You are on page 1of 8

กรณีศึกษา มูลนิธิกระจกเงา

(The Mirror Foundation)

1. ภาพรวมธุรกิจ

1.1 ประวัติ ความเปนมา


ปลายป 2534 คนหนุมสาวจำนวน 5 คน ซึ่งประกอบดวยนักกิจกรรมในรั้วและนอกรั้วมหาวิทยาลัย ไดรวมกลุม
กันทำกิจกรรมตอเนื่องจากกิจกรรมทางการเมืองหลังชวงการทำรัฐประหารของคณะรักษาความสงบเรียบรอย
แหงชาติ (รสช.) โดยใชชื่อกลุมวา "กลุมศิลปวัฒนธรรมกระจกเงา”

ในป 2535 ไดขอเขาอยูเปนโครงการภายใตมูลนิธิโกมลคีมทอง กิจกรรมในชวงนี้จะเนนดานการละครเพื่อ


สังคมและการจัดกิจกรรมคายเด็กและเยาวชน โดยดำเนินกิจกรรมไปตามโรงเรียนและชุมชนตางๆทั่ว
ประเทศไทย ในแตละปมีการแสดงระหวาง 100-150 รอบ และ กิจกรรมคาย 10-30 กิจกรรม

ป 2537 องคกรประสบปญหาทางการเงินอยางหนัก จึงทำใหสมาชิกบางสวนที่ทนแรงบีบคั้นไมไหวไดเริ่มลา


ออกจากบริษัท สมาชิกที่เหลือไดตัดสินใจที่จะรวมกันฟนฝาปญหาครั้งนี้ใหได จึงมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการ
ทำงานครั้งใหญ โดยนำแนวคิดเชิงธุรกิจและการบริหารจัดการเขามาประยุกตใช เชน การวางแผนงานเพื่อ
คนหาแหลงทุนที่จะสนับสนุนองคกร การรับจางทำงานดานประชาสัมพันธจากภาคเอกชน จนกระทั่งมีเงิน
สะสมในบริษัทถึง 3 ลานบาท
ป 2541 เริ่มรูสึกอิ่มตัวกับการทำงานพัฒนาในกรุงเทพฯ ในที่สุด ทีมเจาหนาที่และอาสาสมัครจำนวน 11 คน
จาก 20 คน ไดตัดสินใจเปลี่ยนวิถีการทำงาน โดยไดทำการปดสำนักงานที่กรุงเทพ และเคลื่อนยายองคกรลง
ในพื้นที่เชียงราย โดยเลือกพื้นที่ ต.แมยาว อ.เมือง จ.เชียงราย เปน "หองปฏิบัติการทางสังคม" จนกอใหเกิด
โครงการนวัตกรรมทางสังคมจำนวนมาก อาทิเชน โครงการคายบำบัดยาเสพติดในชุมชน โครงการเด็กดอย
สัญชาติไทย โครงการรานคาออนไลน โครงการสถานีโทรทัศนหมูบาน โครงการทองเที่ยวชนเผาโครงการ
พิพิธภัณฑชนเผา โครงการครูบานนอก โครงการนักศึกษาบาฝกงาน

ในป 2546 ภายหลังการทำงานในหองปฏิบัติการทางสังคมที่จังหวัดเชียงราย องคกรไดเขาใจถึงการเชื่อมโยง


ระหวางปญหาเมืองกับชนบท และ ความสำคัญของการขับเคลือนในเชิงนโยบายที่มีความจำเปนอยางยิ่งที่จะ
ตองมีพื้นที่การผลักดันอยูในสวนกลาง รวมถึงการขยายความคิดการทำงานจากพื้นที่เล็ก ๆ ในตำบลแมยาว
ใหขยายการทำงานออกสูภายนอกพื้นที่มากขึ้น โดยเฉพาะงานสงเสริมอาสาสมัคร ในที่สุดมูลนิธิกระจกเงาจึง
ไดกลับเขามาตั้งสำนักงานที่กรุงเทพฯอีกครั้งหนึ่ง เพื่อมุงมั่นสราง “ความเปลี่ยนแปลง” ใหสังคมไทยอยางเต็ม
ที่

1.2 วัตถุประสงค
เพื่อบรรลุแนวคิด “3 สราง” คือ สรางคน (นักกิจกรรม) สรางนวัตกรรม และสรางการเปลี่ยนแปลง

1.3 วิสัยทัศนองคกร
ยกระดับจาก “มูลนิธิกระจกเงา” ไปเปน “สถาบันนวัตกรรมเพื่อสังคม” ที่มุงสรางระบบบริหารจัดการเพื่อคนหา
และพัฒนาเด็กรุนใหมในการทำงานทางสังคมอยางมีประสิทธิภาพและสามารถสรางการเปลี่ยนแปลงที่ยั่งยืน
ใหกับสังคมไทย

1.4 แนวคิดธุรกิจ

• งานเพื่อสังคมจะอาศัยเพียง “ความดี” ยอมไมเพียงพอ แตตองคนควาวิจัยอยางเขมขน เพื่อเขาถึง “ความ


จริง” และนำไปสูการแกปญหาสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพ

• คิดโดยไมจำกัดกรอบ ขยายการทำงานเพื่อสังคมออกไปรอบทิศทาง จึงเปนที่มาของ “นวัตกรรม”

• บริหารแบบมืออาชีพ ประยุกตใชแนวคิดเชิงธุรกิจ เพื่อทำใหนวัตกรรมและการทำงานมีประสิทธิภาพและ


ยั่งยืน

• วิธีการทำงาน (Methodology) เปนเรื่องสำคัญ ตองคนควาวิจัยและออกแบบใหเหมาะสม เพื่อใหสามารถ


รองรับทรัพยากรทั้งเงินทุนและบุคลากรที่หลากหลาย เพื่อการเติบโตและขยายตัวของการทำงานรับใชสังคม

1.5 ขั้นตอนการเริ่มดำเนินการ

ในชวงแรก 2534-2536 เริ่มจากจิตใจอาสาสมัคร สรางกิจกรรมและผลงานมากมาย แตไมเกิดรายได ในที่สุด


จึงนำไปสูปญหาดานการเงิน ทำใหสมาชิกจำนวนหนึ่งจึงตองลาออกไป

หลังจากนั้น สมาชิกที่เหลืออยูประมาณ 10 คนไดจัดประชุมที่เกาะเสม็ด ซึ่งเปนจุดเปลี่ยนครั้งใหญ ทุกคน


ยืนยันที่จะสูตอไป จึงเริ่มกลับมาทบทวนตัวเอง วิเคราะหความผิดพลาด และไดขอสรุปวาจะตองประยุกต
แนวคิดการบริหารจัดการเชิงธุรกิจเขามาปรับใชในองคกร โดยเริ่มตนจากการคนหาแหลงทุน ปรับโครงการให
สอดคลองเพื่อขอรับการสนับสนุน
c
มูลนิธิจึงเริ่มสรางระบบบริหารจัดการ เพื่อใหมีประสิทธิภาพในการดำเนินงานดีขึ้น แตยังยืนหยัดในการทำงาน
เพื่อสังคม โดยเปดกวางตอการทดลองโครงการใหมๆ ซึ่งนำไปสู “นวัตกรรม” ที่งอกเงยเพิ่มพูนตามกาลเวลา
ซึ่งนับเปนจุดแข็งหลักขององคกรตราบจนปจจุบัน

1.6 สรุปผลการทำงานที่ผานมา
มูลนิธิกระจกเงา ไดสราง “คน” หรือ “นักกิจกรรม” ที่มีใจเพื่อสังคมและรูวิธีที่ถูกตองในการทำงานเพื่อสังคมขึ้น
มาจำนวนมาก โดยเฉพาะการเปดโอกาสใหนักศึกษาไดเขามาฝกงานหลายรอยคนในแตละป รวมถึงอาสา
สมัครอีกหลายรอยคนที่สนใจในกิจกรรมของมูลนิธิ
c
แตการเปดโอกาสให “คน” ไดเขามาทำงานในองคกรไมใชเรื่องงายอยางที่คิด ในชวงแรกไดทำใหมูลนิธิเกิด
ความวุนวายและตองหยุดพักการทำงานถึง 21 วัน จนในที่สุดมูลนิธิกระจกเงาไดพัฒนาระบบในการบริหาร
จัดการคนขึ้นมา เมื่อผสานกับโครงสรางและวัฒนธรรมองคกรที่เปดกวางตอการทดลองและสรางสรรค
นวัตกรรม จึงทำใหสามารถผลิตคนและผลิตงานไดอยางมากมายในแตละป
c
ในสวนของการ “เปลี่ยนแปลง” สังคมนั้น มูลนิธิกระจกเงายังไมมีผลงานที่สงผลสะเทือนในวงกวางโดยยังคง
จำกัดขอบเขตการสรางผลงานเทาที่ขีดจำกัดทางทรัพยากรจะเอื้ออำนวยให แตกระนั้น มูลนิธิกระจกเงาก็ได
ลงทุนเพื่อพัฒนา “คน” และ “นวัตกรรม” ใหกับสังคมไทยอยางตอเนื่องในชวงหลายปที่ผานมา ซึ่งถือเปน
รากฐานใหสังคมนำไปตอยอดเพื่อใชประโยชนได ที่สำคัญ ยังเปนสินทรัพยที่สำคัญของ “มูลนิธิกระจกเงา” ใน
การขยายตัวเพื่อเปลี่ยนแปลงสังคมขนานใหญในอนาคตอันใกลนี้
c
ตัวอยางที่ชัดเจนที่สุดของโครงการ “เปลี่ยนแปลง” สังคมไทยก็คือ “เด็กดอยสัญชาติไทย” ที่สามารถชวยเหลือ
ใหคนไทยในภาคเหนือซึ่งยังดอยโอกาสในสังคมนั้นไดรับ “สัญชาติไทย” เพื่อเปนทุนรอนในการดำเนินชีวิตใน
อนาคตขางหนา โดยในขณะนี้ไดขอสัญชาติไทยใหชาวเขาไปแลวประมาณ 6 แสนคน

2 ผลิตภัณฑ/บริการ
“เปดกวาง” โดยไมจำกัดขอบเขตของผลิตภัณฑและบริการ ใหอิสรภาพตอทีมงานในการคิดคนและสรางสรรค
ผลิตภัณฑใหมๆ โดยจะมีการประชุมสัปดาหละ 2 วัน คือ อังคารและพฤหัส ซึ่งแตละคนสามารถแสดงความ
เห็นไดไมจำกัด ยิ่งกวานั้นในวันพุธ จะมีเวลา 1 ชั่วโมง สำหรับการนำเสนอขาวสารขอมูลใหมๆจากรอบโลก ซึ่ง
ทำใหทีมงานมีความเปดกวางตอสิ่งตางๆรอบตัว ไมจำกัดตนเองในมุมแคบๆของการทำงานเพื่อสังคม

ตัวอยางเชน ศูนยอาสาสมัครสึนามิ (TVC) เพื่อทำการฟนฟูพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบในระยะยาว ซึ่งมูลนิธิ


กระจกเงาริเริ่มขึ้นมานั้น ไดเกิดจากการเปดกวางตอเรื่องราวทางสังคม ไมจำกัดตัวเองในกรอบงานประจำวัน
แตพรอมตอบสนองตอปรากฏการณและความตองการใหมๆที่เกิดขึ้นในสังคม
การไมจำกัดตัวเองอยูในกรอบ จึงทำใหผลิตภัณฑและบริการขององคกรขยายตัวไปในหลากหลายสาขาและ
พื้นที่ โดยเริ่มจาก “หองปฏิบัติการทางสังคม” ที่เชียงราย ในป 2541 ที่นำไปสูนวัตกรรมทางสังคมจำนวนมาก
และยังไดขยายไปที่ “ศูนยอาสาสมัครลับแล” ที่อุตรดิตถ ในป 2549 จนกระทั่งลาสุด “ศูนยระนอง” ในป 2551
ซึ่งเริ่มตนจากการชวยเหลือผูประสบภัยดานสึนามิ จนนำไปสูการแกปญหาดานสัญชาติของชนกลุมนอยใน
พื้นที่

“โครงการอานสรางชาติ” เปนผลิตภัณฑและบริการลาสุดของมูลนิธิกระจกเงา แตความจริงนั้นโครงการไดเริ่ม


ตนเมื่อ 10 ปที่แลว แตเนื่องจากมูลนิธิไมสามารถหา “ระบบและวิธี” ในการจัดการกับหนังสือที่ไดรับบริจาคมา
จำนวนมาก เพื่อใหสามารถกระจายออกไปสูผูรับไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงทำใหโครงการตองลมเลิกไป
อยางไรก็ตาม เมื่อมูลนิธิสามารถคิดคนนวัตกรรมในการจัดการโดยใชระบบออนไลนเขามาชวยเหลือ และ
อาศัยแรงงานจากนักศึกษาฝกงานในการปอนขอมูล โครงการนี้ก็สามารถเปนจริงได
c
จากบทเรียนนี้ ทำใหมูลนิธิกระจกเงา เชื่อมั่นในเรื่อง “นวัตกรรม” โดยไมยอทอที่จะทดลองทำในสิ่งที่แตกตาง
ถึงแมวาในวันนี้อาจจะลมเหลว แตในวันหนึ่งขางหนาหากสามารถคิดคนนวัตกรรมมาเติมเต็มได โครงการ
เหลานั้นก็จะประสบความสำเร็จ

3. โอกาสทางธุรกิจ
3.1 แผนการตลาด
ประยุกตใชความหลากหลายและนวัตกรรมของผลิตภัณฑในการกระจายไปสูสื่อที่แตกตาง โดยเฉพาะในโลก
อินเทอรเน็ต ที่มูลนิธิกระจกเงาไดเริ่มบุกเบิกทางดานนี้ ตั้งแตป 2538
c
นอกจากนี้ การพัฒนาผลิตภัณฑใหสอดคลองกับความตองการและแนวโนมทางสังคม (Trend) ในแตละชวง
เวลา เชน การรณรงคสรางความรูเพื่อปองกันไขหวัดใหญ 2009 ศูนยประสานงานอาสาสมัครสึนามิ ฯลฯ
ทั้งหมดไดชวยทำใหชื่อเสียงของ “มูลนิธิกระจกเงา” เปนที่รูจักในวงกวาง
c
มูลนิธิกระจกเงายังไดสะสม Mailing List ของบุคคลตางๆประมาณ 30000 คน ซึ่งถือเปนชองทางที่สำคัญใน
การประชาสัมพันธโครงการและขอรับการสนับสนุน โดยเฉพะเมื่อที่ทำการปจจุบันของมูลนิธิก็ไดรับการ
สนับสนุนจากสมาชิกใน Mailing List นั่นเอง

สรุปแลว มูลนิธิใชการสรางเครือขาย สรางบทสนทนา สรางกิจกรรม เพื่อขยายการรับรูของสังคม โดยเฉพาะ


การรับเด็กฝกงานปละหลายรอยคน ก็ยิ่งกลายเปน “กระบอกเสียง” ของมูลนิธิไดเปนอยางดี
3.2 แผนการผลิต
เปดโอกาสใหพนักงานทุกคนสามารถพัฒนาผลิตภัณฑไดตามความสนใจของแตละคน หลังจากนั้นจึงระดม
พนักงานที่มีความสนใจมาทำงานรวมกัน แลวจึงตั้งเปนโครงการที่มีหัวหนารับผิดชอบชัดเจน
c
นอกจากนี้ยังเปดรับ “นักศึกษาฝกงาน” ซึ่งจะมาชวยงานปละ 2 ครั้ง โดยมีจำนวน 80-100 คน ซึ่งมูลนิธิ
สามารถสรางระบบบริหารจัดการเพื่อนำมาชวยพัฒนาผลิตภัณฑไดอยางมีประสิทธิภาพ

3.3 วิเคราะหตลาด และคูแขง


เนื่องจาก “งานเพื่อสังคม” ยังไมไดรับความสนใจจากภาคเอกชนเหมือนในตางประเทศ จึงยังมีตลาดเพื่อสังคม
อีกจำนวนมากที่ยังไมมีคูแขงเขาไปครอบครอง
c
พิจารณาในแตละโครงการก็อาจมีคูแขงอยูบาง แตหากประเมินโดยภาพรวมที่มูลนิธิไมไดจำกัดตัวเองอยูใน
มุมใดมุมหนึ่งของงานเพื่อสังคม จึงทำใหมีโอกาสทางการตลาดอีกมากที่สามารถพัฒนาผลิตภัณฑเพื่อรองรับ
ความตองการของตลาดได
c
ยิ่งกวานั้น NGOs สวนใหญยังมีทัศนคติที่ไมใหความสำคัญกับการบริหารจัดการ ดังนั้น จึงยากที่จะเปน “คู
แขง” ของมูลนิธิกระจกเงา ที่เปดกวางตอการสรางนวัตกรรมในกระบวนการทำงานและสรางสรรคผลิตภัณฑ

3.4 วิเคราะหการเติบโตของธุรกิจ
หากประเมินในอีก 2-3 ปขางหนา คาดวามูลนิธิจะสามารถเติบโตและขยายงานออกไปในตลาดเพื่อสังคมที่ยัง
ไมมีคูแขงเขาไปไดอยางมากมาย โดยมีปจจัยสนับสนุนดังนี้

• บริษัทสั่งสมผลงานและชื่อเสียงมายาวนาน จนเปนที่รูจักในวงกวาง ดังนั้น การระดมทรัพยากรทั้งเงินทุน


บุคคลากร และองคกรเครือขาย เพื่อขยายงานรองรับการเติบโตจึงไมใชเรื่องยาก
• หลังจากผานการลองผิดลองถูกมาหลายสิบป ในที่สุดมูลนิธิได “คนพบ” ทิศทางของตนเอง โดยเฉพาะ
การสรางระบบบริหารจัดการเพื่อนำ “ทรัพยากร” จากที่ตางๆ มาใชในการผลิตสินคาและบริการเพื่อตอบ
สนองความตองการของสังคม ตัวอยางเชน โครงการ “อานสรางชาติ” ซึ่งแตเดิมมีปญหาเรื่องการกระ
จายหนังสือที่ไดรับบริจาคไปใหกับโรงเรียนในชนบท ในปจจุบันทางมูลนิธิก็สามารถสรางระบบเพื่อ
รองรับหนังสือจำนวนมหาศาลไดสำเร็จ และพรอมจะขยายบริการทางดานนี้ใหเติบโตตอไปทั้งในเชิง
ปริมาณและคุณภาพ
• ตลาดเพื่อสังคมในเมืองไทยยังมี “ผูเลน” ไมมากนัก โดยเฉพาะ NGO ซึ่งเปนผูเลนสวนใหญ ก็มักจะขาด
ระบบบริหารจัดการที่ดีในการผลิตสินคา รวมถึงยังมุงเนนไปยัง “ตลาดเฉพาะ” ของตนเอง จึงทำใหมี
โอกาสทางการตลาดมากมายใหมูลนิธิกระจกเงาสามารถเติบโตได

4. ผลทางสังคม/สิ่งแวดลอม
มูลนิธิไดสรางผลกระทบทางสังคม ดังนี้

• โครงการเด็กดอยสัญชาติไทย
ชวยเหลือ “ชาวเขา” ซึ่งเปนคนไทยที่ถูกละเลยจากภาครัฐและสังคมมาโดยตลอด ไดรับสัญชาติไทยรวมทั้งสิ้น
600,000 คน

• โครงการศูนยขอมูลคนหายเพื่อตอตานการคามนุษย
มูลนิธิกระจกเงาถือเปนองคกรพัฒนาเอกชนแหงแรกและแหงเดียวของประเทศไทยซึ่งทำหนาที่เปนศูนยกลาง
ในการรับแจงเพื่อใหคำปรึกษาและประสานงานหนวยงานที่เกี่ยวของในการติดตามและใหความชวยเหลือคน
หายซึ่งมีสภาวะความเสี่ยงตอสวัสดิภาพและความปลอดภัย

• โครงการอานสรางชาติ
ไดคิดคนนวัตกรรมในการจัดการ “หนังสือบริจาค” ที่ทำใหผูรับสามารถเปนผูเลือกหนังสือที่ตัวเองตองการ ซึ่ง
นำไปสูการบมเพาะวัฒนธรรมการอานอยางยั่งยืน ไมใชถูกกำหนดอยางยัดเยียดเหมือนการบริจาคแบบดั้งเดิม
อีกตอไป

มูลนิธิไดสรางผลกระทบทางสิ่งแวดลอม ดังนี้

• โครงการคอมพิวเตอรเพื่อนอง
นอกจากชวยเหลือเยาวชนในชนบทใหไดรับโอกาสทางการศึกษาจากคอมพิวเตอรแลว ยังชวยลดจำนวน “ขยะ
คอมพิวเตอร” ดวยการนำมารีไซเคิลไดอีกดวย

• โครงการจัดการภัยพิบัติภาคประชาชน
นอกจากชวยเหลือผูประสบภัยแลว ยังไดขยายขอบเขตไปที่การวางแผนและปองกันภัย ซึ่งทำใหเห็นความ
เชื่อมโยงระหวางสภาพปาเสื่อมโทรมกับการเกิดเหตุภัยพิบัติ จึงนำไปสูการรณรงคและเผยแพรความรูในการ
ปลูก “กลวยปา” ที่มีคุณสมบัติในการอุมน้ำ ซึ่งสามารถทำหนาที่เปนฝายธรรมชาติและแนวกันไฟอยาง
สมบูรณ นำไปสูการฟนฟูสภาพปาไมและสิ่งแวดลอมใหมีความอุดมสมบูรณ

• โครงการกองทุนเสื้อผามือสอง
ชวยลดปริมาณการผลิตเสื้อผา เพราะสามารถนำมาบริจาคใหกับบุคคลที่ตองการ เชน คนชราที่ถูกทอดทิ้ง คน
พิการ และคนในชุมชนที่หางไกลความเจริญทั้งหลาย ยิ่งกวานั้น “เสื้อผามือสอง” บางสวนยังสามารถจำหนาย
และนำรายไดมาจัดตั้งเปนกองทุนขาวสาร เพื่อชวยเหลือกลุมคนชรา ผูทุพพลภาพที่ถูกทอดทิ้ง และผูประสบ
ภัยธรรมชาติ เชน ไฟไหม น้ำทวม ฯลฯ ไดอีกทางหนึ่งดวย

5. แผนการบริหารจัดการ

5.1 ขอมูลองคกร

มูลนิธิกระจกเงา (The Mirror Foundation) ตั้งอยูที่ 8/12 ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงลาดยาว เขตจตุจักร


กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 02-941-4194-5c

5.2 โครงสรางองคกร

ประธาน
กรรมการ!

หัวหน้า หัวหน้า หัวหน้า


โครงการ! โครงการ! โครงการ!

มูลนิธิกระจกเงามีโครงสรางการทำงานแบบ “แนวนอน” เพื่อสรางสภาพแวดลอมที่เหมาะสมในการผลิต


นวัตกรรม ดังนั้น องคกรจึงไมมีผูบริหาร และมุงเนนการแบงคนตามโครงการที่เกี่ยวของ โครงการละ 1-6 คน
โดยมีหัวหนารับผิดชอบ 1 คน
c
สำหรับ “ผูนำ” ขององคกรมีเพียงตำแหนงเดียว คือcประธานกรรมการ มีหนาที่รับผิดชอบวิสัยทัศนและทิศทาง
ขององคกร
c
เปาหมายในอนาคต คือ การพัฒนา “ผูบริหารระดับกลาง” ขึ้นมารองรับ เพื่อใหองคกรมีระบบการทำงานที่มี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและรองรับการขยายตัวในระยะยาว

ปจจุบันมูลนิธิกระจกเงามีพนักงานทั้งที่เชียงรายและกรุงเทพฯ รวมกันประมาณ 50 คน โดยในแตละปจะมี


นักศึกษาฝกงานและอาสาสมัครมาชวยงานประมาณ 300 คน

You might also like