334
ขอใดตอไปนี้ไมไดอยูในขั้นตอนของการควบคุมและติดตามความกาวหนาของการผลิต
คําตอบ 1 : การบันทึกและรวบรวมขอมูลหนางาน
คําตอบ 2 : การวิเคราะหความกาวหนาของงาน
คําตอบ 3 : การเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงตารางการผลิตตามความจําเปน
คําตอบ 4 : การวางกลยุทธการผลิต

ขอที่ : 335
ขอใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับการควบคุมการผลิต
คําตอบ 1 : การควบคุมการผลิตเกิดขึ้นภายหลังจากที่ไดวางแผนการผลิตเรียบรอยแลว
คําตอบ 2 : การควบคุมการผลิตเกิดขึ้นในชวงระหวางที่การผลิตกําลังดําเนินงานอยู
การควบคุมการผลิตเปนการติดตามและรายงานความกาวหนาของงานตอผูบริหารหรือผู
คําตอบ 3 :
ควบคุมที่เกี่ยวของ
คําตอบ 4 : การควบคุมการผลิตเกิดขึ้นภายหลังจากที่การดําเนินงานผลิตเสร็จสินลงเรียบรอยแลว

หนา 149 จาก 163


ขอที่ : 336
ขอใดตอไปนี้คือปญหาและอุปสรรคทีท
่ ําใหการผลิตไมเปนไปตามแผนที่วางไว
คําตอบ 1 : วัตถุดิบมาสงลาชา
คําตอบ 2 : มีของเสียในกระบวนการผลิต
คําตอบ 3 : เกิดการเสียหายของเครื่องจักร
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 337
ขอใดตอไปนี้อาจเปนสาเหตุที่ทําใหตองมีการขอเปลี่ยนแปลงตารางการผลิต
คําตอบ 1 : ลูกคาขอเปลี่ยนแปลงกําหนดสงมอบงาน
คําตอบ 2 : กําลังการผลิตมีไมเพียงพอ
คําตอบ 3 : มีใบสั่งของลูกคารายใหมเขามาเพิ่มเติม
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 338
ขอมูลใดตอไปนี้ไมไดอยูในรายงาน Input –Output Control
คําตอบ 1 : ขอมูลใดตอไปนี้ไมไดอยูในรายงาน Input –Output Control
คําตอบ 2 : แผนปริมาณงานออก (Planed Output)
คําตอบ 3 : ปริมาณงานเขาจริง (Actual Input)
คําตอบ 4 : เปอรเซ็นตของเสีย

ขอที่ : 339
จากรายงานปริมาณงานเขาและออก (Input-Output Reports) ของหนวยผลิต # 500ในสัปดาหที่ 1 มี
งานระหวางผลิตตนสัปดาหเทากับ 100 ชั่วโมง และไดวางแผนใหมีปริมาณงานปอนเขา 200 ชั่วโมง

หนา 150 จาก 163


และแผนปริมาณงานออก 200 ชั่วโมง ถาทุกอยางเปนไปตามแผน งานระหวางผลิต (Work-in-Process)
ปลายสัปดาหที่ 1 จะเปนเทาไร
คําตอบ 1 : 100 หนวย
คําตอบ 2 : 170 หนวย
คําตอบ 3 : 70 หนวย
คําตอบ 4 : 130 หนวย

ขอที่ : 340
จากรายงานปริมาณงานเขาและออก (Input-Output Reports) ของหนวยผลิต # 500ในสัปดาหที่ 1 มี
งานระหวางผลิตตนสัปดาหเทากับ 100 ชั่วโมง หากหนวยผลิตดังกลาวไดวางแผนใหทําการผลิต
สัปดาหละ 300 หนวย และ ทางโรงงานตองการใหมีงานระหวางผลิตเพิ่มขึ้นเปน 250 หนวย ณ ปลาย
สัปดาหที่ 1 โรงงานจะตองวางแผนใหมีปริมาณงานปอนเขา ในสัปดาหที่ 1 เทาไร
คําตอบ 1 : 200 หนวย
คําตอบ 2 : 350 หนวย
คําตอบ 3 : 400 หนวย
คําตอบ 4 : 450 หนวย

ขอที่ : 341
จากรายงานปริมาณงานเขาและออก (Input-Output Reports) ของหนวยผลิต # 500ในสัปดาหที่ 1 มี
งานระหวางผลิตตนสัปดาหเทากับ 100 ชั่วโมง และไดวางแผนใหมีปริมาณงานปอนเขา 200 ชั่วโมง
และแผนปริมาณงานออก 200 ชั่วโมง แตจากการดําเนินงานจริง ปรากฏวามีงานเขา 100 แตมีปริมาณ
งานออก 130 ชั่วโมง จากขอมูลที่รายงานขางตน จงพิจารณาวาขอใดตอไปนี้ถูกตอง
คําตอบ 1 : เกิดปญหากับหนวยผลิต # 500
คําตอบ 2 : อาจเกิดปญหากับหนวยผลิตกอนหนา
คําตอบ 3 : หนวยผลิตถัดไปสงของไมทันกําหนด

หนา 151 จาก 163


คําตอบ 4 : ตองเรงงานหนวยผลิต# 500เปน 2เทา

ขอที่ : 342
จากรายงานปริมาณงานเขาและออก (Input-Output Reports) ของหนวยผลิต # 500ในสัปดาหที่ 1 มี
งานระหวางผลิตตนสัปดาหเทากับ 100 ชั่วโมง และไดวางแผนใหมีปริมาณงานปอนเขา 200 ชั่วโมง
และแผนปริมาณงานออก 200 ชั่วโมง แตจากการดําเนินงานจริง ปรากฏวามีงานเขา 100 แตมีปริมาณ
งานออก 130 ชั่วโมง จากขอมูลที่รายงานขางตน งานระหวางผลิตจริง (Work-in-Process)ปลาย
สัปดาหที่ 1 จะเปนเทาไร
คําตอบ 1 : 100 หนวย
คําตอบ 2 : 170 หนวย
คําตอบ 3 : 70 หนวย
คําตอบ 4 : 130 หนวย

ขอที่ : 343
หลักการตอไปนี้ หลักการใดเนนการแกปญหาที่คอขวด (Bottleneck)
คําตอบ 1 : MRP
คําตอบ 2 : TOC
คําตอบ 3 : JIT
คําตอบ 4 : SCM

ขอที่ : 344
บุคคลใดในโซอุปทานที่ทําใหระบบโซอุปทานมีการขับเคลื่อน
คําตอบ 1 : ผูผลิต
คําตอบ 2 : ผูบ ริโภค

หนา 152 จาก 163


คําตอบ 3 : ผูจําหนายสินคา
คําตอบ 4 : ผูส งมอบสินคา

ขอที่ : 345
ขอใดตอไปนี้ไมใชคุณลักษณะของการผลิตแบบทันเวลาพอดี (Just in Time)
คําตอบ 1 : เนนขนาดรุนการผลิตเล็กลง
คําตอบ 2 : ลดเวลาในการติดตั้งเครื่องจักร
คําตอบ 3 : ใชคอมพิวเตอรในการวางแผน
คําตอบ 4 : เนนการควบคุมคุณภาพโดยรวม

ขอที่ : 346
ทฤษฎีใดที่ไดกลาวไววา “ ทําใหการไหลสมดุล มิใชทําใหกําลังการผลิตสมดุล” (Do not Balance
Capacity – Balance Flow)
คําตอบ 1 : Re-order Point (ROP)
คําตอบ 2 : Material Requirements Planning (MRP)
คําตอบ 3 : Just in Time (JIT)
คําตอบ 4 : Theory of Constraint (TOC)

ขอที่ : 347
ทฤษฎีใดที่ไดกลาวไววา “ หนึ่งชั่วโมงที่สูญเสียไปที่จุด Bottleneck คือหนึ่งชั่วโมงที่สูญเสียไปทั้ง
ระบบ”
คําตอบ 1 : Re-order Point (ROP)
คําตอบ 2 : Material Requirements Planning (MRP)
คําตอบ 3 : Just in Time (JIT)

หนา 153 จาก 163


คําตอบ 4 : Theory of Constraint (TOC)

ขอที่ : 348
Throughput เปนหนวยวัดการดําเนินงานตัวหนึ่งใน ทฤษฎีขอจํากัด (Theory of Constraint) มี
ความหมายอยางไร
คําตอบ 1 : อัตราการผลิตที่ทําไดตอชั่วโมง
คําตอบ 2 : อัตราการใชงานเครื่องจักร
คําตอบ 3 : อัตราทีระบบทําการผลิตไดสุงสุด
คําตอบ 4 : อัตราที่ระบบทําเงินไดจากการขาย

ขอที่ : 349
ในทฤษฎีขอจํากัด Drum , Buffer , Rope ถูกใชเปนกลไกในการควบคุมการผลิตอยากทราบวา Drum
จะถูกกําหนดใหอยูที่จุดใดของสายการผลิต
คําตอบ 1 : ขั้นตอนสุดทายของสายการผลิต
คําตอบ 2 : ขั้นตอนแรกของสายการผลิต
คําตอบ 3 : ขั้นตอนที่เปน Bottleneck ของสายการผลิต
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 350
ในทฤษฎีขอจํากัด Drum , Buffer , Rope ถูกใชเปนกลไกในการควบคุมการผลิตอยากทราบวา Buffer
หมายถึงอะไร
คําตอบ 1 : จํานวนสินคาสําเร็จรูปที่เก็บสํารองไวที่ขั้นตอนสุดทาย
คําตอบ 2 : จํานวนวัตถุดิบที่เก็บสํารองไวที่ขั้นตอนแรก
คําตอบ 3 : งานระหวางผลิตที่เก็บสํารองไว

หนา 154 จาก 163


คําตอบ 4 : Time Buffer

ขอที่ : 351
ในทฤษฎีขอจํากัด Drum , Buffer , Rope ถูกใชเปนกลไกในการควบคุมการผลิตอยากทราบวา Rope
ในที่นี้หมายถึงอะไร
คําตอบ 1 : แผนการผลิต (Production Plan)
คําตอบ 2 : การสื่อสาร (Communication)
คําตอบ 3 : ความสูญเสียในกระบวนการผลิต
คําตอบ 4 : Safety Stock

ขอที่ : 352
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
คําตอบ 1 : พื้นฐานของทฤษฎีขอจํากัดคือความพยายามในการเพิ่ม Throughput
หนวยผลิตที่จํากัดผลผลิต (Output) ของกระบวนการผลิตโดยรวม เราเรียกหนวยผลิตนี้วา
คําตอบ 2 :
Bottleneck
ในทฤษฎีขอจํากัดไดใหขอเสนอแนะในการผลิตวา การปรับปรุงที่ไดมา ณ จุด ที่ไมใชคอ
คําตอบ 3 :
คอด (Non-Bottleneck) จะไมมีผลตอระบบ
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 353
อัตราหมุนเวียนสินคาคงคลัง (Inventory Turnover Ratio) ไดถูกนํามาใชในการวัดประสิทธิภาพของโซ
อุปทาน ซึ่งสามารถหาไดจากอัตราสวนดังตอไปนี้
คําตอบ 1 : ตนทุนสินคาที่ขายไดรายป/มูลคาสินคาคงคลังรวมโดยเฉลี่ย
คําตอบ 2 : ตนทุนคงที่/ตนทุนแปรผัน

หนา 155 จาก 163


คําตอบ 3 : ตนทุนการขาย/ตนทุนการตลาด
คําตอบ 4 : ตนทุนการผลิต/ตนทุนวัตถุดิบ

ขอที่ : 354
อัตราสวนจํานวนสัปดาหของอุปทาน (Weeks-of-Supply Ratios)ไดถูกนํามาใชในการวัดประสิทธิภาพ
ของโซอุปทาน ซึ่งสามารถหาไดจากอัตราสวนดังตอไปนี้
คําตอบ 1 : มูลคาสินคาคงคลังรวมโดยเฉลี่ย/ตนทุนสินคาที่ขายไดรายป
คําตอบ 2 : ตนทุนแปรผัน/ตนทุนคงที่
คําตอบ 3 : ตนทุนการตลาด/ตนทุนการขาย
คําตอบ 4 : ตนทุนวัตถุดิบ/จํานวนความตองการ

ขอที่ : 355
ถาผลการดําเนินกลยุทธโซอุปทานของบริษัทแหงหนึ่งปรากฏวา มูลคาสินคาคงคลังรวมโดยเฉลี่ย
เทากับ 60,000,000 บาท ขณะที่ตนทุนสินคาที่ขายไดตอปเทากับ 300,000,000 บาท และ 1 ป มี 52
สัปดาห อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงคลังของบริษัทเทากับ เทาไร
คําตอบ 1 : 0.2
คําตอบ 2 : 5
คําตอบ 3 : 10.4
คําตอบ 4 : 260

ขอที่ : 356
ถาผลการดําเนินกลยุทธโซอุปทานของบริษัทแหงหนึ่งปรากฏวา มูลคาสินคาคงคลังรวมโดยเฉลี่ย
เทากับ 60,000,000 บาท ขณะที่ตนทุนสินคาที่ขายไดตอปเทากับ 300,000,000 บาท และ 1 ป มี 52
สัปดาห อัตราสวนสัปดาหของอุปทาน (Week of Supply) ของบริษัทเทากับ เทาไร
คําตอบ 1 : 0.2

หนา 156 จาก 163


คําตอบ 2 : 5
คําตอบ 3 : 10.4
คําตอบ 4 : 260

ขอที่ : 357
ภารกิจที่สําคัญของขอใดคือ การนําวัตถุดิบ หรือชิ้นสวน งานระหวางผลิต และผลิตภัณฑสําเร็จรูปจาก
แหลงที่เหมาะสม ถูกตอง ในปริมาณณี่ถูกตอง พรอมดวยสารสนเทศที่ถูกตอง ทันสมัย ไปยังสถานที่
ถูกตอง ในเวลาที่ถูกตอง ภายใตสภาพเงื่อนไขและความเร็วที่เหมาะสมถูกตอง
คําตอบ 1 : การควบคุมคลังสินคา
คําตอบ 2 : การขนสง
คําตอบ 3 : โลจีสติกส
คําตอบ 4 : การบริหารอุปสงค

ขอที่ : 358
ขอใดเปนโครงขาย (Network) ของการเชื่อมตอกันขององคกรที่ไมขึ้นตอกันและรวมมือทํางานรวมกัน
ในการควบคุม จัดการ และปรับปรุงการไหลของวัตถุดิบ และการไหลของขอมูล จากผูจัดสงไปยัง
ผูบริโภคขั้นสุดทาย
คําตอบ 1 : ระบบ Internet
คําตอบ 2 : การจัดการโซอุปทาน
คําตอบ 3 : การจัดการคลังสินคา
คําตอบ 4 : การจัดการดานการจัดซื้อ

ขอที่ : 359
สิ่งใดตอไปนี้ไมใชประโยชนที่จะไดรับจากการดําเนินการระบบ JIT

หนา 157 จาก 163


คําตอบ 1 : ลดตนทุน
คําตอบ 2 : การเพิ่มความแปรปรวน
คําตอบ 3 : ลดงานระหวางผลิต
คําตอบ 4 : ปรับปรุงคุณภาพ

ขอที่ : 360
ขอใดตอไปนี้ไมใชความตองการของระบบ JIT
คําตอบ 1 : มีคุณภาพทีส่ มบูรณแบบ
คําตอบ 2 : ใชเวลาเตรียมการผลิตนอย
คําตอบ 3 : การเสียของเครื่องจักรเขาไกลศูนย
คําตอบ 4 : พนักงานมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางสูง

ขอที่ : 361
คําวา “ คัมบัง (Kanban)” หมายถึงอะไร
คําตอบ 1 : สินคาคงคลังต่ํา
คําตอบ 2 : การถายโอนอํานาจเบ็ดเสร็จใหพนักงาน
คําตอบ 3 : บัตร
คําตอบ 4 : การปรับปรุงอยางตอเนื่อง

ขอที่ : 362
ระบบ JIT จะเกี่ยวของกับสิ่งตอไปนี้ ยกเวน
คําตอบ 1 : การลดเวลาเตรียมการผลิต
คําตอบ 2 : การลดขนาดรุนการสั่ง
คําตอบ 3 : การเพิ่มการขนถายวัสดุ

หนา 158 จาก 163


คําตอบ 4 : การลดของเสีย

ขอที่ : 363
สิ่งใดตอไปนี้เปนคํากลาวที่ถูกตองเกี่ยวกับระบบ JIT
คําตอบ 1 : ปริมาณที่บรรจุลงในพาชนะปกติจะมีขนาดใหญเพื่อลดเวลาเตรียมการผลิต
คําตอบ 2 : มีความเกี่ยวของกับระบบผลัก (Push System)
สถานีงานของผูสงมอบจะสงสัญญาณไปยังสถานีงานของลูกคาทันที่ ขนาดรุนที่ทําการ
คําตอบ 3 :
ผลิต เสร็จเรียบรอย
คําตอบ 4 : สถานีงานของลูกคาจะสงสัญญาณไปยังสถานีงานของผูสงมอบ เมื่อมีความตองการผลิต

ขอที่ : 364
ขอใดตอไปนี้ไมใชเปนประโยชนจากรุนการผลิตขนาดเล็ก
คําตอบ 1 : วัสดุคงคลังของงานระหวางผลิตจะมีนอย
คําตอบ 2 : เวลาเตรียมการผลิตนอยลง
คําตอบ 3 : สถานีงานสามารถวางใกลเขาหากันมากยิ่งขึ้น
คําตอบ 4 : รอบเวลาในการผลิตจะสั้นลง

ขอที่ : 365
ขอใดคือ องคความรู ที่เกี่ยวของกับสิ่งใดๆที่จํากัดความสามารถขององคกรใหบรรลุสูเปาหมาย
คําตอบ 1 : ทฤษฎีแถวคอย
คําตอบ 2 : ทฤษฎีขอจํากัด (Theory of Constraints)
คําตอบ 3 : กลยุทธหวงโซอุปทาน
คําตอบ 4 : ทฤษฎีเกมส

หนา 159 จาก 163


ขอที่ : 366
ขอใดคือ ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่จํากัดผลลัพธในสายการผลิต
คําตอบ 1 : คอคอด (Bottleneck)
คําตอบ 2 : ขั้นตอนที่ใชเวลาผลิตนอยที่สุด
คําตอบ 3 : แถวคอย
คําตอบ 4 : การเตรียมการผลิต

ขอที่ : 367
ภายใตทฤษฎีขอจํากัด ขอใดตอไปนี้เปนการวัดผลการดําเนินงานดานการเงิน (Financial
Measurements) ที่สามารถนํามาใชในการวัดความสามารถของบริษัทในการทําเงิน
คําตอบ 1 : กําไรสุทธิ (Net Profit)
คําตอบ 2 : อัตราการไหลผานระบบ (Throughput)
คําตอบ 3 : ของคงคลัง (Inventory)
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 368
ขอใดตอไปนี้ไมเกี่ยวของกับโซอุปทาน
คําตอบ 1 : คลังสินคา
คําตอบ 2 : ผูสงมอบ
คําตอบ 3 : ศูนยกระจายสินคา
คําตอบ 4 : หนวยงานซอมบํารุง

ขอที่ : 369

หนา 160 จาก 163


จากแผนภาพ สายการผลิต ที่กําหนดใหตอไปนี้ หากสามารถปรับปรุงเวลาการทํางาน ของสถานีงานที่ 3
ใหลดลงเหลือ 9 วินาที ตอหนวย รอบเวลาการผลิตของสายการผลิตดังกลาวนี้จะเทากับเทาไร
คําตอบ 1 : 9 วินาที/หนวย
คําตอบ 2 : 10.6 วินาที/หนวย
คําตอบ 3 : 12 วินาที/หนวย
คําตอบ 4 : 32 วินาที/หนวย

ขอที่ : 370
ประมาณการตนทุนสินคาที่ขายไดในชวง 3 เดือนถัดไปคือ 100 ลานบาท และตนทุนสินคาคง
คลังปจจุบันคือ 90 ลานบาท จงหาอัตราการหมุนเวียนสินคาคงคลังตอป
คําตอบ 1 : 1 รอบตอป
คําตอบ 2 : 4.4 รอบตอป
คําตอบ 3 : 13.3 รอบตอป
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 371
ประมาณการตนทุนสินคาที่ขายไดในชวง 3 เดือนถัดไปคือ 100 ลานบาท และตนทุนสินคาคงคลัง
ปจจุบันคือ 90 ลานบาท จงหาระดับการถือครองของคงคลังโดยเฉลี่ยในรูปของจํานวนสัปดาหที่สามารถ
ตอบสนองความตองการ (Week of Supply)
คําตอบ 1 : 52 สัปดาห
คําตอบ 2 : 25 สัปดาห
คําตอบ 3 : 11.7 สัปดาห
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ผิด

ขอที่ : 372

หนา 161 จาก 163


ผลิตภัณฑ A ผาน 3 หนวยผลิต คือ หนวยผลิต X หนวยผลิต Y และ หนวยผลิต Z โดยผานหนวยผลิต
X ใชเวลาผลิต 30 นาที ตอหนวย ผานหนวยผลิต Y ใชเวลาผลิต 1 ชั่วโมงตอหนวย และผานหนวยผลิต
Z ใชเวลาผลิต 45 นาที ตอหนวย แตละหนวยผลิตมีกําลังการผลิต 200 ชั่วโมงตอสัปดาห หากในแตละ
สัปดาหมีการสั่งผลิตภัณฑ A เขามา 200 หนวย จงหาวาหนวยผลิตใดเกิดสภาพคอคอด
คําตอบ 1 : X
คําตอบ 2 : Y
คําตอบ 3 : Z
คําตอบ 4 : ขอ 1 2 และ 3 ถูก

ขอที่ : 373
ผลิตภัณฑ A ผาน 3 หนวยผลิต คือ หนวยผลิต X หนวยผลิต Y และ หนวยผลิต Z โดยผานหนวยผลิต
X ใชเวลาผลิต 1 ชั่วโมง ตอหนวย ผานหนวยผลิต Y ใชเวลาผลิต 30 นาทีตอหนวย และผานหนวยผลิต
Z ใชเวลาผลิต 45 นาที ตอหนวย แตละหนวยผลิตมีกําลังการผลิต 200 ชั่วโมงตอสัปดาห หากในแตละ
สัปดาหมีการสั่งผลิตภัณฑ A เขามา 200 หนวย จงหา Utilization ของหนวยผลิต Z
คําตอบ 1 : 25 %
คําตอบ 2 : 50 %
คําตอบ 3 : 75 %
คําตอบ 4 : 100 %

ขอที่ : 374
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองภายใตทฤษฎีขอจํากัด
ภายใตทฤษฎีขอจํากัด ความพยายามในการจัดกําลังการผลิตในแตละสถานีงานใน
คําตอบ 1 :
สายการผลิตใหมีความสมดุลเพื่อตอบสนองความตองการเปนเรื่องที่ไมถูกตอง
ภายใตทฤษฎีขอจํากัด คอคอด หมายถึง หนวยผลิตใดๆที่มีกําลังการผลิตนอยกวาความ
คําตอบ 2 :
ตองการ

หนา 162 จาก 163


จากมุมมองดานการปฏิบัติการ เปาหมายหนึ่งของบริษัทภายใตทฤษฎีขอจํากัด ก็คือ การ
คําตอบ 3 : เพิ่ม Throughput ในขณะเดียวกันก็ทําการลด สินคาคงคลังและคาใชจายในการ
ดําเนินงาน
ภายใตทฤษฎีขอจํากัด คําวา Productivity หมายถึงมาตรการทุกๆมาตรการที่นําบริษัทเขา
คําตอบ 4 :
ใกลประสิทธิภาพการผลิต 100%

ขอที่ : 375
ในการพัฒนาระบบการผลิตแบบ JIT ในบริษัท สิ่งใดที่ไมใชแนวทางที่บริษัทจะตองดําเนินการ
คําตอบ 1 : ความมีเสถียรภาพและความสม่ําเสมอของตารางการผลิต
คําตอบ 2 : ทําใหโรงงานมีขนาดเล็กลงและมีความคลองตัวยิ่งขึ้น
คําตอบ 3 : ขนาดรุนการผลิตเล็กลงและใชเวลาในการเปลี่ยนรุนการผลิตนอยลง
คําตอบ 4 : พยายามตอรองใหชวงเวลานํายาวนานขึ้นเพื่อใหเการสงมอบทันกําหนดมากยิ่งขึ้น

ขอที่ : 376
ของคงคลังโดยเฉลี่ยของบริษัทผลิตหมอแปลงไฟฟาแหงหนึ่งประกอบดวย วัตถุดิบ งานระหวางผลิต
และ สินคาสําเร็จรูป ซึ่งในปลาสุดมีมูลคาเทากับ $17.2 ลาน ถาตนทุนสินคาที่ขายไดโดยเฉลี่ยตอ
สัปดาหเทากับ $ 1.32 (สมมติวาบริษัทใช 50 สัปดาหตอป) จงประมาณอัตราหมุนเวียนสินคาคงคลัง
ของบริษัทแหงนี้
คําตอบ 1 : นอยกวา หรือเทากับ 3.50
คําตอบ 2 : มากกวา 3.50 แตนอยกวา 3.75
คําตอบ 3 : มากกวา 3.75 แตนอยกวา 4.00
คําตอบ 4 : มากกวา 4.00

หนา 163 จาก 163

You might also like