You are on page 1of 24

1

“รวม พล คน วั ยม ัน ส์ ร่ว มสร ้า งสรร ค์ ม .ปลอ ดภั ย”

ความเป็นมา / หลัก การและเหตุผล


ข้อมูลจากกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ระบุว่า 7 วันอันตรายช่วงเทศกาลปีใหม่ 2550 มีอุบัติเหตุ
เกิดขึ้นรวม 4,456 ครั้ง มีผู้เสียชีวิต 449 คน มีผู้บาดเจ็บ 4,943 คน โดยที่สาเหตุหลักมาจากขับขี่พาหนะ
ภายหลังจากการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และขับขี่พาหนะด้วยความเร็วเกินกว่าที่กฎหมายกำาหนด ทัง้ นี้
ร้อยละ 86 เกิดขึ้นกับผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์
นอกจากนี้ แหล่งข้อมูลข้างต้นยังระบุอีกว่า อุบัติเหตุในช่วงเทศกาลปีใหม่ เกิดขึ้นกับวัยรุ่นช่วงอายุ 15-19 ปี
ถึงร้อยละ 20 รองลงมาคือ ช่วงอายุ 20-24 ปี (ร้อยละ 17) และช่วงอายุตำ่ากว่า 15 ปี (ร้อยละ 10) ซึ่งเมื่อรวม
สถิติข้างต้นจะเห็นว่า เกิดอุบัติเหตุในช่วงอายุดังกล่าวซึ่งถือเป็นเย าว ชนผู้ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นปัจจุบันและพลังของ
ชาติรวมแล้ว ถึงร้อ ยล ะ 47
เนื่องจากปัจจุบันพบว่า นิสิตนักศึกษา โดยเฉพาะที่อาศัยอยู่ในหอพักทั้งภายในและโดยรอบมหาวิทยาลัย
นิยมใช้รถจักรยานยนต์เป็นพาหนะ ในรั้วมหาวิทยาลัยจึงเป็นอีกสังคมหนึ่งที่มักเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนเป็น
ประจำา ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่ ได้แก่ ดื่มแล้วขับ ขับรถเกินกฎหมายกำาหนด ไม่สวมหมวกนิรภัย
เครือข่ายผู้นำาเยาวชนสำานึกรักษ์แผ่นดินทอง หน่วยจุฬาฯ-ชนบท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นกลุ่ม
เยาวชนที่รวมตัวกันภายใต้เจตนารมณ์ที่จะเป็นแบบอย่างของเยาวชนในการเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา
และพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ โดยเฉพาะอบายมุข ความเสื่อมศีลธรรม ทัศนคติการใช้ชีวิตที่นำาพาไปสู่ความ
หายนะ และปัญหาด้านอื่นที่เกิดขึ้นในหมู่เยาวชน รวมทั้งปัญหาด้านอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นเนื่องจากผลพวงของ
ทัศนคติการใช้ชีวิตที่นำาพาไปสู่ความหายนะ ได้แก่ ความคะนอง ความประมาทในการใช้ชีวติ การเข้าไปยุ่ง
เกี่ยวกับอบายมุข การรวมกลุ่มชักชวนกันทำากิจกรรมที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำาคาญ ส่งผลให้เกิดความ
เสียหายแก่ทั้งตนเองและผู้อื่น ดังนั้น กลวิธีในการแก้ปัญหาในเยาวชนไม่ใช่การปราบปราม แต่เป็นการ
ปรับเปลี่ยนทัศนคติของเยาวชน
เครือข่ายผู้นำาเยาวชนสำานึกรักษ์แผ่นดินทอง ซึ่งมีสมาชิกเป็นเยาวชนทั้งในระดับอุดมศึกษาและมัธยมศึกษา
ที่มีการรวมกลุ่มอย่างเข้มแข็ง จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ได้เล็งเห็นปัญหาทีจ่ ะเกิดขึ้นกับเพื่อนเยาวชนในช่วง
เทศกาลปีใหม่ จึงได้มีแนวคิดทีจ่ ะเป็นอีกหนึ่งองค์กรที่ปลุกกระแสด้านการเฝ้าระวังอุบัติเหตุให้เกิดการ
ปรับเปลี่ยนทัศนคติในหมู่นิสิตนักศึกษาและประชาชนทั่วไปในสังคมร่วมกับผู้บริหารสถานศึกษา จึงเกิดเป็น
โครงการ “รวมพลคนวัย มั น ส์ ร่ ว มสร้ า งสรรค์ ม. ปลอดภัย ” เพื่อร่วมเฝ้าระวังอุบัติเหตุบนท้องถนน
และสร้าง
ความตระหนักด้านการขับขี่ปลอดภัยให้เกิดขึ้นในมหาวิทยาลัยนำาร่อง

วัต ถุปร ะสง ค์ของโ ครงการ


1. เพื่อปลุกกระแสให้เกิดความตื่นตัวและสำานึกในความปลอดภัยในการใช้พาหนะในเขตมหาวิทยาลัย
2. เพือ่ ให้เกิดความร่วมมือของนิสิตนักศึกษาเป็นเครือข่ายลดอุบัติเหตุระดับอุดมศึกษา
3. เพือ่ นำาเสนอข้อมูลสถานการณ์และปัจจัยเสี่ยงนำาเสนอต่อผู้บริหารมหาวิทยาลัยสู่การกำาหนดเป็นนโยบาย

เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
2
“รวม พล คน วั ยม ัน ส์ ร่ว มสร ้า งสรร ค์ ม .ปลอ ดภั ย”

กิจ กรรมแล ะวิธีการ ดำาเ นินงา น


1. ประ ชุ มเ ตรี ยม งา นค ณะท ำาง าน ส่ว นก ลาง
วันที่ดำาเนินการ
ครั้งที่ 1 วันที่ 2 ธันวาคม 2550 ณ หอพักนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ครั้งที่ 2 วันที่ 16 ธันวาคม 2550 ณ ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ครั้งที่ 3 วันที่ 10 มกราคม 2551 ณ หอพักนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ครั้งที่ 4 วันที่ 16 มกราคม 2551 ณ หอพักนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ครั้งที่ 5 วันที่ 22 มกราคม 2551 ณ หอพักนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วัตถุประสงค์
1. เพื่อชี้แจง ทำาความเข้าใจ และร่วมกำาหนดเป้าหมายการดำาเนินงานในส่วนของคณะทำางานโครงการส่วน
กลาง (นิสิตนักศึกษาในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล)
2. เพื่อกำาหนดบทบาทและแบ่งหน้าที่ในการดำาเนินงาน
3. เพื่อติดตามและรายงานผลการดำาเนินงานในแต่ละฝ่าย
4. เพื่อประเมินผลการดำาเนินงานและสรุปผลในภาพรวม
2. ประ ชุ มเ ตรี ยม งา น/ชี้ แจง /ทำา คว าม เข ้า ใจแ กน นำาน ิสิ ตน ัก ศึ กษา มห าว ิท ยา ลั ยน ำา ร่ อง
วันที่ดำาเนินการ
ครั้งที่ 1 วันที่ 8 – 10 ธันวาคม 2550 ณ ศูนย์หัตถกรรมโนนดอกจาน อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์
ครั้งที่ 2 วันที่ 5 – 6 มกราคม 2551 ณ กองร้อยอาสารักษาดินแดน อ.เมือง จ.เชียงใหม่
วัตถุประสงค์
1. เพื่อชี้แจง ทำาความเข้าใจ และกำาหนดเป้าหมายร่วมกันกับแกนนำานิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัยนำาร่องที่
เป็นพื้นที่ดำาเนินการ
2. เพื่อร่วมแลกเปลี่ยนแนวทางการประสานงานและดำาเนินการของแต่ละมหาวิทยาลัย
3. เพื่อกำาหนดรายละเอียดกิจกรรมของโครงการให้เหมาะสมกับแต่ละพื้นที่

เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
3
“รวม พล คน วั ยม ัน ส์ ร่ว มสร ้า งสรร ค์ ม .ปลอ ดภั ย”

กำาห นดก าร
กา รปร ะช ุมสั มม นา แกน นำา นิสิต นั กศ ึกษ าคณ ะทำา งา น
มห าว ิท ยา ลั ยข อน แก ่ น มหา วิทย าล ัย มห าส าร คา ม มห าว ิทย าล ัย รา ชภัฏ มห าสา รค าม
วั นที ่ 8 – 1 0 ธั นว าค ม 25 50 ณ ศูน ย์ หั ตถ กร รมโ นน ดอกจ าน อ .เม ือง จ .กาฬส ินธ ุ์
วัน ที่ 8 ธั นว าค ม 25 50
เวลา 06.00 น. คณะทำางานส่วนกลางเดินทางถึงจังหวัดกาฬสินธุ์
เวลา 08.00 น. – 12.00 น. ประชุมคณะทำางานส่วนกลางเพื่อซักซ้อมและทำาความเข้าใจ
เวลา 13.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม
เวลา 13.30 น. – 16.00 น. กิจกรรมละลายพฤติกรรม / ชี้แจงวัตถุประสงค์ เป้าหมายการประชุม
เวลา 16.00 น. – 17.00 น. กิจกรรมสานสัมพันธ์ผู้เข้าร่วมประชุม
เวลา 17.00 น. – 19.00 น. ปฏิบัติภารกิจส่วนตัวและรับประทานอาหารเย็น
เวลา 19.00 น. – 21.00 น. กิจกรรมปลูกจิตสำานึกด้านความปลอดภัย
เวลา 21.00 น. – 22.00 น. กิจกรรมผ่อนคลาย สไตล์เยาวชน
เวลา 22.00 น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
วัน ที่ 9 ธั นว าค ม 25 50
เวลา 08.00 น. - 09.00 น. รับประทานอาหารเช้า
เวลา 09.00 น. – 12.00 น. พิจารณาร่างโครงการ เสนอแนะ แก้ไข เพิ่มเติม
เวลา 12.00 น. – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.30 น. – 16.00 น. กิจกรรมระดมความคิดกลุ่มย่อย เตรียมงาน “คน งาน ปัจจัย” ของแต่ละ
มหาวิทยาลัย
เวลา 15.00 น. – 17.00 น. กิจกรรมกีฬาสานสัมพันธ์
เวลา 17.00 น. – 19.00 น. ปฏิบัติภารกิจส่วนตัว และ รับประทานอาหารเย็น
เวลา 19.00 น. – 21.00 น. กิจกรรมรอบกองไฟกระชับสัมพันธ์
เวลา 21.00 น. – 22.00 น. กิจกรรมตอกยำ้าอุดมการณ์ สานฝันผู้นำาเยาวชน
เวลา 22.00 น. พักผ่อนตามอัธยาศัย
วัน ที่ 10 ธัน วา คม 255 0
เวลา 08.00 น. – 09.00 น. รับประทานอาหารเช้า
เวลา 09.00 น. – 12.00 น. สรุปกิจกรรมสัมมนา
เวลา 12.00 น. – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00 น. – 16.00 น. สำารวจพื้นที่เพื่อเตรียมการจัดกิจกรรมลดอุบัติเหตุ
เวลา 16.00 น. เดินทางกลับ

เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
4
“รวม พล คน วั ยม ัน ส์ ร่ว มสร ้า งสรร ค์ ม .ปลอ ดภั ย”

กำาห นดก าร
การป ระ ชุ มสัม มน าแก นนำา นิส ิตน ัก ศึ กษา คณะท ำาง าน มห าวิ ทย าล ัย เช ีย งให ม่
วัน ที่ 5 – 6 มกร าค ม 255 1 ณ ก องร ้อ ยอ าส าร ักษ าด ิน แดน จัง หว ัด เช ียง ให ม่ อ .เม ือง
จ.เช ียงใ หม ่
วัน ที่ 5 มกร าค ม 255 1
เวลา 04.00 น. คณะทำางานส่วนกลางเดินทางถึงจังหวัดเชียงใหม่
เวลา 08.00 น. – 12.00 น. ประชุมคณะทำางานส่วนกลางเพื่อซักซ้อมและทำาความเข้าใจ

เวลา 13.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมประชุม


เวลา 13.30 น. – 16.00 น. - กิจกรรมละลายพฤติกรรม
- ชี้แจงวัตถุประสงค์ เป้าหมายการประชุม
- พิจารณาร่างโครงการ
เวลา 16.00 น. – 17.00 น. กิจกรรมสานสัมพันธ์ผู้เข้าร่วมประชุม
เวลา 17.00 น. – 19.00 น. ปฏิบัติภารกิจส่วนตัวและรับประทานอาหารเย็น
เวลา 19.00 น. – 21.00 น. กิจกรรมเตรียมงาน “คน งาน ปัจจัย” (กลุ่มย่อย)
เวลา 21.00 น. – 22.00 น. กิจกรรมผ่อนคลาย สไตล์เยาวชน
เวลา 22.00 น. พักผ่อนตามอัธยาศัย

วัน ที่ 6 มกร าค ม 255 1


เวลา 08.00 น. - 09.00 น. รับประทานอาหารเช้า
เวลา 09.00 น. – 12.00 น. สรุปการประชุม (กลุ่มใหญ่)
เวลา 12.00 น. – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00 น. สำารวจพื้นที่เพื่อเตรียมการจัดกิจกรรมลดอุบัติเหตุ
เวลา 16.00 น. เดินทางกลับ

3. ประ ชุ มเ ตรี ยม งา นค ณะท ำาง าน แต ่ล ะม หา วิทย าล ัย


มหา วิ ทย าล ัย ขอ นแ ก่ น
วันที่ดำาเนินการ
ครั้งที่ 1 วันที่ 21 ธันวาคม 2550 ณ โรงอาหารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มข.
ครั้งที่ 2 วันที่ 6 มกราคม 2551 ณ ห้องประชุม 2 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มข.
ครั้งที่ 3 วันที่ 19 มกราคม 2551 ณ ห้องประชุม 2 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มข.
ครั้งที่ 4 วันที่ 22 มกราคม 2551 ณ ลานใต้อาคาร 5 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มข.

เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
5
“รวม พล คน วั ยม ัน ส์ ร่ว มสร ้า งสรร ค์ ม .ปลอ ดภั ย”

มหา วิ ทย าล ัย มห าส าร คา มแ ละ มห าวิท ยา ลั ยร าชภ ัฏม หาส าร คา ม


วันที่ดำาเนินการ
ครั้งที่ 1 วันที่ 12 ธันวาคม 2550 ณ หอพักเอกชน ใกล้มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ครั้งที่ 2 วันที่ 16 ธันวาคม 2550 ณ ร้านอาหารข้างมหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ครั้งที่ 3 วันที่ 12 – 13 มกราคม 2551 ณ ศูนย์หัตถกรรมโนนดอกจาน อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์
ครั้งที่ 4 วันที่ 17 มกราคม 2551 ณ อาคารศูนย์ภาษาและคอมพิวเตอร์ มรม.
มหา วิ ทย าล ัย เช ียง ให ม่
ตามมติที่ป ระชุมคณะทำา งานเมื่ อ วั นที่ 5 – 6 มกราคม 2551 ได้ลงมติ ให้ยกเลิ ก การดำา เนิ นงานในพื้ นที่
มหาวิท ยาลั ยเชียงใหม่ เ นื่อ งจากไม่ ส ามารถจั ดกิ จ กรรมในช่ วงระยะเวลาที่เ หลื อ ของปี ก ารศึ ก ษา 2550
(มกราคม ถึง กุมภาพันธ์ 2551) เพราะคณะทำา งานส่วนใหญ่ติดภารกิจในการเตรียมการพิธีพระราชทาน
ปริญญาบัตรและสอบปลายภาค และให้เสนอโครงการเพื่อดำาเนินการในพื้นที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในปีการ
ศึกษา 2551
4. ดำา เน ิน งา นใ นม หา วิทย าล ัย นำา ร่ อง
มหา วิ ทย าล ัย มห าส าร คา มแ ละ มห าวิท ยา ลั ยร าชภ ัฏม หาส าร คา ม
วันที่ดำาเนินการ
วันศุกร์ที่ 18 มกราคม 2551 ณ ห้องประชุม 4B อาคารศูนย์ภาษาและคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม เวลา 08.00 น. – 22.00 น.
มหา วิ ทย าล ัย ขอ นแ ก่ น
วันที่ดำาเนินการ
วันเสาร์ที่ 26 มกราคม 2551 ณ ห้องประชุม 3 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เวลา 08.00 น. – 22.00 น.

กำาห นดก าร
08.00 น. - 09.00 น. ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมโครงการ
09.00 น. – 10.00 น. ชี้แจงวัตถุประสงค์ นันทนาการละลายพฤติกรรม
10.00 น. – 12.00 น. กิจกรรมกลุ่มย่อย ค้นหา Black Spots (จุดเสี่ยง)

13.00 น. – 15.00 น. รวบรวมข้อมูลจัดทำาเป็นข้อเสนอเชิงนโยบาย


15.00 น. – 17.00 น. ขบวนรถจักรยานยนต์รณรงค์ภายในมหาวิทยาลัยและรอบเทศบาล

เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
6
“รวม พล คน วั ยม ัน ส์ ร่ว มสร ้า งสรร ค์ ม .ปลอ ดภั ย”

17.30 น. – 18.00 น. พิธีเปิดโครงการ


18.00 น. – 19.00 น. เวทีเสวนา “ มหาวิทยาลัยปลอดภัย ใครคือผู้รับผิดชอบ??? ”
โดย ผู้บริหารมหาวิทยาลัย นายกสโมสรนิสิตนักศึกษา ตัวแทนนิสิต
นักศึกษาผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อนำาเสนอข้อเสนอเชิงนโยบาย

19.00 น. – 21.00 น. กิจกรรมดนตรีคนวัยมันส์ ร่วมกันลดอุบัติเหตุ


21.00 น. พิธีปิด

กิจกร รม
1) ลงท ะเบ ีย นผ ู้ เข้ าร ่ว มโค รง กา ร
เวลา 08.00 – 09.00
กระบวนการ
 ตั้งโต๊ะลงทะเบียนบริเวณหน้าห้องประชุม โดยมีคณะทำา งานฝ่ายทะเบียนทำา หน้าที่แนะนำา การลง
ทะเบียนให้ถูกต้อง ครบถ้วน โดยแยกใบลงทะเบียนสำา หรับคณะทำา งาน กลุ่มเป้าหมาย แขกผู้มี
เกียรติและสื่อมวลชน ซึ่งข้อมูลในใบลงทะเบียนที่จะต้องกรอกประกอบด้วย ชื่อ-นามสกุล ชื่อเล่น
คณะ/ชั้นปี ที่อยู่/หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท์ อีเมล และลงลายมือชื่อ
 เมื่อลงทะเบียนเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะได้รับเอกสารและของที่ระลึกโครงการ พร้อมทั้งมีคณะทำางาน
ฝ่ายปฏิคมนำาพาไปนั่งในทีท่ ี่จัดไว้ให้พร้อมบริการเครื่องดื่มและอาหารว่าง

2) การ ชี ้แ จงว ัต ถุปร ะสงค์โค รงก าร


เวลา 09.00 – 09.30
กระบวนการ
 เมื่อกลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนเรียบร้อยแล้ว จะมานั่งในที่ทจี่ ัดเตรียมไว้ให้
 คณะทำางานฝ่ายนันทนาการจะทำาหน้าที่เป็นพิธีกรที่คอยต้อนรับ กล่าวทักทาย ชวนพูดคุย ซักถาม
ฯลฯ เพื่อให้ลดความตึงเครียด ให้รู้สึกผ่อนคลาย เป็นกันเอง ซึ่งอาจจะสลับการเปิดวิดีทัศน์ที่
เกี่ยวข้องกับโครงการให้ดูไปพลางๆ
 เมื่อมีผู้ลงทะเบียนครบถ้วนหรือเกือบจะครบถ้วนแล้ว ประธานโครงการกล่าวต้อนรับทุกคนอย่าง
เป็นทางการ
 ประธานโครงการชี้แจงวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม กระบวนการหรือกิจกรรมที่กำาลังจะเกิดขึ้น
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ทราบและเตรียมตัวที่จะเข้ามีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ โดยที่ขั้นตอนนี้อาจจะ
พูดลักษณะบรรยายหรืออาศัยวีดิทัศน์เป็นเครื่องมือช่วยเหลือก็ได้
เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
7
“รวม พล คน วั ยม ัน ส์ ร่ว มสร ้า งสรร ค์ ม .ปลอ ดภั ย”

3) นัน ทน าก าร ละ ลา ยพ ฤต ิก รร ม
เวลา 09.30 – 10.00
กระบวนการ
 เริ่มต้นด้วยกระบวนการนันทนาการกลุ่มใหญ่ที่เน้นการพูดคุยโต้ตอบระหว่างคณะทำา งานผู้ดำาเนิน
รายการกับกลุ่มเป้าหมาย หรือใช้เกมต่างๆเข้ามาช่วยให้เกิดความสนุกสนาน ทั้งที่นั่งอยู่กับที่และ
เคลื่อนย้าย (Movement) เพื่อให้ไม่เกิดความน่าเบื่อ
 เมื่อกลุ่มเป้าหมายเกิดอารมณ์ร่วมแล้ว อาจจะใช้กระบวนการแยกกลุ่มย่อยโดยที่มีคณะทำา งานฝ่า
ยอื่นๆเข้าไปประกบเพื่อให้เกิดความสนิทสนมมากยิ่งขึ้น ภายในกลุ่มย่อยอาจจะให้แนะนำาตัว หรือ
ชวนพูดคุยในประเด็นต่างๆเพื่อให้ทุกคนภายในกลุ่มรู้จักกันมากยิ่งขึ้น

4) กิจกร รม ระ ดม คว าม คิ ดเ พื ่อค ้น หา พฤ ติ กร รม เสี่ ยงแ ละจ ุดเส ี่ย ง


เวลา 10.00 – 11.30
กระบวนการ
 เกริ่นนำาถึงสถานการณ์ สภาพปัญหาของการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนนในพื้นที่มหาวิทยาลัย
 แบ่งกลุ่มย่อย จำานวนสมาชิกในกลุ่มต้องไม่มากหรือน้อยเกินไป ให้สามารถแสดงความคิดเห็นหรือ
ให้เกิดการมีส่วนร่วมมากที่สุด
 ให้สมาชิกในกลุ่มค้นหาจุดเสี่ยงหรือพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจจะก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ เมื่อครบเวลาที่
กำาหนด ให้สมาชิกแต่ละกลุ่มนำาเสนอ

5) กิจกร รม เต รีย มข ้อ มู ลเพ ื่ อน ำาเส นอ ใน เวท ีเสว นา และ กา รเ ตร ีย มก าร ณรง ค์


เวลา 13.00 – 14.30
กระบวนการ
 แบ่งผู้เข้าร่วมโครงการออกเป็น 2 กลุ่ม
 กลุ่ม แรกเป็นตัวแทนที่แต่ละกลุ่ม ย่อยคัดเลือ ก ทำา การสรุปข้อมูลจุดเสี่ ยงและพฤติกรรมเสี่ ยงเพื่อ
เตรียมนำาเสนอในเวทีเสวนา ซึ่งอาจจะมีการจัดทำา Power Point เพื่อเตรียมนำาเสนอไว้ด้วย จะช่วย
เพิ่มความน่าสนใจให้แก่การเสวนาด้วย
 กลุ่มที่สอง คือผู้เข้าร่วมโครงการที่เหลือ จะทำาการสำารวจว่ามีรถจักรยานยนต์ทั้งหมดกี่คัน ให้ช่วย
กันออกแบบและเตรียมการรณรงค์ โดยที่คณะทำางานจะเป็นผู้ชี้แจงข้อมูลเกี่ยวกับพื้นที่ เส้นทาง สื่อ
รณรงค์ที่มีให้ ให้ผู้เข้าร่วมโครงการร่วมกันคิดรูปแบบและวิธีการรณรงค์โดยเน้นให้เกิดการมีส่วน
ร่วมมากที่สุด

เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
8
“รวม พล คน วั ยม ัน ส์ ร่ว มสร ้า งสรร ค์ ม .ปลอ ดภั ย”

6) กิจกร รม ขบ วนร ถจั กร ยา นยน ต์ รณ รงค ์


เวลา 15.00 – 17.00
กระบวนการ
 จัดตั้งขบวนรถจักรยานยนต์ให้ดูสวยงาม สำารวจความพร้อมทั้งตัวรถจักรยานยนต์ หมวกนิรภัย และ
สื่อรณรงค์ที่แจกให้ทุกคนเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการปลุกกระแส
 เมื่อขบวนพร้อมแล้ว จะทำาการปล่อยแถวขบวนรณรงค์ โดยที่มีรถนำาขบวนเป็นรถตำารวจ ตระเวน
ไปรอบมหาวิทยาลัยและเทศบาลเมือง
 ฝ่ายประชาสัมพันธ์ใช้เครื่องขยายเสียงบนรถนำาขบวน ประกาศและประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนที่สัญจร
ไปมาได้ตระหนักถึงความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน
 เมื่อ ขบวนเคลื่อ นมาถึงจุ ดที่ มีผู้ ประชาชนหนาแน่ น เช่ น แหล่ง ชุ ม ชน ตลาด หรื อสถานี ข นส่ ง จะ
ทำา การพักขบวนรณรงค์โดยที่จอดรถจักรยานยนต์ไว้ในที่ที่จัดไว้ให้ ผู้เข้าร่วมโครงการและคณะ
ทำางานจะช่วยกันเดินแจกสื่อประชาสัมพันธ์
 จากนั้นเคลื่อนขบวนไปตามเส้นทางที่วางแผนไว้

7) พิธีเปิ ดโค รงก าร


เวลา 17.30 – 18.00
กระบวนการ
 ลงทะเบียนแขกผู้มีเกียรติ สื่อมวลชน วิทยากร ฯลฯ พร้อมทั้งบริการอาหารว่างและเครื่องดื่ม
 พิธีกรพิธีการซักซ้อมลำาดับขั้นตอนพิธีการ
 เมื่อประธานในพิธีเปิดเดินทางมาถึง ฝ่ายปฏิคมบริการอาหารว่างและเครื่องดื่ม ประธานโครงการ
แนะนำาลำาดับขั้นตอนให้ประธานในพิธที ราบ
 พิธีกรพิธีการกล่าวต้อนรับทุกคน กล่าวถึงภาพรวมกิจกรรมของผู้เข้าร่วมโครงการตลอดทั้งวันที่
ผ่านมา พร้อมทั้งแนะนำาประธานในพิธี วิทยากร แขกผู้มีเกียรติ และสื่อมวลชน
 อาจจะมีการเปิดวิดีทัศน์แนะนำาโครงการ ประมวลภาพกิจกรรม ฯลฯ
 เมื่อพร้อมแล้ว พิธีกรเรียนเชิญประธานในพิธี จุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย
 เรียนเชิญประธานในพิธีรับฟังคำากล่าวรายงานจากประธานโครงการ
 ประธานในพิธีกล่าวให้โอวาทและกล่าวเปิดโครงการ
 เชิญประธานในพิธีมอบของที่ระลึกแก่วิทยากร ผู้ให้การสนับสนุนโครงการ ฯลฯ
 เชิญประธานในพิธีรับมอบของที่ระลึกจากประธานโครงการ
 เชิญประธานในพิธีให้เกียรติถ่ายภาพร่วมกับผู้เข้าร่วมโครงการ คณะทำางาน วิทยากร แขกผู้มี
เกียรติ เพื่อเป็นที่ระลึก
เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
9
“รวม พลคนพิวัธยม
ีกรพิันธส์ีการกล่ าวขอบคุ
ร่ว มสร ณประธานในพิ
้า งสรร ค์ ม .ปลอธดภั
ี พร้ย”
อมแจ้งลำาดับกิจกรรมต่อไป

8) กิจกร รม กา รเส วน า “มห าวิท ยา ลั ยปล อด ภั ย ใค รค ือ ผู้ รั บผ ิด ชอ บ?? ?”


เวลา 18.00 – 19.00
กระบวนการ
 พิธีกรเชิญผู้ดำาเนินรายการขึ้นบนเวที แนะนำาประวัติผู้ดำาเนินรายการ
 ผู้ดำาเนินรายการกล่าวทักทายผู้เข้าร่วมเสวนา เกริ่นถึงความสำาคัญของการเสวนาในครั้งนี้
 ผู้ดำาเนินรายการเชิญวิทยากรผู้เข้าร่วมเสวนาขึ้นบนเวที พร้อมแนะนำาวิทยากรผู้เข้าร่วมเสวนา
 ผู้ดำาเนินรายการเปิดประเด็น และเสวนาโต้ตอบไปตามลำาดับ ทีละท่าน
 ผู้ดำาเนินรายการเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมโครงการซักถามวิทยากร
 วิทยากรตอบคำาถาม
 ผู้ดำาเนินรายการกล่าวสรุปและปิดการเสวนา

9) กิจกร รม ดน ตร ีค นว ัย มั นส ์ ร่ วม กั นล ดอ ุบ ัต ิเ หตุ
เวลา 19.00 – 21.00
กระบวนการ
 ให้ผู้เข้าร่วมโครงการ คณะทำางาน วิทยากร แขกผู้มีเกียรตินั่งล้อมวงพาแลง
 รับประทานอาหาร พูดคุยตามอัธยาศัย
 ระหว่างรับประทานอาหาร มีดนตรีให้ชม
 จัดให้ผู้เข้าร่วมโครงการ คณะทำางานขึ้นบนเวทีแสดงความสามารถ
 ช่วงท้ายของกิจกรรม คณะทำางานทุกคนขึ้นบนเวที กล่าวขอบคุณผู้เข้าร่วมโครงการและแขกผู้มี
เกียรติทุกคน
 เชิญประธานในพิธปี ิด กล่าวปิดโครงการ

5. ประ ชุ มสร ุปผ ลก าร ดำาเ นิ นง าน


มหา วิ ทย าล ัย มห าส าร คา มแ ละ มห าวิท ยา ลั ยร าชภ ัฏม หาส าร คา ม
ดำาเนินการวันที่ 19 มกราคม 2551
มหา วิ ทย าล ัย ขอ นแ ก่ น
ดำาเนินการวันที่ 27 มกราคม 2551
คณ ะทำา งา นส่ วน กล าง
ดำาเนินการวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2551

เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
10
“รวม พล คน วั ยม ัน ส์ ร่ว มสร ้า งสรร ค์ ม .ปลอ ดภั ย”

กลุ่ มเป้าหมา ย
1. นิสิตนักศึกษาแกนนำาสมาชิกเครือข่ายผู้นำาเยาวชนสำานึกรักษ์แผ่นดินทองในมหาวิทยาลัยพื้นที่
ดำา เนิ น การ (มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น มหาวิ ท ยาลั ย มหาสารคาม มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ
มหาสารคาม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) มหาวิทยาลัยละ 15-20 คน ทำา หน้าที่เป็นคณะทำา งาน
ดำาเนินงานในแต่ละมหาวิทยาลัย
2. นิสิตนักศึกษาอื่นในมหาวิทยาลัยที่เป็นพื้นที่ดำาเนินการ เป็นผู้เข้าร่วมกิจกรรม มหาวิทยาลัยละ
จำานวน 60-80 คน

อำานวยการประสานงานโดยนิสิตนักศึกษาแกนนำาเครือข่ายผู้นำาเยาวชนสำา นึกรักษ์แผ่นดินทองใน
เขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำานวน 20 คน

ผลลัพธ์ที่ได้จาก การดำาเนินโ ครงการ


• เก ิด กา รร วม กล ุ่ มข อง นิสิ ตน ัก ศึกษ า เป็น “กลุ ่ม แก นนำาเ ครื อข ่า ยล ดอ ุบ ัต ิเ หตุ ระ ดั บ
อุด มศึ กษา ”
แกน นำาส ่ว นก ลา ง ประกอบด้วยนิสิตนักศึกษาสมาชิกเครือข่ายผู้นำาเยาวชนสำานึกรักษ์แผ่นดินทองที่
กำาลังศึกษาในมหาวิทยาลัยในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล จำานวนแกนนำาที่จะขับเคลื่อนแผนงานต่อไป
ประมาณ 20 คน และสมาชิกเครือข่ายฯส่วนกลางที่พร้อมเข้าร่วมกิจกรรมประมาณ 30 คน
แกนนำา มหาวิท ยาลัย ขอนแก่น ประกอบด้วยนักศึกษาคณะทำางานและผู้เข้าร่วมโครงการ ซึ่งส่วน
ใหญ่เป็นนักศึกษาภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ นอกจากนี้ ยังมี
นักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ และคณะศิลปกรรมศาสตร์ จำานวนแกนนำา 30 คน
และยังมีสมาชิกเครือข่ายฯที่พร้อมจะมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆที่จะเกิดขึ้นอีกประมาณ 40 คน
แกน นำา มหา วิท ยาลัย มห าส าร ค า ม ประกอบด้วยนิสิตสมาชิกเครือข่ายผู้นำา เยาวชนสำา นึกรักษ์
แผ่ น ดิ น ทองในคณะต่ า งๆ จำา นวนแกนนำา ประมาณ 15 คน และสมาชิ ก ที่ พ ร้ อ มเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม
ประมาณ 20 คน
แ ก น น ำา ม ห า ว ิท ย า ล ั ย ร า ช ภ ัฏ ม ห า ส า ร ค า ม ประกอบด้ ว ยนั ก ศึ ก ษาโปรแกรมวิ ช า
รัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ที่มีการรวมกลุ่มกันอย่างเหนียวแน่นอยู่แล้ว
จำานวนประมาณ 20 คน และสมาชิกที่พร้อมเข้าร่วมกิจกรรมอีกประมาณ 20 คน
แกนนำา มหาวิท ยาลั ย เ ชี ย งใ หม่ แม้ว่าจะไม่ได้จัดกิจกรรมในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เนื่องจาก
เวลาไม่ลงตัว แต่ในขั้นเตรียมการ ได้มีการร่วมประชุมสัมมนาปรึกษาหารือกับแกนนำา มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่ที่พร้อมขับเคลื่อนกิจกรรมด้านลดอุบัติเหตุ ซึ่งจากการประชุมดังกล่าวทำาให้เกิดแกนนำาในการ
เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
11
“รวม พลขับคนเคลืวั ่อยม
นกิันจกรรม
ส์ ร่ว ประมาณ 10 คน
มสร ้า งสรร ค์ มและสมาชิ
.ปลอ ดภักชมรมทู
ย” บีนัมเบอร์วันมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่พร้อม
เข้าร่วมกิจกรรมอีก 50 คน

• กลุ่ มน ิสิ ตน ักศ ึกษ าห ัน มา ให ้ค วา มส นใจใ นประ เด ็น กา รล ดอ ุบ ัต ิเห ตุ (จากท ี่ไ ม่เ คย
สน ใจ )
จากกิจกรรมในโครงการที่มีการจุดประเด็นในเรื่องอุบัติเหตุบนท้องถนน ที่เมื่อก่อนเคยเป็นเรื่องไกล
ตัวของนิสิตนักศึกษา เพราะเห็นว่านานๆครั้งถึงจะมีการเกิดอุบัติเหตุ กลับกลายเป็นให้ความสนใจในเรื่อง
ดังกล่าว ซึ่งผู้เข้าร่วมโครงการจะผ่านกระบวนการทั้งการให้ข้อมูลสถานการณ์อุ บัติเหตุทั้งในระดับชาติ
ระดับจังหวัด และระดับพื้นที่ในมหาวิทยาลัยจากผู้ที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งผู้เข้าร่วมโครงการมีโอกาสสะท้อน
ปัญหาในพื้นที่มหาวิทยาลัยที่พบในชีวิตประจำาวัน ไม่ว่าจะเป็นจุดเสี่ยงหรือพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิด
อุบัติเหตุได้ ทำา ให้ผู้เข้ าร่ วมโครงการซึม ซับข้ อมู ล ด้านอุ บัติเ หตุ บนท้ องถนน เกิ ดจิต สำา นึก ในด้านความ
ปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนหนึ่งระดับหนึ่ง

• เกิด การประสานความร่ ว มมื อ ระหว่ า งมหาวิท ยาลั ย กับ กลุ ่ม นิส ิต นั ก ศึ ก ษาเพื ่อ ดำา เนิ น
การ เฝ ้า ระ วัง แล ะป้อ งกั นอ ุบ ัต ิเห ตุ บน ท้อง ถน น
นิสิตนักศึกษาในแต่ละสถาบันได้ทราบว่า ใครคือผู้รั บผิดชอบงานด้านการเฝ้ าระวัง และป้ องกัน
อุบัติเหตุบนท้องถนนและมหาวิทยาลัยมีนโยบายอย่างไร ซึ่งผู้เข้าร่วมโครงการหลังจากได้ทำาการสำารวจจุด
เสี่ยงพฤติกรรมที่อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ของมหาวิทยาลัย สามารถประสานงานกับหน่วยงานที่รับผิด
ชอบได้ ในขณะที่หน่วยงานของมหาวิทยาลัยเอง ก็สามารถประสานให้กลุ่มนิสิตนักศึกษาแกนนำาเครือข่าย
ลดอุบัติเหตุนี้เข้ามามีส่วนร่วมในการดำาเนินงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
- จุ ดเสี่ ยงใ นพ ื้ นที ่ม หา วิท ยา ลั ยที ่พ บ ได้แก่
• ทางแยก บริเวณสามแยกหรือสี่แยกตามจุดต่างๆภายในมหาวิทยาลัย เนื่องจากเป็นบริเวณทาง
แยกหรือจุดตัด บางคันไม่ลดความเร็ว บางคันไม่ทราบว่าจะเลี้ยวจังหวะไหน ซึ่งหลายแห่งไม่มี
สั ญ ญาณไฟจราจร ลู ก ระนาด วงเวี ย น หรื อ เจ้ า หน้ า ที่ อำา นวยความสะดวกเพื่ อ ให้ ร ถที่ ม าด้ ว ย
ความเร็ว ชะลอความเร็ว หรือจัดลำาดับการเลี้ยวหรือข้ามแยก (เรียกว่าสี่แยก/สามแยกวัดใจ) โดย
เฉพาะเส้นทางหลักของมหาวิทยาลัย แหล่งชุมชนที่ถนนมีคุณภาพดี กว้าง ปริมาณรถมาก
• ทางเชื่ อม/ซอย ถนนเส้นหลักของมหาวิทยาลัยที่มีถนนเส้นรองเชื่อมหรือมีตรอกหรือซอยเชื่อม
กับถนนเส้นนั้น ถนนหลายสายมีร้านค้า ต้นไม้บดบัง หรือไม่มีป้ายหรือสัญลักษณ์เตือนให้ระวัง ผู้ใช้
รถจึงมักไม่ทันระวังรถที่ออกมาจากถนนสายรองหรือออกจากซอย
• หลุ ม ถนนหลายสายเป็นหลุมทั้งหลุมขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ รถต้องคอยหลบหลุมซึ่งอาจก่อให้เกิด
การเฉี่ยวชนกันได้
เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
12
“รวม พล• คนวงเว
วั ยมียันนส์ หลายแห่
ร่ว มสรง้าเป็งสรร
นวงเวีค์ยนขนาดเล็ ก ไม่ย”ต่างจากการเอาเสาไปปักไว้กลางถนน ไม่สามารถ
ม .ปลอ ดภั
ทำาให้ผู้ขับขี่ชะลอความเร็วลงได้ และบางครั้งไม่ทราบว่าจะให้รถทางไหนไปก่อน
• ลูก ระน าด เป็นเครื่องมือเพื่อการแก้ไขปัญหา แต่บางจุดกลับเป็นตัวสร้างปัญหาเอง กล่าวคือ บาง
จุดไม่มีป้ายเตือน อาจทำาให้รถที่วิ่งมาด้วยความเร็วสูงเสียหลัก

- พฤต ิก รร มเสี่ ยงข อง นิสิ ตน ัก ศึกษ าที ่พ บ ได้แก่


• ดื ่ม เครื ่อ งดื่ มแอลกอฮอล์ แ ล้ว ขั บ ขี่ พาหนะ โดยเฉพาะนิสิตนักศึกษาชายที่มักจะจับกลุ่ม
สังสรรค์กันทั้งในช่วงเวลาปกติและช่วงเทศกาลหรือภายหลังสอบเสร็จ ซึ่งโดยรอบมหาวิทยาลัยมีทั้ง
สถานบันเทิง ร้านจำาหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จำานวนมาก
• ไม่ส วมหมวกนิ ร ภัย จากการสอบถามความเห็นพบว่า ที่นิสิตนักศึกษาไม่สวมใส่หมวกนิรภัย
สาเหตุมาจาก 1) ผมเสียทรง 2) ขับขี่ในระยะทางใกล้ๆ 3) รู้สึกเขินที่ตนเองใส่ในขณะที่คนส่วนใหญ่
ไม่สวม
• ซ ้อ นท ้ า ย เ ก ิน กว ่า ท ี่ ก ำา ห น ด บางคนตั้งใจจะช่วยชาติประหยัดนำ้า มัน จึงซ้อนท้ายหลายคน
ทำาให้การควบคุมรถไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร อาจเกิดการเฉี่ยวชนกับรถที่วิ่งตามมา
• โทรศั พ ท์ข ณะขับ ขี ่ เนื่องจากวัยรุ่นส่วนใหญ่มักจะมีเพื่อนหญิงเพื่อนชายที่เมื่อเลิกเรียนจะต้อง
โทรศัพท์ส่งความคิดถึงถึงกัน แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องปฏิบัติภารกิจส่วนตัว เช่น ซื้อของที่ตลาด
ซื้อกับข้าวทีป่ ากซอย เป็นต้น เพื่อเป็นการประหยัดเวลา จึงทำาหลายๆอย่างพร้อมกัน อีกทั้งชะล่าใจ
ว่าภายในมหาวิทยาลัยไม่มีรถขนาดใหญ่ หรือขับขี่ด้วยความเร็วตำ่า จึงไม่น่าจะเกิดอุบัติเหตุได้
บทสรุปจากโครงการนี้ พบว่า ในแต่ละมหาวิทยาลัยจะมีหน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดการด้าน
ความปลอดภัยบนท้องถนนอยู่แล้ว ผู้บริหารส่วนใหญ่ให้ความสำาคัญ ดังนั้น ปัญหาของมหาวิทยาลัยไม่
ได้ อ ยู่ ต รงที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ไม่ มี น โยบายในด้ า นนี้ แต่ อ ยู่ ที่ น โยบายที่ อ อกมาจากฝ่ า ยบริ ห ารหรื อ
มหาวิทยาลัยนั้น บางนโยบายถูกต่อต้านจากนิสิตนักศึกษา เช่น นโยบายการกวดขันจับปรับผู้ไม่สวม
หมวกนิรภั ย เป็นต้ น ทั้งที่โดยเนื้อ แท้ และเจตนาของนโยบายนี้เพื่อ มุ่ง คุ้ม ครองสวัสดิภาพของนิสิ ต
นักศึกษาเอง
นอกจากนี้ นิสิตนักศึกษาส่วนใหญ่ยังไม่ยินดียินร้ายกับนโยบายหรือมาตรการต่างๆ เพราะอาจมอง
ว่าเป็นเรื่องไกลตัว อีกทั้ง นโยบายหรือมาตรการต่างๆ อ้างอิงระบบราชการมากเกินไป จึงเป็นแบบ Top
– Down นั่นคือ การสั่งการจากผู้มีอำานาจ อาจจะยังขาดการมีส่วนร่วม หรือ การชี้ให้เห็นถึงความสำาคัญ
การมองทีจ่ ุดร่วมเดียวกัน จึงขาดกระบวนการการมีส่วนร่วมของการออกนโยบายหรือมาตรการต่างๆ
ดังนั้น กลุ่มแกนนำานิสิตนักศึกษาเครือข่ายลดอุบัติเหตุ อาจจะเป็นผู้ช่วยในการสร้างกระแสการรับรู้
สื่อสารประชาสัมพันธ์ สร้างการมีส่วนร่วม รวมทั้งนำาไปสู่การปลูกจิตสำา นึกด้านความปลอดภัย โดยที่
หน่วยงานผู้รับผิดชอบจะเป็นผู้รับข้อมูลต่างๆจากนิสิตนักศึกษาไปประมวลเป็นนโยบายหรือมาตรการ
ต่างๆ เกิดเป็นการทำางานแบบบูรณาการระหว่างมหาวิทยาลัยกับนิสิตนักศึกษา
เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
13
“รวม พล คน วั ยม ัน ส์ ร่ว มสร ้า งสรร ค์ ม .ปลอ ดภั ย”
• กลุ่ มนิส ิต นั ก ศ ึ ก ษ าเ กิด แ นวค ิด ว าง แผนการด ำา เ นิน ง า นด้า นการ เ ฝ ้า ระ วั ง แ ละ ป ้ อ ง ก ัน
อุบ ัติ เห ตุใ นร ะย ะย าว
- จากการที่ได้ดำาเนินจัดกิจกรรมโครงการนี้ นิสิตนักศึกษาส่วนใหญ่เห็นว่าเป็นกิจกรรมที่ดี มี
ประโยชน์ต่อคนส่วนร่วม น้อยคนนักจะให้ความสำาคัญในเรื่องเหล่านี้ นอกจากนี้ การทำากิจกรรมยังเป็นการ

พัฒนาศักยภาพของตนเอง และพัฒนาทักษะการทำางานเป็นทีม
- คณะทำางานและผู้เข้าร่วมโครงการเห็นตรงกันว่า โครงการนี้เป็นเพียงจุดเริ่มต้นที่จะนำาไปสู่
กระบวนการต่างๆอันก่อให้เกิดการปลูกจิตสำานึก กระตุ้นเตือน และสร้างกระแสให้เกิดขึ้นในสังคมในวงกว้าง
ดังนั้น จึงมีแนวคิดที่จะร่วมกันขับเคลื่อนงานด้านการเฝ้าระวังและป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนต่อไป
- แกนนำาเครือข่ายฯ จึงเห็นควรจัดให้มีเวทีสรุปบทเรียน แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการจัดกิจกรรม
รวมทัง้ วางแผนการดำาเนินงานร่วมกันในโอกาสต่อไป

ข้อ เสนอ เชิงนโย บายต่อผู้บริ หารมหาวิทยาลัย


 ให้ความสำาคัญกับด้านความปลอดภัยบนท้องถนนของนิสิตนักศึกษาและบุคลากรของมหาวิทยาลัย
เพื่อมุ่งสู่การเป็นสถาบันผู้นำาสังคมที่มีสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
 สนั บ สนุ น ให้ ห น่ วยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบด้ า นความปลอดภั ย บนท้ อ งถนนแก้ ไ ขปรั บ ปรุ ง จุ ด เสี่ ย งและ
พฤติกรรมเสี่ยงที่จะนำาไปสู่การเกิดอุบัติเหตุ
 สนับสนุนให้นิสิตนักศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในการดำาเนินงานด้านการเฝ้าระวังและป้องกันอุบัติเหตุ
บนท้องถนนอย่างต่อเนื่อง
 สนับสนุนให้มีการสร้างกระแสการรับรู้ ตระหนักในเรื่องอุบัติเหตุบนท้องถนน และปลูกจิตสำานึกด้าน
ความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน ผ่านนโยบาย มาตรการ หรือกิจกรรมของมหาวิทยาลัย
 สนับสนุนให้เกิดการมีส่วนร่วมของนิสิตนักศึกษาในการแสดงความคิดเห็น การแสดงออกในเชิง
สร้างสรรค์ในการกำาหนดมาตรการต่างๆเพื่อปลูกจิตสำานึกด้านความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน

รายชื่อแกนนำา เครือข่า ยลดอุบัติเหตุระ ดับอุดมศึกษา (ผลิ ตผลของโครงการ )


แก นนำาส่ วน กล าง (กร ุงเทพฯ แล ะปริ มณฑ ล)
ที่ ชื่ อ - นาม สกุ ล สถ าบ ัน กา รต ิด ต่ อ
1 นายพงษ์พันธุ์ ภูงามทอง รัฐศาสตร์ โทรศัพท์: 086-6554652
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรสาร: 02-2183244
อีเมล: blk04@hotmail.com
2 นายณัฐกานท์ เมฆตรง เทคโนโลยีสารสนเทศ โทรศัพท์: 084-0203374
วิทยาลัยนอร์ธกรุงเทพ อีเมล: lovemooh555@hotmail.com
เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
14
3 พล นางสาวกาญจนา
“รวม คน วั ยม ัน ส์ ร่ว บรรจง
มสร ้า งสรร ค์เศรษฐศาสตร์
ม .ปลอ ดภั ย” โทรศัพท์: 083-6750947
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีเมล: doraemon_aor_ja@hotmail.com
4 นางสาวณัฐกานต์ กองมณี วิทยาศาสตร์การกีฬา โทรศัพท์: 086-5863168
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีเมล: gals_aya_ray@hotmail.com

ที่ ชื่ อ - นาม สกุ ล สถ าบ ัน กา รต ิด ต่ อ


5 นางสาวดวงกมล ชัยเรือง วิทยาศาสตร์ โทรศัพท์: 085-8681953
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อีเมล: wannaka7729@hotmail.com
6 นายจิรวุฒิ อุทโท วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โทรศัพท์: 085-1353366
มรภ.บ้านสมเด็จเจ้าพระยา อีเมล: uttho@hotmail.com
7 นายอำานาจ ชุมฝาง รัฐศาสตร์ วิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี โทรศัพท์: 086-1370407
9 นายฐาปกรณ์ ลอยแก้ว วิ ท ยาการจั ด การ (นิ เ ทศศาสตร์ ) โทรศัพท์: 086-7810056
มรภ.สวนสุนันทา อีเมล: kitoza_art@hotmail.com
10 นายอภิมุข เชิญอักษร นิติศาสตร์ โทรศัพท์: 086-9181667
มหาวิทยาลัยรามคำาแหง อีเมล: lawer_justice@hotmail.com
11 นายไกรสร ธรรมรักษา บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศรีปทุม โทรศัพท์: 086-1923350
อีเมล: max_za55@hotmail.com
12 นายสุจินดา เมธิอิทธิกุลไพศาล เทคโนโลยีสารสนเทศ โทรศัพท์: 085-9255808
วิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี อีเมล: kot_game@hotmail.com
13 นายธนา สมทวีกาญจนพร ครุศาสตร์ มรภ.สวนสุนันทา โทรศัพท์: 084-0839481
อีเมล: domon51131@hotmail.com
14 นายพัชรพล ครองยุทธ Software Engineering โทรศัพท์: 086-7245755
Australian International U. อีเมล: unperfective@hotmail.com
15 นางสาวนภารัตน์ พันสวะนัด วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย โทรศัพท์: 087-8139308
เกษตรศาสตร์ อีเมล: woonsenz@hotmail.com
16 นายอภิชาต เขียวสวาท สัตวแพทยศาสตร์ โทรศัพท์: 085-8422695
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีเมล: boy_vet_68@hotmail.com
17 นางสาวกฤติกา มหาวงศ์ มนุ ษ ยศาสตร์ แ ละสั ง คมศาสตร์ โทรศัพท์: 089-5021463
มรภ.สวนสุนันทา อีเมล: ailery_lamour@hotmail.com
18 นายสายสิทธิ์ ขุนศรี รัฐศาสตร์ โทรศัพท์: 089-1628269
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีเมล: spiderman_ae@hotmail.com
เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
15
“รวม พล คน วั ยม ัน ส์ ร่ว มสร ้า งสรร ค์ ม .ปลอ ดภั ย”

แก นนำาม หา วิทย าล ัย ขอ นแก ่น


ที่ ชื่ อ - นาม สกุ ล คณ ะ/สาข าว ิช า หมา ยเ ลขโท รศั พท์
1 นายวันเฉลิม บุษยานุรักษ์ รัฐประศาสนศาสตร์ #2 0857568174
2 นายเอกพล งามวิทยานนท์ รัฐประศาสนศาสตร์ #2 0842037011
3 นางสาววัลภา ไพรบึง รัฐประศาสนศาสตร์ #1 0896244870
4 นางสาวชไมพร จ่างจันทรา รัฐประศาสนศาสตร์ #3 0840369390
5 นายชนะวุธ อุทโท รัฐประศาสนศาสตร์ #2 0849316396
6 นายอธิพงษ์ คงจา รัฐประศาสนศาสตร์ #2 0895721151
7 นายต่อศักดิ์ แสนนาม รัฐประศาสนศาสตร์ #2 -
8 นางสาวจิราภรณ์ เฉิดวาสนา รัฐประศาสนศาสตร์ #2 0872355890
9 นางสาวนฤมล สุไชยสงค์ รัฐประศาสนศาสตร์ #2 0847967030
10 นางสาวอรอนงค์ แก้วภักดี รัฐประศาสนศาสตร์ #2 0816001787
11 นายภานุพงษ์ ทองสา รัฐประศาสนศาสตร์ #2 0862591960
12 นางสาวสมใจ ตีรพิพิธ รัฐประศาสนศาสตร์ #2 0833566319
13 นางสาวกัลยาลักษ์ ปัทธรรมวงค์ รัฐประศาสนศาสตร์ #1 0879598059
14 นางสาวสุดารัตน์ นาใจทน รัฐประศาสนศาสตร์ #1 0879452173
15 นางสาวนิตยา รินจันทร์ รัฐประศาสนศาสตร์ #1 0892854682
16 นายณัฐชัย โนนเขวา รัฐประศาสนศาสตร์ #1 0868527436
17 นางสาวอารญา จันทร์เทพ รัฐประศาสนศาสตร์ #1 0850046018
18 นางสาววัลลภา จันทวัน รัฐประศาสนศาสตร์ #1 0878539816
19 นางสาวมลฤดี สิทธิไพร รัฐประศาสนศาสตร์ #1 0832880711
20 นางสาวนริทร โฮมชัยยา รัฐประศาสนศาสตร์ #1 0846850755
21 นางสาวสุปราณี ฤทธิ์รุ่ง มนุษยศาสตร์ #2 0844204476
22 นางสาวตติยา ข่าขันมะลี เศรษฐศาสตร์ #1 0898417703
23 นางสาวกฤษณา กาทอง สาธารณสุขศาสตร์ #1 0854182504
24 นายสุตพงษ์ ศรีดาฮด ศิลปกรรมศาสตร์ #1 0837924064
25 นางสาวกรรณิการ์ เสนานุช รัฐประศาสนศาสตร์ #1 0834596271
เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
16
26 พล นางสาวประภาศิ
“รวม คน วั ยม ัน ส์ ร่วริ เจริ
มสรญ้าสุขงสรร ค์ ม .ปลอ ดภัรัฐประศาสนศาสตร์
ย” #1 0816012244
27 นายสุรศักดิ์ กุลเสนชัย เกษตรศาสตร์ #1 0831412124
28 นายสิทธิศักดิ์ จันทร์เฮียง เกษตรศาสตร์ #1 0832916783
29 นายไมตรี วิเชียรศรี เกษตรศาสตร์ #1 0843299946
30 นายเทพนรินทร์ ศรีแนน เกษตรศาสตร์ #1 0831436510

ที่ ชื่ อ - นาม สกุ ล คณ ะ/สาข าว ิช า หมา ยเ ลขโท รศั พท์


31 นายยงยุทธ โสภณ สาธารณสุขศาสตร์ #1 0836728544
32 นางสาวโสภิต สียา สาธารณสุขศาสตร์ #1 0857679526
33 นางสาวสุพัตรา เจริญชาติ พยาบาลศาสตร์ #1 -
34 นางสาวอัญญารัตน์ พลขำา พยาบาลศาสตร์ #1 0857502175
35 นางสาวสุวรรณา ผดุงศรี เกษตรศาสตร์ #1 0846860975
36 นางสาวสุพัตรา ข้ามมา เกษตรศาสตร์ #1 0877709344
37 นางสาวประกายดาว คันทะนาถ สาธารณสุขศาสตร์ #1 0870926774
38 นางสาวสุทธิวรรณ หวังสุดดี สาธารณสุขศาสตร์ #1 0842023609
39 นางสาวอภิญญา โพธิสาจันทร์ รัฐประศาสนศาสตร์ #3 0817697216
40 นางสาวนิลวรรณ นภาโชคชัย สาธารณสุขศาสตร์ #1 0852058388
41 นายปิตุภูมิ ภูครองจิตร สาธารณสุขศาสตร์ #1 0862251266
42 นายรณชัย พรมชาติ รัฐประศาสนศาสตร์ #1 0847664744
43 นายศิริวุฒิ บุตรศรี สาธารณสุขศาสตร์ #1 0852310018
44 นายอภิวัฒน์ โนจรัส รัฐประศาสนศาสตร์ #2 0848239544
45 นายชานนท์ ผาจินดา รัฐประศาสนศาสตร์ #2 0868599943
46 นายกิตติพร แก้วกว้าง รัฐประศาสนศาสตร์ #2 0831093747
47 นางสาวทิพย์มาลี เจริญรส รัฐประศาสนศาสตร์ #2 0866316609
48 นายณัฐพงษ์ น้อยโนสา รัฐประศาสนศาสตร์ #2 0850006092
49 นายพรชัย ใจแก้ว รัฐประศาสนศาสตร์ #2 -
50 นายเจษฎา จางจันทร์ รัฐประศาสนศาสตร์ #3 0810548782
51 นายณรงค์ กอแก้ว สาธารณสุขศาสตร์ #1 0833624360
52 นายฐากูร แจ่มวิจิตร รัฐประศาสนศาสตร์ #2 0868558304
53 นายอัครภพ จุมบุรมย์ รัฐประศาสนศาสตร์ #2 0850089812
54 นางสาวอรรัมภา ศรีพอ รัฐประศาสนศาสตร์ #2 0872280319
55 นายธันย์วรัชญ์ อภิรักษ์สัตยา รัฐประศาสนศาสตร์ #1 -
56 นายปรีชา ชูพงษ์ รัฐประศาสนศาสตร์ #3 -
เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
17
57 พล นายสุ
“รวม คน วั รยม
ัตน์ันใจคุ
ส์ ้มร่วเข่มสร
า ้า งสรร ค์ ม .ปลอ ดภั ย”
เศรษฐศาสตร์ #1 -
58 นายทศพล แก้วยล รัฐประศาสนศาสตร์ #1 -

แก นนำาม หา วิทย าล ัย มห าส าร คา ม
ที่ ชื่ อ - นาม สกุ ล คณ ะ/สาข าว ิช า หมา ยเ ลขโท รศั พท์
1 นายจตุพงค์ กุลภา แพทยศาสตร์ 0878679539
2 นายสถาพร มิอามาตร การบัญชีและการจัดการ 0894194966
3 นางสาวบลวิภา ทองหนุน การท่องเที่ยวและการโรงแรม 0868530806
4 นางสาวณัฐกานต์ จันทรศิลป์ ศึกษาศาสตร์ 0860075767
5 นางสาวสาวิตรี ฤทธิ์รุ่ง การท่องเที่ยวและการโรงแรม 0867162216
6 นางสาวอัจจิตา แทนนำา ศึกษาศาสตร์ -
7 นายอกนิษฐ์ ปะติเพนัง ศึกษาศาสตร์ -
8 นายยศศักดิ์ จีรพัฒนพงศ์ ศึกษาศาสตร์ -
9 นางสาวชลธิชา คลังสังนรา ศึกษาศาสตร์ -
10 นางสาวรสสุคนธ์ ทีเหล็ก การบัญชีและการจัดการ 0878667411
11 นางสาวตะวันฉาย ไพรพฤกษ์ การบัญชีและการจัดการ 0846019013
12 นายสุรสิทธิ์ ลอย การบัญชีและการจัดการ 0815468676
13 นายอังคาร ศรีดาคำา การบัญชีและการจัดการ -
14 นางสาวยุภาพร สายจันทร์ การท่องเที่ยวและการโรงแรม -
15 นายทวีพงษ์ ปะโจทานัง การท่องเที่ยวและการโรงแรม -
16 นางสาวจันทร์สุดา ศิลาลัย ศึกษาศาสตร์ 0857493836
17 นางสาววนิดา กล่อมจันทร์ ศึกษาศาสตร์ -
18 นางสาวสุธารัตน์ พินธะ ศึกษาศาสตร์ 0836762253
19 นางสาวพรพรรณ กลุ้มศีล การบัญชีและการจัดการ -
20 นางสาวพัชรี พวงเกาะ การบัญชีและการจัดการ 0853064458
21 นางสาวขนิษฐา แก้วละมุล การบัญชีและการจัดการ 0860577069
22 นางสาวเกศกานดา งาเกาะ การบัญชีและการจัดการ -
23 นางสาวพิมพ์จันทร์ เนตรแก้ว การท่องเที่ยวและการโรงแรม -
24 นายทรงธรรม อภามร ศึกษาศาสตร์ -
25 นางสาวรัชนีกรณ์ ดอนโคตร การบัญชีและการจัดการ 0897197295
เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
18
26 พล นางสาวธารทิ
“รวม คน วั ยม ัน ส์พร่ย์ว สัมสร
งฆะพั้า นงสรร
ธ์ ค์ ม .ปลอการท่
ดภั อย”งเที่ยวและการโรงแรม -

ที่ ชื่ อ - นาม สกุ ล คณ ะ/สาข าว ิช า หมา ยเ ลขโท รศั พท์


27 นางสาวนิภาวรรณ รูปดี เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 0872385813
28 นางสาวนฤมล บุปผามาลา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา 0868950795
29 นางสาวเอมอร ไชยรา ศึกษาศาสตร์ 0878604200
30 นางสาวชาลินี ภูพันนา ศึกษาศาสตร์ 0867790535
31 นางสาวรัศมี แก้วพรม ศึกษาศาสตร์ -
32 นายพิทักษ์ชัย คำาพะทา ศึกษาศาสตร์ -
33 นางสาวปิยนุช คิดโสภา การบัญชีและการจัดการ 0849551802
34 นางสาวปิยะธิดา ทุมปัดชา ศึกษาศาสตร์ -
35 นายปฐมพงศ์ สีอุ่น ศึกษาศาสตร์ 0872137772
36 นางสาวจันทร์สุดา ศิลาสัย ศึกษาศาสตร์ 0857493836
37 นายอิศเรศ ยิ่งเลิศ การท่องเที่ยวและการโรงแรม 0866404498
38 นางสาวชฎารัตน์ อัปมะเย การท่องเที่ยวและการโรงแรม 0849301969
39 นางสาวสุนิสา อ่อนหา การท่องเที่ยวและการโรงแรม 0860975967
40 นายนริศร เชื้ออัจ การท่องเที่ยวและการโรงแรม -
41 นางสาวนำ้าหวาน ภูแซมโชติ การท่องเที่ยวและการโรงแรม 0848972587

แก นนำาม หา วิทย าล ัย ราช ภัฏ มห าส าร คา ม


ที่ ชื่ อ - นาม สกุ ล คณ ะ/สาข าว ิช า หมา ยเ ลขโท รศั พท์
1 นายสดใส ธรรมรัตน์ รัฐประศาสนศาสตร์ 0879534054
2 นายธันยวัตร แก้วสุข รัฐประศาสนศาสตร์ 0858547696
3 นายโชคชัย ภูหวล รัฐประศาสนศาสตร์ 0879506590
4 นางสาวจีรพรรณ สงสี รัฐประศาสนศาสตร์ 0801923625
5 นางสาวภิไลวรรณ อรรคชัย รัฐประศาสนศาสตร์ -
6 นางสาวแก้วใจ ไชยปัญหา รัฐประศาสนศาสตร์ 0843420018
7 นายอำาพล เสถียรอุดร รัฐประศาสนศาสตร์ 0879480956
เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
19
8 พล นายสมหมาย
“รวม คน วั ยม ัน ส์ พัร่นว ชมภู
มสร ้า งสรร ค์ ม .ปลอ ดภัรัย”
ฐประศาสนศาสตร์ -
9 นายพงศ์ศิริ พลตื้อ รัฐประศาสนศาสตร์ -
10 นายวิริยะ ภูแลศรี รัฐประศาสนศาสตร์ 0861462975
11 นายสรายุทธ สังฆะมณี รัฐประศาสนศาสตร์ 0846031548

ที่ ชื่ อ - นาม สกุ ล คณ ะ/สาข าว ิช า หมา ยเ ลขโท รศั พท์


12 นางสาวปวีณา สว่างวงษ์ รัฐประศาสนศาสตร์ 0846831370
13 นายชัยวัฒน์ ปุนนะรา รัฐประศาสนศาสตร์ -
14 นายธีรวัฒน์ พลกุล รัฐประศาสนศาสตร์ -
15 นางสาวนาฎนภา นาตมทยา รัฐประศาสนศาสตร์ -
16 นายวีระยุทธ กำาจร รัฐประศาสนศาสตร์ -
17 นายนราธิป บุตรราช รัฐประศาสนศาสตร์ 0845102902
18 นายวิทยา ทองยศ รัฐประศาสนศาสตร์ 0844208359
19 นายสุชล รักษาภักดี รัฐประศาสนศาสตร์ -
20 นายพิจิตชัย ทองจรัส รัฐประศาสนศาสตร์ 0843912436
21 นายพงษ์ภทั ร คำาภูเวียง รัฐประศาสนศาสตร์ 0842621870
22 นางสาวจำาปา ภวภูตานนท์ รัฐประศาสนศาสตร์ 0856435117
23 นางสาวทัศนีย์ จำาปาทอง รัฐประศาสนศาสตร์ 0842621870
24 นางสาวขวัญฤดี ศรีไสย์ รัฐประศาสนศาสตร์ -
25 นางสาวพราวภะงา สุนาอาจ รัฐประศาสนศาสตร์ -
26 นายประยุทธ ประคองใจ รัฐประศาสนศาสตร์ -
27 นายยุทธนา ลาเลิศ รัฐประศาสนศาสตร์ -
28 นางสาวอัจฉราภรณ์ คำาสนุก รัฐประศาสนศาสตร์ -
29 นายเลิศวิชา ชูศรีวาสน์ รัฐประศาสนศาสตร์ 0846758042
30 นายจีระนันท์ ช่อประพันธ์ รัฐประศาสนศาสตร์ 0896109751
31 นางสาวชาวดี อันลูกท้าว รัฐประศาสนศาสตร์ -
32 นางสาววราภรณ์ พรหมโสฬส รัฐประศาสนศาสตร์ -
33 นายจตุรวิทย์ หอมกลิ่น รัฐประศาสนศาสตร์ 0867168690
34 นางสาวจิตติมา จันทะราช รัฐประศาสนศาสตร์ -
35 นายสุรชัย ทองขันธ์ รัฐประศาสนศาสตร์ 0876488249
36 นายศักดิ์นริน สนไทสง รัฐประศาสนศาสตร์ -
37 นายวัลลพ โพธิ์ยัง รัฐประศาสนศาสตร์ 0877704835
เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
20
38 พล นายณรงค์
“รวม คน วั ยม ันศักส์ดิร่์ แดนเจริ
ว มสร ้าญงสรร ค์ ม .ปลอ ดภัรัย”
ฐประศาสนศาสตร์ 0899863184
39 นายพิสทิ ธิ์ศักดิ์ ทิมบุญ รัฐประศาสนศาสตร์ 0831497123
40 นางสาวยุวธิดา จำาปารัตน์ รัฐประศาสนศาสตร์ 0899863184
41 นางสาวพิสมัย ถีรบุตร รัฐประศาสนศาสตร์ 0845186752

ที่ ชื่ อ - นาม สกุ ล คณ ะ/สาข าว ิช า หมา ยเ ลขโท รศั พท์


42 นางสาวจิราพร วนสันเทียะ รัฐประศาสนศาสตร์ 0878561715
43 นางสาวสุนิสา อาชนะชัย รัฐประศาสนศาสตร์ -
44 นางสาววรรณนภา อิ่มมนตรี รัฐประศาสนศาสตร์ 0831488208
45 นางสาวอำานวยพร ศิริมณี รัฐประศาสนศาสตร์ 0834048178

แกนนำาม หาวิทยาลัยเชี ยงใหม่


ที่ ชื่ อ - นาม สกุ ล คณ ะ/สาข าว ิช า หมา ยเ ลขโท รศั พท์
1 นายอภิวัฒน์ เทพวงศ์ บริหารธุรกิจ 0816738071
2 นายวรุฒ สุทราวงศ์ ศึกษาศาสตร์ 0895609169
3 นายศักดิ์ณรงค์ วงศ์ไทย ศึกษาศาสตร์ 0846169636
4 นางสาวอักษราภัค เพ็งจันทร์ ศึกษาศาสตร์ 0817401532
5 นางสาวขจีวรรณ นวลบุญเรือง ศึกษาศาสตร์ 0810309736
6 นางสาววิรัญญา อภิชนาธง วิศวกรรมศาสตร์ 0858662974
7 นางสาวภัทราจิตร พรอร่าม วิศวกรรมศาสตร์ 0840423696
8 นายภาณุพงศ์ จันทร์ดวง วิทยาศาสตร์ 0891662485
9 นายเจษฎา ทองพูล ศึกษาศาสตร์ 0858700809
10 นายอนุวัฒน์ วงศ์สถาน วิศวกรรมศาสตร์ 0841778674

การ ประเมินผล
ในการดำา เนินงานโครงการครั้งนี้ คณะทำา งานได้ใช้กระบวนการสังเกตพฤติกรรมของผู้เข้ าร่วมโครงการ
แบบสอบถาม และได้รับการติดตามและประเมินผลจากเจ้าหน้าที่สำานักงานเครือข่ายลดอุบัติเหตุ ซึ่งสามารถสรุปผล
การประเมินได้ดังนี้
 เป็ นโค รงก ารท ี่ด ี ม ีประโ ยช น์
โครงการนี้นอกจากจะเปิดโอกาสให้เยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แล้ว ยังช่วยพัฒนาศักยภาพการ
ทำางานเป็นทีมให้กับกลุ่มเยาวชน และยังช่วยให้กลุ่มเยาวชนหันมาใส่ใจในเรื่องการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน
มากขึ้น เกิดจิตสำานึกด้านความปลอดภัย และยังขยายแนวคิดนี้ไปยังเพื่อนเยาวชนอื่นๆได้อีกด้วย
เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
21
 มีพล
“รวม ทุน คน
เด ิมวั ยม
ต่อันยอ
ส์ ดค
ร่ว วาม
มสร คิ้า งสรร
ด ค์ ม .ปลอ ดภั ย”
เครือข่ายผู้นำาเยาวชนสำานึกรักษ์แผ่นดินทอง เป็นกลุ่มเยาวชนที่รวมตัวกันมารุ่นต่อรุ่น รวมระยะเวลากว่า 6
ปี ผ่านการดำา เนินงานจัดกิจกรรมด้านต่างๆ เช่น การอบรมพัฒนาศักยภาพภาวะความเป็นผู้นำา ในกลุ่ม
เยาวชนในระดับมัธยมศึกษา การจัดกิจกรรมเพื่อปลุกกระแสให้เกิดการตื่นตัวในหมู่เยาวชนด้านการเฝ้า

ระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด การจัดกิจกรรมด้านแนะแนวการศึกษา และกิจกรรมพัฒนาสังคม


ด้านอื่นๆ ซึ่งปัจจุบันมีแกนนำาทั้งในระดับอุดมศึกษาและมัธยมศึกษา กว่า 200 คน และสมาชิกเครือข่ายฯ
ประมาณ 4,000 – 5,000 คน ในสถานศึกษาทั่วประเทศ ที่หมุนเวียนผลัดเปลี่ยนกันมาร่วมจัดกิจกรรมตาม
โอกาสและความสะดวกด้วยจิตอาสา ดังนั้น การที่เครือข่ายผู้นำา เยาวชนสำา นึกรักษ์แผ่นดินทองให้ความ
สนใจดำาเนินงานด้านลดอุบัติเหตุ จึงถือว่าเป็นการนำาสิ่งที่เป็นทุนเดิม ไม่ว่าจะเป็นประสบการณ์ ศักยภาพ
พลังเยาวชน มาใช้ต่อยอดเกิดประโยชน์ต่อสังคม
 ประส บก าร ณ์ ยัง ไม ่ม าก แต ่สา มา รถ พั ฒนา ได ้
แม้ว่ากลุ่มเยาวชนเครือข่ายผู้นำาเยาวชนสำานึกรักษ์แผ่นดินทองเพิ่งจะเคยดำาเนินงานโครงการด้านการลด
อุบัติเหตุโครงการนี้เป็นโครงการแรก อาจจะยังมองภาพงานโดยรวมได้ไม่ครอบคลุ ม ติดขัดบ้างในบาง
กิจกรรม แต่โดยรวมถือว่าอยู่ในเกณฑ์ดี สามารถพัฒนาศักยภาพทางด้านการบริหารแผนงานโครงการด้าน
การลดอุบัติเหตุได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับองค์กรพี่เลี้ยง (สคอ.) ว่าจะพัฒนาในด้านใดที่เห็นว่ากลุ่มเยาวชนยังขาดอยู่
ควบคู่กับการนำาจุดแข็งของกลุ่มเยาวชนมาผลักดันให้เกิดประโยชน์ในการดำาเนินงานด้านลดอุบัติเหตุ

ปัญหาและอุปสรรค
 กระ บว นป ระสา นค วาม ร่ วม มื อก ับ มห าวิท ยา ลั ยย ัง น้ อย เก ิน ไป
ในขั้นตอนกระบวนการเตรียมงาน คณะทำางานได้ประสานงานไปยังมหาวิทยาลัยพื้นที่ดำาเนินการ ซึ่ง
เป็นลักษณะการแจ้งเรื่องเพื่อขออนุมัติดำาเนินการ โดยที่มิได้มีกระบวนการ Review ดูในภาพรวมการ
ดำาเนินงานด้านลดอุบัติเหตุในพื้นที่ดำาเนินการ ว่ามีใคร ทำาอะไร เกิดอะไรขึ้นแล้วบ้าง ซึ่งอาจจะก่อให้
เกิ ด ความซำ้า ซ้ อ นกั บ สิ่ ง ที่ ม หาวิ ท ยาลั ย ดำา เนิ น การอยู่ แ ล้ ว อย่ า งไรก็ ต าม คณะทำา งานได้ รั บ ความ
อนุเคราะห์จากหน่วยงานที่รับผิดชอบในด้านการลดอุบัติเหตุของมหาวิทยาลัย เชิญเข้าร่วมประชุมชี้แจง
โครงการ พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะ คำาแนะนำาเพื่อเป็นการต่อยอดจากสิ่งที่มหาวิทยาลัยดำาเนินการอยู่
แล้ว ซึ่งคณะทำางานจะต้องปรับเปลี่ยนวัตถุประสงค์บางกิจกรรมไปในอีกขั้นหนึ่ง จึงทำาให้เกิดความไม่
พร้อมในกิจกรรมนั้น ผลลัพธ์ที่ได้จึงยังไม่บรรลุวัตถุประสงค์เท่าที่ควร
 การ เต รีย มง าน ยั งไ ม่ ดี พอ
ในด้านการบริหารโครงการถือว่าดำาเนินการได้ในระดับปานกลาง ยังพบข้อบกพร่องอยู่บ้าง เช่น การเตรี
ยมงานล่าช้ากว่ากำาหนด เนื่องจากติดปัญหาด้านการสอบ การประสานงานกับองค์กรหรือหน่วยงานอื่น
หรื อ แม้ ก ระทั่ ง หน่ ว ยงานในมหาวิ ท ยาลั ย ยั ง ไม่ ดี พ อ เนื่ อ งจากไม่ ท ราบระบบการบริ ห ารภายใน
มหาวิทยาลัย เกิดความล่าช้า กระชั้นชิด และเกิดความไม่เข้าใจกันระหว่างคณะทำางานโครงการกับเจ้า
เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
22
“รวม พลหน้คนาทีวั่หยม
น่วันยงานที
ส์ ร่ว่เกีมสร
่ยวข้้าองงสรร
นอกจากนี ้ ในขั้นดภัตอนการทำ
ค์ ม .ปลอ ย” าความเข้าใจกับคณะทำางานโครงการยังไม่
สามารถทำาให้คณะทำางานทุกคนเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเองได้อย่างชัดเจน ส่งผลให้การดำาเนินงาน
ในขั้นตอนการจัดกิจกรรมสะดุด ฉุกละหุกบ้าง แต่ก็สามารถผ่านไปได้

 ไม่ส าม าร ถค วบ คุ มเ นื้ อห าก ิจก รร มใ ห้ อย ู่ใ นก รอ บไ ด้


เป็นผลสืบเนื่องมาจากการเตรียมงานยังไม่ดีพอ ขาดความรัดกุม ทำาให้กระบวนการดำาเนินกิจกรรมบาง
ช่วงไม่สามารถควบคุมเนื้อหาให้อยู่ในกรอบได้ เช่น การเสวนา ที่ไม่เป็นไปตามความต้องการของ
โครงการ กล่าวคือ ต้องการหาข้อสรุปร่วมกัน แต่การเสวนากลับกลายเป็นการนำาเสนอผลงาน เป็นต้น
ทั้งนี้เนื่องจากคณะทำางานไม่ได้ชี้แจงถึงจุดประสงค์ของการเสวนา ขอบเขต รูปแบบ และผลลัพธ์ที่ได้
จากการเสวนาให้ผู้เข้าร่วมเสวนาทราบ หรือกิจกรรมระดมความคิดของเยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการ ทีย่ ัง
ขาดการชี้แจงและทำาความเข้าใจอย่างชัดเจนแก่คณะทำางานอย่างเพียงพอ คณะทำางานประจำากลุ่มบาง
กลุ่มจึงไม่อาจที่จะอธิบายหรือชี้แจงให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการที่ซักถามได้ เป็นผลให้ข้อมูลหรือผลการ
ระดมความคิดยังไม่ถึงขั้นทีโ่ ครงการต้องการ
 การ ขา ดป ระส บก าร ณ์ข องค ณะทำา งา น
การบริหารโครงการจำาเป็นต้องใช้ทักษะหลายๆด้านเพื่อให้โครงการสำาเร็จลุล่วงบรรลุเป้าหมาย ดังนั้น
ผู้นำาหรือแกนนำาของโครงการจะต้องมีทักษะทางด้านการบริหารพอสมควร มีภาวะผู้นำา เรียนรู้ที่จะแก้
ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี แต่เนื่องจากคณะทำางานทีเ่ ป็นแกนนำายังขาดประสบการณ์ ประกอบกับอยู่ในช่วง
ใกล้สอบ จึงเกิดปัญหาเรื่องการแบ่งเวลา ทำาให้ส่งผลกระทบเป็นทอดๆ จากแกนนำา สู่คณะทำา งานคน
อื่นๆ สูก่ ารเตรียมงานที่ไม่พร้อม ผลที่ออกมาจึงต้องอาศัยการแก้ปญ ั หาเฉพาะหน้าอย่างมาก ยิ่งแกนนำา
ขาดประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าด้วยแล้ว อาจจะทำาให้กระบวนการไม่บรรลุเป้าหมายที่
ตั้งไว้
 ไม่ส าม าร ถด ำา เน ิน งา นไ ด้ ตา มก รอ บเว ลา ที่ กำา หนด
เนื่องจากทั้งคณะทำางานและกลุ่มเป้าหมายเป็นนิสิตนักศึกษาที่มักจะมีกิจกรรมต่างๆ เกิดขึ้นมาก และมี
ภาระทางด้านการเรียน การสอบ บางช่วงเวลาที่กำาหนดไว้ในโครงการจึงตรงกับกิจกรรมหลักของกลุ่ม
เป้าหมาย หรือตรงกับช่วงเวลาการสอบ ทำาให้การจัดสรรเวลาไม่ลงตัว จึงจำาเป็นต้องเลื่อนบางกิจกรรม
ออกไปเป็นช่วงเวลาอื่น หรือถ้าไม่สามารถเลื่อนได้ ก็จำาเป็นต้องยกเลิกบางกิจกรรมไปเลย

ข้อ เสนอ แนะ


 ประส าน คว ามร ่ว มม ือ กั บทุ กห น่ วย งา นท ี่เ กี่ ยว ข้ อง ก่ อนเ ริ ่ม ดำา เน ิน งา นโ ครง กา ร
ก่อนเริ่มกระบวนการดำาเนินงาน จำาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการสำารวจดูว่าพื้นที่ดำาเนินการมีอะไรเกิดขึ้น
แล้ วบ้าง ใครหรือ หน่วยงานใดรั บผิด ชอบดำา เนิ นการ เพื่อ เป็ นการต่ อ ยอดกั บสิ่ ง ที่ มี อ ยู่แล้ ว และไม่

เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
23
“รวม พลเป็คน
นการดำ
วั ยมาเนิ
ัน ส์นการซำ ้าซ้อนให้
ร่ว มสร สิ้นเปลื
้า งสรร ค์ มองงบประมาณ
.ปลอ ดภั ย” อีกทั้งยังเป็นการเชื่อมความร่วมมือกับหน่วยงาน
ที่รับผิดชอบอยู่แล้ว เกิดเป็นการบูรณาการการทำางานเป็นเครือข่ายอย่างแท้จริง
 เต รี ยม กา รต ั้ง แต ่เน ิ่ นๆ ว าง แผ นดี ๆ
การวางแผนดีมีชัยไปกว่าครึ่ง ยังถือว่าใช้ได้ เพราะหากมีการวางแผนดีแล้ว ถือว่าสำาเร็จไปเกินครึ่ง ที่
เหลือเพียงแค่ต้องดำาเนินงานให้ได้ตามแผนที่วางไว้ นอกจากนี้ การวางแผนจะต้องคิดให้รอบด้าน ทัง้ ใน

เรื่องเนื้อหาสาระของกิจกรรม ผู้ที่เกี่ยวข้อง ปัจจัยอื่นๆที่จะสนับสนุนให้กิจกรรมดำาเนินไปได้ด้วยดี โดย


เฉพาะเรื่องเวลา จะต้องมีช่วงเวลาเตรียมงานพอสมควร ไม่กระชั้นชิดเกินไป อนึ่ง หากผู้รับผิดชอบ
โครงการไม่ มั่ น ใจว่ า การวางแผนของตนเองรั ด กุ ม เพี ย งพอหรื อ ไม่ ควรที่ จ ะต้ อ งมี ที่ ป รึ ก ษาที่ มี
ประสบการณ์ให้คำาแนะนำา จะช่วยให้การดำาเนินงานเกิดความผิดพลาดน้อยที่สุด
 ทำาค วา มเ ข้ าใจใ นเน ื้ อห าก ิจก รร มก ับ ผู ้ที่เ กี ่ย วข ้อง ให ้ช ัดเจ น
การที่มีบุคคลภายนอกเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องด้วย จำาเป็นที่จะต้องชี้แจงทำาความเข้าใจในวัตถุประสงค์
ของโครงการ บทบาทหน้าที่ของบุคคลนั้นๆให้ชัดเจน และควรแจ้งล่วงหน้าพอสมควรแก่การเตรียมตัว
เพื่อประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรม และป้องกันการออกนอกประเด็นของเนื้อหากิจกรรม ซึ่งจะส่งผล
ต่อการไม่บรรลุเป้าหมายในกิจกรรมนั้นๆ
 พัฒ นา ศั กย ภา พท ักษะ ด้ าน ต่ าง ๆข อง คณะท ำาง าน ก่ อน เร ิ่ มด ำา เน ิน งา น
ก่อนเริ่มออกเดินทาง ต้องมีการตรวจสภาพรถ ตรวจสภาพคนขับ เช็คเส้นทาง จัดเตรียมอุปกรณ์ที่
เกี่ยวข้อง เช่นเดียวกัน การดำาเนินงานที่ดี ควรจะต้องมีการเตรียมความพร้อมทั้งด้านเนื้อหาสาระ และ
กำาลังคน ซึ่งกำาลังคนหรือทีมงานเป็นส่วนที่สำาคัญที่จะทำาให้การจัดกิจกรรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
หรือไม่ ถ้าคนไม่พร้อม กิจกรรมก็ไม่สามารถดำาเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ อาจจะไม่บรรลุเป้าหมาย
หรือเกิดอุปสรรค ปัญหาขึ้นตลอดกิจกรรม ดังนั้น เพื่อให้ทีมงานทุกคนเกิดความพร้อม ควรมีการตรวจ
เช็คศักยภาพ ความพร้อมของทีมงานทุกคน หากยังขาดตรงจุดไหน ควรต้องมีการพัฒนาศักยภาพเพิ่ม
เติมให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 กำาห นดก รอ บเว ลา ไม ่สั้ นเ กิ นไป ให้ส าม าร ถย ืด หยุ ่น ได ้
เนื่องจากคณะทำางานยังเป็นนิสิตนักศึกษาที่มีภาระหน้าที่หลักนั่นคือการศึกษาเล่าเรียน การดำาเนินงาน
จัดกิจกรรมระหว่างเรียน เป็นเสมือนเวทีฝึกประสบการณ์ อย่างไรก็ต าม หากมีเ หตุจำา เป็นที่จะต้อง
ดำาเนินการเกี่ยวข้องกับการเรียน จะต้องมาเป็นอันดับแรก ดังนั้น เพื่อไม่ให้การจัดกิจกรรมกระทบต่อ
การเรียน จึงควรกำาหนดระยะเวลาในการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับบริบทของการเป็นนิสิตนักศึกษา
ไม่ควรมากเกินไป จนส่งผลกระทบต่อการเรียน ซึ่งจะทำา ให้คณะทำา งานบริหารเวลาได้ทั้งในเรื่องการ
เรียน ในขณะเดียวกันก็ไม่กระทบต่อแผนการดำาเนินงานโครงการด้วย

“รู้รั กส ามั คค ี พร้อม ทำาดี เพ ื่อแ ผ่นด ิน”


เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t
24
http:/
“รวม พล คน วั ยม ัน ส์ ร่ว มสร ้า งสรร/www.works
ค์ ม .ปลอ ดภั ย” eed. net

เคร ือข่ าย ผู้น ำาเย าวชน สำา นึก รั กษ ์แ ผ่น ดินทอง l w ww .wo rk se ed. ne t

You might also like