You are on page 1of 42

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ชั้นประถม
ศึกษาปี ที่ 5
หนุวยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง แรงลัพธ์ มวล และความหนาแนุน
เวลา
20 ชัว่ โมง
เรื่อง แรงลัพธ์
เวลา 1 ชัว่ โมง
ผู้สอน นายนัสฐกร นาคอก
โรงเรียนอน่บาลเมืองราชบ่ร ี

มาตรฐานการเรียนรู้ชุวงชั้นที่สอดคลูอง
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้ า
แรงโน้มถ่วง และแรงนิ วเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความร้้
สื่อสารสิ่งที่เรียนร้้และนำาความร้้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณค่า
1. ทดลองและอธิบายได้ว่าเมื่อดึงหรือผลักวัตถุด้วยแรงที่มา
กกว่าหนึ่ งแรงจะมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุเสมือนมีแรงหนึ่ ง
แรง ซึ่งเป็ นผลลัพธ์ของแรงนั้ น ๆ
สาระสำาคัญ
เมื่อมีแรงสองแรงกระทำาต่อวัตถุ จะทำาให้วัตถุเคลื่อนที่ไป
ในทิศทางเดียวกับแนว แรงลัพธ์

สาระการเรียนรู้
แรงลัพธ์และการใช้ประโยชน์

จ่ดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายของคำาว่า แรงลัพธ์
2. ทดลองหาแรงลัพธ์เนื่ องจากแรงสองแรงที่กระทำาต่อวัตถุ
ได้
3. ยกตัวอย่างการใช้ประโยชน์จากแรงลัพธ์ได้

กระบวนการเรียนรู้
1. คร้ทดลองการโยนล้กบอล แล้วใช้คำาถามกับนั กเรียนว่า
ทำาไมล้กบอลจึงตกลงพื้ น
2. คร้สุ่มเรียกนั กเรียน 2 – 3 คน ออกมาบ
อกว่ า ทำา ไมล้ ก บอลจึ ง ตกลงพื้ น จากนั้ นคร้ อ ธิ บ ายเพิ่ ม เติ ม ให้
นั กเรียนฟั งว่า การที่ล้กบอลตกลงพื้ นก็เพราะว่า เกิดจากแรงดึงด้ด
ระหว่างโลกและล้กบอล แรงดึงด้ด (แรงโน้มถ่วง) หมายถึง แรง
ที่ดึงด้ดเอาวัตถุ ต่าง ๆ ลงส่้ พื้นโลก แรงเท่า ๆ กั นดึ งวั ตถุ ขนาด
เล็กได้มากกว่าวัตถุขนาด
3. คร้ให้นักเรียนด้ส่ ือวิดีทัศน์ เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่
จากนั้ นคร้อธิบายและสรุป
เพิ่มเติม
4. คร้ให้นักเรียนด้ภาพการดึงและการผลัก แล้วช่วยกัน
บอกว่า ในแต่ละภาพเป็ นการ
ออกแรงดึงหรือแรงผลัก
5. คร้และนั กเรียนร่วมกันอภิปรายว่า ถ้าเราออกแรงดึงวัตถุ
จะทำาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปใน
ทิศทางใด ถ้าเราออกแรงผลักวัตถุ จะทำาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปใน
ทิศทางใดถ้าเราดึงวัตถุไปทางซ้าย วัตถุจะเคลื่อนที่ไปทางใด ถ้า
ออกแรงผลักวัตถุไปทางขวา วัตถุจะเคลื่อนที่ไปทางใด และถ้ามี
แรงกระทำาต่อวัตถุมากกว่า 1 แรง จะมีผลการเคลื่อนที่ของวัตถุ
อย่างไร
6.คร้และนั กเรียนร่วมกันสรุปความหมายของแรงลัพธ์ว่า
เป็ นแรงที่ทำาให้วัตถุเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกับแรงนั้ น
7.คร้ให้นักเรียนด้ภาพ และบอกว่าเกิดแรงลัพธ์ในทิศทาง
ใดลงในใบงานที่ 1 เรื่อง ทิศทางของแรงลัพธ์ จากนั้ นให้นักเรียน
จับค่้กับเพื่อนแลกเปลี่ยนกันตรวจสอบความถ้กต้อง
8.นั กเรียนศึกษาใบความร้้ ร่วมอภิปรายและแสดงความคิด
เห็น

กระบวนการวัดผลประเมินผล
1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. การนำาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
3. การตรวจผลงาน
- สมุดบันทึก
- แบบบันทึกผล
- แฟ้ มสะสมงาน
- แบบฝึ กหัด
4. เจตคติทางวิทยาศาสตร์
- ความอยากร้้อยากเห็น
- ความซื่อสัตย์
- การยอมรับฟั งความคิดเห็น

เครื่องมือประเมินผล
1. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. แบบประเมินการนำาเสนอผลงานหน้าชั้น
3. แบบประเมินผลงาน
4. แบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์

เกณฑ์การประเมิน
1. สังเกตการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%
2. การนำาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%
3. การตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%
4. เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%

สื่อ / แหลุงการเรียนรู้
1. ใบงานที่ 1 เรื่อง ทิศทางของแรงลัพธ์
2. ใบความร้้ เรื่อง แรงลัพธ์และการใช้ประโยชน์
3. ร้ปภาพ
4. ห้องสมุด
1. แรงลัพธ์และการใช้ประโยชน์
เมือ
่ เราออกแรงกระทำาต่อวัตถุ อาจทำาให้วัตถุ
เคลือ
่ นที ่ หยุดเคลือ
่ นที ่
หรือเปลีย
่ นแปลงความเร็วได้
การออกแรงดึงวัตถุ จะทำาให้วัตถุเคลือ
่ นทีไ่ ปใน
ทิศทางเดียวกับแรงดึง
โดยเคลือ
่ นทีเ่ ข้าหาตัวเรา
ส่วนการออกแรงผลักวัตถุ จะทำาให้วัตถุเคลือ
่ นที ่
ไปในทิศทางเดียวกับ
แรงผลัก โดยเคลือ
่ นออกจากตั
ใบความรู้ วเรา
เรื่อง ทิศทางของแรงลัพธ์
ใบงานที่ 1
เรื่อง เคลื่อนที่ไปทางไหน

คำาชี้แจง ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับแนวแรงลัพธ์ เนื่ องจากแรงสอง


แรงที่กระทำาต่อวัตถุ

อ่ปกรณ์ วิธีทำำ

1. ขวด 1. แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มผูกเชือกฟางที ่


นำ้า กึง่ กลางของขวดนำา
้ โดยให้เหลือปลายเชือกยาว
2. เชือก ประมาณข้างละ 30 เซนติเมตร เท่ากัน
2. ใช้ชอล์กขีดเส้นตรง กข และ กค บน
พืน
้ ให้แนวเส้นทัง้ สองตัง้ ฉากกัน ดังภาพ
ข 3. วางขวดนำา
้ ทีจ
่ ุด ก รวบเชือกทัง้ 2 เส้น
ไว้ด้วยกัน แล้วดึงเชือกตามแนวเส้นตรง กข
ก จากนัน
้ สังเกตการณ์เคลือ
่ นทีข
่ องขวดนำา
้ แล้ว

บันทึกผล
การทดลอง การเคลื่อนที่ของขวดนำ้า
1. ดึงเชือก 1 แรง ตาม..............................................................
แนว กข .................................
2. ดึง เชื อ ก 1 แรง ตาม..............................................................
แนว กค ..............................
3. ดึ ง เชื อ ก 2 แรง ตั้ ง..............................................................
ฉากกัน ..............................
สร่ปผลการทดลอง
..............................................................................................
..........................................................................................................
.........................................................................................................
ทักษะ/กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ใชู
µ การสังเกต  การสื่อสาร  การ
วิเคราะห์

ไม่ยาก…ใช่เปล่า

การออกแรงกระทำาต่อวัตถุ ถ้ามีแรงกระทำาต่อวัตถุเพียงหนึ่ งแรง


วัตถุจะเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกับทิศทางของแรงกระทำา กล่าวคือ

ถ้าออกแรงดึงวัตถุทางซ้าย ถ้า
ออกแรงดึงวัตถุทางขวา
วัตถุจะเคลื่อนที่ไปทางซ้าย วัตถุจะ
เคลื่อนที่ไปทางขวา

แต่ถ้ามีแรงกระทำาต่อวัตถุมากกว่าหนึ่ งแรง จะมีผลต่อการเคลื่อนที่


ของวัตถุอย่างไร ลองสังเกตจากภาพต่อไปนี้
ในชีวิตประจำาวันของเรา มีการนำาประโยชน์จากแรงลัพธ์ไปใช้หลาย
อย่าง เช่น

การขึงลวดหรือ
เชือกกับเสา 2 ต้น

เพื่อทำาราวตากผ้า ถ้ามีผ้า 3 ชิ้น


จะมีแรงกดลงบนราว 3 แรง

โดยมีแรงลัพธ์เกิดขึ้นที่เสาทั้ง 2 ต้น

การประดิษฐ์กระถางแขวน
ต้นไม้แบบแขวน โดยใช้ลวด 3 เส้น
ช่วยยึดกระถางไว้ ลวด 3 เส้น
แทนแรง 3 แรง เกิดแรงลัพธ์ 1 แรง
ในแนวเดียวกับขอที่ใช้แขวน
ทำาให้เกิดความสมดุล เมื่อนำาไป
แขวนไว้ กระถางต้นไม้จึงไม่เอียง
ไปด้านใดด้านหนึ่ ง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ชั้นประถม
ศึกษาปี ที่ 5
หนุวยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง แรงลัพธ์ มวล และความหนาแนุน
เวลา
20 ชัว่ โมง
เรื่อง ผลของแรงลัพธ์หลายแรง
เวลา 1 ชัว่ โมง
ผู้สอน นายนัสฐกร นาคอก
โรงเรียนอน่บาลเมืองราชบ่ร ี

มาตรฐานการเรียนรู้ชุวงชั้นที่สอดคลูอง
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้ า
แรงโน้มถ่วง และแรงนิ วเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความร้้
สื่อสารสิ่งที่เรียนร้้และนำาความร้้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณค่า
1. ทดลองและอธิบายได้ว่าเมื่อดึงหรือผลักวัตถุด้วยแรงที่มา
กกว่าหนึ่ งแรงจะมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุเสมือนมีแรงหนึ่ ง
แรง ซึ่งเป็ นผลลัพธ์ของแรงนั้ น ๆ

สาระสำาคัญ
เมื่อดึงหรือผลักวัตถุด้วยแรงมากกว่าหนึ่ งแรงแล้ว ทำา ให้
วั ต ถุ เ คลื่ อนที่ ผ ลของการเคลื่ อนที่ น้ ั นจะเสมื อ นว่ า มี
แรงหนึ่ งแรงกระทำาต่อวัตถุ โดยแรงหนึ่ งแรงนี้ จะเป็ น
ผลลัพธ์ของแรงหลาย ๆ แรงนั้ น
สาระการเรียนรู้
แรงลัพธ์ของแรงหลายแรง
จ่ดประสงค์การเรียนรู้
1.สามารถสรุป เรื่อง แรงลัพธ์ได้
2.ทำาการทดลอง เรื่อง แรงลัพธ์ได้

กระบวนการเรียนรู้
1.คร้ให้นักเรียนด้ร้ปคนและช้างดันซุง แล้วตั้งคำา ถามให้
นั กเรียนร่วมกันอภิปราย เช่น
- ช้างและคนดันซุงได้ระยะทางเท่ากันหรือไม่
- คนสี่คนดันซุงทำาให้ซุงเคลื่อนที่ได้เหมือนกับช้างดันซุง
หรือไม่
- แรงที่คนสี่คนดันซุงรวมกันเทียบกับแรงที่ช้างดันซุง
เป็ นอย่างไร
2. ร่ วมอภิ ปรายการทดลองของนั กเรีย นนำา ไปส่้ ข้ อ สรุ ปว่ า
การผลักวัตถุด้วยแรง
มากกว่าหนึ่ งแรงทำาให้วัตถุเคลื่อนที่ ผลการเคลื่อนที่น้ ั นจะเสมือน
ว่ ามี แรงหนึ่ ง แรงกระทำา ต่ อ วั ตถุ คร้ ค วรให้ นั กเรีย นสรุ ปได้ เ อง
จากนั้ นให้นักเรียนทำาใบงานที่ 1
3. ให้นักเรียนทำาใบงานที่ 2 ผลลัพธ์ของแรงหลายแรง

เป็ นอย่างไร ในการทำา


กิจกรรมนี้ ควรยำ้านั กเรียนว่า จะต้องจัดให้ตาชัง่ อย่้ในแนวดิ่งเสมอ
แล้วจึงอ่านค่าจาก
ตาชัง่ ตั้งคำาถามเพื่อทบทวนการอ่านแรงจากตาชัง่ เช่น
- แรงที่ตาชัง่ อ่านได้เป็ นนำ้าหนั กของสิ่งใดบ้าง
ซึ่งการได้คำาตอบว่า แรงที่ตาชัง่ อ่านได้เป็ นนำ้าหนั ก
ของถุงทรายและไม้เมตรรวมกัน
4. คร้และนั กเรียนร่วมกันสรุปผลการทำากิจกรรมของแต่ละ
กลุ่ม ควรได้สรุปว่า
แรงหลายแรงรวมกันเสมือนว่ามีแรงหนึ่ งแรง และแรงหนึ่ งแรงนี้
เป็ นผลลัพธ์ของแรง
หลาย ๆ แรงนั้ น คร้ควรให้นักเรียนสรุปได้ด้วยตนเองหรือกลุ่ม
โดยคร้ช่วยบันทึกข้อสรุป ลงบนกระดาษ

กระบวนการวัดผลประเมินผล
1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. สังเกตการทำางานกลุ่ม
3. การนำาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
4. การตรวจผลงาน
- สมุดบันทึก
- แบบบันทึกผล
- แฟ้ มสะสมงาน
- แบบฝึ กหัด
5. เจตคติทางวิทยาศาสตร์
- ความอยากร้้อยากเห็น
- ความซื่อสัตย์
- การยอมรับฟั งความคิดเห็น

เครื่องมือประเมินผล
1. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. แบบประเมินการทำางานกลุ่ม
3. แบบประเมินการนำาเสนอผลงานหน้าชั้น
4. แบบประเมินผลงาน
5. แบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์
เกณฑ์การประเมิน
1. สังเกตการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%
2. สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%
3. การนำาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%
4. การตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%
5. เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%

สื่อ / แหลุงการเรียนรู้
1. ใบงานที่ 1 เรื่อง ผลลัพธ์ของแรงหลายแรง
2. ใบงานที่ 2 เรื่อง ผลลัพธ์ของแรงหลายแรงเป็ นอย่างไร
3. ตาชัง่ สปริง
4. ก้อนหิน ดินนำ้ามัน ถ่านไฟฉาย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ชั้นประถม
ศึกษาปี ที่ 5
หนุวยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง แรงลัพธ์ มวล และความหนาแนุน
เวลา
20 ชัว่ โมง
เรื่อง ความหนาแนุนของวัตถ่
เวลา 1 ชัว่ โมง
ผู้สอน นายนัสฐกร นาคอก
โรงเรียนอน่บาลเมืองราชบ่ร ี

มาตรฐานการเรียนรู้ชุวงชั้นที่สอดคลูอง
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้ า
แรงโน้มถ่วง และแรงนิ วเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความร้้
สื่อสารสิ่งที่เรียนร้้และนำาความร้้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณค่า
1. ทดลองและอธิบายได้ว่าเมื่อดึงหรือผลักวัตถุด้วยแรงที่มา
กกว่าหนึ่ งแรงจะมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุเสมือนมีแรงหนึ่ ง
แรง ซึ่งเป็ นผลลัพธ์ของแรงนั้ น ๆ

สาระสำาคัญ
วัตถุแต่ละชนิ ดจะมีความหนาแน่นแตกต่างกัน
สาระการเรียนรู้
ความหนาแน่นของวัตถุ
จ่ดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายของคำาว่าความหนาแน่นได้
2. ทดลองหาความหนาแน่นของวัตถุได้

กระบวนการเรียนรู้
1. คร้นำาตัวอย่างสิ่งของต่าง ๆ มาให้นักเรียนด้ เพื่อเปรียบ

เทียบว่า สิ่งของใดมีความ
หนาแน่นมากกว่ากัน เช่น ฟองนำ้า ขนมเค้ก ดินนำ้ามันและแผ่น
ไม้ เพราะเหตุใดนั กเรียนจึงคิดว่า สิ่งนั้ นมีความหนาแน่นมากกว่า
สิ่งอื่น
2. ให้นักเรียนเปรียบเทียบความหนาแน่นของตะเกียบไม้
กับตะเกียบพลาสติก
ถ้วยแก้วกับถ้วยกระดาษ ช้ อนพลาสติ กกั บช้ อนโลหะ ว่าสิ่งใดมี
ความหนาแน่นมากกว่ากัน เพราะเหตุใด
3. ให้นักเรียนตวงทรายด้วยถ้วยตวง 1 ลิตร โดยให้ ถ้วย

ที่ 1 ใส่ทรายตามปกติแล้วใช้
ไม้ บ รรทั ด เกลี่ ย ทรายออกให้ พ อดี กั บ ปากถ้ ว ยตวง ถ้ ว ยที่ 2 ใส่
ทรายให้เต็มและใช้ มืออัดเม็ดทรายให้แน่น แล้วให้นักเรีย นร่ วม
กันอภิปรายว่า ทรายในถ้วยตวงใดมีความหนาแน่น มีปริมาณ และ
มี น้ ำ าหนั กมากกว่ า กั น เพราะเหตุ ใ ดจึ ง เป็ นเช่ น นั้ น จากนั้ นให้
ทำาการพิส้จน์ด้วยการชัง่ นำ้าหนั ก
4. คร้ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ทำาการทดลองเพื่อหาความหนา
แน่นของวัตถุโดยปฏิบัติดังนี้
1) หาค่ามวลของก้อนหิน โดยนำาก้อนหินใส่ถุงพลาสติก
แล้วนำาไปแขวนกับเครื่องชัง่ จากนั้ นอ่านค่ามวล แล้วบันทึกผล
2) หาค่ามวลของดินนำ้ามัน โดยปฏิบัติเช่นเดียวกับการ
หาค่ามวลของก้อนหิน
3) ใส่น้ ำาลงในถ้วยย้เรก้าจนเต็มพอดี แล้วนำาถ้วยแก้ว
มารองรับที่ปากถ้วย
ย้เรก้า
4) ใส่ ก้ อ นหิ น ลงในถ้ ว ยย้ เ รก้ า รอจนนำ้ าที่ ล้ น จากถ้ ว ย
ย้เรก้าหยุดไหลลงส่้ถ้วยแก้ว ให้นำา หลอดฉีดยามาด้ ดนำ้าออกจาก
ถ้วยแก้วจนหมด และอ่านค่าปริมาตรของก้อนหิน แล้วบันทึกผล
5) หาค่าปริมาตรของดิน นำ้ามั นโดยปฏิบั ติเ ช่ น เดี ย วกั บ
การหาค่าปริมาตรของก้อนหิน บันทึกผลและสรุปผลการทดลองลง
ในใบงานที่ 1 เรื่อง ความหนาแน่นของวัตถุ แล้วนำาเสนอผลงานที่
หน้าชั้น
5.คร้และนั กเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับการ
หาความหนาแน่นของวัตถุ
6. นั กเรียนศึกษาใบความร้้ ร่วมกันอภิปรายแสดงความ
คิดเห็น
7. ทำาแบบฝึ กหัด แล้วร่วมกันเฉลยคำาตอบ

กระบวนการวัดผลประเมินผล
1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. สังเกตการทำางานกลุ่ม
3. การนำาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
4. การตรวจผลงาน
- สมุดบันทึก
- แบบบันทึกผล
- แฟ้ มสะสมงาน
- แบบฝึ กหัด
5. เจตคติทางวิทยาศาสตร์
- ความอยากร้้อยากเห็น
- ความซื่อสัตย์
- การยอมรับฟั งความคิดเห็น
เครื่องมือประเมินผล
1. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. แบบประเมินการทำางานกลุ่ม
3. แบบประเมินการนำาเสนอหน้าชั้น
4. แบบประเมินผลงาน
5. แบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์

เกณฑ์การประเมิน
1. สังเกตการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%
2. สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%
3. การนำาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%
4. การตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%
5. เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%

สื่อ / แหลุงการเรียนรู้
1. ใบงานที่ 1 เรื่อง ความหนาแน่นของวัตถุ
2. ใบความร้้
3. แบบฝึ กหัด
คำำชีแ
้ จง ให้นักเรียนทำาการทดลองเพือ
่ หาความหนา
แน่นของวัตถุ แล้วบันทึกผล
วิธีทำำ
1.แบ่งกล่
ใบงานที ่ 1ุม ให้แต่ละกลุ่มหาค่า
มวลของก้อนหิน
เรื่อง ความหนาแนุนของวัตถ่
โดยนำาก้อนหินใส่ถุงพลาสติก
แล้วนำาไปแขวนกับ
เครือ
่ งชัง่ อ่านค่ามวลและ
อุปกร
บันทึกผล
1.ก้อนหินและก้อน
ดินนำา
้ มันขนาด 2.หาค่ามวลของดินนำา
้ มันโดย
ปฏิ
เท่บาัต
ๆิเช่กัน
นเดี
อย่ยวกั
างละบ
1 ก้อน ข้อ 1
2.ถ้วยยูเรก้า 3.ใส่นำา
้ ลงในถ้วยยูเรก้าจนเต็ม
พอดี แล้วนำา
ถ้วยแก้วมารองรับทีป
่ ากถ้วย
ยูเรก้า
4.ใส่ก้อนหินลงในถ้วยยูเรก้า รอจนนำา
้ ทีล
่ ้นจาก
ใบควำมรู้
เรือ
่ ง ควำมหนำแน่นของวัตถุ

ความหนาแนุนของวัตถ่
ความหนาแน่น เป็ นสมบัติประการหนึ่ งของวัตถุ ซึ่งทำาให้
วัตถุแต่ละชนิ ด
ที่มีขนาดเท่ากัน มีมวลต่างกัน เพราะเนื้ อของสารมีความหนา
แน่นไม่เท่ากัน
ความหนาแน่น หมายถึง ปริมาณของมวลสารที่มีอย่้ใน 1
หน่วยปริมาตร
มีหน่วยเป็ น กรัมต่อล้กบาศก์เซนติเมตร หรือปอนด์ต่อ
ล้กบาศก์ฟุต นักเรียนลองสังเกต
แล้วบอกว่า
สิง่ ใดน่าจะมีความ
หนาแน่น
มากหรืผมคิ
อน้อดย ว่า ดิน
เพราะอะไร
นำา
้ มัน
น่าจะมีความ
หนาแน่นมาก
เพราะเนือ
้ แน่น
ครับ
จากผลการทดลอง ทำา ให้ทราบว่า วัตถุท่ีมีขนาดเท่ากัน แต่
ทำา จากวัสดุต่างชนิ ดกัน จะมีมวลต่างกัน เพราะมีความหนาแน่นไม่
เท่ากัน เนื่ องจากวัสดุแต่ละชนิ ดมีความหนาแน่นไม่เท่ากัน
การสังเกตเนื้ อของวัตถุ และการเปรีย บเทีย บมวลของวั ตถุ
เพื่ อนำา มาบอกค่าความหนาแน่ นของวัตถุ น้ ั น จะได้ ค่าที่ ไม่ แน่ น อน
ดังนั้ นถ้าเราต้องการทราบค่าความหนาแน่นของวัตถุท่ีแน่นอน ต้อง
คำานวณหาค่าความหนาแน่นของวัตถุ

ถ้กแลูว
ค่ะ
คุณครูครับ แสดง
ว่า
เราต้องหาค่ามวล แล้วเราจะหา

และปริมาตร ปริมาตรของ

ของวัตถุกอ
่ นจึงจะ วัตถุโดยวิธีใด

หาค่า ครับ

ความหนาแน่นได้
ใช่ไหมครับ

พวกเราช่วยกัน
ทบทวน
การหาค่าความ
หนาแน่นให้ครูฟังสิ
คะว่า ต้องใช้วธ
ิ ี
หาค่าปริมาตรของวัตถุ
การใดบ้าง
โดยใช้วิธีแทนทีน ่ ำา
้ นำา
้ ที ่
ล้นออกจากถ้วยยูเรก้า
จะมีปริมาตรเท่ากับ
ปริมาตรของวัตถุคะ
ต้องหาค่ามวล
ของวัตถุ
โดยนำาวัตถุไป
ชัง่ ครับ

เมือ
่ ได้ค่ามวลและค่าปริมาตร
ของวัตถุแล้ว
ก็นำาไปคำานวณหาค่าความ
หนาแน่นของวัตถุ
โดยใช้สูตร ความหนาแน่น
= มวล
วัตถุชิน
้ หนึง่ มีมวล 45
จากโจทย์ทีก
่ ำาหนดให้
กรัม
ปริมาตร นักเรียนสามารถหาค่า
มีปริมาตร 15
ความหนาแน่น
ลูกบาศก์เซนติเมตร
ได้ไหมคะ
วัตถุชิน
้ นีม
้ ีความหนา
แน่นเท่าไร
แบบฝึ กหัด

คำำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเลือกคำาตอบทีถ
่ ูกทีส
่ ุด
1. การออกแรงกระทำาต่อวัตถุเพียงหนึง่ แรง 5.
สิง่ ของในข้อใดใช้ประโยชน์จากแรงลัพธ์
วัตถุจะเคลือ
่ นไปทางใด ก. ตุุกตาล้มลุก ข.
หลอดฉีดยา
ก.ทิศทางตรงข้ามกับแรง ค. จุกยาง ง. ราวตาก
ผ้า
2. ทิศทางเดียวกับแรง 6. สมบัติข้อใดของวัตถุมี
ความสัมพันธ์กับ
ค.ทิศทางใดก็ได้ แรงดึงดูดของโลก
ง.ทิศทางสวนกับแรง ก. มวล ข. ความหนา
แน่น
2. ข้อใดถูกต้องเกีย
่ วกับแรงลัพธ์ ค. อุณหภูมิ
ง. ความแข็ง
ก. แรงลัพธ์เกิดจากการไม่มีแรงกระทำา 7. เรา
ใช้อุปกรณ์ใดหาค่ามวลของวัตถุ
ข. แรงลัพธ์เกิดจากการทีม
่ ีแรงกระทำา ก. ไม้
เมตร ข. เครือ
่ งชัง่ สปริง
ต่อวัตถุเพียง 1 แรง ค. ถ้วยยูเรก้า ง. สาย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ชั้นประถม
ศึกษาปี ที่ 5
หนุวยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง แรงลัพธ์ มวล และความหนาแนุน
เวลา
20 ชัว่ โมง
เรื่อง ความหนาแนุนของวัตถ่
เวลา 3 ชัว่ โมง
ผู้สอน นายนัสฐกร นาคอก
โรงเรียนอน่บาลเมืองราชบ่ร ี

มาตรฐานการเรียนรู้ชุวงชั้นที่สอดคลูอง
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้ า
แรงโน้มถ่วง และแรงนิ วเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความร้้
สื่อสารสิ่งที่เรียนร้้และนำาความร้้ไปใช้ประโยชน์อย่างมีคุณค่า
1. ทดลองและอธิบายได้ว่าเมื่อดึงหรือผลักวัตถุด้วยแรงที่มา
กกว่าหนึ่ งแรงจะมีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุเสมือนมีแรงหนึ่ ง
แรง ซึ่งเป็ นผลลัพธ์ของแรงนั้ น ๆ

สาระสำาคัญ
วัตถุแต่ละชนิ ดจะมีความหนาแน่นแตกต่างกัน
สาระการเรียนรู้
มวลและความหนาแน่นของวัตถุ
จ่ดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายของมวลและความหนาแน่นได้
2. ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับมวลและความหนาแน่นได้
กระบวนการเรียนรู้
1. คร้ถามนั กเรียนว่า ผ้า 1 กิโลกรัม กับตะป้ 1 กิโลกรัม

สิ่งใดหนั กกว่ากัน ให้นักเรียน


ช่วยคิดหาคำาตอบ
2. คร้ใ ห้นั กเรีย นหาความหมายของคำา ว่ า มวล และความ
หนาแน่น จากพจนานุ กรม
3. คร้ให้นักเรียนทำาการทดลองเรื่อง มวลสาร โดยนำาทราย
มาใส่ในแก้วที่มีขนาด
เท่ากัน (นำ้าหนั กของแก้ วต้ องเท่ ากั น) ใบที่ 1 ใส่ทรายตามปกติ
แล้วใช้ไม้บรรทัดเกลี่ยปากแก้ว เอาทรายออก ใบที่ 2 ใส่ทรายโดย
ใช้ มื อ อั ด ทรายให้ แ น่ น จากนั้ นให้ นั กเรีย นคาดคะเนนำ้ าหนั กว่ า
ทรายในแก้วใบใดมีน้ ำาหนั กมากกว่า เพราะเหตุใด แล้วนำาแก้วใบที่
1 และใบที่ 2 ชัง่ นำ้าหนั กโดยเครื่องชัง่ เพื่อตรวจสอบการคาดคะเน
นำ้าหนั กด้วยสายตา และการคาดคะเนนำ้าหนั กด้วยมือของนั กเรียน
ถ้กต้องหรือไม่ เพราะเหตุใดจึงเป็ นเช่นนั้ น
4. คร้นำาไม้เนื้ อแน่น เช่น ไม้เต็ง และไม้เนื้ ออ่อน เช่น ไม้
สน หรือ ไม้ ฉำา ฉา ที่ มี ค วามกว้ า ง ยาว และหนาเท่ า กั น มาให้
นั กเรียนด้และคาดคะเนนำ้าหนั กด้วยสายตาว่า ไม้ช้ ินใดหนั กกว่ากัน

จากนั้ นให้นักเรียนคาดคะเนนำ้าหนั กด้วยการใช้มือยก เปรียบเทียบ


กัน และสุดท้ายให้นำาไม้ท้ ัง 2 อัน ชัง่ นำ้าหนั กด้วยตาชัง่ เพื่อตรวจ
สอบว่าการคาดคะเนนำ้าหนั กด้วยสายตา และการคาดคะเนนำ้าหนั ก
ด้วยมือของนั กเรียน ถ้กต้องหรือไม่ เพราะเหตุใดจึงเป็ นเช่นนั้ น
5. คร้และนั กเรียนร่วมสรุปความร้้ท่ีได้จากการทำากิจกรรม
ในข้อ 3-4
6. คร้ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ทำาการทดลองเรื่อง การหามวล
ของวัตถุต่าง ๆ โดยปฏิบัติ
ดังนี้
1) ทำา เครื่องชัง
่ สปริงจำา ลอง โดยตัดกระดาษแข็ง ขนาด
8 X 22 เซนติเมตรนำาหนั ง
ยางใส่ในคลิป และใช้คลิปหนี บไว้กับกระดาษแข็ง ใช้สกอตเทป
ติดคลิปไว้เพื่อไม่ให้เคลื่อนไหว แล้วนำาคลิปอีกอันมางอทำาเป็ นห่วง
และคล้องไว้ท่ีปลายหนั งยาง
2)วางกระดาษแข็ ง และจั ด ให้ ห นั ง ยางวางเป็ นแนวเส้ น
ตรงตามปกติ ไม่ต้องยืด
กำาหนดค่าของมวลโดยใช้ไม้บรรทัดวัด จากนั้ นนำา ถุงล้กแก้วเกี่ยว
กับขอด้านล่าง แล้วถือกระดาษแข็งในแนวตั้งตรง อ่านค่ามวลของ
ล้กแก้ว โดยด้ว่าปลายหนั งยางตรงกับตัวเลขใด แล้วบันทึกผล
3)ให้ ป ฏิ บั ติ เ ช่ น เดิ ม แต่ เ ปลี่ ย นเป็ นหาค่ า มวลของถุ ง
ก้อนหิน และถุงดินนำ้ามัน
ตามลำาดับแล้วนำาผลที่ได้ไปเปรียบเทียบกับกลุ่มอื่นบันทึกและสรุป
ผลการทดลองลงใน ใบงานที่ 1 เรื่อง มาหามวลของวัตถุกันเถอะ
แล้วนำาเสนอผลงานที่หน้าชั้น
7. คร้และนั กเรียนร่วมกันอภิปราย และสรุปเกี่ยวกับการหา
มวลของวัตถุต่าง ๆ
8. คร้ให้นักเรียนทำาการทดลองว่า วัตถุท่ีมีขนาดเท่ากัน แต่
มีมวลต่างกัน เพราะมีความ
หนาแน่นต่างกัน โดยชัง่ วัตถุท่ีกำาหนดทีละอย่าง บันทึกคำามวลของ
วั ตถุ แล้ว นำา ค่ามวลของวั ตถุ มาเปรียบเที ยบกัน เพื่อ บอกความ
หนาแน่ น บั น ทึ ก ผลและสรุ ป ผลการทดลองลงในใบงานที่ 2
เรื่อง เปรียบเทียบมวลของวัตถุ และนำาเสนอผลงานที่หน้าชั้น
9. คร้ แ ละนั ก เรีย นร่ ว มกั น อภิ ป รายและสรุ ป เกี่ ย วกั บ การ
เปรียบเทียบมวลของวัตถุ
10.คร้ให้นักเรียนทำาแบบฝึ กกิจกรรม ดังต่อไปนี้
1) ด้ภาพที่กำาหนดและเขียนชื่อภาพ โดยเรียงลำาดับผัก
และผลไม้ท่ีมีมวลมากที่สุด
ไปหามวลที่น้อยที่สุด โดยสังเกตภาพและคาดคะเน
2) แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มฝึ กหาความหนาแน่นของ
สิ่ ง ของรอบตั ว มากลุ่ ม ละ 5 อย่ า ง และจดบั น ทึ ก ขั้ นตอนการ
ทดลอง ปั ญหาที่พบและวิธีแก้ไขลงในใบงานที่ 3 เรื่อง ทำาได้หรือ
ไม่ และนำาเสนอผลงานที่หน้าชั้น
11.คร้และนั กเรียนช่วยกันเฉลยคำาตอบและแก้ไขเพิ่มเติม
คำาตอบให้ถ้กต้อง
12.ให้นักเรียนศึกษาใบความร้้ แล้วช่วยกันสรุป

กระบวนการวัดผลประเมินผล
1. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. สังเกตการทำางานกลุ่ม
3. การนำาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
4. การตรวจผลงาน
- สมุดบันทึก
- แบบบันทึกผล
- แฟ้ มสะสมงาน
- แบบฝึ กหัด
5. เจตคติทางวิทยาศาสตร์
- ความอยากร้้อยากเห็น
- ความซื่อสัตย์
- การยอมรับฟั งความคิดเห็น

เครื่องมือประเมินผล
1. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. แบบประเมินการทำางานกลุ่ม
3. แบบประเมินการนำาเสนอหน้าชั้น
4. แบบประเมินผลงาน
5. แบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์

เกณฑ์การประเมิน
1. สังเกตการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%
2. สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%
3. การนำาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%
4. การตรวจผลงาน ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%
5. เจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์อย่างน้อย 60%

สื่อ / แหลุงการเรียนรู้
1. ใบงานที่ 1 เรื่อง มาหามวลของวัตถุ

2. ใบงานที่ 2 เรื่อง เปรียบเทียบมวลของวัตถุ

3. ใบงานที่ 3 เรื่อง ทำาได้หรือไม่


สร่ปผลการทดลอง
ใบงานที่ 1
…………………………………………………………………
……………………..
เรื่อง มาหามวลของวัตถ่กันเถอะ

อ่ปกรณ์
1.เครื่องชัง่ สปริง
2.ดินนำ้ามัน
3.ล้กแก้ว
4.ก้อนหิน
วิธีการทดลอง
1.นำาดินนำ้ามันมาชัง่ กับเครื่องชัง่ สปริง แล้วบันทึกผล
2.นำาล้กแก้วมาชัง่ กับเครื่องชัง่ สปริง แล้วบันทึกผล
3.นำาก้อนหินมาชัง่ กับเครื่องชัง่ สปริง แล้วบันทึกผล
บันทึกผล

วัตถ่ที่ชัง่ คุามวลที่ไดู
1. ถุงล้กแก้ว
2. ดินนำ้ามัน
3. ก้อนหิน
ใบงานที่ 2
เรื่อง เปรียบเทียบมวลของวัตถ่

ชื่อ…………………………………..……………………เลข
ที่…………………….…
ชั้น……………………….วัน
ที่…………………………………..…………………….
คำาชี้แจง ให้นักเรียนทำาการทดลองเพื่ออธิบายว่า วัตถุท่ีมีขนาด
เท่ากัน แต่มีมวล
ต่างกั น ุม
เพราะมี
วิธีทำา 1. แบ่ งกล่ ให้แต่คลวามหนาแน่
ะกลุ่มชัง่ วันตต่ถุาท
งกัีลนะอย่
แล้าวงบัน ทึกวผล
แล้ บันทึก
อ่ปกรณ์
ค่ามวลของวัตถุ1. เครือ
่ งชัง่ สปริงจำาลอง 2. ถุง

2. นำาค่าพลาสติ
มวลของวั ตถุมาเปรี
กแบบหู ิ ้ ยบเทียบกัน เพื่อบอกความ
หว
3. นตะเกียบไม้และตะเกียบพลาสติก ขนาด
หนาแน่
บันทึกผล เท่ากัน อย่างละ 1 คู่

วัตถ่ที่ชัง่ คุามวลที่ไดู การเปรียบเทียบมวลของ


วัตถ่
1. ตะเกียบ ตะเกียบพลาสติกมีความ
พลาสติก หนาแน่น
ใบงานที่ 3
เรื่อง ทำาไดูหรือไมุ

ชื่อ…………………………………..……………………เลข
ที่…………………….…
ชั้น……………………….วัน
ที่…………………………………..…………………….
คำาชี้แจง ให้นักเรียนด้ภาพ และเขียนชื่อภาพโดยเรียงลำาดับ
สิ่งของ
ที่มีมวลมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด (สังเกตภาพและคาด
คะเน)

เรียงลำาดับสิ่งของที่มีมวลมากที่ส่ดไปหานูอยที่ส่ด ไดูดังนี้

1. 2. 3.

4. 5. 6.
ใบความรู้
เรื่อง มวลและความหนาแนุนของวัตถ่

มวลและความหนาแนุนของวัตถ่
มวล หมายถึง ปริมาณเนื้ อสารของวัตถุ มีหน่วยเป็ นกรัม
หรือกิโลกรัม
มวลของวัตถุย่อมคงเดิมไม่ว่าจะอย่้ท่ีใดก็ตาม แต่น้ ำาหนั ก
ของวัตถุซ่ึงวัดจาก
แรงโน้มถ่วงของโลกที่ดึงด้ดต่อมวล จะเปลี่ยนแปลงไปได้เมื่อ
นำาวัตถุไปชัง่ ในที่ต่าง ๆ
กัน เช่น เมื่อเราชัง่ นำ้าหนั กของเราบนดวงจันทร์กับชัง่ นำ้าหนั ก
ของเราบนโลก จะได้
ค่านำ้าหนั กไม่เท่ากัน เพราะดวงจันทร์มีแรงโน้มถ่วงน้อยกว่า
โลก แต่ค่ามวลของตัวเรา
ยังคงเท่าเดิม
การจะบอกค่ามวลของวัตถุอย่างคร่าว ๆ นั้ น เราสามารถ
ทำาได้โดยยกวัตถุ
ขึ้นมาเพื่อคะเนนำ้าหนั ก ถ้าวัตถุใดหนั กแสดงว่ามีมวลมาก แต่
ถ้าวัตถุใดเบา แสดงว่า
มีมวลน้อย

วัตถุใดมี
มวลมาก
หรือน้อย
กว่ากัน
การบอกค่ามวลโดยใช้การคาดคะเนจากความร้้สึกของเรา จะได้คำา
ตอบที่ไม่แน่นอน โดยเฉพาะวัตถุท่ีมีมวลใกล้เคียงกันมาก ดังนั้ นเรา
จึงต้องหาค่ามวลที่เป็ นค่าแน่นอน โดยนำาวัตถุไปชัง่ นำ้าหนั ก

เครื่องชัง่ สปริง เป็ น


เครื่องมือที่ใช้บอก
ค่ามวลที่แน่นอน เครื่องชัง่
สปริง
มีหลายแบบ ต้องเลือกใช้ให้
เหมาะสม

กับมวลของวัตถุท่ีต้องการหา
เครื่องชัง่ สปริง (หน่วยกิโลกรัม ) ถ้าต้องการหาค่ามวลของ
วัตถุท่ีมี

ขนาดเล็ก ควรเลือกใช้เครื่องชัง่ สปริง

ที่บอกหน่วยเป็ นกรัม

แต่ถ้าต้องการหาค่ามวลของวัตถุ

ที่มีขนาดใหญ่ ควรเลือกใช้เครื่องชัง่ สปริง


เครื่องชัง่ สปริง (หน่วยนิ วตัน)
ที่บอกหน่วยเป็ นกิโลกรัม
น ั ก เรียน เครื่องชัง่ นำ้าหนั ก
แล ้วถ้า
(หน่วยกิโลกรัม )
การ
ต้อง
ว ล ของ
หาม
จ ะ เลือก

ตนเอ
ใช้
แ บ บใด
ื่ งชงั่
เครอ
คะ

You might also like