You are on page 1of 45

โสตทัศนูปกรณ์

คำำว่ำ “โสตทัศนูปกรณ์” ( Audio – Visual Aids ) เป็ นคำำ

สมำสของคำำสำมคำำรวมกัน คำำว่ำ “โสต” + “ทัศ” + “อุปกรณ์” ซึ่ง

ตำมพจนำนุกรมได้ให้คำำจำำกัดควำมไว้ว่ำ “โสต” (Audio ) หมำย

ถึง หู ช่องหู ซึ่งผู้รับโดยกำรฟั งผ่ำนสัมผัสทำงหู “ทัศน” ( Visual )


หมำยถึง กำรเห็น สิ่งที่เห็น ซึ่งผู้รับโดยกำรเห็นผ่ำนประสำท
สัมผัสทำงตำ และคำำว่ำ “อุปกรณ์” ( Aids ) หมำยถึง สิ่ง วัสดุ
อุปกรณ์ท่ีช่วยให้กำรฟั งหรือกำรเห็นได้ผลดีย่ิงขึ้น
ยังมีอีกหลำยคำำที่มค
ี วำมหมำยใกล้เคียงกับคำำว่ำดสต
ทัศนูปกรณ์เช่นคำำว่ำ “โสตทัศนูวัสดุ” (Audio – Visual Material)
หมำยถึง กำรนำำเอำวัสดุส่ิงของทั้งหลำยที่มองเห็นและ จับต้องได้
และหรือได้ยินเสียงนำำมำใช้ประกอบกำรศึกษำหรือกำรเรียนรู้

โสตทัศนูปกรณ์ (Audio – Visual Equipment) คือ โสตทัศน


วัสดุท่ีนำำมำใช้ด้วยตนเอง เพียงอย่ำงเดียวไม่ได้ จะต้องมีวัสดุอุปก
รณ์อ่ ืนๆมำร่วมด้วย จึงจะใช้ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ เช่น เครื่อง
ฉำยสไลด์ หำกไม่มีแผ่นฟิ ล์มไลด์มำประกอบกับเครื่องฉำยแล้วก็
ไม่สำมำรถที่จะแสดงภำพบนจอได้ เครื่องฉำยภำพยนต์กเ็ ช่น
เดียวกัน จำำเป็ นจะต้องมีฟิล์มภำพยนต์นำำมำฉำยด้วยเครื่องฉำย
ภำพยนต์จึงจะมีภำพบนจอได้ ซึ่งมำเหมือนกับโสตวัสดุประเภท
รูปภำพซึ่งนมำแสดงได้โดยไม่จำำเป็ นต้องใช้เครื่องฉำย

โสตทัศนศึกษำ (Audio – Visual Education) หมำยถึงโสต


ทัศนูปกรณ์ท่ีนำำมำใช้ในกำรเรียนกำรสอน เพื่อควำมเข้ำใจอันดี
ระหว่ำงผู้เรียนผู้สอน ช่วยสิ่งที่เป็ นนำมธรรม ให้เป็ นรูปธรรมยิ่ง
ขึ้น
โสตทัศนูปกรณ์เข้ำมำมีบทบำทในกำรเรียนรู้มำกขึ้น
สำมำรถถ่ำยทอดควำมรู้ให้ผู้รับเกิดควำมเข้ำใจได้อย่ำงชัดเจนซึ่ง
ในสมัยเก่ำผู้ถ่ำยทอดควำมรู้หรือผู้สอนจะใช้คำำพูดเพียงอย่ำงเดียว
ให้ผู้ฟั งเห็นภำพพจน์ตำมที่ผู้พูดต้องกำร ในขณะที่ผู้ฟังเป็ นจำำนวน
มำกมีควำมเข้ำใจแตกต่ำงกันไป ทั้งนี้ ขึ้นอยูก ่ ับประสบกำรณ์ของผู้
ฟั งแต่ละคน หำกผู้ฟังคนใดมีประสบกำรณ์เดิมเกี่ยวกับเรื่องหรือ
เนื้ อหำที่ผู้พูดก็สำมำรถเข้ำใจได้ดีกว่ำผู้ฟังคนใดมีประสบกำรณ์
เดิมอยู่แล้วศำสตรำจำรย์ เอดกำร์ เดล (Edgar Dale) นักวิชำกำร
ศึกษำแห่งมหำวิทยำลัยอินเดียนำสหรัฐอเมริกำ ซึ่งได้รับกำร
ยกย่องเป็ นบิดำแห่งโสตทัศนศึกษำได้กล่ำวไว้ว่ำ ในกำรเรียนรู้ท่ี
ได้ผลดีน้ันจำำเป็ นต้องใช้ ประสำทสัมผัสทั้ง 5 เข้ำมำมีส่วน
เกี่ยวข้องดังนี้

ประสำทสัมผัส กำรรับรู้ เปอร์เซนต์ของ


กำรรับรู้

ตำ กำรมองเห็น 75%

หู กำรได้ยิน 13%

กำย กำรสัมผัส 6%

จมูก กำรดมกลิ่น 3%

ลิน
้ กำรลิ้มรส 3%
จะเห็นได้ว่ำโสตทัศนูปกรณ์ ช่วยให้เกิดกำรรับรู้แลควำม
เข้ำใจอันดี ตำและหูเป็ นประสำทสัมผัสที่ให้กำรรับรู้มำกกว่ำ
ประสำทสัมผัสอื่น

บทที่ 2 ประวัติความเป็ นมาของโสต


ทัศนูปกรณ์
โสตทัศนูปกรณ์มีมำนำนเริ่มตั้งแต่มนุษย์ใช้มือในกำรสื่อสำร
ควำมหมำยและได้วิวัฒนำกำรด้วยใช้สีหน้ำ ท่ำทำง และเลียน
เสียงสิ่งต่ำงๆ เพื่อช่วยให้ส่ ือควำมหมำยสมบูรณ์ย่ิงขึ้น ต่อมำได้ใช้
ภำษำพูดแทนภำษำมือ ใช้สญ ั ญำณควันไฟ เสียงกลอง และภำพ
เขียน ซึ่งเป็ นที่มำของภำษำเขียนในเวลำต่อมำ จำกหลักฐำน
ประวัติศำสตร์พบว่ำภำพเขียนสมัยก่อนประวัติศำสตร์ท่ีมนุษย์ได้
เขียนไว้ตำมผนังถำ้ำ หรือเพิงผำเป็ นหลักฐำนสำำคัญทำงโบรำณคดี
อีกอย่ำงหนึ่ งที่จะช่วยให้เรำเข้ำใจชีวิตควำมเป็ นอยู่ของมนุษย์ใน
สมัยก่อนเพิ่มเติมจำกหลักฐำนอื่น ๆ เท่ำที่ได้ค้นพบแล้วขณะนี้ ใน
ประเทศไทยพบที่ถ้ ำำคน อำำเภอบ้ำนเผือ จังหวัดอุดรธำนี เป็ นภำพ
ของกลุ่มคนออกล่ำสัตว์ และภำพกลุ่มวัว พบที่ถ้ ำำวัว อำำเภอบ้ำน
เผือ จังหวัดอุดรธำนี โดยเขียนด้วยสีแดงเป็ นส่วนใหญ่ ซึ่งนัก
โบรำณคดีได้กำำหนดอำยุของภำพเขียนสีเหล่ำนี้ ว่ำอยู่ในยุคสมัยหิน
ใหม่ถึงสมัยโลหะ หรือประมำณ 4,000 – 15,000 ปี มำแล้ว จำก
ภำพคนและสัตว์ดังกล่ำวได้ วิวัฒนำกำรมำเป็ นตัวอักษรไฮเออร์โร
ไกลฟิ ค (Hieroglyhic) ไฮเออร์รำติค (Hieratic) และโดเมติค

(Dometic) ในสมัยอำรยธรรมประวัติศำสตร์ยุคแรก (ประมำณ

5,000 ปี ก่อนคริสต์กำล) กลุ่มประเทศเมโสโปเตเมีย

(Mesopotamia) (ปั จจุบันคือประเทศอิรัก) ได้รู้จักใช้ของแข็งกดลง


บนพื้นดินทำำให้เกิดลวดลำยเป็ นตัวอักษร เรียกว่ำ อักษรลิ่ม
(Coneiform) ต่อมำจีนและอินเดียได้คิดค้นประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นใช้
ซึ่งนับได้ว่ำเป็ นตัวอักษรรุ่นแรก

ประเทศกรีกซึ่งอยู่ตอนใต้สุดของคำบสมุทรบอลข่ำน เป็ นที่


ยอมรับกันว่ำชำวกรีกเป็ นนักคิดและนักค้นคว้ำหำวิธีกำรถ่ำยทอด
ควำมรู้ ทำำให้ประเทศกรีกมีควำมเจริญทำงด้ำนศิลปวัฒนธรรม
ชำวกรีกได้รู้จักกำรนำำเอำสิ่งต่ำง ๆ มำใช้ประโยชน์ในกำรเรียน
กำรสอนใช้โสตทัศนูปกรณ์มำเป็ นสื่อกำรสอน เช่น รูปปั้ น รูปแกะ
สลัก กำรแสดงละคร ฯลฯ มำสอนในวิชำประวัติศำสตร์ ศีลธรรม
ศิลปะและดนตรี เป็ นต้น จึงกล่ำวได้ว่ำชำวกรีกเป็ นชำติแรกที่เอำ
โสตทัศนูปกรณ์มำเป็ นสื่อกำรสอนในวงกำรศึกษำ เป็ นรำกฐำน
ทำงวิชำกำรที่อำณำจักรโรมันและประเทศอังกฤษได้รับกำร
ถ่ำยทอดในเวลำต่อมำ

ประวัติของสิ่งพิมพ์

กำำเนิ ดของสื่อสิ่งพิมพ์ได้เริ่มต้นเมื่อปี พ.ศ. 338 จำกผู้คนใน


แถบเอเชียกลำงและจีนรู้จักกำรแกะสลักตรำบนกระดูกสัตว์และ
หิน แล้วใช้กดลงบนดินเหนี ยว ซึ่งเป็ นจุดเริ่มต้นของกำรพิมพ์ต่อมำ
อีกประมำณ 300 ปี จีนเป็ นชำติแรกที่คด
ิ วิธีกำรทำำกระดำษได้
สำำเร็จเพื่อใช้ในกำรเขียนและกำรพิมพ์ แต่ในสมัยนั้นนิ ยมใช้กำร
ลอกภำพจำกฝำผนัง และได้วิวัฒนำกำรเป็ นกำรแกะแม่พิมพ์ด้วย
ไม้รำวศตวรรษที่ 16 ต่อมำเกำหลีไดคิดค้นทำำตัวพิมพ์ด้วยโลหะ
และทำำเป็ นเบ้ำหลอมด้วยทรำยแทนพิมพ์ด้วยไม้

ในปลำยพุทธศตวรรษที่ 20 ชำวยุโรปได้คิดค้นวิธีกำรพิมพ์ขึ้น

2 แบบ แบบแรกเป็ นกำรพิมพ์ด้วยบล็อคไม้ ส่วนอีกแบบหนึ่ ง


เป็ นกำรพิมพ์เซำะร่องลึกด้วยแม่พิมพ์ทองแดง
พ.ศ. 1993 โยฮัน กูเตนเบอร์ก (Johann Gutenburg) พระ
นักบวชชำวเยอรมันได้คิดวิธีหล่อตัวพิมพ์ด้วยโลหะโดยแยกเป็ นตัว
ๆ แล้วนำำมำเรียงเป็ นข้อควำมและพิมพ์ ซึ่งได้จัดพิมพ์คำำภีร์ไบเบิ้ล
ขึ้น คำำภีรนี
์ ้ เรียกว่ำ “คำำภีรก
์ ูเตนเบอร์ก” ซึ่งเป็ นต้นแบบกำรพิมพ์
เลตเตอร์เพรส (Letter Press) ในเวลำต่อมำ

กำรพิมพ์ได้วิวัฒนำกำรต่อมำตำมลำำดับ ในประเทศไทยได้มี

หลักฐำนปรำกฏชัดว่ำได้เริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2205 ในรัชสมัยสมเด็จ


พระนำรำยณ์มหำรำช โดยมิชชันนำรีชำวฝรั่งเคสเข้ำสอนและเผย
แพร่คริสต์ศำสนำ ได้แต่งและพิมพ์หนังสือคำำสอนคริสต์ศำสนำเป็ น
ภำษำไทยขึ้นจำำนวน 26 เล่มเรียกว่ำ “สมุดฝรั่ง” ตัวอักษรที่ใช้
พิมพ์แกะเป็ นตัวอักษรโรมันแต่สะกดออกเสียงเป็ นภำษำไทย

พ.ศ. 2357 นำงแอนน์ จัดสัน ภรรยำของดร.จัดสัน มิชชันนำรี


ชำวเอริกันคณะแปบติสต์ประจำำประเทศพม่ำ ได้ออกแบบหล่อตัว
พิมพ์อักษรไทยโลหะและแท่นพิมพ์ไม้ ซึ่งไดรับควำมช่วยเหลือจำก
มิสเตอร์ฮัฟ นำยช่ำงหล่อตัวพิมพ์ชำวอเมริกันเป็ นผู้ดำำเนิ นกำรหล่อ
ให้ ต่อมำได้เกิดสงครำมระหว่ำงอังกฤษกับพม่ำ นำงแอนน์ จัดสัน
จึงได้ส่งแท่นพิมพ์และตัวพิมพ์ภำษำไทยไปไว้ท่ีเมืองกัลกัตตำ
ประเทศอินเดีย

พ.ศ. 2362 โรงพิมพ์ของคณะแปบติสต์ท่ีเมืองกัลกัตตำ ได้ตี


พิมพ์คำำสอนทำงคริสต์ศำสนำเป็ นภำษำไทย หนังสือเล่มนี้ แปลโดย
นำงแอนน์ จัดสัน ซึ่งได้เรียนรู้กำรอ่ำนและกำรเขียนภำษำไทยจำก
คนไทยในประเทศพม่ำมำก่อน เป็ นหนังสือสอนศำสนำเล่มแรกที่ตี
พิมพ์เป็ นภำษำไทย ต่อมำในปี พ.ศ. 2391 ได้มีกำรตีพิมพ์ตำำรำ
ไวยำกรณ์ไทย ซึ่งแต่งโดย ร้อยเอก เจมส์โลว์ นำยทหำรอังกฤษซึ่ง
รับรำชกำรอยู่กับรัฐบำลอังกฤษในอำณำนิ คมที่ประเทศอินเดีย
ต่อมำบำทหลวงโรเบิร์ตเบอร์น และทอมสัน มิชชันนำรีจำก
ลอนดอนได้ซ้ ือตัวพิมพ์ภำษำไทยจำกโรงพิมพ์ของคณะแปบติสต์ท่ี
เมืองกังกัตตำมำตั้งที่สิงคโปร์และในปี พ.ศ. 2375 บำทหลวงโร
เบิร์ตเบอร์นได้ถึงแก่กรรม ทอมสันจึงได้ขำยตัวพิมพ์ภำษำไทยให้
กับคณะมิชชันนำรีอเมริกัน (Board of Commissioner for Foreign)

ในปี พ.ศ. 2378 นำยแพทย์บีช แบลดเลย์ (Dr. Beach Bladley)


เดินทำงไปสิงคโปร์ได้นำำแท่นพิมพ์และตัวพิมพ์อักษรไทยเข้ำมำยัง
ประเทศไทยได้ปรับปรุงและขยำยกิจกำรพิมพ์ได้มีกำรออก
หนังสือพิมพ์บำงกอกรีคอร์ดเดอร์ (Bangkok Recorder) พิมพ์ท้ัง

ภำษำไทยและภำษำอังกฤษฉบับปฐมฤกษ์ออกเมื่อ วันที่ 4

กรกฎำคม 2387 ซึ่งตรงกับวันชำติสหรัฐอเมริกันและต่อมำได้ออก

หนังสือพิมพ์อ่ ืน ๆ อีก 6 ฉบับ เช่น บำงกอกกำร์แลนเดอร์ สยำมวิ


คลี่มอร์นิเตอร์ เป็ นต้น ต่อมำได้เลิกจัดพิมพ์จำำหน่ ำยเนื่ องจำก
ขำดทุน และจำกคนไทยสมัยนั้นไม่นิยมอ่ำนหนังสือข่ำว โรงพิมพ์
จึงได้รับจ้ำงพิมพ์ พิมพ์งำนอื่น ๆ แทน เช่น พิมพ์พระบรม
รำชโองกำร ประกำศห้ำมสูบฝิ่ น เมื่อวันที่ 27 เมษำยน พ.ศ. 2382
ซึ่งเป็ นเอกสำรภำษำไทยฉบับแรกที่พิมพ์ขึ้นในประเทศไทย จำำนวน
9,000 ฉบับ เป็ นที่น่ำสังเกตว่ำหนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ยุคแรกนั้น
ดำำเนิ นกำรโดยชำวต่ำงประเทศทั้งสิ้น

พ.ศ. 2405 พระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัวได้ทรงจัด


ตั้งโรงพิมพ์ขึ้น ในบริเวณพระบรมมหำรำชวังพระรำชทำนนำมว่ำ
“โรงพิมพ์พิมพกำร” มีพระเจ้ำน้องยำเธอกรมหมื่นภูบำลบริรักษ์
เป็ นผู้อำำนวยกำร ขุนสำรประเสริฐ ขุนมหำสิทธิโวหำร ขุนสุนทร
โวหำร และขุนปฏิภำณพิจิตรเป็ นอำลักษณ์ นอกจำกนี้ ยังมีพระสงฆ์
เปรียญมำทำำงำนเป็ นอำลักษณ์ช่ำงพิมพ์ด้วย นอกจำกช่ำงพิมพ์ท่ี
เป็ นคนไทยแล้ว พระองค์ทรงจ้ำงชำวต่ำงประเทศมำฝึ กหัดคนงำน
ในโรงพิมพ์ซึ่งจัดตั้งโรงพิมพ์หลวงนับว่ำทันสมัยมำกในยุคนั้น ทั้ง
ยังรับงำนของหลวงทั้งภำษำไทยและภำษำอังกฤษ มีเครื่องหล่อตัว
พิมพ์ภำษำไทยของโรงพิมพ์เองด้วย

สิ่งพิมพ์ในรัชสมัยพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว

(พ.ศ. 2394 - 2411) มีมำกมำยหลำยประเภท ทั้งประเภทวำรสำร


หนังสือพิมพ์ หนังสือจดหมำยเหตุ หนังสือข่ำว ตำำรำเรียน ศำสนำ
กฎหมำย วรรณคดี และประวัติศำสตร์ เนื่ องจำกพระองค์ทรงเห็น
คุณค่ำของกำรพิมพ์ว่ำสำมำรถเป็ นสื่อกลำงในกำรติดต่อกับ
ประชำชนได้ เพื่อให้ประชำชนได้ทรำบข่ำวสำรและรัฐประศำสนโย
บำยทรำบทั่วกัน ประกอบกับในระยะนั้นประเทศไทยเริ่มติดต่อ
ค้ำขำยกับประเทศตะวันตก มีประกำศรำคำสินค้ำและโฆษณำ
สินค้ำก็เริ่มมีแล้วในยุคนั้น

กำรพิมพ์ในรัชสมัยของพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำ

อยู่หัว (พ.ศ. 2411 - 2453) ได้เจริญรุ่งเรืองขึ้นตำมลำำดับ จำก


วัตถุประสงค์เพื่อศำสนำมำเป็ นเพื่อกำรศึกษำแก่ประชำชนและเพื่อ
ธุรกิจกำรค้ำ จึงมีโรงพิมพ์เกิดขึ้นมำกมำยทั้งภำษำไทย ภำษำ
อังกฤษ และภำษำจีนมีกำรแข่งขันกันมำกขึ้น ทำำให้คุณภำพของ
หนังสือดีขึ้นกว่ำเดิม มีกำรปรับปรุงตัวพิมพ์ให้สวยงำมนอกจำกนั้น
ยังมีกำรพิมพ์จำกพิมพ์หิน คือ กำรเขียนตัวหนังสือลงบนแผ่นหิน
แล้วนำำไปเป็ นแม่พิมพ์และสิ่งพิมพ์ท่ีให้ควำมตื่นเต้น ได้แก่
หนังสือพิมพ์รำยวันฉบับแรกของไทย คือ คอร์ต (Court) เป็ น
หนังสือข่ำวรำชกำรสมเด็จเจ้ำฟ้ ำกรมพระยำภำนุพันธ์วงศ์วรเดช
ทรงเป็ นผู้ริเริ่มและมีเจ้ำนำย อีก 10 พระองค์ช่วยกันแต่ง แต่ออก
มำได้เพียงปี เดียวก็หยุดดำำเนิ นกำรเพรำะไม่มีเวลำพอ

กำรพิมพ์ในรัชสมัยของพระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่

หัว (พ.ศ. 2453 - 2468) เป็ นยุคที่กำรพิมพ์ได้เจริญก้ำวหน้ำมำก


ทรงเห็นว่ำกำรพิมพ์หนังสือเป็ นกำรให้กำรศึกษำแก่ประชำชน จึงมี
กำรผลิตหนังสือดีออกมำกมำยและมีทก ุ สำขำวิชำ โดยเฉพำะ
หนังสือพระรำชนิ พนธ์ต่ำง ๆ มีกำรพิมพ์และกำรทำำเล่มอย่ำง
ประณีตงดงำม ทำำเป็ นปกแข็งมีหลำยสีมีลวดลำยตัวอักษรบนปก
เป็ นตัวนูนและเดินทอง ภำพประกอบภำยในเล่มมีท้ังภำพวำดลำย
เส้น ภำพถ่ำยในสมัยนี้ เริ่มมีตัวพิมพ์ตัวฝรั่งเศสและตัวจิว
๋ ใช้ใน
กิจกำรพิมพ์แล้ว ในปี พ.ศ. 2466 มีกำรจัดตั้งโรงงำนผลิตกระดำษ
ไทยด้วยเครื่องจักรเป็ นแห่งแรกที่ท่ำพำยัพ ถนนนครไชยศรี
อำำเภอดุสิต พระนคร โดยใช้เศษกระดำษที่เก็บจำกสถำนที่ทำำกำร
ของรัฐบำล และซื้อมำจำกประชำชนนำำมำยุบบดเป็ นเยื่อทำำ
กระดำษ

ในยุคนี้ ส่ิงพิมพ์ท่ีเห็นได้อย่ำงชัดเจนก็คือ หนังสือประเภทเรื่อง


สั้นเรื่องแปล นวนิ ยำย หนังสือประกอบภำพยนตร์และบทละคร
ชนิ ดต่ำง ๆ มำกที่สุด

กำรพิมพ์ในรัชสมัยของพระบำทสมเด็จพระปกเกล้ำเจ้ำอยู่หัว

(พ.ศ. 2468 - 2475) เป็ นสมัยที่กำรศึกษำขยำยตัวออกไปสู่


ประชำชน และยังมีเหตุกำรณ์สำำคัญเกิดขึ้น คือ กำรเปลี่ยนแปลง
กำรปกครองจำกระบอบสมบูรณำญำณสิทธิรำช มำเป็ นระบอบ
ประชำธิปไตย ในพ.ศ. 2475 ซึ่งเป็ นหัวเลี้ยวหัวต่อที่สำำคัญยิ่งของ
บ้ำนเมือง ทำำให้ประชำชนมีควำมสนใจในข่ำวสำรและสนใจในกำร
ค้นคว้ำหำควำมรู้มำกยิ่งขึ้น ยังมีผลให้มีหนังสือพิมพ์ออกจำำหน่ ำย
มำกกว่ำ 50 ฉบับ

กำรพิมพ์ในระหว่ำง พ.ศ. 2476 – พ.ศ. 2539 ในรัชสมัยของ


พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวอำนันทมหิดล จนถึงรัชกำลปั จจุบัน
ในระหว่ำงสงครำมโลกครั้งที่ 2 สิ่งพิมพ์ซบเซำลงมำก เนื่ องจำก
ขำกแคลนกระดำษ ควำมยำกลำำบำกในกำรครองชีพ จนกระทั่ง
สงครำมโลกยุติกิจกำรพิมพ์ได้เริ่มขึ้นใหม่อีกครั้งหนึ่ งมีท้ังชำวไทย
และชำวต่ำงประเทศ จัดตั้งโรงพิมพ์กันมำกมำย โรงพิมพ์ได้ขยำย
ออกไปทุกจังหวัดได้นำำเอำคอมพิวเตอร์เข้ำมำช่วยในกิจกำรพิมพ์
กันมำก ได้แก่ กำรประดิษฐ์ตัวอักษรไทยให้สวยงำมมำกยิ่งขึ้น กำร
ใช้คอมพิวเตอร์กรำฟิ กช่วยในกำรเรียงพิมพ์กำรออกแบบหนังสือ
กำรทำำแม่พิมพ์ในระบบออฟเซท และแยกสี เป็ นต้น เทคโนโลยี
ทำงกำรพิมพ์ยังพัฒนำต่อไปอย่ำงไม่หยุดนิ่ ง ซึ่งบำงครั้งกำรพิมพ์
ขึ้นอยู่กับสภำวะทำงกำรเมือง ถ้ำรัฐบำลมีเสถียรภำพมั่นคงก็ให้
อิสระแก่หนังสือพิมพ์ในกำรวิพำกษ์วิจำรณ์กำรทำำงำนของรัฐบำล
ได้มำก หำกเสถียรภำพของรัฐบำลไม่สู้ดีนักก็จะมีกำร

บทที่ 3 ประเภทของโสตทัศนูปกรณ์
Type of Audio Visual Equipments
ทรำบกันดีแล้วว่ำนักเทคโนโลยีกำรศึกษำได้จัดแบ่งประเภท
ของ สื่อกำรศึกษำ แบ่งออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. ประเภทวัสดุ (Material or Software) ประกอบไปด้วย
• วัสดุท่ีเสนอได้ด้วยตัวมันเอง
• วัสดุท่ ีต้องอำศัยอุปกรณ์ เครื่องมืออื่นเป็ นตัวนำำเสนอ
1. ประเภทเครื่องมือหรือโสตทัศนูปกรณ์ (Device or
Hardware)
2. ประเภทเทคนิ คหรือวิธีการ (Technique or Method)
และนักเทคโนโลยีกำรศึกษำ ยังได้จัดจำำแนกโสตทัศนูปกรณ์
ออกไปอีกเป็ น 3 ประเภทคือ
1.โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
2.โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องฉำย
3.โสตทัศนูปกรณ์ประเภทกำรรองรับ กำรบันทึก
กำรจัดแสดง
1. โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง นับเป็ นสิ่งจำำเป็ นอย่ำง
หนึ่ งในกำรสื่อสำร จำกผู้ถ่ำยทอดสำรไปยังผู้รับสำร หรือจำกสื่อที่
ใช้เสียงในกำรเรียนรู้ ทำำให้ผู้ฟังได้ยินเสียงอย่ำงชัดเจนดีย่ิงขึ้นกว่ำ
กำรพูดธรรมดำ และยังเป็ นสิ่งกระตุ้นควำมสนใจที่ช่วยให้ผู้เรียน
หรือผู้รับสำรเข้ำใจเนื้ อหำได้ดีย่ิงขึ้น
ความหมายของเครื่องเสียง เครื่องเสียงเป็ นอุปกรณ์ท่ีเป็ น
สื่อกลำงในกำรถ่ำยทอดเนื้ อหำประเภทเสียงจำกมนุษย์และแหล่ง
กำำเนิ ดเสียงต่ำงๆ ให้ดังมำกขึ้นเพื่อให้ได้ระยะทำงในกำรได้ยิน
โดยมีองค์ประกอบหลักคือ กำรรับ กำรขยำย และกำรส่งออก ซึ่ง
เป็ นระบบกำรเพิ่มกำำลังควำมดังของเสียงให้ชัดเจนและกว้ำงไกล
มำกขึ้น
ความสำาคัญของ “เครื่องเสียง” เสียงคนเรำโดยปกติมี
ควำมดังประมำณ 60 เดซิเบล เท่ำนั้น และเสียงก็ไม่สำมำรถขยำย
ให้ดังขึ้นหรือเก็บรักษำรูปคลื่นไว้ได้ แต่เครื่องขยำยเสียงสำมำรถ
เปลี่ยนเป็ นคลื่นไฟฟ้ ำได้โดยกำรอำศัยทฤษฎีกำรเหนี่ ยวนำำของ
สนำมแม่เหล็กผ่ำนขดลวด เครื่องเสียงจึงมีควำมสำำคัญในกำรเป็ น
สื่อกลำงของกำรเพิ่มควำมดังของเสียง เช่น เสียงจำกกำรบรรยำย
กำรเรียนกำรสอน รวมถึงแหล่งกำำเนิ ดเสียงต่ำงๆ ด้วย
หลักการทำางานของเครื่องเสียง กำรเพิ่มควำมดังของ
เสียงให้สำมำรถได้ยินได้ฟังกันอย่ำงทั่วถึง มีองค์ประกอบแบ่งออก
เป็ น 3 ภำคได้แก่
1. ภาคสัญญาณเข้า (Input Signal) ภำคที่เปลี่ยนคลื่น
เสียงธรรมชำติให้เป็ นพลังงำนไฟฟ้ ำควำมถี่เสียง ได้แก่
ไมโครโฟน เครื่องเล่นเทปคำสเซ็ท/ซีดี เป็ นต้น
2. ภาคขยายสัญญาณ (Amplifier) ทำำหน้ำที่รับสัญญำณ
ไฟฟ้ ำควำมถี่เสียงมำขยำยให้มีกำำลังแรงมำกขึ้น โดยไม่ผิด
เพี้ยนจำกแหล่งกำำเนิ ดเสียง ได้แก่ เครื่องขยำยเสียง
ประเภทต่ำงๆ หรืออุปกรณ์ท่ีบรรจุภำคขยำยสัญญำณไว้ใน
ตัว เช่น เครื่องเล่นวิทยุเทป/ซีดี เป็ นต้น
3. ภาคสัญญาณออก (Output Signal) ทำำหน้ำที่รับ
สัญญำณไฟฟ้ ำควำมถี่เสียง ที่ได้รับกำรขยำยแล้วมำ
เปลี่ยนเป็ นคลื่นเสียงธรรมชำติเหมือนต้นกำำเนิ ดเสียงทุก
ประกำร ได้แก่ ลำำโพงชนิ ดต่ำงๆ
2. โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องฉาย โสตทัศนูปกรณ์
ประเภทเครื่องฉำยได้เข้ำมำมีบทบำทสำำคัญในกำรถ่ำยทอดควำมรู้
เนื้ อหำสำระเป็ นอย่ำงมำก เป็ นเครื่องมือในกำรถ่ำยทอดเนื้ อหำบท
เรียนประเภทสื่อโสตทัศน์ให้แก่ผู้เรียนหรือผู้ชม ทำำให้เห็นสิ่งที่เป็ น
นำมธรรมเป็ นรูปธรรมได้อย่ำงชัดเจนยิ่งขึ้น ทั้งในลักษณะภำพนิ่ ง
ภำพเคลื่อนไหว ซึ่งเป็ นสิ่งช่วยกระตุ้นควำมสนใจและช่วยให้เข้ำใจ
เนื้ อหำสำระได้ง่ำยและรวดเร็วยิ่งขึ้น
ความหมายของ “เครื่องฉาย” เครื่องฉำยมีลักษณะเป็ น
อุปกรณ์ (Hardware) เป็ นสื่อกลำงหรือตัวผ่ำนในกำรถ่ำยทอด
ข้อมูลเนื้ อหำจำกโสตทัศนวัสดุท่ีไม่สำมำรถถ่ำยทอดเนื้ อหำได้ด้วย
ตัวเอง ทำำให้เนื้ อหำ ข้อมูลปรำกฏขึ้นบนจอรับภำพให้มองเห็นได้
ความสำาคัญของเครื่องฉาย สื่อกำรสอนที่เห็นเป็ นรูปธรรม
ได้แก่ส่ ือที่เป็ นวัสดุและอุปกรณ์ สื่อวัสดุท่ส
ี ำมำรถถ่ำยทอดด้วยตัว
เอง ได้แก่ รูปภำพ ของจริง ของจำำลอง ฯลฯ และวัสดุท่ีไม่สำมำรถ
ถ่ำยทอดได้ด้วยตัวเอง ต้องอำศัยอุปกรณ์ช่วยให้เนื้ อหำที่บรรจุอยู่
ในสื่อวัสดุน้ันปรำกฏออกมำให้มองเห็นหรือได้ยิน เช่น แผ่น
โปร่งใส ฟิ ล์มสไลด์ ฟิ ล์มภำพยนตร์ เทปวีดิทัศน์ ฯลฯ แต่หำกเป็ น
สื่อวัสดุท่ีบรรจุเนื้ อหำประเภทภำพและเสียงแล้ว จำำเป็ นต้องอำศัย
อุปกรณ์ประเภทเครื่องฉำยที่ถ่ำยทอดเสียงออกทำงลำำโพง โดยจะ
ช่วยในกำรขยำยขนำดของภำพให้มีขนำดใหญ่ขึ้นและเห็นได้อย่ำง
ชัดเจนทั่วทั้งห้อง ทำำให้ผู้ชมสำมำรถเข้ำใจได้ง่ำยและรวดเร็ว เพิ่ม
ควำมน่ ำสนใจรวมถึงมีควำมสนุกและตื่นเต้นเร้ำใจเพิ่มมำกขึ้นด้วย
องค์ประกอบในการฉาย
1. เครื่องฉาย (Projector) ใช้เป็ นอุปกรณ์เครื่องมือในกำร
ถ่ำยทอดเนื้ อหำจำกสื่อวัสดุ ปรำกฏเป็ นภำพหรือเสียงและ
ภำพ ได้แก่ เครื่องฉำยภำพข้ำมศีรษะ เครื่องฉำยสไลด์
เครื่องฉำยภำพยนตร์ เป็ นต้น
2. โสตทัศนวัสดุ (Materials) เนื่ องจำกเครื่องฉำยจำำเป็ น
ต้องใช้ “แสง” ในกำรฉำยภำพ ดังนั้นวัสดุท่ีใช้ในกำรฉำย
จึงแบ่งออกเป็ น 3 ชนิ ดคือ
2.1 วัสดุโปร่งแสง (Transparency) เป็ นวัสดุท่ีให้แสง
ผ่ำนได้โดยไม่มีกำรเปลี่ยนแปลง ได้แก่ แผ่นโปร่งใสที่ใช้
กับเครื่องฉำยภำพข้ำมศีรษะ
2.2 วัสดุกึง
่ โปร่งแสง (Translucent) เป็ นวัสดุท่ียอมให้
แสงผ่ำนไปได้บ้ำง แต่จะกระจำยกระจำยแสงทำำให้
ควำมเข้มลดลงด้วย เช่น ฟิ ล์มสไลด์ ฟิ ล์มภำพยนตร์
2.3 วัสดุทึบแสง (Opaque) เป็ นวัสดุท่ ีแสงผ่ำนไม่ได้
เช่น กระดำษ ของจริง เป็ นต้น
วัสดุเหล่ำนี้ จะต้องใช้กับเครื่องฉำยที่มร
ี ะบบฉำยแตกต่ำง
กัน โดยต้องมีกำรบันทึกข้อมูลที่เป็ นตัวอักษร ภำพ หรือ
ภำพและเสียง ลงบนวัสดุน้ันให้เรียบร้อยก่อนนำำมำฉำย
จอรับภาพ (Screen) เป็ นจอหรือฉำกสำำหรับรับภำพที่
1.
ฉำยมำจำกเครื่อง ให้เห็นได้อย่ำงชัดเจน โดยปกติจะเป็ น
จอที่มีพ้ ืนผิวเคลือบด้วยวัสดุท่ีมีคุณสมบัติในกำรสะท้อน
แสงได้ดี แต่หำกไม่สำมำรถหำได้จริงก็อำจใช้ผนังห้องสี
ขำวเป็ นจอรับภำพแทนได้
ส่วนประกอบของเครื่องฉาย เครื่องฉำยโดยทั่วไปมีส่วน
ประกอบที่คล้ำยคลึงกัน จะแตกต่ำงบ้ำงคือตำำแหน่ งกำรวำงของ
ส่วนประกอบต่ำงๆ ที่สำำคัญได้แก่
หลอดฉำย (Projection Lamp)
1.
2. เลนส์ควบแสง (Condenser Lens)
3. เลนส์ฉำย (Projection Lens)
4. แผ่นสะท้อนแสง (Reflector)
5. พัดลม
ระบบฉาย เครื่องฉำยต่ำงๆ สำมำรถจำำแนกออกได้เป็ น 3 ระบบ
1. ระบบฉายตรง เป็ นกำรฉำยโดยให้แสงผ่ำนทะลุ
วัสดุฉำยและเลนส์ฉำยไปยังจอภำพในแนวเส้นตรง กำรใส่
วัสดุต้องใส่ไว้หลังเลนส์ฉำยในลักษณะตั้งฉำกกับพื้น เหมือน
กับภำพที่ปรำกฏบนจอรับภำพ เนื่ องจำกเลนส์จะกลับภำพ
ภำพที่ฉำยออกไปเป็ นด้ำนตรงข้ำม ด้วยเหตุน้ี จึงต้องใส่วัสดุ
ฉำยในลักษณะหัวกลับเสมอ
2. ระบบฉายอ้อม เป็ นกำรฉำยโดยให้แสงจำกหลอดฉำย
ผ่ำนขึ้นไปยังเลนส์ฉำย โดยมีกำรหักเหของลำำแสงผ่ำนวัสดุ
ฉำยไปยังจอรับภำพ กำรใส่วัสดุฉำยในระบบฉำยอ้อมคือ ต้อง
วำงวัสดุฉำยในแนวระนำบบนแท่นเครื่องฉำย โดยหันด้ำน
หน้ำขึ้นบบนและริมล่ำงเข้ำหำจอ
3. ระบบฉายสะท้อน เป็ นกำรฉำยโดยให้หลอดฉำยส่อง
ตรงมำยังวัสดุฉำยก่อนแล้วจึงสะท้อนไปยังกระจกเงำ ที่อยู่
ด้ำนบนสุดของเครื่องสะท้อนแสงผ่ำนไปยังเลนส์ฉำย และ
ส่องแสงปรำกฏเป็ นภำพบนจอรับภำพ กำรใส่วัสดุฉำยใน
ระบบฉำยสะท้อนคือ ต้องวำงวัสดุฉำยตำม
ลักษณะที่เป็ นจริงใน แนวระนำบบนแท่นวำง
ของเครื่องฉำย

ประเภทของโสตทัศนูปกรณ์

สำมำรถจำำแนกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ


1. ประเภทแสง ได้แก่ เครื่องฉำยต่ำง ๆ รวมทั้งวัสดุ
อุปกรณ์อ่ ืน ๆ ที่ประกอบกันเป็ น ระบบฉำย (Projected System)
2. ประเภทเสียง ได้แก่ เครื่องขยำยเสียง รวมทั้งวัสดุ
อุปกรณ์ต่ำง ๆ ที่ประกอบกันเป็ นระบบขยำยเสียง (Amplifier
System)
โสตทัศนูปกรณ์

โสตทัศนูปกรณ์ประเภทแสงที่นิยมใช้ในปั จจุบันมีดังนี้
1. เครื่องฉายสไลด์ (Slide Projector)
เครื่องฉำยสไลด์เป็ นเครื่องฉำยระบบฉำยอ้อม
(Indirect Projector) ที่สร้ำงขึ้นมำสำำหรับฉำยภำพโปร่งใส
ขนำดเล็กที่นิยมมำกในปั จจุบัน เป็ นภำพที่ถ่ำยด้วยฟิ ล์ม 35 มม.
นำำมำใส่กรอบขนำด 2x2 นิ้ ว
ชนิ ดของเครื่องฉายสไลด์ จำาแนกตามลักษณะการ
ทำางานของเครื่องฉายมี 2 ชนิ ด คือ
1. เครื่องฉายสไลด์แบบธรรมดา (Manual
Slide Projector) เป็ นเครื่องฉำยที่ออกแบบมำโดยใช้
คนควบคุมกำรทำำงำนทุกขั้นตอน
2. เครื่องฉายสไลด์แบบอัตโนมัติ
(Automatic Projector) เป็ นเครื่องฉำยที่ออกแบบให้ทำำงำน
อัตโมนัติ
สำมำรถเชื่อมต่อสัญญำณกับเครื่องบันทึกเสียงแบบสัมพันธ์ภำพ
และเสียง (Synchronize Type) หรือเครื่องควบคุมกำรฉำย
(Dissolve Control Unit) ได้
ส่วนประกอบของเครื่องฉายสไลด์ ทีส ่ ำาคัญแบ่งได้
เป็น 2 ส่วน คือ
1. ส่วนประกอบภายนอก ได้แก่ ตัวเครื่องฉำย
(Body) มีลก ั ษณะเป็ นรูปทรงสี่เหลี่ยมแบนเล็กน้อย
โดยทั่วไปทำำด้วยโลหะ บนตัวเครื่องฉำยมีส่วนประกอบต่ำง ๆ ดังนี้
- ร่องวำงถำดใส่สไลด์และช่องเปลี่ยนภำพ
สไลด์
- ป่ ุมสวิตซ์เปิ ด-ปิ ด
- ช่องเลื่อนสำยไฟ AC
- ช่องใส่เลนส์
- ป่ ุมปรับควำมคมชัดของภำพ (มีบำงรุ่น)
2. ส่วนประกอบภายใน ได้แก่ อุปกรณ์
ฉำยต่ำง ๆ เช่น จำนสะท้อน หลอดฉำย เลนส์รวมแสง เลนส์
ฉำย
หลักการใช้เครื่องฉายสไลด์
1. ต้องศึกษำคู่มือกำรใช้เครื่องฉำยให้เข้ำใจ
2. เตรียมเครื่องฉำยบนแท่นวำง
3. ตรวจสภำพเครื่องฉำยให้พร้อมที่จะใช้งำนได้
4. เตรียมห้องฉำย จอ และอุปกรณ์อ่ ืน ๆ ที่จำำเป็ น
5. นำำรำงหรือถำดใส่ในเครื่องให้ถก ู ต้อง
6. เสียบปลัก ๊ ไฟ เปิ ดสวิตซ์พัดลม และสวิตซ์แสง
7. กดป่ ุมเดินหน้ำ เฟรมที่ 1 ปรับขนำดและควำม
คมชัด
8. ฉำยภำพตำมเนื้ อหำที่กำำหนดไว้พร้อมอธิบำย
ประกอบ
9. เมื่อจบแล้วให้ปิดสวิตซ์แสงรอให้หลอดฉำย
เย็นแล้วจึงปิ ดสวิตซ์พัดลม
10. เก็บสำยไฟ ปรับเลนส์ให้เข้ำที่แล้วเก็บเครื่อง
ฉำย
หลักการดูแลเครื่องฉายสไลด์
1. ใช้ให้ถก ู ตำมที่กล่ำวมำแล้ว
2. ไม่เคลื่อนย้ำยเครื่องฉำยขณะหลอดฉำยกำำลัง
ร้อน
3. ควรเก็บเครื่องฉำยในที่ท่ีมีอุณหภูมิต่ ำำและไม่มี
ฝ่ ุนละออง
4. ในกรณีเครื่องใหม่ต้องศึกษำวิธีใช้จำกคู่มือ
ประจำำเครื่องให้เข้ำใจ
5. ถ้ำเครื่องชำำรุดควรส่งให้ช่ำงผู้ชำำนำญซ่อม
6. อย่ำให้เครื่องตกหรือกระทบกระแทกเด็ดขำด
7. กำรเปลี่ยนหลอดฉำย ห้ำมใช้มือจับหลอด
2. เครื่องฉายฟิ ล์มสตริป (Filmstrip Projector)
เครื่องฉำยฟิ ล์มสตริปเป็ นเครื่องฉำยระบบฉำยตรง
สำมำรถฉำยได้ท้ังสไลด์และฟิ ล์มสตริปในเครื่องเดียวกัน
เพียงแต่เปลี่ยนชุดสำำหรับใส่ฟิล์มสตริป (Filmstrip Carrier)
เข้ำไปแทนก็ใช้ได้ ฟิ ล์มสตริปเป็ นแถบฟิ ล์ม 35 มม. บันทึกภำพนิ่ ง
เช่นเดียวกับสไลด์ แต่ไม่ตัดฟิ ล์มออกเป็ นภำพ ๆ เมื่อจะฉำยก็ใส่
ฟิ ล์มทั้งม้วนเข้ำในเครื่อง
แล้วฉำยภำพทีละภำพตำมลำำดับ
ฟิ ล์มสตริปมี 2 ขนาด คือ
1. ชนิ ดกรอบภาพคู่ (Full Frame or
Double Frame) ปั จจุบันไม่ค่อยนิ ยมใช้
2. ชนิ ดกรอบภาพเดีย ่ ว (Half Frame or
Single Frame) ขนำดกรอบภำพเป็ นครึ่งหนึ่ ง
ของกรอบภำพคู่มือ 18 x 24 มม. มีจำำนวนกรอบภำพ 60 ภำพ
หรือมำกกว่ำ ฟิ ล์มสติปมีน้ ำำหนักเบำ ขนำดเล็ก เก็บรักษำง่ำย
ใช้ได้สะดวกกว่ำภำพสไลด์ เพรำะภำพเรียงเป็ นลำำดับติดกันอยู่แล้ว
สะดวกที่จะใช้ประกอบกำรสอน แต่มีข้อเสียก็คือ
หำกภำพใดภำพหนึ่ งชำำรุดเสียหำยจะแก้ไขยำก ต้องผลิตใหม่ท้ัง
ม้วน หรือจัดซื้อใหม่
วิธีใช้เครื่องฉายฟิ ล์มสตริป
1. ศึกษำคู่มือประจำำเครื่องให้เข้ำใจ
2. ตั้งเครื่องฉำยบนแท่นวำงสูงกว่ำระดับศีรษะผู้ดู
เล็กน้อย และห่ำงจำกจอพอสมควร
3. บรรจุฟิล์มสตริปโดยกลับหัวลงเช่นเดียวกับกำร
ใส่ฟิล์มสไลด์
4. เลียบปลัก ๊ เปิ ดสวิตซ์พัดลมและสวิตซ์แสงตำม
ลำำดับ
5. ปรับควำมคมชัดของภำพบนจอ
6. หมุนแกนดึงฟิ ล์มเพื่อฉำยภำพทีละภำพจนจบ
7. เมื่อฉำยภำพจบให้ปิดสวิตซ์แสง และรอจน
กระทั่งพัดลมเป่ ำหลอดฉำยให้เย็นแล้ว
3. เครื่องฉายภาพยนตร์ (Motion Picture
Projector)
เครื่องฉำยภำพยนตร์เป็ นเครื่องฉำยในระบบฉำยตรง
แต่มส ี ่วนประกอบอื่น ๆ เพิ่มมำกขึ้น ได้แก่
เฟื องหนำมเตย (Sprocket Wheel) กวัก (Intermittent) ใบพัด
ตัดแสง (Shutter)
คำำว่ำ ภำพยนตร์ หมำยถึง ภำพที่มก ี ำรเคลื่อนไหวได้
เหมือนเหตุกำรณ์จริง แต่ควำมจริงแล้วภำพดังกล่ำว
มิได้เคลื่อนไหวจริง มันเป็ นภำพที่เกิดจำกอนุกรมของภำพที่ค่อย ๆ
เปลี่ยนจำกภำพนิ่ งภำพหนึ่ งไปสู่ภำพนิ่ งใหม่อย่ำงต่อเนื่ อง

หลักการใช้เครื่องฉายภาพยนตร์
ก่อนฉาย ก่อนใช้เครื่องฉำยควรปฏิบัติดังนี้
1. ทำำควำมสะอำดส่วนต่ำง ๆ เช่น เลนส์
ประตูฟิล์ม ฯลฯ
2. ตรวจสอบระบบไฟ ต่อไฟเข้ำเครื่อง ต่อ
ลำำโพง
3. กำรตั้งจอต้องอยู่ในมุมตั้งฉำกกับเครื่อง
ฉำย
4. ร้อยฟิ ล์มเข้ำเครื่อง ตำมผังกำรร้อย
ฟิ ล์มของเครื่องฉำยแต่ละเครื่อง
ขณะฉาย เมื่อจะเริ่มฉำยควรปฏิบัติดังนี้
1. เปิ ดสวิตซ์มอเตอร์ (Forward)
2. เปิ ดสวิตซ์ฉำย (Lamp)
3. เปิ ดสวิตซ์เสียง (Volume) ปรับระดับ
เสียง (Tone)
- ถ้ำเป็ นฟิ ล์มเงียบ ใช้สวิตซ์ Silent
- ถ้ำเป็ นฟิ ล์มเสียง ใช้สวิตซ์ Sound
4. ปรับควำมคมชัด
5. ปรับกรอบภำพให้สมบูรณ์
6. ถ้ำมีเสียงผิดปกติหรือกลิ่นไหม้ให้หยุด
ฉำยทันที
เลิกฉาย
1. ลดเสียงให้ต่ ำำลง
2. ปิ ดสวิตซ์ฉำย แต่ปล่อยให้ฟิล์มเดินต่อ
ไปจนหมดม้วน
3. กดคลัชต์ให้เฟื องหนำมเตยหยุด แล้วดึง
หำงฟิ ล์มมำร้อยกับล้อส่งฟิ ล์ม เพื่อหมุนฟิ ล์มกลับมำในม้วนเดิม
4. เมื่อพัดลมเป่ ำหลอดฉำยเย็นดีแล้วจึง
ปิ ดสวิตซ์พัดลมและเก็บเครื่องได้

การเก็บรักษาเครื่องฉายภาพยนตร์
1. ตรวจดูน้ ำำมันหล่อลื่นตำมจุดที่ต้องกำรให้
หล่อลื่น อย่ำให้แห้ง
2. ทำำควำมสะอำดทำงเดินของฟิ ล์มและเลนส์
อย่ำให้สกปรก
3. ให้พัดลมเป่ ำหลอดฉำยจนกระทั่งเย็นทุก
ครั้ง

การเก็บรักษาฟิ ล์มภาพยนตร์
1. เมื่อไม่ใช้ต้องเก็บฟิ ล์มให้มิดชิด
2. อย่ำใช้มือจับที่ผิวฟิ ล์ม
3. อย่ำร้อยฟิ ล์มในเครื่องฉำยให้หย่อนหรือตึงเกิน
ไป
4. ขณะฉำยอย่ำหยุดฟิ ล์มที่ประตูฟิล์มนำนเกินไป
5. ควรตรวจเครื่องฉำยให้อยู่ในสภำพปกติ
ปรำศจำกฝ่ ุนโดยเฉพำะประตูฟิล์ม

4. เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ (Overhead Projector)


เครื่องฉำยภำพข้ำมศีรษะหรือเครื่องฉำยภำพโปร่งใส
เป็ นเครื่องฉำยระบบฉำยอ้อม (Indirect Projector)
ปั จจุบันมี 3 ชนิ ด คือ
1. ชนิ ดแสงส่องตรง หลอดฉำยที่อยู่ใต้แท่นรองรับ
วัสดุฉำย จะส่องผ่ำนเลนส์เกลี่ยแสง (Fresnel Lens)
ตรงไปยัง เลนส์ฉำย (Objective Lens) ซึ่งอยู่ส่วนหัวเครื่องฉำย
นั้น
2. ชนิ ดแสงสะท้อน หลอดฉำยที่อยู่ใต้แท่นจะส่องแสง
ไปยังกระจกเงำที่เอียง 45 องศำ แล้วสะท้อนแสง
ผ่ำนวัสดุฉำยไปยังเลนส์ฉำย (Objective Lens) ซึ่งอยู่ส่วนหัว
เครื่องฉำยนั้น
3. ชนิ ดที่มีแสงสะท้อนแสงติดบนแท่น หลอดฉำยจะ
ติดอยู่กับหัวเครื่องฉำย จึงไม่มีส่วนตัวเครื่อง (Lamp House)
ไม่มีพัดลมเป่ ำหลอด เครื่องฉำยชนิ ดนี้ มีน้ ำำหนักเบำ แต่หลอดจะ
ขำดง่ำย เพรำะไม่มีระบบระบำยควำมร้อน
ส่วนประกอบของเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
เครื่องฉำยภำพข้ำมศีรษะมีส่วนประกอบที่สำำคัญ 2
ส่วน ดังนี้
1. ส่วนประกอบภายนอก
1.1 ตัวเครื่องฉำย (Body) มีลักษณะเป็ นกล่อง
มักทำำด้วยโลหะ ด้ำนบนเป็ นแท่นกระจกสำำหรับวำงวัสดุฉำย
มุมด้ำนขวำมือมีเสำสำำหรับติดตั้งหัวฉำย ด้ำนข้ำงมีแกนยึดแผ่น
โปร่งใสแบบม้วน ด้ำนหลังมีสำยไฟและสวิตซ์ควบคุมกำรทำำงำน
1.2 แขนเครื่องฉำยและหัวฉำย จะประกอบต่อกับ
เสำเครื่องฉำย สำมำรถปรับเลื่อนขึ้น-ลง ตำมแนวดิ่งได้
1.3 อุปกรณ์กำรฉำยพิเศษ ใช้กับเทคนิ คกำรนำำ
เสนอแผ่นโปร่งใสแบบเคลื่อนไหว (Polarizing Transparency)
อุปกรณ์น้ี เรียกว่ำ จำนหมุน หรือ สกินเนอร์ หรือ โพรำไรซ์ฟิล
เตอร์
2. ส่วนประกอบภายใน
2.1 หลอดฉำย (Projection Lamp) เป็ นแหล่ง
กำำเนิ ดแสง
2.2 แผ่นสะท้อนแสง (Reflector) ทำำหน้ำที่
หักเหและสะท้อนแสงที่ออกทำงด้ำนหลังของหลอดฉำย
ทำำให้แสงมีควำมเข้มมำกขึ้น
2.3 เลนส์เกลี่ยแสง (Fresnel Lamp) ทำำหน้ำที่
เกลี่ยแสงที่มีจำกหลอดฉำยส่องผ่ำนวัสดุฉำย
3. แท่นวำงวัสดุฉำย (Transparency Table) ใช้วำง
แผ่นโปร่งใส เพื่อให้ทำำหน้ำที่ขยำยภำพหรือวัสดุฉำยให้มีขนำด
ใหญ่ไปปรำกฏบนจอ
4. เลนส์ฉำย (Objective Lens) เป็ นเลนส์นน ู ที่อยู่ใน
หัวฉำยทำำหน้ำที่ขยำยภำพ หรือวัสดุฉำยให้มีขนำดใหญ่ไปปรำกฏ
บนจอ
5. กระจกเงำระนำบหรือกระจกเอน (Tilt Mirror) ทำำ
หน้ำที่รับภำพจำกเลนส์ฉำยแล้วหักเหลำำแสงให้ไปปรำกฏบนจอ
6. พัดลม (Fan or Electric Fan) ทำำหน้ำที่ระบำย
ควำมร้อนให้กับหลอดฉำยบำงเครื่องมีสวิตซ์ปิด-เปิ ดโดยเฉพำะ
บำงเครื่อง
มีสวิตซ์อัตโนมัติซึ่งเรียกว่ำ เทอร์โมสตำร์ท
(Themestat)
ขัน
้ ตอนการใช้เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
1. เตรียมแผ่นโปร่งใสที่จะใช้ให้พร้อม เรียงตำม
ลำำดับขั้นตอน
2. ตั้งจอและเครื่องฉำยให้ห่ำงกันประมำณ 1.5-2
เมตร โดยวำงเครื่องฉำยให้ม่น ั คงและตำำแหน่ งของเลนส์ฉำยตั้ง
ฉำกกับจอ
3. ทำำควำมสะอำดแท่นวำงแผ่นโปร่งใส เลนส์
ฉำย ตรวจระบบไฟเครื่องฉำยแล้วเสียบปลัก ๊
4. ทดลองฉำย เปิ ดสวิตซ์เครื่องฉำย วำงปำกกำ
หรือวัสดุทึบแสงอื่น ๆ ที่มีขนำดเล็กปรับโฟกัสจนเกิดควำมคมชัด
5. ขณะฉำยควรปิ ดข้อควำมหรือรูปภำพที่ยัง
บรรยำยไม่ถึงด้วยกระดำษทึบแสงและค่อย ๆ เปิ ดเมื่ออธิบำยถึง
เนื้ อหำนั้น
6. เมื่อจะเปลี่ยนหลอดฉำยควรจะเปิ ดฉำยก่อนทุก
ครั้ง
7. เมื่อต้องกำรชี้ข้อควำมหรือรูปภำพควรใช้วัสดุ
ทึบแสงขนำดเล็ก ๆ
8. เมื่อเลิกใช้ให้ปิดหลอดฉำยปล่อยให้พัดลม
ทำำงำนต่อไปจนเครื่องเย็นลง พัดลมจะหยุดโดยอัตโนมัติ

หลักการเลือกเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ
1. กำำลังส่องสว่ำงของเครื่องสูง สำมำรถปรับ
กำำลังส่องสว่ำงและเปลี่ยนหลอดได้สะดวกรวดเร็ว
2. คุณภำพของภำพที่ปรำกฏบนจดชัดเจน ไม่พร่ำ
มัว ขนำดของเลนส์เหมำะกับระยะทำงในกำรฉำยหรือเหมำะกับ
ห้องฉำย
3. สะดวกในกำรซ่อมแซมและบำำรุงรักษำ หำ
อะไหล่ได้ง่ำย รำคำถูก
4. เครื่องเดินเงียบสมำ่ำเสมอ ไม่มีเสียงรบกวนจำก
พัดลม
5. มีควำมแข็งแรงทนทำน นำ้ำหนักเบำ เคลื่อน
ย้ำยง่ำย

ข้อควรระวังในการเก็บรักษาเครื่องฉายภาพข้าม
ศีรษะ
1. ไม่ควรใช้เครื่องฉำยติดต่อกันเป็ นเวลำนำน
ควรปิ ดพักหลอดฉำยสลับกันเป็ นระยะ ๆ ในขณะอภิปรำย
2. เมื่อจะเคลื่อนย้ำยเครื่องฉำยต้องปิ ดหลอดฉำย
ก่อน และรอให้หลอดฉำยเย็นก่อนจึงจะเคลื่อนย้ำยได้อย่ำง
ปลอดภัย
3. ถ้ำมีฝุ่นละอองจับเลนส์หรือกระจกเงำสะท้อน
แสง ควรใช้กระดำษเช็ดเลนส์หรือหนังชำมัวร์เช็ด
ทำำควำมสะอำดแต่ไม่ควรทำำบ่อยนัก
4. กำรเปลี่ยนหลอดฉำย ห้ำม!! ใช้มือจับกระเปำะ
หลอดแก้ว (หลอดฉำยใหม่) ควรใช้ผ้ำน่ ุม ๆ สะอำด ๆ พันก่อน
แล้วจึงทำำกำรเปลี่ยนและต้องใส่ข้ัวให้ถก
ู ด้ำนด้วย
5. ไม่ควรใช้สำยไฟฟ้ ำขั้นเสียบของเครื่องฉำยถูก
นำ้ำ เพรำะอำจทำำให้ไฟฟ้ ำลัดวงจรเป็ นอันตรำยต่อผู้ใช้ได้

5. เครื่องฉายทึบแสง (Opaque Projectors)


เครื่องฉำยทึบแสงเป็ นเครื่องฉำยภำพจำกวัสดุฉำยทึบ
แสง เช่น ภำพจำกหนังสือ ภำพโฆษณำ ดินสอ ปำกกำ ฯลฯเครื่อง
ฉำยชนิ ดนี้ ต้องใช้ในห้องมืดมำก ๆ จึงจะได้ภำพคมชัดและไม่เหมำะ
ที่จะฉำยติดต่อกันนำน ๆ เพรำะหลอดฉำยร้อนมำกจนอำจทำำให้
วัสดุฉำยกรอบหรือชำำรุดได้
การใช้เครื่องฉายฉายทึบแสง
1. วำงเครื่องฉำยบนแท่นวำงเครื่องที่ม่ันคงแล้วเสียบ
ปลัก ๊ ไฟ
2. วำงวัสดุฉำยชนิ ดทึบแสงบนแท่นวำงวัสดุฉำย โดย
ให้ขอบด้ำนล่ำงขวำวัสดุฉำยอยู่ด้ำนใกล้จอ
ขนำดของวัสดุท่ีวำงบนแท่นได้ไม่ควรเกิน 10 x 10 นิ้ ว
3. เปิ ดสวิตซ์ฉำยปรับระดับของเครื่องฉำยให้พอดีกับ
จอ
4. ควำมคมชัดของภำพโดยหมุนล้อปรับโฟกัสที่อยู่
ด้ำนข้ำงของเลนส์
5. ถ้ำต้องกำรให้ภำพเล็กหรือใหญ่ขึ้นจะต้องค่อย ๆ
เลื่อนเครื่องฉำยเข้ำหำหรืออกห่ำงจอและปรับควำมคมชัดใหม่
6. ห้องฉำยควรเป็ นห้องมืดสนิ ทและระบำยอำกำศได้
ดี
7. เมื่อเลิกใช้ให้ปิดสวิตซ์ฉำย เป่ ำให้พัดลมเป่ ำหลอด
ฉำยจนเย็น
8. ห้ำมเคลื่อนย้ำยหรือทำำให้เครื่องฉำยกระทบ
กระเทือนขณะหลอดหลำยกำำลังร้อน เพรำะอำจทำำให้หลอดขำดได้
ง่ำย
การบำารุงรักษาเครื่องฉายภาพทึบแสง
1. ไม่ควรฉำยติดต่อกันนำนเกินไป
2. อย่ำให้เครื่องสกปรก โดยเฉพำะเลนส์ฉำยและ
หลอดฉำย
3. ศึกษำคู่มือให้เข้ำใจวิธีใช้และบำำรุงรักษำที่ถูกต้อง
ส่วนประกอบโสตทัศนูปกรณ์ประเภทแสง
ส่วนประกอบของโสตทัศนูปกรณ์ประเภทแสงที่สำำคัญ ได้แก่
หลอดฉำยและแผ่นสะท้อนแสง วัสดุฉำย เลนส์ และจอ
1. หลอดฉายและแผ่นสะท้อนแสง (Projector
Lamp and Reflectors)
หลอดฉำยเป็ นแหล่งกำำเนิ ดแสงที่ส่องผ่ำนวัสดุฉำย
และเลนส์ให้ภำพไปปรำกฏบนจอ หลอดฉำยที่ใช้กันอยู่ในปั จจุบันมี
3 ชนิ ด คือ
1. หลอดอินแคนเดสเซนต์ (Incandescent
Lamp) เป็ นหลอดฉำยแบบเก่ำมีขนำดใหญ่ ภำยในบรรจุด้วย
ไนโตรเจนหรืออำร์กอน ไส้หลอดทำำด้วนทังสเตน ให้ควำมร้อนสูง
อำยุกำรใช้งำนต่อเนื่ องเฉลี่ยประมำณ 10 ชั่วโมง หลอดชนิ ดนี้ มีอยู่
ในเครื่องฉำยรุ่นเก่ำ ๆ เท่ำนั้น
2. หลอดฮำโลเจน (Halogen Lamp) มีขนำด
เล็กกว่ำหลอดอินแคนเดสเซนต์ ตัวหลอดทำำด้วยหิน (Quartz) ทน
ควำมร้อนได้ ภำยในบรรจุด้วยสำรฮำโลเจน และไอโอดีน ให้แสง
สว่ำง ขำวนวล สดใส อำยุกำรใช้งำนต่อเนื่ องเฉลี่ยประมำณ 50
ชั่วโมง หลอดชนิ ดนี้ ใช้กับเครื่องฉำยสไลด์ เครื่องฉำยภำพยนตร์
ไฟถ่ำยวิดีโอ เครื่องฉำยภำพข้ำมศรีษะ เป็ นต้น
3. หลอดซีนอนอำร์ด (Zenon Arc Lamp) มีลี
กษณะเป็ นหลอดยำวตรงกลำงโป่ งออกภำยในบรรจุด้วยก๊ำซซีนอน
แสงสว่ำงเกิดจำกอนุภำคของไฟฟ้ ำจำกขั้วหนึ่ งไปยังอีกขั้วหนึ่ งแสง
สีขำวแรงจัดมำก หลอดชนิ ดนี้ ผลิตขึ้นมำเพื่อใช้ทดแทนกำรอำร์ด
หรือแท่งถ่ำน
ข้อพึงปฏิบัติเกีย่ วกับหลอดฉาย
1. เมื่อจะสัมผัสหลอดฉำยต้องใช้วัสดุนุ่ม ๆ หรือ
ผ้ำรองมือในกำรจับหลอดฉำย
2. ตรวจรูปร่ำง ขนำด ฐำนหลอด วัตต์ ให้
เหมือนหลอดเดิม
3. ใส่หลอดฉำยให้แน่ นกระชับ
4. อย่ำให้หลอดฉำยกระเทือน
5. ให้พด
ั ลมเป่ ำให้เย็นก่อนถอดปลัก
๊ ไฟทุกครั้ง

แผ่นสะท้อนแสง (Reflectors)
แผ่นสะท้อนส่วนมำกทำำด้วยโลหะฉำยผิวด้วย
วัสดุสะท้อนแสง เช่น เงินหรือปรอท ทำำหน้ำที่สะท้อนแสงจำกด้ำน
หลังของหลอดฉำยไปรวมกับแสงด้ำนหน้ำ ทำำให้ควำมเข้มของแสง
เพิ่มขึ้นเกือบเป็ น 2 เท่ำ ตำำแหน่ งกำรติดตั้งแผ่นสะท้อนมีหลำย
ลักษณะต่ำงกัน
ข้อควรระวัง
1. อย่ำใช้มือจับผิวแผ่นสะท้อนแสง
2. อย่ำให้มีรอยขีดข่วน
3. ต้องใช้ผ้ำน่ ุม ๆ เช็ดฝ่ ุนหรือสิ่งสกปรกเมื่อ
ต้องกำรทำำควำมสะอำด

2. วัสดุฉาย (Projected Material)


วัสดุฉำย คือ วัสดุท่ีใช้ควบคู่กับเครื่องฉำยเพื่อ
ขยำยเนื้ อหำหรือรูปภำพให้ใหญ่ มองเห็นได้ชัดเจน เช่น ฟิ ล์มสไลด์
ฟิ ล์มภำพยนตร์ เรำสำมำรถแบ่งชนิ ดของวัสดุฉำยออกเป็ น 3 ชนิ ด
คือ
1. วัสดุโปร่งใส (Transparent Materials) ได้แก่
วัสดุท่ีเรำสำมำรถมองผ่ำนได้โดยไม่เกิดกำรหักเห หรือสะท้อนใน
วัสดุน้ันเลย เช่น แผ่นโปร่งใส พลำสติก กระจกใส กระดำษแก้ว
เป็ นต้น
2. วัสดุโปร่งแสง (Translucent Materials)
ได้แก่ วัสดุท่ีแสงสำมำรถส่องผ่ำนไปได้ แต่จะมีกำรสะท้อนหรือ
หักเหในวัสดุบ้ำง ทำำให้ปริมำณของแสงสว่ำงลดควำมเข้มลงไปบ้ำง
เช่น กระจกฝ้ ำ กระดำษทำนำ้ำมัน กระดำษไข เป็ นต้น
3. วัสดุทึบแสง (Opaque Materials) ได้แก่ วัสดุ
ที่แสงไม่สำมำรถส่องผ่ำนได้เลย แสงสว่ำงที่ตกกระทบจะสะท้อน
กลับหมด เช่น กระดำษโรเนี ยว แผ่นโลหะ แผ่นหนัง หิน ไม้
เสื้อผ้ำ เป็ นต้น

3. เลนส์ (Lens)
เลนส์เป็ นวัสดุโปร่งใสที่มีอย่ใู นเครื่องฉำยทั่ว ๆ ไป
ทำำด้วยแก้วหรือพลำสติกใสมีคุณสมบัติหักเหแสงที่สะท้อนมำกระ
ทบกับเลนส์ ทำำให้ภำพและขยำยภำพ เลนส์ในเครื่องฉำยจะมี 2
ชุด คือ เลนส์ควบแสง (Condenser Lens) และเลนส์ฉำย
Objected Lens)
เลนส์ควบแสง (Condenser Lens) เป็ น
เลนส์นูน 1-2 ตัว อยู่ระหว่ำงหลอดฉำยกับวัสดุฉำย ทำำหน้ำที่เฉลี่ย
ควำมเข้มของแสงให้ตกบนวัสดุฉำยอย่ำงสมำ่ำเสมอ เพื่อให้ภำพที่
ปรำกฏบนจอทุกส่วนสว่ำงเท่ำ ๆ กัน นอกจำกนี้ ในชุดของเลนส์
ควบแสงจะมีกระจกใสกรองควำมร้อน (Heat Filter) เป็ นตัวกรอง
ควำมร้อนจำกหลอดฉำยไปยังวัสดุฉำยไม่ให้มำกเกินไป
เลนส์ฉาย (Objected Lens) เป็ นเลนส์นน ู ที่มี
ควำมยำวโฟกัสสั้นกว่ำเลนส์ควบแสง จะอยู่ระหว่ำงวัสดุฉำยกับจอ
รับภำพ ทำำหน้ำที่ขยำยภำพให้มีขนำดใหญ่เต็มจอ เลนส์ฉำย
สำมำรถขยำยภำพได้ เพรำะแสงที่ผ่ำนเลนส์ฉำยหักเหตัดกันที่จุด
โฟกัสด้ำนหน้ำของเลนส์แล้วกระจำยออกไปยิ่งเลนส์ฉำยมีระยะ
โฟกัสสั้นแสงก็จะกระจำยมำก จะได้ภำพใหญ่กว่ำเลนส์ท่ีมีควำม
ยำวโฟกัสยำว
เลนส์ฉำยมีคุณสมบัติพิเศษ 2 อย่ำงคือ กำรกลับ
หัวภำพ (Inversion) กับระยะโฟกัส (Focus Length) ที่จำำกัด
กล่ำวคือ เลนส์ฉำยแต่ละตัวจะทำำให้ภำพคมชัดในช่วงระยะหนึ่ ง
เท่ำนั้น ขนำดของภำพบนจอจะเล็กหรือใหญ่ นอกจำกนี้ ยังขึ้นอยู่
กับระยะโฟกัสแล้ว ยังขึ้นอยู่กับระยะทำงของเลนส์ฉำยถึงจอภำพ
ด้วย กล่ำวคือ เมื่อระยะทำงระหว่ำงเลนส์ฉำยกับจอเพิ่มขึ้นภำพบน
จอจะขยำยใหญ่ขึ้นด้วย ยกเว้นเลนส์ซูม ซึ่งเป็ นเลนส์ท่ีเปลี่ยนระยะ
โฟกัสได้ในตัวมันเอง

4. จอ (Screen)
จอเป็ นอุปกรณ์รองรับภำพจำเครื่องฉำยชนิ ดต่ำง ๆ
จำำแนกได้ 2 พวกใหญ่ ๆ คือ
1. จอทึบแสง (Opaque Type)
เป็ นจอที่รับภำพจำกด้ำนหน้ำ จอชนิ ดนี้ จะฉำบ
ผิวหน้ำด้วยวัสดุท่ีมีคุณสมบัติสะท้อนแสงต่ำง ๆ กัน คือ
1.1 จอแก้ว (Beaded Screen) ผิวหน้ำ
ของจอฉำบด้วยแก้วละเอียด ทำำให้สะท้อนแสงได้ดีมำกและไปได้
ไกลจอชนิ ดนี้ เหมำะสำำหรับฉำยในห้องแคบ ๆ ยำวเป็ นสี่เหลี่ยมผืน
ผ้ำ
1.2 จอผิวเรียบหรือผิวเกลี้ยง (Matte
Screen) ผิวหน้ำของจอมีสีขำวเรียบ แต่ไม่เป็ นมัน ให้แสงสะท้อน
ปำนกลำง จอชนิ ดนี้ เหมำะสำำหรับฉำยในห้องลักษณะที่เป็ น
สี่เหลี่ยมจตุรัสหรือห้องเรียนทั่ว ๆ ไป
1.3 จอเงิน (Silver Screen) ทำำด้วย
พลำสติกหรืออลูมิเนี ยม เหมำะสำำหรับฉำยภำพสีและภำพ 3 มิติ
จอชนิ ดนี้ เหมำะสำำหรับโรงภำพยนตร์หรือห้องประชุมขนำดใหญ่ท่ี
ทึบแสง
1.4 จอเลนติคูล่ำ (Lenticular Screen)
ผิวหน้ำทำำด้วยพลำสติก เรียกว่ำ Heavy Plastic หรือผ้ำสีน้ ำำเงิน
ผิวเป็ นสันนูน และร่องลึกสลับกันทั้งแนวตั้งและแนวนอน ให้แสง
สะท้อนดีมำก สำมำรถใช้ในห้องที่ไม่มืดสนิ ทมำกนัก เหมำะกับห้อง
ขนำดกว้ำงใหญ่ เช่น ห้องประชุมใหญ่ ๆ ห้องโถง เป็ นต้น
1.5 จอเอ็ดตำไลท์ (Ekalite Screen) ทำำ
ด้วยโลหะหรือไฟเบอร์กลำส นำ้ำหนักเบำ ผิวโค้งเรียบ สีมก ุ เป็ นมัน
สะท้อนแสงได้ดีมำก สำมำรถใช้ได้ท้ังภำพยนตร์ สไลด์ ฟิ ล์มสตริป
ในห้องที่มีแสงสว่ำงตำมปกติ แต่ไม่เหมำะกับเครื่องฉำยภำพข้ำม
ศรีษะ เพรำะแสงสะท้อนจ้ำมำก พื้นผิวของจอมีลักษณะโค้งเว้ำเล็ก
น้อย ไม่สำมำรถม้วนเก็บได้เหมือนจออื่น ๆ

2. จอโปร่งแสง (Translucent Screen)


ทำำจำกวัสดุโปร่งแสง เช่น กระจกฝ้ ำ กระดำษ
ชุบไข หรือพลำสติก กำรฉำยภำพจะฉำยจำกด้ำนหลังของจอ ผู้ชม
จะเห็นภำพจำกแสงผ่ำนจอออกมำ ไม่ใช่แสงสะท้อนอย่ำงจอทึบ
แสง จึงได้ภำพที่สว่ำงสดใส สำมำรถฉำยในห้องที่มีแสงสว่ำงปกติ
ได้ ดังนั้นจึงมีช่ ือเรียกอีกอย่ำงหนึ่ งว่ำ "จอฉำยกลำงวัน" (Day
light Screen) จอโปร่งแสงมี 2 ชนิ ด คือ
2.1 ชนิ ดฉำยสะท้อนกระจกเงำ ลักษณะ
เป็ นกล่องสี่เหลี่ยม ด้ำนหน้ำเป็ นจอทำำด้วยกระจกฝ้ ำ พลำสติก
หรืออำซิเตทเมื่อจะฉำยต้องเปิ ดกล่องด้ำนข้ำง ข้ำงในมีกระจกเงำ
ระนำบทำำมุม 45 องศำ ทำำหน้ำที่สะท้อนภำพจำกเครื่องฉำยไป
ปรำกฏบนจอ โดยทั่วไปขนำดของจอประมำณ 50 x 50 นิ้ ว จึง
เหมำะสำำหรับผู้เรียนกลุ่มเล็ก หรือใช้กับงำนนิ ทรรศกำร เป็ นต้น
2.2 ชนิ ดฉำยภำพผ่ำนจอโดยตรง จอชนิ ดนี้ มี
ขนำดใหญ่กว่ำชนิ ดสะท้อนกระจกเงำจึงติดกับฝำผนังห้องที่เจำะ
เป็ นช่องพอดีกับจอ กำรฉำยภำพจำกด้ำนหลังของจอ โดยควบคุม
แสงในห้องฉำยให้มืด ผู้ชมนั่งชมด้ำนหน้ำโดยไม่จำำเป็ นต้องควบคุม
แสงก็ได้
การเลือกใช้จอ
1. จอพื้นทรำยแก้ว (Beaded Screen) เหมำะกับ
กำรฉำยภำพสไลด์หรือฟิ ล์มสตริป
2. จอผิวเรียบ (Matte Screen) เหมำะกับกำรฉำย
ภำพโปร่งใส สำมำรถมองเห็นตัวอักษรได้อย่ำงชัดเจน
3. จอเลนติคลู ำร์ (Lenticular) เหมำะกับกำรฉำย
ภำพสไลด์ หรือฟิ ล์มสคริป สำมำรถฉำยได้ในห้องขนำดใหญ่ บรรจุ
คนจำำนวนมำก
4. จอทรำนลูเซนต์ (Translucent) เป็ นจอที่ฉำยได้
ในห้องที่แสงสว่ำงไม่มำกนัก กำรฉำยภำพเครื่องฉำยจะอยู่ด้ำน
หลังจอเหมำะกับผู้ชมกลุ่มเล็ก
5. จอเงิน (Silver Screen) เหมำะกับโรงภำพยนตร์
ขนำดใหญ่ ห้องฉำยต้องทึบแสง
6. จอเอ็กตรำไลท์ (Ektralite Screen) เป็ นจอที่
เหมำะที่จะฉำยภำพยนตร์ ฉำยได้ท้ังห้องทึบแสงและทึบแสงสลัว

ข้อควรพิจารณาในการเลือกซื้อจอ
1. คุณสมบัติของผิวหน้ำของจอ
2. ขนำดและรูปร่ำงของจอ
3. จำำนวนผู้เรียนหรือผู้ชม
4. ขนำดและรูปร่ำงของห้องฉำย
5. ระยะห่ำงระหว่ำงจอกับเครื่องฉำย
6. กำำลังส่องสว่ำงของหลอดฉำย
7. วัสดุอุปกรณ์ท่ีจะช่วยให้ห้องมืด
8. กำรเคลื่อนย้ำยหรือกำรติดตั้ง

การบำารุงรักษาจอ
1. ทำำควำมสะอำดได้โดยเช็ดด้วยฟองนำ้ำ
2. เมื่อเลิกใช้ควรม้วนเก็บทันที
3. อย่ำให้จอถูกขูด ขีด ข่วน
4. กำงและเก็บด้วยควำมระมัดระวัง หำกเสียหำยต้อง
รีบซ่อมทันที
การรับรู้ (Perception) คืออะไร?
การรับรู้ คือ กระบวนกำรแปลหรือตีควำมต่อสิ่งเร้ำ
ข่ำวสำรที่ผ่ำนอวัยวะรับสัมผัสทั้งหลำย ได้แก่ ตำ ห จมูก ลิ้น
และกำย เข้ำไปยังสมองในรูปของไฟฟ้ ำและเคมี สมองจึงเป็ นคลัง
เก็บข้อมูลมหำศำลก็จะตีควำมสิ่งเร้ำหรือข่ำวสำรนั้น
โดยอำศัยกำรเทียบเคียงกับข้อมูลที่เคยสะสมไว้ก่อน หรือที่เรียกว่ำ
ประสบกำรณ์เดิม
กระบวนกำรรับรู้ข่ำวสำรของมนุษย์แบ่งเป็ น 2 ส่วน
1. กระบวนกำรรับสัมผัส (Sensation)
2. กระบวนกำรรับรู้ (Perception)

กระบวนการรับสัมผัส (Sensation)
เป็ นกำรรับข่ำวสำรในระยะแรกระหว่ำง อินทรียก ์ ับสิ่งเร้ำ
โดยอวัยวะรับสัมผัส (Reception) เช่น อวัยวะในกำรมองเห็น
(Vision) กำรฟั ง (Audition) รับควำมรู้สึกทำงผิวหนัง (Skin
Senses) เป็ นต้น ในระยะแรกนี้ แม้ว่ำสิ่งเร้ำจะยังไม่ถูกตีควำมหรือ
ให้ควำมหมำยใด ๆ ก็ถือว่ำกลไกกำรรับสัมผัส มีควำมสำำคัญมำก
ในอันที่จะส่งผลถึงกำรรับรู้ (Perception) และกำรเรียนรู้
(Learning) ต่อไป

กระบวนการรับรู้ (Perception)
กำรรับรู้เป็ นกระบวนกำรนำำควำมรู้หรือข้อมูล ข่ำวสำรเข้ำ
สู่สมอง โดยผ่ำนอวัยวะสัมผัส (Sensory Organ) สมองจะเก็บ
รวบรวมและจดจำำสิ่งต่ำง ๆ เหล่ำนั้นไว้เป็ นประสบกำรณ์ เพื่อเป็ น
องค์ประกอบสำำคัญที่ทำำให้เกิดมโนภำพหรือควำมคิดรวบยอด
(Concept) และทัศนคติ (Attitude) ในกำรเปรียบเทียบหรือถ่ำย
โยงควำมหมำยกับสิ่งเร้ำใหม่ท่ีจะรับรู้ต่อ ๆ ไป ดังนั้นกำรรับรู้และ
กำรเรียนรู้จึงมีควำมเกี่ยวข้องกัน ถ้ำไม่มีกำรรับรู้ กำรเรียนรู้ย่อม
เกิดขึ้นไม่ได้

อวัยวะสัมผัส (Sensory Organ)


มนุษย์เรำรับรู้จำกกำรสัมผัสโดยอำศัยอวัยวะรับสัมผัส
(Reception) ดังนี้
1. ตำให้ควำมรู้สึกจำกกำรเห็น เรียกว่ำ จักษุสัมผัส
2. หูให้ควำมรู้สก
ึ จำกกำรได้ยน ิ เรียกว่ำ โสตสัมผัส
3. จมูกให้ควำมรู้สึกจำกกำรได้กลิ่น เรียกว่ำ ฆำนสัมผัส
4. ลิน
้ ให้ควำมรู้สึกจำกกำรรู้รส เรียกว่ำ ชิวหำสัมผัส
5. ผิวหนังให้ควำมรู้สึกจำกกำรสัมผัส เรียกว่ำ กำร
สัมผัส

องค์ประกอบของกระบวนการรับรู้
กำรรับรู้ข่ำวสำรของมนุษย์จะมีประสิทธิภำพมำกน้อยเพียงใด
ย่อมขึ้นอยู่กับองค์ประกอบดังนี้
1. อำกำรรับสัมผัส หมำยถึง อวัยวะรับสัมผัสต่ำง ๆ ได้รับ
กระต้น ุ จำกสิ่งเร้ำแล้วจะแปลควำมหมำย
โดยอำศัยประสบกำรณ์เข้ำมำช่วย
2. กำรแปลควำมหมำยของอำกำรสัมผัส กำรแปลควำม
หมำยของสิ่งเร้ำที่รับเข้ำมำจะถูกต้องเพียงใด
ขึ้นอยู่กับปั จจัย 2 ประกำร คือ
2.1 ปั จจัยทำงด้ำนสรีระ (Physiologial Factor)
เป็ นขีดจำำกัดควำมสำมำรถของอวัยวะรับสัมผัสที่ตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้ำ เช่น ขนำดของสิ่งเร้ำ ควำมสึกหรอของอวัยวะรับสัมผัส
เป็ นต้น
2.2 ปั จจัยทำงจิตวิทยำ (Phycological Factor)
เนื่ องจำกสิ่งเร้ำที่มำกระทบกับอวัยวะรับสัมผัสมีมำก มนุษย์จะ
เลือกรับรู้เฉพำะสิ่งเร้ำที่มีควำมหมำย แต่กำรรับรู้ดังกล่ำวจะเกิด
ขึ้นหรือไม่น้ันย่อมอยู่กับปั จจัยด้ำนจิตวิทยำ เช่น
- ควำมตั้งใจ โดยมีสำเหตุหลำยประกำร เช่น
ควำมเปลี่ยนแปลง ควำมแปลกใหม่ ขนำดและควำมเข้ม กำรกระ
ทำำซำ้ำเคลื่อนไหว เป็ นต้น
- สติปัญญำ ทำำให้บุคคลเข้ำใจเหตุกำรณ์หรือสิ่ง
ต่ำง ๆ ได้ช้ำ หรือรวดเร็วต่ำงกัน
- ควำมระวังระไว เป็ นควำมคล่องแคล่วหรือไว
ต่อกำรรับรู้ส่ิงเร้ำต่ำง ๆ
- คุณภำพของจิตใจ ควำมเหนื่ อยล้ำ หรือควำม
แจ่มใสของจิตใจย่อมมีผลกระทบต่อควำมเข้ำใจสิ่งเร้ำต่ำง ๆ ได้
- บุคลิกภำพ ผู้ท่ีมีบุคลิกภำพเปิ ดเผยชอบสังคม
กับผู้ท่ีมีบุคลิกภำพเก็บตัวมักจะรับรู้ส่ิงในทำงตรงข้ำมเสมอ
3. ประสบกำรณ์เดิม บุคคลจะรับรู้ส่ิงต่ำง ๆ ด้วยกำรคำด
คะเน หรือตั้งสมมุติฐำนไว้ก่อน เมื่อได้รับสิ่งเร้ำที่เกิดขึ้นแล้ว
ประสบกำรณ์เดิมที่เคยมีมำก่อนจะช่วยให้สำมำรถยืนยันกำรคำด
คะเนได้ หรือทำำกำรแก้ไขกำรคำดคะเนเสียใหม่ กรณีท่ีส่ิงที่เกิดขึ้น
ใหม่เข้มแข็งกว่ำและสำมำรถพิสูจน์ได้ว่ำประสบกำรณ์น้ันผิดพลำด
อย่ำงแน่ นอน (ศิรโิ สภำคย์ บูรพำเดชะ. 2529 : 93-97)

อิทธิพลของสิง
่ เร้าทีม
่ ีต่อการรับรู้
1. สิง
่ เร้าภายนอก คุณสมบัติของสิ่งเร้ำภำยนอกจะมีอิทธิพล
ต่อกำรรับรู้มำกน้อยเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับคุณลักษณะดังนี้
1.1 ควำมเปลี่ยนแปลงของสิ่งเร้ำ กำรเปลี่ยนแปลงอยู่
เสมอย่อมดึงดูดควำมสนใจและเอำใจใส่ต่อสิ่งเร้ำนั้น
1.2 กำรเคลื่อนไหวของสิ่งเร้ำ กำรเคลื่อนไหวจะช่วย
กระต้นุ เรตินำในนัยน์ตำ ทำำให้เกิดพลังงำนประสำทสมอง
1.3 ขนำดของสิ่งเร้ำ วัตถุท่ีมีขนำดผิดปกติ เช่น ใหญ่
มำก หรือเล็กมำก ย่อมได้รับควำมสนใจมำกกว่ำวัตถุท่ีมีขนำดปกติ
1.4 กำรเกิดซำ้ำซำกของสิ่งเร้ำ กำรเกิดซำ้ำซำก หมำยถึง
กำรตอกยำ้ำด้วยควำมเข้มข้นหรือจังหวะที่แตกต่ำงกัน มิฉะนั้นแล้ว
เกิดกำรซำ้ำซำกบ่อยครั้งจะทำำให้ขำดควำมเอำใจใส่ต่อสิ่งเร้ำนั้นได้
เหมือนกัน
1.5 ควำมเข้มข้นหรือควำมหนักเบำของสิ่งเร้ำ สิ่งเร้ำที่
มีควำมเข้มข้นสูงกว่ำปกติย่อมดึงดูดควำมสนใจได้ดีกว่ำสิ่งเร้ำปกติ
ธรรมดำ
1.6 องค์ประกอบอื่น ๆ ที่มีอิทธิพลต่อกำรรับรู้ เช่น สี
ควำมถี่ของเสียง ควำมแปลกใหม่ เป็ นต้น
2. สิง ่ เร้าภายใน
2.1 ควำมต้องกำร เมื่อมนุษย์เกิดควำมต้องกำรอะไรมัก
จะเอำใจใส่ในสิ่งนั้น ๆ อยู่เสมอและกลำยเป็ นจุดเน้นของกำรรับรู้
2.2 คุณค่ำและควำมสนใจ บุคคลจะสนใจกับสิ่งเร้ำหรือ
เหตุกำรณ์ท่ีมีคณ ุ ค่ำและมีควำมหมำยต่อตนเอง บำงครั้งก่อให้เกิด
ควำมต้องกำรและควำมหวังที่จะรับรู้ในสิ่งนั้น ๆ ด้วยควำมตั้งใจ
และสนใจ
3. คุณลักษณะของสิง ่ เร้า สิ่งเร้ำที่มีอิทธิพลต่อกำรรับรู้มี
คุณลักษณะ 2 อย่ำง คือ
3.1 สิ่งเร้ำที่มีโครงสร้ำงหรือแบบแผน ได้แก่ สิ่งเร้ำที่
ชัดเจนเป็ นรูปธรรม
3.2 สิ่งเร้ำที่ไม่มีโครงสร้ำงหรือแบบแผน ได้แก่ สิ่งเร้ำที่
มีลักษณะกำำกวม ไม่ชัดเจน
การเรียนรู้ (Learning) คืออะไร?
การเรียนรู้ หมำยถึง กำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจำกเดิมไป
สู่พฤติกรรมใหม่ค่อนข้ำงถำวร และพฤติกรรมใหม่น้ี เป็ นผลมำจำก
ประสบกำรณ์หรือกำรฝึ กฝน มิใ่ช่ ผลจำกกำรตอบสนองจำก
ธรรมชำติ สัญชำตญำณ อุบัติเหตุ หรือควำมบังเอิญ

กระบวนการเรียนรู้ เป็ นกระบวนกำรต่อเนื่ องเชื่อมโยงจำก


กำรรับรู้ กล่ำวคือ เมื่อประสำทสัมผัสกระทบสิ่งเร้ำและเกิดควำม
รู้สึกส่งไปยังสมอง สมองบันทึกควำมรู้สึกนั้นไว้เป็ นประสบกำรณ์
และเมื่ออวัยวะรับสัมผัสกระทบกับสิ่งเร้ำเดิมอีก สำมำรถระลึกได้
(Recall) หรือจำำได้ (Recognition) ก็ถือว่ำเกิดกำรเรียนรู้ขึ้น

องค์ประกอบของการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Theories of Learning)
ทฤษฎีกำรเรียนรู้แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่มใหญ่ และแต่ละ
กลุ่มแบ่งเป็ นกลุ่มย่อยอีกดังนี้
1. กลุ่มทฤษฎีการต่อเนื่ อง (Associative
Theories)
เป็ นทฤษฎีท่ีใช้หลักกำรเรียนรู้แบบพฤติกรรมนิ ยม
(Behaviorism) คือ กำรเรียนรู้จำกส่วนย่อยไปสู่ส่วนรวม ทฤษฎีน้ี
จะกล่ำวถึงกำรทำำให้เกิดควำมต่อเนื่ องกันอยู่เสมอ ระหว่ำงสิ่งเร้ำ
กับกำรตอบสนอง และกำรตอบสนองนั้นมักเป็ นพฤติกรรม
ภำยนอกที่สังเกตเห็นได้ชัดและวัดได้ง่ำย (กมลรัตน์ หล้ำสุวงษ์.
2523 : 142)
1.1 ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์ไดค์
หลักการเบื้องต้น คือ กำรเรียนร้เู กิดจำกกำร
เชื่อมโยงระหว่ำงสิ่งเร้ำกับกำรตอบสนองโดยที่ตอบสนองมักออก
มำในรูปแบบต่ำง ๆ หลำยรูปแบบจนกว่ำจะพบรูปแบบที่ดีหรือ
เหมำะสมที่สุด เรำเรียกว่ำ กำรลองผิดลองถูก (Trial and Error)
และจะพยำยำมทำำให้กำรตอบสนองที่เหมำะสมที่สุดนั้นเชื่อมโยง
กับสิ่งเร้ำที่ต้องกำรให้เรียนร้ตู ่อไปเรื่อย ๆ
การประยุกต์ทฤษฎีการเชื่อมโยงมาใช้กับการเรียนการ
สอน
ก. กำรนำำหลักกำรเรียนรู้มำใช้ ต้องให้ลองผิด
ลองถูกด้วยตนเองจนกว่ำจะพบวิธีกำรเรียนที่ดีท่ีสุด
ข. กำรนำำทฤษฎีกำรเรียนที่สำำคัญมำใช้
- กฎแห่งควำมพร้อม ผู้เรียนจะเรียนรู้ได้ดี
เมื่อมีควำมพร้อมทั้งทำงร่ำงกำยและจิตใจ
- กฎแห่งกำรฝึ กหัด กำรเรียนถำวรเกิด
จำกควำมเข้ำใจ และฝึ กฝนบ่อย ๆ จนเกิดทักษะ
- กฎแห่งผลที่พอใจ กำรเสริมแรง เช่น
กำรให้รำงวัลเป็ นสิ่งของ คำำชมเชย คำำสรรเสริญที่เหมำะสมกับภูมิ
หลังของแต่ละบุคคลจะทำำให้ประเมินผลสำำเร็จได้โดยง่ำย

1.2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
1.2.1 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
ของพาฟลอฟและวัตสัน
หลักกำรเรียนรู้ เป็ นกำรใช้ส่ิงเร้ำ 2 สิ่งคู่กัน
คือ สิ่งเร้ำที่วำงเงื่อนไขคู่กับสิ่งเร้ำที่ไม่วำงเงื่อนไข เพื่อให้เกิดกำร
เรียนรู้
การประยุกต์ทฤษฎีการวางเงื่อนไขมา
ใช้กับการเรียนการสอน
ขั้นตอนกำรวำงเงื่อนไขมี 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นที่ 1 ขั้นก่อนวำงเงื่อนไข เป็ นขั้น
ศึกษำภูมิหลัง เช่น
ก. วิชำคณิตศำสตร์ (UCS)
- - - - - - - - -> เด็กเฉย ๆ (UCR)
ข. ครูสอนไม่ดี สอนดี (UCS) -
- - - - - - - -> เด็กไม่ชอบ (UCR)
ค. ครูสอนดีเป็ นกันเอง (UCS)
- - - - - - - - -> เด็กชอบ (UCR)
ขั้นที่ 2 ขั้นวำงเงื่อนไข
ก. วิชำคณิตศำสตร์ + ครูสอนไม่
ดี + เด็กไม่ชอบ
CS UCS
UCR
ข. วิชำคณิตศำสตร์ + ครูสอนดี
+ เด็กชอบ
CS UCS
UCR
ขั้นที่ 3 ขั้นกำรเรียนรู้จำกกำรวำง
เงื่อนไข
ก. วิชำคณิตศำสตร์ - - - - - - - - -
-> เด็กไม่ชอบ
CS
CR
ข. วิชำคณิตศำสตร์ - - - - - - - - -
-> เด็กชอบ
CS
CR
1.2.2 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบอาการ
กระทำาของสกินเนอร์
หลักกำรเรียนรู้ เน้นให้เกิดพฤติกรรมหรือ
กำรกระทำำก่อน แล้วจึงเสริมแรงทีหลัง เพรำะสกินเนอร์สรุปกำร
ทดลองว่ำ กำรเรียนร้ท
ู ่ีดีจะต้องมีกำรเสริมแรง

การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการวางเงื่อนไขของ
สกินเนอร์มาใช้กับการเรียนการสอน
1. กำรใช้บทเรียนโปรแกรม หรือบท
เรียนสำำเร็จรูป เป็ นกำรทำำให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมีคำำ
ตอบที่ถูกต้องไว
้เป็ นกำรเสริมแรง
2. กำรใช้พฤติกรรมบำำบัด เช่น กำรสอน
ให้เด็กขยันทำำกำรบ้ำน โดยเขียนรำยชื่อผู้ส่งกำรบ้ำนไว้บนบอร์ด
ให้บุคคลอื่น
มองเห็นเพื่อเป็ นกำรยกย่องชมเชย เป็ นต้น
3. กำรใช้กฎกำรเรียนรู้ท้ัง 2 กฎ คือ
กำรเสริมแรงทันทีทน ั ใด และกำรเสริมแรงเป็ นครั้งครำว

2. ทฤษฎีความรู้ความเข้าใจ (Cognitive Theory)


เป็ นทฤษฎีท่ีเน้นกำรเรียนรู้เป็ นกำรเปลี่ยนแปลงแนว
ควำมคิด (Cognitive) เป็ นพฤติกรรมภำยในไม่สำมำรถสังเกต
เห็นได้จำกภำยนอก มี 2 ทฤษฎีย่อย คือ
1. ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt's Theory)
หลักกำรเรียนรู้ กำรเรียนร้ท ู ่ีเน้นส่วนรวม
มำกกว่ำส่วนย่อยนั้นจะต้องเกิดประสบกำรณ์เดิม (Experience)
และกำรเรียนรู้ย่อมเกิดขึ้น 2 ลักษณะ คือ
1.1 กำรรับรู้ (Perception) หมำยถึง กำร
แปลควำมหมำยจำกกำรสัมผัสด้วยอวัยวะรับสัมผัสทั้ง 5 ส่วน คือ
ตำ หู จมูก ลิน ้ และกำย
1.2 กำรหยั่งเห็น (Insight) หมำยถึง กำร
เกิดควำมคิดแวบขึ้นมำทันทีทันใดขณะที่ประสบปั ญหำ โดยมอง
เห็นกำรแก้ปัญหำตั้งแต่เริ่มแรกเป็ นขั้นตอนสำมำรถแก้ปัญหำได้
กฎการเรียนรู้ของกลุ่มเกสตัลท์
1.1 กฎแห่งควำมแน่ นอนหรือชัดเจน
(Law of Pragnanz) กำรเรียนรู้ท่ีดีจะต้องเกิดจำกควำมแน่ นอน
หรือควำมชัดเจน เช่น รูป (Figure) เป็ นสิ่งที่ต้องกำรเน้นให้สนใจ
และพื้น (Ground) เป็ นส่วนประกอบหรือฉำกหลัง
1.2 กฎแห่งควำมคล้ำยคลึง (Law of
Similarity) กำรเรียนร้เู กิดจำกกำรรับรู้ส่ิงเร้ำที่มีลักษณะ
คล้ำยคลึงกันและอยู่รวมกันเป็ นชุด ๆ
1.3 กฎแห่งควำมต่อเนื่ อง (Law of
Proximity) กำรเรียนรู้ว่ำสิ่งใด สถำนกำรณ์ใดเป็ นเหตุเป็ นผลกัน
สิ่งนั้นต้องเกิดขึ้นในเวลำต่อเนื่ องกันในเวลำใกล้เคียงกัน
1.4 กฎแห่งกำรสิ้นสุด (Law of Closure)
สำระสำำคัญ คือ แม้ว่ำสถำนกำรณ์หรือปั ญหำนั้นยังไม่สมบูรณ์
อินทรีย์จะเกิดกำรเรียนรู้ได้จำกประสบกำรณ์เดิมต่อสถำนกำรณ์
นั้น

การประยุกต์ทฤษฎีของกลุ่มเกสตัลท์มาใช้
กับการเรียนการสอน
1. กำรนำำหลักกำรเรียนรู้มำใช้ ถ้ำต้องกำรให้
ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ท่ีดี ต้องจัดสิ่งเร้ำต่ำง ๆ ให้มำรวมกันเพื่อให้
ผู้เรียนเห็นสิ่งเร้ำทั้งหมดเสียก่อนจึงจะเกิดกำรรับรู้ได้ดี
2. กำรนำำกฎของกำรเรียนรู้มำใช้
2.1 กฎแห่งควำมชัดเจนแน่ นอน เมื่อ
ต้องกำรให้ผู้เรียนเรียนร้ส ู ่ิงใด จะต้องเน้นและให้เห็นควำมสำำคัญ
ต่อสิ่งนั้นมำกกว่ำสิ่งอื่น
2.2 กฎแห่งควำมคล้ำยคลึง เมื่อต้องกำร
ให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ได้ดีในบทเรียนใหม่หรือสิ่งใหม่ ต้องนำำบท
เรียนเก่ำที่คล้ำยคลึงกันมำเปรียบเทียบ เช่น กิน- ->ดิน เกิน- -
>เดิน เป็ นต้น
2.3 กฎแห่งควำมต่อเนื่ อง เมื่อต้องกำรให้ผู้
เรียนเรียนรู้ส่ิงใดเป็ นเหตุ และผลกัน ต้องจัดบทเรียนนั้น ๆ ให้ต่อ
เนื่ องกัน เช่น ทำำดีได้รับรำงวัลเป็ นสิ่งของหรือกำรชมเชย เป็ นต้น
2.4 กฎแห่งกำรสิ้นสุด ประสบกำรณ์เดิม
ของผู้เรียนจะช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ส่ิงเร้ำได้ แม้ส่ิงเร้ำนั้นจะไม่
สมบูรณ์ก็ตำม

2. ทฤษฎีการเรียนรู้ของทอลแมน
2.1 ถ้ำต้องกำรให้ผู้เรียน เกิดกำรเรียนรู้แบบ
หยั่งเห็น จะต้องใช้เครื่องหมำยบำงอย่ำงชี้ทำงควบคู่ไปด้วย
2.2 ต้องมีกำรทดสอบบ่อย ๆ จึงจะรู้ว่ำผู้เรียน
เรียนรู้ได้มำกน้อยเพียงใด
2.3 กำรเรียนรู้ไม่จำำเป็ นต้องมีกำรเสริมแรงมำก
เท่ำกับแรงจูงใจ โดยสร้ำงให้เกิดแรงขับ (Drive) มำก ๆ หรือจะ
ตอบสนองพฤติกรรมไปยังจุดหมำยปลำยทำงที่ต้องกำร

สภาพทีเ่ อื้อต่อการเรียนรู้

1. เปิ ดโอกำสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกำรกระทำำ (Active


Particupation) เช่น อภิปรำยกำรแสดงควำมคิดเห็น กำรตอบ
ปั ญหำ กำรทำำแบบฝึ กหัด กำรฝึ กออกเสียงในกำรขับร้องหรือกำร
สอนภำษำ
2. ป้ อนข้อมูลย้อนกลับทันที (Immediate Feedback)
ข้อมูลย้อนกลับที่เป็ นบวก จะเป็ นกำรเสริมแรงกระตุ้นให้อยำก
กระทำำซำ้ำอีก แต่ถ้ำออกเป็ นลบครูจะต้องช่วยชี้ข้อบกพร่องว่ำผิด
ตรงไหน จะแก้ไขอย่ำงไร พร้อมกับให้กำำลังใจเสมอ
3. จัดประสบกำรณ์ท่เี ป็ นผลสำำเร็จ (Successful
Experiences) ควำมสำำเร็จเป็ นกำรเสริมแรงในกำรกระทำำ
4. กำรประมำณกำรทีละน้อย (Gradual
Approximation) เปิ ดโอกำสให้ผู้เรียนได้ใคร่ครวญในสิ่งที่เรียน
ไปทีละน้อยตำมลำำดับขั้นจำกง่ำยไปหำยำก ซึ่งจะทำำให้เกิดกำร
เรียนรู้ท่ีม่ันคงและถำวรได้
เทคนิ คการใช้โสตทัศนูปกรณ์ในการนำาเสนอ
1. กำำหนดวัตถุประสงค์
ที่สำมำรถพิสูจน์และวัดผลได้ในสิ่งที่เรำได้พูดไปแล้วหรือนำำเสนอ
ไปแล้วว่ำ ผู้ฟังมีปฏิกริยำที่แสดงถึงควำมเข้ำใจหรือไม่ มีทัศนคติ
เป็ นอย่ำงไร เกิดควำมชำำนำญและเป็ นบุคคลที่มค
ี ุณภำพที่ดี เขำ
ปฏิบัติตำมที่เรำต้องกำรหรือเปล่ำ เป็ นต้น

2. ลักษณะของกำรนำำเสนอ
กำรนำำเสนอมีอยู่ด้วยกันหลำยลักษณะ เช่น
- กำรประชำสัมพันธ์- โฆษณำ
- กำรเรียน กำรสอน
- กำรฝึ กอบรม
- กำรประชุมสัมมนำ
- กำรขำย
- กำรประชุมลูกค้ำ
- กำรอภิปรำย
- กำรรำยงำนต่อผู้บังคับบัญชำ
- กำรรำยงำนกำรประชุมผู้ถือหุ้น
- กำรแถลงข่ำวสื่อมวลชน
- กำรบันเทิง
- กำรนิ ทรรศกำร-แสดงสินค้ำ
3. กำรเลือกใช้ส่ ือและอุปกรณ์
มีโสตทัศนูปกรณ์ชนิ ดต่ำง ๆ มำกมำยที่สำมำรถมำใช้ในกำรนำำ
เสนอ แต่ก่อนที่จะตัดสินใจใช้ส่ ือหรืออุปกรณ์ใดแล้วควรจะ
วิเครำะห์เสียก่อนว่ำสื่อหรืออุปกรณ์ใดจึงจะเหมำะสอดคล้องกับ
เรื่องที่จะนำำเสนอ
- ขนำดและลักษณะของผู้ฟัง
- สถำนที่ในกำรนำำเสนอ
- เวลำในกำรนำำเสนอ
- เวลำสำำหรับในกำรผลิตสื่อ
- งบประมำณ
โสตทันูปกรณ์และสื่อสำำหรับใช้ในกำรนำำเสนอควรจะสอดคล้อง
และเหมำะสมกับเรื่องรำว
- เครื่องเสียงชนิ ดต่ำง ๆ
- ชอล์ก กระดำนดำำ
- ฟลิปชำร์ต-แผนภูมิ-ของจริง
- เครื่องฉำยไมโคร ไมโครฟี ล์ม
- เครื่องฉำยข้ำมศีรษะ
- เครื่องฉำยภำพทึบแสง
- เครื่องฉำยภำพยนตร์
- เครื่องฉำยโปรเจคเตอร์ ทีวี
- เครื่องเล่นวีดีโอเทป
- เครื่องฉำยภำพวิชวล
- เครื่องคอมพิวเตอร์
- เครื่องเล่น ดีวีดี ซีวีดี เอ็มพี 3 และ
เอ็มพี โฟร์
4. กำรวำงโครงเรื่องและภำพที่จะนำำเสนอ
กำรจะเป็ นนักพูดที่มก
ี ำรนำำเสนอที่ดีแล้ว ควรจะมีกำรเตรียม
กำรหรือวำงแผนเสียก่อน ดังสุภำษิตจีนบทหนึ่ งได้กล่ำวไว้ว่ำ "
ระยะทำงร้อยลี้จะต้องมีก้ำวแรกเสมอ " นักโสตทัศนศึกษำที่ดีแล้ว
ควรจะนึ กถึงเรื่องและภำพออกมำในเวลำเดียวกันได้ แต่ก่อนจะ
ร่ำงโครงเรื่องใด ๆ ควรจะมีกำรวิเครำะห์กลุ่มผู้ฟังเสียก่อน ซึ่งหลัก
ในกำรวิเครำะห์มีดังนี้
- ขนำดของกลุ่ม
- อำชีพและกำรศึกษำ
- อำยุและเพศ
- ควำมรู้ของผู้ฟังเกี่ยวกับเรื่องที่เรำจะ
นำำเสนอ
- ทัศนคติท่ีมีต่อเรื่องที่จะนำำเสนอ
- ควำมเชื่อถือเก่ำ ๆ
- ควำมกระทบกระทั่งต่อสิ่งแวดล้อม
และสังคมระหว่ำงชุมชน ชนชำติ ศำสนำฯลฯ
กำรวำงโครงเรื่อง
- ตั้งหัวข้อเรื่อง
- ร่ำงโครงเรื่องให้ตรงกับหัวข้อเรื่อง
- คำำนำำเรื่อง เพื่อชักจูงควำมสนใจให้
ติดตำม
- เนื้ อเรื่อง อธิบำยเนื้ อหำสำระ
- สรุป เพื่อย่อและทบทวนเพื่อหำสำระ
ภำพที่จะใช้ประกอบกำรนำำเสนอ
- เลือกภำพให้ตรงกับเนื้ อเรื่อง
- เลือกใช้ภำพที่เหมำะสมกับกำลเวลำ
- เลือกใช้ภำพที่ดีมีคณ
ุ ภำพ
- เรียบเรียงภำพตำมขั้นตอนของเนื้ อ
เรื่อง
5. กำำหนดขั้นตอนสำำคัญในกำรนำำเสนอ
ในกำรนำำเสนอแต่ละครั้งควรจะจัดขั้นตอนว่ำอะไรควรเสนอ
ก่อนหลัง เช่นกำรแนะนำำตัว หรือว่ำนำำเสนอก่อน ทั้งนี้ ขึ้นอยู่ว่ำจะมี
เทคนิ คหรือเคล็ดลับอะไรที่จะทำำให้กำรเสนอนั้น ๆได้รับกำรสนใจ
และเกิดควำมประทับใจจำกผู้ฟัง
6. กำรนำำเสนออย่ำงมีประสิทธิภำพต่อผู้ฟัง
ก่อยนำำเสนอนั้นผู้พูดควรจะต้องคำำนึ งถึงกลุ่มผู้ฟังให้มำก มีนัก
พูดประสบควำมล้มเหลวมำมำกแล้ว ที่ไม่ได้ตำำนึ งถึงกลุ่มผู้ฟัง
โดยเฉพำะอย่ำงยิ่ง ถ้ำมีกำรนำำอุปกรณ์โสตทัศนศึกษำ เข้ำมำ
ประกอบกำรนำำเสนอ ผู้นำำเสนอควรจะระวังหรือคำำนึ งถึงสิ่งต่ำงๆ
ดังนี้
- ผู้ฟังและผู้พูดควรจะเห็นกันได้อย่ำง
ชัดเจนและเหมำะสม
- ผู้ฟังและผู้พูดควรจะได้ยินเสียงอย่ำง
ชัดเจน
- ผู้ฟังและผู้พูดควรจะเห็นภำพที่ปรำฏ
บนจอได้อย่ำงชัดเจน
- ผู้ฟังคือบุคคลสำำคัญ
- ควรคำำนึ งถึงสถำนที่ให้มำก ถ้ำไม่คุ้น
กับสถำนที่ควรไปดูสถำนที่ก่อน
7. ซ้อมกำรนำำเสนอ
ถ้ำเป็ นนักพูดที่เก่งแล้วไม่ควรประมำท ในกรณีท่ีจะต้องใช้
อุปกรณ์โสตทัศนศึกษำ ควรจะต้องมีกำรผึกซ้อมเป็ นอย่ำงยิ่ง
- กำำหนดเวลำในกำรพูดและซ้อมให้ดใ้ น
เวลำ
- ซ้อมกำรใช้ส่ ืออุปกรณ์ต่ำง ๆที่จะนำำไป
ใช้
- ถ้ำได้ซ้อมในสถำนที่จริงก็จะเป็ น
ประโยชน์มำก
- ควรจะซ้อมกำรนำำเสนอต่อหน้ำผู้ทีจะ
ให้คำำแนะนำำได้
- ควรจะซ้อมด้วยควำมมั่นใจก่อนนำำ
เสนอจริง
8. โฆษณำ / ประชำสัมพันธ์
ในบำงกรณีจะมีกำรนำำเสนอในโอกำสพิเศษ จะต้องมีกำร
ลงทุนทั้งงบประมำณ และกำรเสนอที่แปลกใหม่ เช่นกำรประชุม
ลูกค้ำในกำรขำย ควรประชำสัมพันธ์ให้กลุ่มที่เรำต้องกำร ให้มำ
ชุมนุมให้ได้ ทั้งนี้ เพื่อจะไดให้คุ้มค่ำกับสิ่งที่เรำลงทุนและให้เขำเล็ง
เห็นประโยชน์ท่ีเขำจะได้รับ
9. เตรียมตัวของท่ำนให้พร้อมอยู่เสมอ
เมื่อท่ำนได้ฝึกซ้อมกำรพูดแล้วมิใช่ว่ำจะสำำเร็จแล้ว สำำหรับท่ำน
ที่จะไม่ค่อยมีโอกำสนำำเสนอบ่อยนัก ผู้นำำเสนอควรจะหำ
ประสบกำรณ์และเตรียมพร้อมเสมอ ที่จะเป็ นผู้นำำเสนอมืออำชีพ
- ท่ำนจะต้องมีควำมมั่นใจในเรื่องที่นำำเสนอ
เต็มที่
- ท่ำนจะต้องมีทัศนคติท่ีดีต่อผู้ฟัง
- ท่ำนจะต้องรู้จักผ่อนคลำยอิริยำบท ไม่
เครียด
- อย่ำกังวล-ประหม่ำ
- ควรจะเตรียมตัวในกำรเลือกกำรแต่งกำย
ให้เหมำะสม
10. บทสรุป ทบทวน ตอบข้อซักถำม
ผู้นำำเสนอจะต้องเตรียมพร้อมในเรื่องกำรสรุปเนื้ อเรื่องที่นำำ
เสนอ และในขณะเดียวกันอำจจะมีข้อซักถำม
ผู้นำำเสนอจะต้องมั่นใจ และเตรียมพร้อมด้วยควำมสุขุม สุภำพ ฉ
นั้น ผู้นำำเสนอจะต้องกำำหนดเวลำเพื่อเหตุกำรณ์เหล่ำนี้ ด้วย
11. กำรเตรียมงำน - อุปกรณ์ ก่อนนำำเสนอ
- ตัดสินใจว่ำควรจำำนำำอุปกรณ์อะไรไป
- สำำรองหลอดอะไหล่ เครื่อง สำยต่ำง ๆ
เลนซ์
- นำำอุปกรร์ต่ำงๆ ที่จะใช้งำน ที่อยู่ในสภำพ
ดีไปเท่ำนั้น
- กรณีเดินทำงไกลควรจะสอบถำมแต่ละ
ท้องถิ่นว่ำมีอุปกรณ์อะไรที่ต้องกำรใช้ ว่ำมีหรือเปล่ำ
- ควรจะมีปัญชีรำยกำรสิ่งของบันทึกไว้
อย่ำงละเอียด
12. ที่สถำนที่นำำเสนอ ( ห้องบรรยำย )
- ไปถึงก่อนบรรยำยในกำรนำำเสนอ
- ติดตั้งเครื่อง และอุปกรร์ด้วยควำม
ละเอียด
- ตรวจสอบและทดลองซ้อมกำรใช้ด้วย
ควำมมั่นใจ
- ตรวจสอบระบบเสียงให้ได้ยินอย่ำง
ชัดเจน
- ตรวจสอบภำพว่ำสัมพันธ์กับผู้ชมหรือไม่
- ตรวจสอบว่ำผู้ชมเห็นภำพชัดเจนและทั่ว
ถึง
- ควรใช้สูตรระบบ 8 H ทุกครั้ง ในกำร
ฉำยภำพทุคร้ง
- ควรคำำนึ งระบบกำรถ่ำยเทอำกำศไว้ด้วย
ขณะที่เปิ ดกำรนำำเสนอ
- รักษำเวลำในกำรนำำเสนอ ( พูด - แสดง
)
- ใช้ภำพให้ตรงกับกำรพูด
- อย่ำหันหลังให้ผู้ชมมำกนัก
- ผู้พูดควรจะเป็ นผู้ควบคุมกำรฉำยเอง
ถ้ำทำำได้
- อย่ำโยนควำมผิดต่อหน้ำกลุ่มผู้ฟังไปให้
คนอื่น เมื่อเกิดกำรผิดพลำดขั้นตอน
- ใช้หลักกำรพูดในที่ชุมชนมำประยุกต์ใช้
- อย่ำให้มีแสงสว่ำงจ้ำปรำกฏบนจอก่อน
หรือหลังกำรพูด
ข้อบกพร่องที่พบเสมอ
- หลอดฉำยขำดระหว่ำงกำรใช้เครื่อง
- ติดขัดขณะดำำเนิ นรำยกำร
- ห้องมีแสงสว่ำงมำก ทำำให้เห็นภำพไม่
ชัดเจน
- เรียงลำำดับและกลับภำพผิด ๆ ถูก
- คำำพูดกับภำพไม่ตรงกัน
- ภำพไม่สัมพันธ์กับผู้ชม
- มีแสงสว่ำงจ้ำปรำกฏบนจอ
- ผู้พูดหันหลังให้ผู้ชมมำกเกินไป
ขอ้แนะนำำ
- ซ้อมกำรนำำเสนอด้วยควำมมั่นใจ
- ใช้ภำพเป็ นแนวทำงในกำรพูด
- ใช้ทักษะในกำรพูดมำประยุกต์ใช้
- วิธีท่ีจะไม่หันหลังให้ผู้ชมมำกเกินไป ให้ใช้
กระจกส่องมองหลังหรือทีวีมอนิ เตอร์ขนำดเล็ก
" บุคคลิกภำพของมนุษย์ คือขุมทรัพย์
มหำศำลแห่งพิภพ "
เอกสำรประกอบกำรอบรมกำรถ่ำยภำพที่มีคุณค่ำที่ได้
รับจำกกำรเข้ำฝึ กอบรม ย้อนไปในอดีตที่ บริษท ั โกดักโด่งดังมำก
ในยุทธจักรของสื่อที่ต้องผลิตด้วยฟี ล์มเป็ นหัวใจสำำคัญ เป็ นกำร
เผยแพร่ให้กับสมำชิกผู้สนใจเพื่อจะได้นำำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ใน
กำรใช้เครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ท่ีถก ู ต้อง และได้เพิ่มเติมอุปกรณ์
บำงอย่ำงที่เป็ นปั จจุบันเข้ำไปด้วย จึงขออภัยผู้เขียนไว้ด้วย ทั้งนี้
เพื่อให้ทันสมัยนำำไปใช้ในด้ำนกำรเรียน กำรสอน และ กำรประ
ชุมสัมนำ ทั้งภำครัฐ -เอกชน สำำหรับวิทยำกรที่สนใจทุกท่ำน

การใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียนของอาจารย์ และ
นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
The use of audio visual equipment in classroom
ampng nursing instructors and nursing students,
Faculty of Nursing, Chiang Mai University
หัวหน้า นำงสำวโสภำ กรรณสูต
โครงการ
หน่วยงาน สำำนักงำนคณะ
แหล่ง คณะ
สนับสนุน
งานวิจัย
ระยะเวลา 15 กรกฏำคม 2546 - 15
ดำาเนิ นการ กรกฏำคม 2547

กลุ่มวิจัย
 กลุ่มวิจัย Others
วัตถุประสงค์โครงการ
เพื่อศึกษำกำรใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียนของอำจำรย์และนัก
ศึกษำะพยำบำลศำสตร์ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่
ลักษณะโครงการ

กำรใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียนเป็ นสิ่งที่สำำคัญในกำรเรียนกำร
สอน เพื่อให้กำรเรียนกำรสินเป็ นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ และ
บรรลุตำมวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ กำรศึกษำครั้งนี้ มีวต
ั ถุประสงค์เพื่อ
ศึกษำกำรใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียนของอำจำรย์และนักศึกษำ
ตลอดจนปั ญหำ และข้อเสนอแนะต่ำงๆ เกี่ยวกับกำรบริกำรโสต
ทัศนูปกรณ์ของหน่ วยโสตทัศนูปกรณ์
ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรศึกษำ ได้แก่ อำจำรย์ ที่
ปฏิบัติกำรสอนในคณะพยำบำลศำสตร์ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่
และนักศึกษำระดับปริญญำตรี ปริญญำโท และปริญญำเอก คณะ
พยำบำลศำสตร์ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่ ที่เคยใช้โสตทัศนูปกรณ์ใน
ห้องเรียน ระหว่ำงวันที่ 14 พฤษภำคม- 4 มิถุนำยน 2547 จำำนวน
122 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถำมเกี่ยวกับ 1) กำรใช้
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทต่ำงๆ 2) ลักษณะกำรใช้โสตทัศนูปกรณ์ใน
ห้องเรียน 3) ประสิทธิภำพของโสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียน 4)
ควำมเหมำะสมของตำำแหน่ งกำรติดตั้ง หรือกำรจัดวำงโสต
ทัศนูปกรณ์ 5) ควำมชัดเจนของคำำอธิบำยวิธีกำรใช้โสต
ทัศนูปกรณ์ 6) ควำมรวดเร็วในกำรของกำรให้บริกำรเมื่อเกิด
ปั ญหำขัดข้องในกำรใช้โสตทัศนูปกรณ์ 7) ควำมพึงพอใจในกำรให้
บริกำรของเจ้ำหน้ำที่ในกำรติดตั้งโสตทัศนูปกรณ์ 8) ปั ญหำที่เกิด
จำกกำรใช้ LCD Projector และ Computer ที่ติดตั้งในห้องเรียน
9) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกำรใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียน
ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล พบว่ำ กำรใช้โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียน
ของอำจำรย์และนักศึกษำส่วนใหญ่ ได้แก่ LCD Projector และ
Computer (ร้อยละ 97.43, 86.36 ตำมลำำดับ) โดยอำจำรย์ขอ
ให้เจ้ำหน้ำที่ช่วยติดตั้งโสตทัศนูปกรณ์ ได้แก่ กำรใช้ LCD
Projector ต่อกับ Visualized Projector หรือต่อกับ Video
Player (ร้อยละ 51.29) และนักศึกษำขอให้เจ้ำหน้ำที่ช่วยบริกำร
โสตทัศนูปกรณ์ให้ทุกครั้ง (ร้อยละ 52.27) อำจำรย์และนักศึกษำ
มีควำมคิดเห็นว่ำโสตทัศนูปกรณ์ต่ำงๆ ที่ให้บริกำรในห้องเรียนมี
ประสิทธิภำพอยู่ในระดับดี (ร้อยละ 73.08, 86.36 ตำมลำำดับ)
ตำำแหน่ งติดตั้ง และกำรวำงโสตทัศนูปกรณ์มีควำมเหมำะสมอยู่ใน
ระดับดี (ร้อยละ 48.72, 70.00 ตำมลำำดับ) และคำำอธิบำยวิธีกำร
ใช้โสตทัศนูปกรณ์ต่ำงๆ มีควำมชัดเจนอยู่ในระดับดี (ร้อยละ
65.38, 70.45 ตำมลำำดับ) และให้บริกำรได้รวดเร็วเมื่อเกิด
ปั ญหำขัดข้องในกำรใช้โสตทัศนูปกรณ์ อยู่ในระดับดี (ร้อยละ
56.41, 79.55 ตำมลำำดับ) และมีควำมพึงพอใจในกำรให้บริกำร
ของเจ้ำหน้ำที่ในกำรติดตั้งโสตทัศนูปกรณ์ อยู่ในระดับดี (ร้อยละ
61.54, 77.27) สำำหรับปั ญหำที่เกิดจำกกำรใช้ LCD Projector
และ Computer ที่ติดตั้งในห้องเรียน อำจำรย์ และนักศึกษำมี
ควำมเห็นว่ำ ไม่มีปัญหำในกำรใช้โสตทัศนูปกรณ์ (ร้อยละ 64.10,
77.27 ตำมลำำดับ) และได้ให้ข้อข้อเสนอแนะว่ำ ควรมีเจ้ำหน้ำที่ให้
บริกำรเพิ่มมำกขึ้นกว่ำเดิม (ร้อยละ 37.50, 66.66 ตำมลำำดับ)
ผลกำรศึกษำครั้งนี้ สำมำรถนำำมำเป็ นข้อมูลพื้นฐำนในกำร
ปรับปรุงกำรบริกำรของหน่ วยโสตทัศนศึกษำเพื่อให้กำรบริกำร
โสตทัศนูปกรณ์ในห้องเรียนเป็ นไปอย่ำงทั่งถึง และสอดคล้องกับ
ควำมต้องกำรของอำจำรย์และนักศึกษำ เพื่อสนับสนุนให้กำรเรียน
กำรสอนเป็ นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพต่อไป

You might also like