You are on page 1of 31

เอกสารประกอบการศึกษาวิชากฎหมายลักษณะนิติกรรมและสัญญา (น.

๑๐๑)
ผศ. ดร. กิตติศักดิ์ ปรกติ
สวนที่ ๒
การเกิดขึน้ แหงสัญญา

อุทาหรณ

อุทาหรณ ๑. ก. เปนเจาของรานขายหนังสือเกา สงจดหมายไปยัง ข. แจงวาตนมีหนังสือกฎหมาย


๒ เลม (กฎหมายราชบุรี ฯ ) ฉบับพิมพ พ.ศ. ๒๔๔๐ ซึ่งเปนหนังสือเกาหายาก และตนประสงคจะ
ขายหนังสือแก ข. เมื่อ ข. ไดรับจดหมายดังกลาวก็ตอบตกลงซื้อไปยัง ก. ทันที โดยทั้งสองฝายยัง
มิไดตกลงราคากัน หากตอมา ข. เรียกให ก. สงมอบแลว ก. ปฏิเสธการสงมอบ ดังนี้ทานจงอธิบาย
วาสัญญาซื้อขายหนังสือดังกลาวเกิดขึ้นแลวหรือยัง เพราะเหตุใด?

อุทาหรณ ๒. กรณีจะเปนอยางไร หาก ก. เปดกิจการรานขายหนังสือวิชาการ และมีหนังสือ “นิติ


กรรม” ของอาจารย X ฉบับปรับปรุงใหมเพิ่งวางจําหนายเมื่อตนเดือน และไดเสนอขายแก ข. โดย
ข. ตกลงซื้อหนังสือดังกลาวโดยมิไดตกลงราคากัน ดังนีท้ านจะวินจิ ฉัยวาสัญญาซื้อขายรายนี้
เกิดขึ้นหรือไม เพราะเหตุใด?

อุทาหรณ ๓. ก. เปนเจาของรานบูติกแหงหนึ่ง นําเสื้อผาชุดหนึ่งตั้งแสดงไวในตูแ สดงสินคาหนา


รานของตนโดยปดปายราคาไวเปนเงิน ๙,๐๐๐ บาท ตอมา ข. ผานมาพบเห็นเขาเกิดพอใจ แตยังไม
มีเวลาที่จะตกลงซื้อในขณะนั้น เมื่อกลับถึงบานจึงโทรศัพทติดตอ ก. ที่ราน และแจงวาตนประสงค
จะซื้อเสื้อผาที่ตั้งแสดงอยูในตูหนารานตามราคาที่เสนอขาย และ ก. ไดตอบตกลงขายโดยจะสง
ชุดดังกลาวไปให ข. แลว หากปรากฏวาตอมา ค. พบเห็นชุดดังกลาวและพอใจอยางยิ่งจึงเดินเขา
ไปในรานและแจงแก ก. วาตนตกลงซื้อชุดดังกลาวตามราคาที่แจงไวตามปายราคา ก. ปฏิเสธโดย
แจงวาชุดดังกลาวไดขายไปแลว ดังนี้ หาก ค. อางวาสัญญาซื้อขายเกิดขึ้นแลว เพราะการที่ ก. ติด
ปายแสดงราคายอมเปนการเสนอขาย เมื่อตนสนองซื้อสัญญายอมเกิดขึ้น และเรียกให ก. สงมอบ
ชุดดังกลาวแกตน ขออางของ ค. จะฟงขึ้นหรือไม?

อุทาหรณ ๔. เมื่อวันที่ ๑ มิถนุ ายน ก. ไดทําจดหมายเสนอขายแจกันราชวงศหมิงใบหนึ่งแก ข. โดย


ทางไปรษณียในราคา ๑๐,๐๐๐ บาท จดหมายดังกลาวสงถึง ข. เมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน และ ข. ได

๕๘
ตอบตกลงซื้อและแจงไปยัง ก. จดหมายดังกลาวถึง ก. เมื่อวันที่ ๖ มิถุนายน ดังนี้สัญญาดังกลาว
เกิดขึ้นหรือไม?

อุทาหรณ ๕. ตามอุทาหรณ ๔. กรณีจะเปนอยางไร ถา ข. แจงไปยัง ก. ทางโทรศัพทเมื่อวันที่ ๔


มิย. วาตนตกลงซื้อแจกันในราคา ๘,๐๐๐ บาท แต ก. ไมตกลงดวย ตอมา ข. จดหมายไปยัง ก. วา
ตกลงซื้อในราคา ๑๐,๐๐๐ บาทตามที่เสนอ ดังนี้ สัญญาเกิดขึ้นหรือไม?

อุทาหรณ ๖. ก. ทําคําสนองซื้อสินคาไปยัง ข. วาตกลงซื้อเครื่องจักรของ ข. ในราคา ๕๐๐,๐๐๐


บาท ตามคําเสนอของ ข. แต ก. จะขอผอนชําระเปนงวด ๆ เทา ๆ กันมีกําหนด ๕ เดือน ดังนี้
สัญญาเกิดขึ้นแลวหรือยัง?

๕๙
สวนที่ ๒ การเกิดขึน้ แหงสัญญา
บทที่ ๑ คําเสนอและคําสนอง

สัญญาคือความผูกพันตามกฎหมายซึ่งเกิดจากเจตนาผูกพันซึ่งกันและกันดวยใจสมัครของ
บุคคลอยางนอยสองฝายโดยทําคําเสนอสนองตองตรงกัน การแสดงเจตนาของฝายแรกเรียกวาการ
ทําคําเสนอ สวนการแสดงเจตนาของฝายทีส่ องเรียกวาการทําคําสนอง
ในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยนั้นมิไดมีการบัญญัติหลักเกณฑไวโดยตรงวาสัญญา
จะเกิดขึ้นเมื่อคําเสนอสนองตองตรงกัน อยางไรก็ดี เราก็สามารถอนุมานไดจากการพิจารณา
หลักเกณฑวาดวยการเกิดขึน้ ของสัญญาซึ่งไดรับการบัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชยนั่นเอง ดังจะเห็นไดจากหลักสําคัญในมาตรา ๓๕๔, ๓๕๕ ปพพ. ซึ่งวางหลักวาดวยความ
ผูกพันของคําเสนอ ไววา คําเสนอนั้นจะถอนเสียกอนเวลาที่กําหนดไว หรือจะถอนกอนเวลาที่
ควรคาดหมายไดวาจะไดรับคําบอกกลาวสนองมิได ประการหนึ่ง และอีกประการหนึ่งมาตรา
๓๕๙ ปพพ. ก็วางหลักวาดวยความมีผลของคําสนองตอไปวา “คําสนองอันมีขอความเพิ่มเติม มี
ขอจํากัด หรือมีขอแกไขอยางอื่นประกอบดวยนั้น ทานใหถือวาเปนคําบอกปดไมรับ ทั้งเปนคํา
เสนอขึ้นใหมดวยในตัว” แปลความกลับกันไดวา คําสนองที่ตองตรงกับคําเสนอโดยมิไดแกไข
เพิ่มเติมคําเสนอยอมสมบูรณเปนคําสนอง และทําใหเห็นไดวา ความผูกพันอันจะกอใหเกิดสิทธิ
หนาที่ตามสัญญาระหวางกันไดนั้นจะตองเปนกรณีที่คําสนองตองรับกันกับคําเสนออยาง
เหมาะเจาะ หรือที่มักจะกลาวกันวาสัญญาจะเกิดขึน้ ไดดจะตองปรากฏวา “คําเสนอสนองตอง
ตรงกัน” หรือที่ภาษาละตินเรียกวา “concensus ad idem” นั่นเอง

๑. คําเสนอ
๑.๑ ความหมายของคําเสนอ
คําเสนอเขาทําสัญญา (offer) เปนการแสดงเจตนาชนิดทีต่ อ งมีผูรับการแสดงเจตนา จะ
เจาะจงผูรับหรือไมก็ได โดยคําเสนอนั้นจะตองมีเนื้อหาเปนการเสนอตนเขาผูกพันกับคูกรณีอีก
ฝายหนึ่งเมื่อคูก รณีอีกฝายหนึ่งนั้นตกลงทําคําสนอง

๖๐
ก) ที่วาการทําคําเสนอเปนการแสดงเจตนาชนิดที่ตองมีผูรับนั้น หมายความวา คําเสนอ
ยอมมีผลเปนคําเสนอก็ตอเมื่อการแสดงเจตนาเสนอนัน้ อยางนอยไดไปถึงผูรับแลว (มาตรา ๑๖๘,
๑๖๙) เมื่อเจตนาทําคําเสนอนั้นมีผลคือเมื่อไปถึงผูรับแลว ผูเสนอยอมผูกพันตนตามคําเสนอนั้น
คือจะถอนคําเสนอเสียมิได จนกวาจะพนเวลาอันควรคาดหมายวาอีกฝายหนึ่งจะไดทาํ สนอง
(มาตรา ๓๕๔, ๓๕๕, ๓๕๖)

ข) โดยที่สัญญายอมเกิดขึ้นเมื่อคูกรณีอีกฝายหนึ่งตกลงสนองรับคําเสนอ ดังนั้นคําเสนอ
จึงจําตองมีเนือ้ หาแนนอนถึงขนาดที่หากคูกรณีอีกฝายหนึ่งตอบตกลงตามคําเสนอสัญญายอม
เกิดขึ้นทันที หมายความวา คําเสนอจะตองมีลักษณะแนนอนถึงขนาดที่หากอีกฝายหนึ่งตอบ “ตก
ลง” สัญญายอมเกิดขึ้นทันที เชนในกรณีทาํ สัญญาซื้อขายกันจะตองมีการตกลงกันเกีย่ วกับตัว
สินคาที่ซื้อขาย และราคา โดยมีการกําหนดตัวสินคาและราคาแนนอนแลว๑ หรือมิฉะนั้นก็ตองเปน
กรณีที่อาจกําหนดราคาไดตามสมควร หรือโดยปริยาย เชนมีราคาตลาด หรือปกติประเพณีที่อาจใช
เปนฐานในการคํานวณราคาไดจึงจะสันนิษฐานไดวาคูกรณีตกลงกันตามราคาตลาดหรือตามราคา
สมควร (โปรดเทียบกรณีตามมาตรา ๔๘๗ วรรคสอง) สวนกรณีซื้อขายมือเปลาในทองตลาดนัน้
หากมิไดตกลงราคากันไวใหแนนอนลงไป และไมมีเหตุใหสันนิษฐานวาตกลงกันโดยวิธีอยางอื่น
หรือเปนกรณีที่อาจกําหนดราคาไดตามสมควร ดังนีย้ อมเปนกรณีที่คําเสนอยังไมแนนอนเพียงพอ
ดังนั้นหากการชําระราคาเปนสาระสําคัญของสัญญา สัญญายอมไมเกิดขึ้นจนกวาจะไดตกลงราคา
กันแลว (มาตรา ๓๖๖)
ตัวอยางเชน ก. นํานาฬิกาของตนซึ่งชํารุดไปใหชางนาฬิกาซอมแซม ดังนี้การสง
มอบนาฬิกาใหชางซอมก็จดั เปนการทําคําเสนอวาจางใหชางนาฬิการับจางทําของโดยการซอม

๑ โปรดดูฎีกาที่ ๓๙/๒๕๓๗ บันทึกขอตกลงแมจะมิไดระบุวาเปนสัญญาจะซื้อจะขายแตมีขอความระบุชัด


แจงถึงขอตกลงของคูกรณีในอันที่จะทําการซื้อขายที่ดินโดยระบุชัดเจนทั้งตัวทรัพยที่เปนวัตถุแหงหนี้ ราคา
ที่ซื้อขาย ตลอดจนวิธีการและกําหนดเวลาในการปฏิบัติการชําระหนี้ ไดสาระสคัญครบถวน จึงมีผลเปน
สัญญาจะซื้อจะขายตามกฎหมายแลว; และโปรดเทียบฎีกาที่ ๒๙๔/๒๕๑๕ ๒๕๑๕ ฎ.๒๔๖ สัญญาเชาระบุ
วาเมื่อครบกําหนดเวลาตามสัญญาเชาแลว หากผูเชาประสงคจะเชาตอไป ผูใหเชายอมใหเชาตอไปอีก และ
คาเชาจะไดตกลงกันภายหลังนั้น เปนเพียงผูใหเชาใหโอกาสผูเชาที่จะเจรจาตอรองเพื่อตอสัญญาเชาไดอีก
ในเมื่อตกลงเรื่องคาเชากันไดเรียบรอยในอนาคต แตไมมีขอความผูกพันใหผูใหเชาวาเรียกรองคาเชาไดมาก
นอยเพียงใด ดังนี้ยังไมชัดเจนเพียงพอที่จะเปนคําเสนอ; นอกจากนี้โปรดเทียบ ฎีกาที่ ๒๑๖๐/๒๕๑๘
๒๕๑๘ ฎ.๒๗๓๗ ขอสัญญาวาครบกําหนดเชาแลว ผูเชาตองมาทําสัญญาใหมใน ๗ วัน มิฉะนั้นยอมให
เก็บคาเชาเปนรายเดือน เดือนละ ๑๐๐๐ บาทได ดังนี้เปนแตโอกาสทําสัญญาใหม แมผูเชาขอทําสัญญาใหม
ใน ๗ วัน ก็ยังไมเปนสัญญาผูกพันผูใหเชา เพราะที่ใหมาทําสัญญาใน ๗ วันยังไมแนนอนเพียงพอวาจะตก
ลงดวยหรือไมจึงยังไมจัดเปนคําเสนอ

๖๑
นาฬิกานั้นจนสําเร็จ แมวาทัง้ สองฝายจะยังมิไดตกลงกันเรื่องราคาคาตอบแทนก็พอจะสันนิษฐาน
วาตกลงทําคําเสนอสนองตองตรงกันแลว ทั้งนี้เพราะอนุมานไดวาหากชางนาฬิกาตกลงรับซอม
นาฬิกานั้นคาซอมนาฬิกายอมเปนไปตามอัตราที่รับรูกันในทองตลาดโดยปริยาย
สําหรับกรณีตามอุทาหรณ ๑) และ อุทาหรณ ๒) นั้น จะเห็นไดวาคําสนองในทั้งสอง
กรณียังไมปรากฏวาไดมกี ารตกลงเรื่องราคากันแนนอนแลว อยางไรก็ตามในอุทาหรณ ๒) นั้น
ราคาอาจกําหนดกันไดโดยปริยาย โดยหมายถึงการเสนอขายหนังสือตามราคาปกหรือราคาหนา
ราน สวนในอุทาหรณ ๑) นั้น โดยที่เปนการยาก หรือเปนกรณีไมอาจกําหนดแนไดวาหนังสือเกา
และหายากดังกลาวควรเปนราคาเทาใด ดังนี้ยอมเห็นไดวา การแสดงเจตนาในอุทาหรณ ๑) นั้นยัง
เรียกไมไดวาแนนอนถึงขนาดที่จะเปนคําเสนอได ดวยเหตุนี้เองผูซื้อจึงไมมีสิทธิเรียกรองตอผูขาย
ดวยประการใด ๆ สวนกรณีตามอุทาหรณ ๒) นั้นถือไดวา สัญญาซื้อขายรายนี้เกิดขึ้นแลวตามราคา
ทองตลาด
โดยทั่วไปการจะถือวาคําเสนอมีความแนนอนชัดเจนเพียงพอได ยังตองเปนกรณีที่
คูกรณีแตละฝายรูวาคูกรณีอกี ฝายหนึ่งเปนใครดวย ทั้งนี้เพราะการที่บุคคลใดบุคคลหนึ่งจะเขาทํา
สัญญาผูกพันกับบุคคลใด บุคคลนั้นยอมประสงคจะรูตัวคูสัญญา และยอมถือวาคุณสมบัติ
เฉพาะตัวของคูกรณีอีกฝายหนึ่งเปนสาระสําคัญ โดยเฉพาะสัญญาที่ตองปฏิบัติตางตอบแทนกัน
เปนระยะเวลานาน เชนสัญญาเชา คูกรณีตองมีความไวเนื้อเชื่อใจกันจึงจะตกลงผูกพันกัน
คุณสมบัติเฉพาะตัวของคูสญ ั ญาจึงนับเปนสาระสําคัญ อยางไรก็ดีมสี ัญญาบางประเภทที่ผูเขาทํา
สัญญาไมถือเอาคุณสมบัติเฉพาะตัวของคูส ัญญาเปนสาระสําคัญ และไมประสงคจะคัดเลือกบุคคล
เฉพาะรายเปนคูสัญญา เชนการประกาศขายของในตลาดสาธารณะแกผเู ดินผานไปมา หรือการ
ติดตั้งเครื่องจําหนายเครื่องดืม่ อัตโนมัติโดยใหผูซื้อหยอดเหรียญเลือกซื้อเอาเอง หรือในบางกรณีก็
เปนกรณีทกี่ ารทําคําเสนอแกบุคคลเฉพาะรายเปนสิ่งที่ยากจะกระทําได หรือเปนไปไมไดเอา
เสียเลย ในกรณีเชนนี้ อาจมีกรณีที่บุคคลอาจทําคําเสนอตอสาธารณชนได เราเรียกกรณีเชนนีว้ า
การทําคําเสนอแบบ ad incentas personas
ตัวอยาง เชนการติดตั้งเครื่องขายสินคาอัตโนมัติถือวาเปนการทําคําเสนอขายสินคา
ตอสาธารณชนโดยไมเลือกหนา แตทั้งนีค้ วรเขาใจดวยวาคําเสนอนั้น ๆ เปนคําเสนอขายสินคา
โดยมีขอจํากัด คือเสนอขายเฉพาะเทาที่มีอยูในชองเก็บสินคาของเครื่องอัตโนมัตินั้นและเทาที่
เครื่องจะยังอยูใ นสภาพใชงานไดเทานั้น นอกจากนี้ การใหบริการรถเมลหรือรถรางโดยนําเอารถ
ออกวิ่งรับคนโดยสารจัดเปนการทําคําเสนอทําสัญญารับขนตอสาธารณชนทัว่ ไปโดยไมเจาะจง
เชนเดียวกัน

๖๒
ค) ในการพิจารณาการแสดงเจตนาแตละครั้งวาจะเปนคําเสนอหรือไม จะตองพิเคราะห
เสียกอนวา กรณีนั้น ๆ เปนกรณีที่ผูแสดงเจตนาประสงคผูกพันตนเมื่อคูกรณีอีกฝายหนึ่งแสดง
เจตนาสนองรับหรือไม หรือเพียงแตเปนการแสดงเจตนาที่มุงเชิญชวนใหอีกฝายหนึ่งทําคําเสนอ
(invitio ad offerendum) เทานั้น การเชิญชวนใหทําคําเสนอนั้นตางจากคําเสนอ เพราะคําเชิญชวน
เปนแตเพียงการเชื้อเชิญใหอกี ฝายหนึ่งทําคําเสนอโดยฝายที่เชิญชวนจะเปนผูเลือกวาตนจะทําคํา
สนองหรือไมเทานั้น๒
การประกาศแจงความแกสาธารณะ เชนการลงแจงความโฆษณาขายสินคาใน
หนังสือพิมพ การสงคําโฆษณาเชิญชวนใหซื้อสินคาทางไปรษณีย การสงบัญชีหรือรายการสินคา
ไปให เชนการสงรายชื่อหนังสือพรอมแจงราคากํากับไว หรือการนําสินคาออกแสดงในหองแสดง
สินคานั้น ลวนแลวแตเห็นไดวาเปนการแสดงเจตนาโดยผูแสดงเจตนานั้น ๆ มิไดประสงคที่จะ
ผูกพันทันทีทคี่ ูกรณีอีกฝายหนึ่งตกลงตามที่โฆษณา และยังถือไมไดวาเปนคําเสนอ ถาหากจะถือ
วาคําบอกกลาวเชนนัน้ เปนคําเสนอก็เทากับเปดชองใหบคุ คลจํานวนมากเขาทําสัญญากับผูทําคํา
บอกกลาวดังกลาวไดโดยเพียงแตสงคําสนองมายังผูบอกกลาวนั้นๆ ดังนี้อาจเกิดสัญญาขึ้น
มากมายนับไมถวนในคราวเดียวก็ได หากผูทําคําบอกกลาวตอสาธารณชนไมสามารถจัดหาสินคา
มาสงมอบแกอีกฝายหนึ่งได ผูทําคําบอกกลาวอาจตองตกเปนผูละเลยไมชําระหนี้ของตน และตอง
รับผิดตอคูสัญญาเหลานั้นเพือ่ การไมชําระหนี้และอาจตองชดใชคาสินไหมทดแทนแกบุคคลเปน
จํานวนมากได นอกจากนั้นผูทําคําเสนอโดยทั่วไปยอมถือวาความสามารถชําระหนีข้ องคูกรณีเปน
คุณสมบัติอันเปนสาระสําคัญในการทําสัญญา ดังนั้นหากเขาทําคําบอกกลาวแกคนทั่วไปแลวเรา
ถือวาเปนเพียงการเชิญชวนใหทําคําเสนอก็ยอมสมประโยชนแกผูทําคําบอกกลาว เพราะในชั้น
แรกนี้ เขาก็ยอมไมจําเปนตองคํานึงถึงคุณสมบัติของอีกฝายหนึ่งจนกวาอีกฝายหนึ่งนัน้ จะทําคํา
เสนอมายังผูทําคําบอกกลาวเสียกอน และผูทําคําบอกกลาวรายแรกยอมมีสิทธิเลือกวาจะรับคํา
เสนอเชนนั้นหรือไมอีกทอดหนึ่ง
ตามอุทาหรณ ๓) นั้น ค. จะมีสิทธิเรียกรองใหผูขายสงมอบเสื้อได หากปรากฏวา
สัญญาซื้อขายระหวาง ค. กับ ก. เกิดขึน้ แลว แตกรณีนหี้ าไดมีสัญญาระหวาง ค. กับ ก. ผูขายแต
อยางใดไม ทัง้ นี้เพราะการนําเสื้อออกแสดงในหองแสดงสินคาเปนแตเพียงการเชิญชวนใหผูพบ
เห็นทําคําเสนอซื้อเทานั้น ในกรณีตามอุทาหรณนี้ ค. ไดทําคําเสนอเมื่อไดพบเห็นและเดินเขามา

๒ โปรดเทียบฎีกาที่ ๒๘๑๑/๒๕๒๙ ๒๕๒๙ ฎ.๑๖๖๓ (ประกวดราคา); ฎีกาที่ ๓๒๔๙/๒๕๓๗ ฎ.สงเสริม น.


๓๑ การออกประกาศประกวดราคาของทางราชการโดยมีเงื่อนไขสงวนสิทธิไววา จะเลือกทําสัญญากับผูเขา
ประกวดรายใดก็ได ประกาศประกวดราคาจึงไมใชคําเสนอ เปนแตคําเชื้อชวนใหทําคําเสนอเทานั้น; ฎีกาที่
๒๕๑๑/๒๕๔๐ ฎ.สงเสริม เลม ๖ น.๘๙ ประกาศประกวดราคาเชาสะพานทาเทียบเรือเปนเพียงคําเชิญชวน
ใหทําคําเสนอ

๖๓
ในรานของ ก. และแสดงเจตนาเสนอซื้อเสื้อที่แสดงอยู เมื่อ ก. ไดปฏิเสธคําเสนอของ ค. สัญญา
ซื้อขายยอมไมเกิดขึ้น ในทํานองกลับกัน สัญญาซื้อขายเสื้อรายนี้เกิดขึน้ ระหวาง ก. กับ ข. แลว
โดย ข. เปนฝายเสนอซื้อทางโทรศัพทและ ก. เปนฝายสนอง อยางไรก็ดี ผลทางกฎหมายอาจตาง
ออกไป หากถือวาการตั้งแสดงสินคาในตูแ สดงสินคาเปนการทําคําเสนอ ผลก็จะกลายเปนวาการที่
ข. บอกกลาวมายัง ก. เพื่อขอซื้อเสื้อทางโทรศัพทก็ดี หรือการที่ ค. เขาไปในรานและบอกกลาวขอ
ซื้อเสื้อโดยตรงก็ดี ลวนแตทําใหสัญญาซื้อขายเกิดขึน้ ทัง้ สิ้น แตการที่ ก. มีเสื้ออยูเพียงตัวเดียว
ยอมมีผลให ก. สามารถปฏิบัติตามสัญญาโดยสงมอบเสื้อแกเจาหนีไ้ ดเพียงรายเดียว และอาจตอง
รับผิดเพื่อการชําระหนีแ้ กเจาหนี้รายอื่น ๆ เชน ค. ได
ขอแตกตางในผลทางปฏิบัติระหวางคําเสนอกับคําบอกกลาวเชิญชวนใหทําคําเสนอ
นั้นจะเห็นไดชัดขึ้นในกรณีที่มีการแจงหรือแสดงราคาผิดพลาด
ตัวอยางเชน ในการแจงราคาเสื้อผาที่แสดงไวในตูแสดงสินคา หากมีการแจงราคา
หรือติดปายราคาผิด เชนเสื้อราคา ๙๐๐ บาท แตกลับแจงเปน ๗๐๐ บาท ดังนี้ถาเปนกรณีทําคํา
เสนอและลูกคาตกลงซื้อเสื้อในราคาที่แสดงไว ดังนี้สัญญายอมเกิดขึน้ กรณีเชนนี้ผูขายมีทางปด
ความผูกพันไดโดยอางวา แจงราคาพลาดไปโดยสําคัญผิดในสาระสําคัญ (มาตรา ๑๕๖ ปพพ.)
เวนเสียแตวาผูขายประมาทเลินเลออยางรายแรง ผูขายจะอางโมฆะกรรมไมได (มาตรา ๑๕๘
ปพพ.) อยางไรก็ดี โดยที่กรณีดังกลาวเปนกรณีเชิญชวนใหทําคําเสนอ ดังนี้หากมีผูตองการซื้อผู
ซื้อยอมเปนฝายทําคําเสนอ และผูขายยอมมีสิทธิปฏิเสธไมขายตามราคาปายได ในกรณีเชนนี้
สัญญาซื้อขายยอมไมเกิดขึ้นและไมจําเปนตองมีการบอกลางการแสดงเจตนาหรืออางโมฆะกรรม
แตประการใด

๑.๒ ผลของคําเสนอ
ก) คําเสนอยอมผูกพัน
หลักคําเสนอยอมผูกพันหมายความวาผูทําคําเสนอไมอาจบอกถอนคําเสนอเสียได
จนกวาจะพนเวลาอันควรคาดหมายไดวาอีกฝายหนึ่งจะทําคําสนอง๓ หลักการขอนี้ใชไดทั้งกรณี
ทําคําเสนอตอผูอยูเฉพาะหนา และผูอยูหางโดยระยะทาง (มาตรา ๓๕๕, ๓๖๖ ปพพ.) ตราบเทาที่

๓ หลักเรื่องนี้แ ตกตางกันระหวางระบบกฎหมายซิวิลลอว กับระบบกฎหมายคอมมอนลอว ในกฎหมาย


อังกฤษนั้นถือหลักวาคําเสนอนั้น ตราบเทาที่ยังไมมีการทําคําสนอง ยอมบอกถอนไดเสมอ (revocable at
any time before acceptance) ผูสนใจรายละเอียดโปรดดู บทความของผูเขียนเรื่อง “ผลของคําเสนอ-สนอง
ในแงกฎหมายเปรียบเทียบ” ใน วารสารนิติศาสตร มธ. ปที่ ๒๔ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๓๗, หนา ๖๙ -
๘๖

๖๔
คําเสนอยังคงมีผลผูกพันผูเสนอใหไมอาจบอกถอนคําเสนอไดอยูนี้ ผูร ับคําเสนอยอมมีสิทธิเลือก
คือจะเลือกสนองรับคําเสนอ หรือจะเลือกบอกปดคําเสนอก็ได
คําเสนอที่จะมีผลผูกพันผูทําคําเสนอใหไมอาจบอกถอนไดนั้น จะตองปรากฏดวยวา
๑) ไดมีการสงคําเสนอไปยังผูรับแลว และ
๒) คําเสนอนั้นไดไปถึงผูรับแลว
แตถาปรากฏวา คําเสนอยังขาดองคประกอบขอใดขอหนึง่ คําเสนอนั้นยอมยังไมมีผล
ผูกพันใหผูทําคําเสนอไมอาจถอนคําเสนอเสียได และในกรณีเชนนี้ ผูทําคําเสนอยอมมีสิทธิบอก
ถอนคําเสนอเสียได
อยางไรก็ดี มีบางกรณีที่กฎหมายยอมใหผทู ําคําเสนอบอกถอนคําเสนอไดเปนกรณี
ยกเวนเฉพาะกรณี เชน ในการขายทอดตลาดนั้น ผูขายทอดตลาดจะเชิญชวนใหมีผูทําคําเสนอซื้อ
ทรัพยสินที่ขายทอดตลาด ผูท ําคําเสนอนี้เรียกวาผูสูราคา ปกติผูขายทอดตลาดจะตกลงขาย
ทรัพยสินแกผูสูราคาสูงสุดดวยการเคาะไม หากมีการเคาะไมก็ถือวาผูขายทอดตลาดทําคําสนองคํา
เสนอของผูสูราคาและสัญญายอมเกิดขึน้ แตกอนที่ผูขายทอดตลาดจะเคาะไมกฎหมายกําหนด
ขอยกเวนหลักคําเสนอยอมผูกพันไวเปนกรณีพิเศษโดยกําหนดวา ผูสูราคาในการขายทอดตลาดจะ
บอกถอนคําสูราคาของตนเสียเมื่อใดก็ได (มาตรา ๕๐๙ ปพ พ.)

ข) คําเสนอนั้นอาจจํากัดเวลาผูกพัน หรือจะกําหนดขอยกเวนความผูกพันไวแตแรกก็ได
๑) การแสดงเจตนาทําคําเสนอโดยยกเวนหรือสงวนความผูกพันอาจมีได ไดแก
กรณีที่การแสดงเจตนาทําคําเสนอนั้นกําหนดขอยกเวนหรือสงวนสิทธิบอกปดความผูกพันไวแต
ตน หรือกรณีมีทําเสนอแลวแตตอมาผูเสนอไดบอกกลาวเพิกถอนคําเสนอไปถึงผูรับคําเสนอกอน
หรือพรอมกับคําเสนอ
ตัวอยางเชน ในทางการคาผูประกอบกิจการคาอาจทําคําเสนอไปยังคูคาในรูป
non-binding clause หรือ non obligo ก็ได ซึ่งหมายถึงคําบอกกลาวเสนอที่ผูเสนอขอสงวนสิทธิที่
จะปฏิเสธความผูกพันเมื่ออีกฝายหนึ่งทําคําสนองมายังตน ซึ่งจะมีผลใหสัญญาไมเกิดขึ้น แตกรณี
เชนนี้ผูทําคําเสนอจะตองบอกกลาวปดคําสนองทันที่ที่ตนไดรับคําสนอง หากผูทําคําเสนอมิได
บอกปดคําสนองทันที ยอมถือไดวาสัญญาเกิดขึ้น ขอความที่มีลักษณะสงวนสิทธิที่จะผูกพันหรือ
ปดความผูกพันดังกลาวนั้น อาจแสดงออกในรูปสิทธิบอกเลิกสัญญาฝายเดียวก็ได โดยถือวา non-
obligo เปนสวนหนึ่งของขอสัญญา ดังนี้คําเสนอยอมผูกพันผูทําคําเสนอ หากอีกฝายหนึ่งทําคํา
สนองสัญญายอมเกิดขึ้น แตฝายที่ทําคําเสนอยอมมีสิทธิฝายเดียวที่จะบอกกลาวเลิกสัญญานั้นได
ทันที (มาตรา ๓๘๖ ปพพ.)

๖๕
๒) การที่คําเสนอมีผลผูกพันผูทําคําเสนอนี้ หากเปนการทําคําเสนอโดยไม
กําหนดเวลา ยอมเปนไปตามหลักที่วา คําเสนอยอมผูกพันแตไมอาจผูกพันตลอดไป ดวยเหตุนี้
ผูทําคําเสนอยอมมีสิทธิที่จะปลดความผูกพันไดเสมอ ดวยการทําใหคาํ เสนอของตนสิ้นผลไปได
ดังจะไดกลาวตอไป

๑.๓ คําเสนอสิ้นความผูกพัน
ก) คําเสนอยอมสิน้ ผลเมื่อคูกรณีอีกฝายหนึง่ บอกปดและคําเสนอยอมสิ้นผลไปเมื่อพน
กําหนดเวลาใหทําคําสนอง (มาตรา ๓๕๗ ปพพ.) แตคําเสนอนั้นโดยทัว่ ไปยอมไมสิ้นผลไปเพราะ
เหตุที่ผูทําคําเสนอตาย หรือถูกศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถ (มาตรา ๑๖๙ วรรคสอง ปพพ.)
ทั้งนี้เปนไปตามหลักวาดวยความศักดิ์สิทธิแ์ หงเจตนานัน่ เอง

๑) กรณีที่มีการบอกปดคําเสนอ (มาตรา ๓๕๗, ๓๕๙ วรรคหนึ่ง) การบอกปดนั้น


เปนการแสดงเจตนาชนิดทีต่ อ งมีผูรับ เมื่อไดบอกปดคําเสนอไปถึงผูเสนอแลว คําเสนอยอมสิ้นผล
ไป๔ การทําคําสนองโดยมีขอ ความแตกตางไปจากคําเสนอ เชนมีขอความเพิ่มเติมหรือมีขอจํากัด
หรือมีขอแกไขประกอบในคําสนองนั้นยอมมีคาเทากับการบอกปดไมรับคําเสนอ (มาตรา ๓๕๙
วรรคสอง) และเปนการแสดงเจตนาทําคําเสนอขึ้นใหม ซึ่งอีกฝายหนึ่ง(คือผูเสนอรายเดิม)อาจ
สนองรับหรือบอกปดเสียก็ได
ตามอุทาหรณ ๕) การที่ ก. แสดงความประสงคจะซื้อแจกันในราคาตางจาก
ราคาที่ ข. เสนอคือในราคา ๘,๐๐๐ บาท เชนนี้ ถือไดวา ก. ปฏิเสธคําเสนอของ ข. และทําคําเสนอ
ขึ้นใหม ดังนีห้ ากตอมา ก. จะจดหมายตกลงซื้อแจกันจาก ข. ในราคา ๑๐,๐๐๐ บาทตามคําเสนอ
เดิมสัญญาก็ไมมีทางเกิดขึ้น เพราะคําเสนอของ ข. นั้นไดถูกบอกปดและสิ้นผลไปแลวตั้งแตคราว
ที่ ก. บอกปดคําเสนอกอนหนานี้ (มาตรา ๓๕๗ ปพพ.) ดังนั้นแมตอมา ก. จะจดหมายไปภายหลัง
วาตกลงซื้อแจกันในราคา ๑๐,๐๐๐ บาท จดหมายนั้นยอมมีฐานะเปนคําเสนอซื้อขึ้นใหมเทานั้น

๔ ฎีกาที่ ๖๗๑/๒๕๓๑ ๒๕๓๑ ฎ.๒๕๐ นายจางเสนอจายเงินแกลูกจางเมื่อเลิกจาง แตลูกจางไมสนองรีบ และ


ทําหนังสือถึงธนาคารที่รับฝากเงินเดือนของตน หามมิใหรับเงินที่นายจางจะจายเขาบัญชีของตน ดังนี้คํา
เสนอของนายจางยอมสิ้นผลไป นับตั้งแตวันที่ลูกจางปฏิเสธ และนายจางไมตองจายเงินดังกลาวแกลูกจาง
อีก

๖๖
๒) ในกรณีที่ผูรับคําเสนอมิไดทําคําสนองภายในกําหนด คําเสนอนั้นยอมสิน้ ความ
ผูกพันเชนกัน (มาตรา ๓๕๗ ปพพ.)
(ก) กรณีคําเสนอมีกําหนดเวลา ผูท ําคําเสนออาจกําหนดเวลาใหทําคําสนอง โดย
กําหนดเวลาแนนอนใหทําคําสนองเชน ระบุกําหนดเวลาไววาคําเสนอมีผลจนถึงวันใด เชนถึงวันที่
๑๐ ธันวาคม หรือกําหนดระยะเวลาวามีผลเปนเวลา ๑ สัปดาหก็ได
โดยที่ผูทําคําเสนอยอมประสงคจะรูแนวาสัญญาเกิดขึ้นหรือไม และตนยังตอง
ผูกพันตามคําเสนอของตนอยูหรือไม ดังนีก้ ารกําหนดเวลาทําคําเสนอจึงตองตีความตามเจตนาที่
แทจริงของผูทําคําเสนอ เชนหากกําหนดวาคําเสนอมีผล ๑ สัปดาห การเริ่มนับเวลาในกรณีเชนนี้
อาจมีปญหาวาจะเริ่มนับตั้งแตวันที่ทําคําเสนอ หรือวันทีป่ รากฏในคําเสนอ หรือจะนับตั้งแตวนั ที่
คําเสนอไปถึงผูรับ ในกรณีนี้หากถือเอาเจตนาของผูทําคําเสนอเปนเกณฑกจ็ ะเห็นไดวา วันที่ทําคํา
เสนอยอมเปนคุณแกผูทําคําเสนอใหรูกําหนดแนนอนไดยิ่งกวาวันที่คําเสนอไปถึงผูรับคําเสนอ
และกําหนดสิน้ สุดระยะเวลาก็ตองนับเวลาที่คําสนองมาถึงผูรับเปนเกณฑ ไมใชนับวันที่มีการสง
คําสนองมายังผูรับ เชนกําหนดใหคําเสนอมีผล ๗ วัน ก็ตองนับตั้งแตวันที่ทําคําเสนอ และคํา
สนองจะตองสงถึงผูรับภายใน ๗ วัน หากคําสนองมาถึงภายหลังยอมตองสันนิษฐานวาคําเสนอสิ้น
ความผูกพันไปแลว๕
อยางไรก็ตามผูทําคําเสนออาจกําหนดไวเปนอยางอื่นก็ได เชนกําหนดวา ใหสง
คําสนองภายในเวลาที่กําหนด ดังนี้ตองนับวันที่สงคําสนองเปนเกณฑ นอกจากนี้ ถาไมไดตกลง
กัน กําหนดเวลายังอาจอนุมานไดจากพฤติการณแวดลอมดวย เชนในคําเสนอไดกลาวไววา
“โปรดตอบทางโทรเลข” ดังนี้ยอมตีความเจตนาของผูทําคําเสนอไดวากําหนดเวลาผูกพันตามคํา
เสนอยอมตองสั้นกวากําหนดเวลาปกติในการสนองรับโดยสงคําบอกกลาวทางจดหมายหรือทาง
ไปรษณียธรรมดา
(ข) ในกรณีที่ผูทําคําเสนอไมไดกําหนดระยะเวลาไว ดังนี้ระยะเวลาผูกพันตามคํา
เสนอยอมเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด
จะเห็นไดวากรณีมีการทําคําเสนอตอผูอยูเฉพาะหนานั้น โดยที่ผูอยูเฉพาะหนา
หมายถึงผูที่สามารถสื่อสารกันใหรับรูเขาใจกันไดในทันที หากอีกฝายหนึ่งจะทําคําสนองก็จะตอง
ทําคําสนองทันที มิฉะนั้นคําเสนอยอมสิ้นผลไป (มาตรา ๓๕๖, ๓๕๗ ปพพ.)

๕ ฎีกาที่ ๑๓๖๔/๒๕๒๖ ๒๕๒๖ ฎ.๙๔๕ หนังสือคํามั่นวาจะขายกําหนดวา หากผูจะซื้อประสงคจะซื้อที่


พิพาทคืนก็ตองยื่นคําเสนอราคาซื้อภายในกําหนด ๒ ป การที่ผูจะซื้อเพิ่งทําคําเสนอซื้อเมื่อผานไปนานกวา
๖ ป จึงลวงเลยเวลามาแลว คําเสนอขอซื้อจึงไมมีผล

๖๗
อนึ่ง ถาผูรับคําเสนอทางโทรศัพทตอบไปยังผูเสนอวา ตนเองขอเวลาไตรตรอง
กอน โดยจะโทรศัพทติดตอกลับไปภายในเวลาที่แนนอน เชนภายใน ๑ ชั่วโมง และหากผูทําคํา
เสนอตอบตกลง ดังนี้ยอมถือไดวาคําเสนอดังกลาวแปรสภาพไปจากคําเสนอที่ไมมีกาํ หนดเวลา
และปกติตองสนองรับทันที และกลายเปนคําเสนอที่มีกําหนดเวลาใหทาํ คําสนองภายใน ๑ ชัว่ โมง
ตามที่ตกลงกัน
แตถาการทําคําเสนอนั้นเปนการทําคําเสนอแกผูอยูห างโดยระยะทาง ดังนี้ผู
รับคําเสนอยอมทําคําสนองไดภายในระยะเวลาอันควรคาดหมายไดวาจะทําคําสนอง การจะคิด
คํานวณวาระยะเวลาอันควรคาดหมายเชนนั้นกินเวลานานเพียงใด ตองคิดคํานวณจากระยะเวลาที่
คําเสนอเดินทางไปถึงผูรับชวงหนึ่ง และระยะเวลาที่ผูรบั คําเสนอจะใชในการใครครวญ
ประกอบการตัดสินใจอีกชวงหนึ่ง และระยะเวลาที่เสียไปในการสงคําสนองมายังผูรับอีกชวงหนึ่ง
รวมเวลาเปน ๓ ชวงเวลา
ในการคํานวณระยะเวลาขางตนนี้ เราตองคํานึงถึงเวลาตามปกติในการสงคํา
เสนอทางไปรษณีย หรือการสงคําเสนอโดยทางอื่น คํานึงถึงกรณีที่คําเสนอไปถึงสถานที่
ประกอบการของผูรับในวันหยุดประกอบกิจการตามปกติ คํานึงถึงเวลาที่ผูรับจะตองใชในการ
ไตรตรองกอนตัดสินใจตามระดับความสําคัญ ขนาด และพฤติการณของเรื่องแตละเรือ่ ง ดังนี้ใน
อุทาหรณ ๔) เราอาจถือไดวาการสงคําเสนอไปในวันที่ ๓ และหากตามปกติจดหมายยอมไปถึง
ภายใน ๑ วัน ก็สันนิษฐานไดวาจดหมายจะไปถึงผูรับในวันรุงขึ้นคือวันที่ ๔ และถาผูรับคําเสนอ
ตอบจดหมายในวันเดียวกันและสงกลับมายังผูทําคําเสนอภายในวันรุงขึน้ คือวันที่ ๕ จดหมายนั้น
ยอมมาถึงผูทําคําเสนอภายในวันที่ ๖ รวมเวลา ๓ วัน ดังนั้นระยะเวลาที่ควรคาดหมายไดวาจะได
รับคําบอกกลาวสนองในกรณีนี้คือ ๓ วัน และคําเสนอยอมผูกพัน ๓ วัน
ในกรณีที่มีเหตุการณผิดปกติเกิดขึ้น เชนมีการนัดหยุดงาน มีการประทวง หรือ
คูกรณีอีกฝายหนึ่งเกิดเจ็บปวยตองเขารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล และผูทําคําเสนอรูวามี
เหตุการณเชนนั้น ดังนีก้ ําหนดระยะเวลาควรคาดหมายวาจะไดรับคําบอกกลาวสนองยอมสะดุด
หยุดอยูจนกวาเหตุการณไมปกตินั้นจะผานพนไป
จากตัวอยางตาง ๆ ที่ไดกลาวแลวนี้ เราควรสังเกตวา กฎหมายไมอาจกําหนด
ระยะเวลาใหแนนอนตายตัวลงไปได และอาจกอใหเกิดความไมแนนอนขึ้น ทําใหสง สัยไดวา

๖๘
ระยะเวลาที่ควรคาดหมายในแตละกรณีนั้นควรกินเวลานานเพียงใด๖ ดวยเหตุนี้ จึงยอมรับกันวา
การทําคําเสนอที่สําคัญ ๆ นั้น ควรกําหนดเวลาใหทําคําสนองที่แนนอนชัดเจนกํากับไวดว ยเสมอ

๓) ความตายหรือความไรความสามารถไมทําใหคําเสนอที่สง ไปแลวสิ้นความ
ผูกพัน (มาตรา ๑๖๙ วรรคสอง ประกอบกับมาตรา ๓๖๐ ปพพ.)
ดวยเหตุนี้หากผูทําคําเสนอถึงแกความตายระหวางที่สงคําเสนอไปแลว ดังนี้คํา
เสนอนั้นยอมมีผลอยู และผูรับคําเสนอยอมทําคําสนองโดยมีผลกอใหเกิดสัญญาได กรณีที่ผูทํา
คําเสนอตายหลังจากสงคําเสนอไปแลวนี้ ไมวาจะตายกอนหรือหลังเวลาที่คําเสนอไปถึงผูรับก็ตาม
คําเสนอนั้นก็ยอ มมีผลอยู และคูกรณีอีกฝายหนึ่งยอมทําคําสนองใหเกิดสัญญาขึ้นได ในกรณี
เชนนี้ผูทําคําสนองตองทําคําสนองไปยังทายาท หรือกรณีที่ผูเสนอกลายเปนคนไรความสามารถ ก็
ตองทําคําสนองไปยังผูแทนโดยชอบธรรมของคนไรความสามารถ อันไดแกผพู ิทักษ หรือผู
อนุบาลแลวแตกรณี
อยางไรก็ดี ถาปรากฏวาการที่คําเสนอไมสิ้นผลไปนั้น ขัดกับเจตนาที่ผูทําคําเสนอได
แสดงออก หรือเห็นไดวาขัดตอความประสงคผูกพันตนของผูทําคําเสนอ ดังนี้หลักที่วาคําเสนอไม
สิ้นผลไปยอมไมใชบังคับ และตองถือวาคําเสนอยอมสิ้นผลไป (มาตรา ๓๖๐ ปพพ.) แตในเมื่อ
ผูทําคําเสนอนั้นโดยปกติยอมไมรูวาตนอาจจะถึงแกความตาย หรือกลายเปนผูไรความสามารถ
ดังนั้นการจะพิจารณาวาการที่คําเสนอไมสิ้นผลไปจะขัดตอเจตนาของผูทําคําเสนอหรือไมจึงตอง
พิจารณาจากเจตนาอันพึงสันนิษฐานได (hypothetic will) ของผูทําคําเสนอเปนสําคัญ คือตอง
พิเคราะหวา หากผูทําคําเสนอรูวาตัวจะตายหรือกลายเปนผูไรความสามารถ เขายังประสงคจะทํา
คําเสนอเชนนัน้ หรือไม เชนเราอาจอนุมานไดวา ผูเสนอยอมไมสั่งซื้อของใชสวนตัว หรือ
ทรัพยสินที่ใชเฉพาะตัว แตอาจจัดหาทรัพยสินหรือของใชในกิจการปกติ อยางไรก็ดี เรายังตอง
คํานึงถึงประโยชนไดเสียของคูกรณีอีกฝายหนึ่งดวยเสมอ กลาวคือตองเปนกรณีที่ผูไดรับคําเสนอ
ยอมคาดเห็นไดดวยวาหากผูเ สนอรูตัววาจะตายก็คงไมแสดงเจตนาเชนนั้น ในกรณีเชนนี้จึงจะถือ
ไดวาคําเสนอนั้นสิ้นผลไปแลวตั้งแตเวลาที่ผูทําคําเสนอถึงแกความตาย หรือกลายเปนผูไร
ความสามารถ
สวนกรณีที่ผเู สนอมิไดถึงแกความตาย แตฝายผูรับคําเสนอถึงแกความตายเสียเอง มี
กรณีที่ตองแยกพิจารณาดังตอไปนี้

๖ ฎีกาที่ ๕๑๓๔/๒๕๓๓ ทําคําเสนอขายหุนกันตั้งแต พ.ศ. ๒๕๑๘ โดยผูรับคําเสนอมิไดสนองรับ จนถึงวันที่


๑ ตุลาคม ๒๕๒๕ ซึ่งผูเสนอถึงแกความตาย จึงมีการสนอง ดังนี้ถือไดวาคําเสนอสิ้นความผูกพันไปแลว
ผูทําคําสนองไมมีสิทธิเรียกรอยใด ๆ จากกองมรดก

๖๙
ถาผูรับคําเสนอตายกอนคําเสนอมาถึง คําเสนอยอมมาไมถึงผูรับ และตองพิจารณา
ดวยวา ผูทําคําเสนอประสงคจะทําคําเสนอตอผูรับโดยเฉพาะตัว หรือประสงคจะทําคําเสนอตอ
ทายาทของผูรับคําเสนอดวย ถามิไดประสงคจะทําคําเสนอเฉพาะตัวผูร ับ แตหมายรวมไปถึง
ทายาทดวย ดังนี้ยอมถือไดวา คําเสนอยอมมีผลตอทายาทของผูรับคําเสนอดวย
ถาผูรับคําเสนอตายหลังคําเสนอไปถึงผูรับแลว ดังนีต้ องพิจารณาวา ทายาทเปนผูมี
สิทธิทําคําสนองหรือไม ซึ่งตองพิจารณาจากเจตนาของผูเสนอวาประสงคจะผูกพันกับทายาทของ
ผูรับหรือไมเชนเดียวกัน
แตถาผูรับคําเสนอตายหลังจากผูรับไดสงคําสนองไปยังผูเสนอแลว แตกอนที่จะทํา
คําสนองจะไปถึงผูรับ ดังนี้ก็ตองกลับไปพิจารณาตามหลักความมีผลแหงเจตนา คือเจตนาที่
สงออกไปแลวยอมไมสิ้นผลไปแมผูแสดงเจตนาจะถึงแกความตาย (มาตรา ๑๖๙ วรรคสอง ปพพ.)
ดังนี้คําสนองนั้นยอมมีผล ดังนั้นเมื่อคําสนองไปถึงผูรับภายในกําหนด สัญญายอมเกิดขึ้น

ข) โดยที่คําเสนอยอมสิ้นผลไปเมื่อพนกําหนดเวลาทําคําสนอง ดังนั้นหากคําเสนอสิ้น
ผลไปแลว แมจะมีการทําคําสนอง คําสนองนั้นก็ไมอาจจะตองตรงกับคําเสนอที่สิ้นผลไปแลวได
และไมมีทางกอใหเกิดสัญญาขึ้นไดอีก
กรณีที่มีการทําคําสนองภายในกําหนดและสงไปยังผูรับภายในกําหนดอันควร
คาดหมายใหทาํ คําสนอง แตเกิดเหตุลาชาขึน้ ในระหวางการสงเจตนา เปนเหตุใหคําสนองไปถึง
ผูรับเมื่อพนเวลาทําคําสนองแลว เปนกรณีคําสนองมาถึงลวงเวลา ในกรณีเชนนีก้ ฎหมายถือหลักวา
ผูเสนอควรไดรับการคุมครอง กลาวคือกรณีที่คําสนองมาถึงลวงเวลา กฎหมายถือวาคําสนองนั้น
กลายเปนคําเสนอขึ้นใหม และสัญญายอมไมเกิดขึ้น (มาตรา ๓๕๙ ปพพ.) แตในกรณีที่เห็น
ประจักษวาคําบอกกลาวนัน้ ไดสงทางการซึ่งตามปกติควรจะมาถึงภายในกําหนด แตกลับมาถึง
ลวงเวลา ดังนีแ้ มตามหลักทัว่ ไปสัญญายอมไมเกิดขึ้น แตกฎหมายก็ยังใหความคุมครองผูทําคํา
สนองดวยการกําหนดหนาทีใ่ หผูทําคําเสนอตองบอกกลาวแกอกี ฝายหนึ่งโดยพลันวาคําสนอง
มาถึงลวงเวลาหรือเนิ่นชา (มาตรา ๓๕๘ วรรคแรก ปพพ.) มิฉะนั้นกฎหมายจะถือวาคําสนองนั้น
มิไดลวงเวลา (มาตรา ๓๕๘ วรรคสอง ปพพ.) และสัญญายอมเกิดขึน้ ทั้งนี้เปนไปตามหลักการชั่ง
น้ําหนักประโยชนไดเสียของผูเกี่ยวของใหสมดุลกันนัน่ เอง

๗๐
๒. คําสนอง
๒.๑ ความหมายของคําสนอง
ก) คําสนอง (acceptance) เปนการแสดงเจตนาที่ตองการผูรับ ซึ่งมุงแสดงความประสงค
สนองรับคําเสนอของผูเสนอเพื่อกอความผูกพันทางสัญญาระหวางกัน
(๑) โดยที่การทําคําสนองเปนการแสดงเจตนาที่ตองการผูรับ ดังนั้นความมีผลของ
คําสนองยอมเปนไปตามหลักการแสดงเจตนา คือไมวาจะเปนคําสนองตอผูอยูเฉพาะหนา หรือตอ
ผูอยูหางโดยระยะทาง คําสนองนั้นยอมมีผลก็ตอเมื่อไปถึงผูรับแลว
(๒) นอกจากเรื่องกําหนดเวลานทําคําสนองแลว ผูทําคําเสนออาจตั้งเงื่อนไขอื่น ๆ
มาพรอมกับคําเสนอก็ได เชนกําหนดใหทาํ คําสนองโดยใหพนักงานเจาหนาที่หรือพนักงานกงสุล
(ในกรณีอยูต างประเทศ)รับรองลายมือชื่อ (Legalization) ของผูสนอง หรือกําหนดใหผูสนองตอง
ยื่นคําสนองดวยตนเอง แมวา กฎหมายจะมิไดกําหนดใหตองกระทําก็ตาม
(๓) คําสนองตองเปนการแสดงเจตนาตอบตกลงรับคําเสนอ ดังนั้นคําสนองตองได
แสดงออกโดยเชื่อมโยงกันกับคําเสนอดวย ดังนั้นถาตางฝายตางแสดงเจตนาตองตรงกันโดย
เอกเทศ (cross offers)๗ โดยมิไดเปนการแสดงเจตนา “เสนอ-สนอง” กันดังนี้สัญญายอมไมเกิดขึ้น
หรือหากผูรับคําเสนอมิไดมเี จตนาสนองเลย แมผูทําคําเสนอจะไดกระทําการตามความประสงค
ของผูเสนอก็ไมอาจเกิดสัญญาขึ้นได๘
(๔) เนื้อหาแหงคําสนองจะตองตรงกันกับคําเสนอ จึงจะเรียกไดวาเปนกรณี “เสนอ-
สนองตองตรงกัน” หากคําเสนอสนองไมตองตรงกันสัญญายอมเกิดขึ้นไมได

๗ คดี cross offers ที่มีชื่อเสียงมากของโลกคดีหนึ่งคือคดี Tin v. Hoffmann & Co. (1873), 29 L.T. 271 ในคดี
ดังกลาวนี้ปรากฏวา จําเลย คือบริษัท Hoffmann ไดมีหนังสือลงวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ค.ศ. ๑๘๗๑ ถึง
โจทกเสนอขายเหล็ก ๘๐๐ ตัน ราคาตันละ ๖๙ ชิลลิ่ง และในวันเดียวกันนั้นเอง โจทกก็ไดมีหนังสือเสนอ
ขายเหล็กจํานวน ๘๐๐ ตัน ราคาตันละ ๖๙ ชิลลิ่งใหแกจําเลย ปรากฏวาจดหมายทั้งสองฉบับสวนทางกัน
ทางไปรษณีย ตอมาโจทกจึงฟองวาเกิดสัญญาซื้อขายเหล็ก ๘๐๐ ตัน ราคาตันละ ๖๙ ชิลลิ่ง ปรากฏวาคดีนี้
ศาลอังกฤษตัดสินวาสัญญาไมเกิดขึ้นเพราะไมปรากฏวามีคําเสนอสนองตองตรงกัน
๘ ฎีกาที่ ๘๓๕/๒๕๒๑ ๒๕๒๑ ฎ.๕๑๒ ก. ใหการตอกรรมการชวยเหลือชาวนาชาวไรวาหาก ข. จะซื้อที่
พิพาทก็จะขายใหในราคา ๔๐,๐๐๐ บาท และกรรมการไดบันทึกไว ตอมาอีก ๓ วัน ข. บอกกลาวแก
กรรมการวาตนยินดีซื้อที่พิพาทในราคา ๔๐,๐๐๐ บาท กรรมการก็บันทึกไว ดังนี้กรรมการไมใชตัวแทน
ของ ก. และ ข. คําใหการของ ก. และ ข. ตามบันทึกไมใชคําเสนอสนอง ไมมีสิญญาเกิดขึ้น

๗๑
ข) แมวาคําสนองจะเปนการแสดงเจตนาชนิดที่ตองมีผูรับ ซึ่งปกติคําสนองจะมีผลได
เมื่อสงไปถึงผูรับเสียกอน (มาตรา ๓๖๑ วรรคแรก ปพพ.) แตก็มีกรณีทกี่ ฎหมายยกเวนวาสัญญา
อาจเกิดขึ้นไดแมจะมิไดมีคําบอกกลาวสนองไปถึงผูรับ
(๑) ถามีปกติประเพณีวา การแสดงเจตนาสนองรับนั้นไมจําเปนตองทําเปนคําบอก
กลาวสนองสงไปถึงผูทําคําเสนอ หรือถาเปนกรณีที่ผูทําคําเสนอไดแสดงเจตนาสละสิทธิที่จะเรียก
ใหคูกรณีทําคําบอกกลาวสนอง ดังนี้สัญญายอมเกิดขึ้นเมื่อมีการแสดงเจตนาสนองแลว แมจะมิได
มีการทําคําบอกกลาวสนองไปยังผูเสนอก็ตาม ประเด็นสําคัญอยูที่ ผูสนองไดแสดงเจตนาสนองคํา
เสนอแลวหรือไม ซึ่งจะตองแสดงออกใหปรากฏเห็นประจักษ ไมใชเปนแตเพียงเจตนาภายใน
เทานั้น อยางไรก็ตามหากมีการอยางใดอยางหนึ่งเกิดขึ้นอันพอจะใหสันนิษฐานไดวาเปนการ
แสดงเจตนาสนองรับ ก็ถือไดวามีการแสดงออกใหปรากฏซึ่งเจตนาสนองรับคําเสนอแลว (มาตรา
๓๖๑ วรรคสอง ปพพ.)๙
กรณีที่มีปกติประเพณีวาไมจําเปนตองทําคําบอกกลาวสนองนี้ มีตัวอยางเชน
การจองหองพักในโรงแรม เพียงแตเจาหนาที่ของโรงแรมรับคําขอจองไว หรือจดบันทึกชื่อผูจอง
ลงสมุดรับจอง หรือจัดเตรียมหองไวให เทานี้ก็เพียงพอจะใหเกิดสัญญาจองหองพักแลว โรงแรม
ไมจําเปนตองบอกกลาวสนองมายังผูจอง หากผูจองไมเขาพักก็ตองผูกพันชําระคาทีพ่ ักแลว หรือ
กรณีการเสนอใหโดยเสนหา ดังนี้หากผูรับการแสดงเจตนาทําการอันหนึ่งอันใดอันพึงสันนิษฐาน
ไดวาเปนการแสดงเจตนาสนองรับให เชนเมื่อมีผูเสนอใหหนังสือโดยสงหนังสือมาทางไปรษณีย
หากผูรับรับหนังสือไวแลวเพียงแตทําเครื่องหมายหรือบันทีกขอความหรือวันที่ไวในปกหนังสือ
หรือขีดเขียนลงไปที่ใดทีห่ นึง่ หรือทําการอยางใด ๆ ใหพอเห็นไดวาผูรบั ถือเอาหนังสือนั้น ก็ถือได
วาเปนการอยางใดอยางหนึ่งซึ่งอาจนับวาไดสนองรับใหตามมาตรา ๓๓๖๑ วรรคสอง ปพพ. แลว
โดยไมตองทําเปนคําบอกกลาวสนองการใหไปยังผูเสนอใหแตอยางใด หรือกรณีการแจกหรือแถม
สิ่งของหรือสินคาทางไปรษณีย ผูแจกหรือใหอาจกําหนดใหผูรับทําการอยางใดอยางหนึ่งเชนการ
ขีดเครื่องหมายกากบาทลงไปในเอกสารทีแ่ นบมา ดังนี้ถือไดวาสัญญานั้น ๆ เกิดแลว แมวาผูทําคํา
เสนอจะยังไมไดทันรับรูถึงการทําคําสนองนั้น ๆ เลยก็ตาม
ดังนี้ในกรณีจองที่พักในโรงแรม ถาแขกไมเขาพัก แขกที่จองหองพักไวอาจตอง
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน (คือคาโรงแรม) หรือในขณะเดียวกันก็อาจเรียกรองใหโรงแรมตอง
รับผิดฐานไมชําระหนี้ได ในกรณีทีโรงแรมเอาหองที่จองไวไปใหผูอนื่

๙ โปรดเทียบฎีกาที่ ๔๒๑๖/๒๕๒๘ ๒๕๒๘ ฎ.๒๒๘๓ ก.มีหนังสือเชื้อเชิญให ข. มาทํางานโดยมีตําแหนง


และอัตราเงินเดือนที่แนนอน หนังสือดังกลาวเปนคําเสนอ เมื่อ ข. เขาทํางานกับ ก. แลว ยอมเปนคําสนอง
แลว สัญญาจางแรงงานก็เกิดขึ้น

๗๒
นอกจากนี้ยังมีกรณีที่ไมจําเปนตองทําคําบอกกลาวสนองไปยังผูเสนอ ในกรณี
ที่ผูเสนอไดแจงวาคูกรณีไมตอ งบอกกลาวสนอง หรือสละสิทธิที่จะรอใหคําบอกกลาวสนองมาถึง
เสียกอน เชนในกรณีที่ทรัพยสินที่ซื้อขายเปนสิ่งที่มีราคาเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ดังนี้การตกลง
ซื้อขายจึงตองการความ “ดวน” รวดเร็ว และไมตองรอใหสงคําบอกกลาวไปถึงผูเสนอเสียกอน ใน
กรณีเชนนี้ หากผูทําคําบอกกลาวสนอง หรือผูขายไดเจาะจงตัวทรัพยสนิ หรือแยกทรัพยสินที่ขาย
ออกมาบรรจุหีบหอ และจัดสงสินคาไปยังผูซื้อ ดังนี้ยอมถือไดวามีคําสนองและสัญญายอมเกิดขึน้
แลว แมวาผูซื้อจะยังไมทันไดรับคําบอกกลาวสนองหรือไดรับสินคาเลย
ในกรณีที่ถือวาสัญญาสําเร็จลงทันทีที่ไดแยกสินคาออกบรรจุหีบหอก็ยอมมีผล
ตอไปวา ผูรับคําเสนอและทําคําสนองผูกพันที่จะสงมอบสินคานั้นแกผซู ื้อเทานั้น ไมอาจจําหนาย
จายโอนทรัพยสินโดยขายทรัพยนั้นแกบุคคลอื่นอีกตอไป มิฉะนั้นผูขายจะตองรับผิดฐานผิด
สัญญา ในกรณีเชนนี้ผูสั่งซือ้ สินคายอมมีสิทธิเรียกใหผขู ายสงมอบสินคานั้นแกตนตามสัญญา
(หลักคุมครองผูทําคําเสนอ) อยางไรก็ดี หากสินคาที่สงไปยังผูสั่งซื้อเกิดหายไประหวางการขนสง
ดังนี้ผูขายซึ่งไดสงสินคาไปแลวยอมไดชื่อวาไดทําการทุกอยางเพื่อการสงมอบเรียบรอยแลว และมี
สิทธิเรียกใหผซู ื้อชําระราคา (มาตรา ๔๖๓ ประกอบมาตรา ๓๗๐ ปพพ.) ฝายผูสั่งซื้อสินคาไมอาจ
อางวาสัญญายังไมเกิดขึ้น เพราะคําเสนอของตนยังไมไดรับการสนองจากผูรับคําเสนอ เนื่องจากยัง
ไมมีการทําคําบอกกลาวสนองไปถึงผูเสนอ ทั้งนี้เพราะสัญญาซื้อขายไดสําเร็จลงแลวทันที่ที่ผูขาย
สงสินคาไปยังผูสั่งซื้อ (หลักคุมครองผูรับคําเสนอ)
ตัวอยางดังกลาวขางตนแสดงใหเห็นไดวา กรณีเหลานี้เปนเรื่องการทําคําสนอง
และการชําระหนี้พรอม ๆ กันไป (เชนการสํารองหองพักในโรงแรม, การสงสินคาตามสั่ง) และ
การเขาถือเอาหรือนําสินคาไปใช (เชนนําหนังสือที่เสนอขายไปให หรือนําหนังสือไปอาน)

(๒) ในกรณีมีการขายทอดตลาดโดยเอกชน สัญญาซื้อขายยอมสําเร็จลงพรอมกับ


การที่ผูขายทอดตลาดเคาะไม (มาตรา ๕๐๙ ปพพ.) ในกรณีนี้การเคาะไมก็คือการทําคําสนอง และ
การเคาะไมเชนนั้นยอมถือไดวาเปนการแสดงเจตนาสนอง โดยไมจําเปนตองมีผูรับการแสดง
เจตนาสนองนัน้ กลาวคือแมผูสูราคาซึ่งเสนอซื้อทรัพยสินที่ขายทอดตลาดจะออกไปจากบริเวณที่
มีการขายทอดตลาดกอนเวลาที่มีการเคาะไม และไมรับรูถ ึงการเคาะไมเลย สัญญาก็ยงั เกิดขึ้นอยูดี
ควรเขาใจในทีน่ ี้ดวยวา การทีผ่ ูขายทอดตลาดนําทรัพยสินออกแสดงหรือเสนอ
ราคาในการขายทอดตลาดนัน้ มิใชเปนการทําคําเสนอขาย แตเปนเพียงการเชิญชวนใหผูเขารวมใน
การขายทอดตลาดนั้น ๆ ทําคําเสนอดวยการเขาสูราคาตามคําเชิญชวนของผูขายทอดตลาด และ
หากมีผูสูราคาแลวมีผูสูราคาสูงขึ้นไปอีก ดังนี้คําเสนอของผูสูราคารายกอนยอมสิ้นความผูกพัน

๗๓
หรือเมื่อผูขายทอดตลาดถอนทรัพยสินจากการขายทอดตลาด ดังนี้คําเสนอของผูสูราคาก็สิ้นความ
ผูกพันเชนกัน (มาตรา ๕๑๔ ปพพ.)

๒.๒ ผลของคําสนอง
ก) เมื่อคําสนองมีเนื้อหาตองตรงกับคําเสนอ หากคําเสนอนัน้ ยังมิไดสิ้นผลไป คําเสนอ
สนองตองตรงกันยอมมีผลใหสัญญายอมเกิดขึ้น

ข) คําสนองที่มีขอความเพิ่มเติม มีขอจํากัด หรือมีขอแกไขอยางอื่นประกอบ ถือไดวา


เปนคําบอกปดไมรับคําเสนอ (มาตรา ๓๕๙ วรรคสอง ปพพ.) เพราะเทากับเปนการแสดงเจตนาไม
เห็นพองดวยกับคําเสนอนั้นทั้งหมด การบอกปดคําเสนอดังกลาวนี้ ถือวาเปนคําเสนอขึ้นใหมดวย
ในตัว และคูกรณีอีกฝายหนึง่ อาจสนองรับหรือปฏิเสธไมสนองรับคําเสนอใหมนกี้ ็ได แตถา
คูกรณีอีกฝายหนึ่งนิ่งเฉยเสียไมตอบรับหรือตอบปฏิเสธ ดังนี้ยังถือไมไดวาเปนการแสดงเจตนา
สนองรับคําเสนอที่ไดทําขึ้นใหมนนั้ แตประการใด
ตามอุทาหรณ ๖) ผูซื้อไดทําคําสนองโดยแสดงเจตนาซื้อ แตเจตนาดังกลาวมิได
สอดคลองตองตรงกันกับคําเสนอของผูขาย เพราะผูซื้อไดแสดงเจตนาชําระหนี้โดยผอนชําระราคา
เปนงวด ๆ ทั้ง ๆ ที่คําเสนอของผูขายนั้นเปนที่เขาใจไดวา ผูซื้อตองชําระเงินทันที ดังนั้นจึงถือได
วาผูซื้อบอกปดไมสนองรับคําเสนอ การบอกปดคําเสนอของผูซื้อนี้ทําใหคําบอกกลาวนั้น
กลายเปนคําเสนอขึ้นมาใหม (มาตรา ๓๕๙ วรรคสอง ปพพ.) โดยเสนอซื้อในราคา ๕๐๐,๐๐๐ บาท
โดยผอนชําระราคาเปนงวด ๆ ภายใน ๕ เดือน ซึ่งผูขายอาจพิจารณาสนองรับหรือบอกปดคําเสนอ
ใหมนกี้ ็ได
อยางไรก็ตาม ถาผูซื้อตอบตกลงสนองซื้อสินคา แตฝายผูขายกลับสอบถามกลับมายัง
ผูซื้อดวยความปรารถนาดีวาผูซื้อประสงคจะผอนชําระเปนงวด ๆ หรือไม ในกรณีนสี้ ัญญายอม
เกิดขึ้นทันทีเพราะผูซื้อมิไดบอกกลาวสนองโดยมีเงื่อนไขหรือมีขอแกไขเปลี่ยนแปลงแตประการ
ใด ดังนัน้ ขอเสนอของผูขายจึงตองถือวาเปนคําเสนอเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขในสัญญาในสวนที่
เกี่ยวกับวิธีชําระเงินภายหลังจากที่สัญญาเกิดขึ้นแลว ถาทั้งสองฝายตกลงกันตามนั้น เนื้อหาของ
สัญญาในสวนที่เกี่ยวกับวิธีชําระเงินก็ยอมเปลี่ยนแปลงไปตามที่ตกลงกันภายหลัง แตถาตกลงกัน
ไมได ดังนี้เนือ้ หาของสัญญาเกี่ยวกับวิธีชําระเงินยอมคงตามเดิม

ค) สําหรับคําสนองที่มาถึงลวงเวลานั้น กอนอืน่ ตองพิจารณาเสียกอนวา เปนกรณี


ลวงเวลาที่เขาขอยกเวนหรือไม หากเปนกรณีลวงเวลาชนิดที่เห็นประจักษชัดวาคําสนองนั้นไดสง

๗๔
ตามทางการซึ่งปกติควรจะมาถึงภายในเวลากําหนด และผูเสนอมิไดบอกกลาวโดยพลันวาคํา
สนองนั้นมาถึงเนิ่นชา ดังนี้ กฎหมายวางขอยกเวนใหถือวาคําสนองนัน้ มิไดลวงเวลา (มาตรา
๓๕๘ วรรคสอง ปพพ.) และสัญญายอมเกิดขึ้น หากไมเขาขอยกเวนดังกลาว คําสนองที่มาถึง
ลวงเวลายอมไมกอใหเกิดสัญญาขึ้นได ทั้งนี้เนื่องจากคําเสนอเปนอันสิน้ ผลเพราะพนกําหนดเวลา
และสิ้นความผูกพันไปแลว ในกรณีเชนนี้ การทําคําสนองที่ลวงเวลาดังกลาวยอมกลายเปนคํา
เสนอขึ้นใหม

๒.๓ หนาที่ทําคําสนอง
ก) หลักสําคัญของหลักเสรีภาพในการทําสัญญาก็คือคูกรณีที่เจรจาตอรองกันนั้นยอมมี
อิสระที่จะรับหรือไมรับความผูกพันใด ๆ ดังนั้นผูรับคําเสนอยอมมีอิสระที่จะเลือกสนองหรือบอก
ปดคําเสนอก็ได
ข) อยางไรก็ดี มีขอยกเวนบางกรณีที่ทําใหผูรับคําเสนออาจมีหนาที่ทําคําสนองก็ได
อยางนอยในสองกรณีสําคัญ คือ
๑) ในกรณีที่คูกรณีทําสัญญาจะซื้อจะขาย โดยคูสัญญาตกลงผูกพันกันโดยสัญญา
ฉบับหนึ่งวา ทัง้ สองฝายตกลงผูกพันจะไปทําสัญญาอีกฉบับหนึ่งในภายหนา ทั้งนี้โดยฝานหนึ่งมี
สิทธิทําคําเสนอตอคูกรณีอีกฝายหนึ่ง โดยอีกฝายหนึ่งตกลงจะทําคําสนองเพื่อใหสัญญาฉบับหลัง
เกิดขึ้น ดังนี้เปนกรณีที่ผูรับคําเสนอมีหนาทีท่ ําคําสนอง ตัวอยางเชนสัญญาจะซื้อขายทีด่ ิน ชนิดที่
มีการตกลงเกีย่ วกับการโอนขายไวชดั เจนแลว สัญญาจะซื้อขายที่ดินชนิดนี้เปนสัญญาผูกพันวาจะ
เขาทําสัญญาซื้อขายที่ดินโดยจดทะเบียนซื้อขายกันอีกฉบับหนึ่ง ซึ่งยอมมีขึ้นไดตามหลักเสรีภาพ
ในการทําสัญญา อยางไรก็ตาม นอกจากสัญญาจะซื้อจะขาย หรือจะจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
เกี่ยวกับทีด่ ินแลว สัญญาผูกพันจะเขาทําสัญญาอีกฉบับหนึ่งนัน้ ยังมีใชในทางปฏิบัติไมมากนัก
๒) หนาที่ทําคําสนองโดยผลของกฎหมายอาจมีไดในกรณีทกี่ ฎหมายกําหนดใหผู
ประกอบกิจการบางประเภทที่มีวัตถุประสงคที่จะใหบริการสาธารณะมีหนาที่ใหบริการโดยทําคํา
สนองเมื่อมีผูขอใชบริการโดยไมเลือกหนา เชน บริการรถโดยสารสวนบุคคลรับจาง (มาตรา ๙๓
พรบ. จราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒) และบริการขนสงมวลชน (มาตรา ๑๐๔, ๑๐๕ พรบ. ขนสงทาง
บก พ.ศ. ๒๕๒๒) หรือทํานองเดียวกันบริการรถไฟ, ไปรษณีย และการพลังงานอื่น ๆ เหลานี้
ผูประกอบการใหบริการสาธารณะเหลานั้นยอมมีหนาทีเ่ ขาทําสัญญากับผูขอใชบริการโดยผลของ
กฎหมายหรือขอบังคับเฉพาะในเรื่องนั้น ๆ หรือตามหลักวาดวยหนาที่ดําเนินงานใหสอดคลองกับ
วัตถุประสงคในการใหบริการสาธารณะ ในกรณีทกี่ ารปฏิเสธไมเขาทําสัญญาเปนการใชสิทธิ

๗๕
อันมีแตจะทําใหผูอื่นเสียหาย ดังนี้ผูประกอบการอาจตองรับผิดฐานละเมิดได (มาตรา ๔๒๑
ปพพ.)

๓. คําเสนอสนองในกรณีพิเศษ
๓.๑ คํามั่น
ในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมีการกลาวถึงคํามั่นอยูหลายทีอ่ าทิเชน คํามั่นวาจะ
ใหรางวัล (มาตรา ๓๖๒ ปพพ.) คํามั่นในการซื้อขายทรัพยสิน (มาตรา ๔๕๖ วรรคสอง ปพพ.)
คํามั่นวาจะใหทรัพยสิน (มาตรา ๕๒๖ ปพพ.) การนําทรัพยออกใหเชาและใหคํามั่นวาจะขาย
ทรัพยนั้น ในสัญญาเชาซื้อ (มาตรา ๕๗๒ ปพพ.)
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ไดวางหลักเกณฑเกี่ยวกับเรื่องคํามัน่ ไวเฉพาะเรื่อง
คํามั่นจะใหรางวัล (มาตรา ๓๖๒ ปพพ.) ซึ่งหากมีผูทําการตามที่ใหคาํ มั่นไว ดังนี้ผใู หคํามั่นจําตอง
ใหรางวัลแกผทู ําการนั้น ถาเปนกรณีโฆษณาจะใหรางวัลเพื่อการทําการใด ก็ตองใหรางวัลแกผูทํา
การนั้น แมวาผูนั้นจะไดกระทําโดยมิไดเห็นแกรางวัล (มาตรา ๓๖๒ ปพพ.) สวนถาเปนกรณีให
คํามั่นจะใหรางวัลในการประกวดชิงรางวัล ผูเขาประกวดทําการสําเร็จตามเงื่อนไขภายในกําหนด
ยอมมีสิทธิไดรับรางวัล (มาตรา ๓๖๒ ประกอบมาตรา ๓๖๕ ปพพ.) จะเห็นไดวาความผูกพันของ
ผูใหคํามั่นที่จําตองใหรางวัล ยอมเกิดขึน้ โดยอาศัยความสําเร็จของการอยางหนึ่งอยางใดตามคํามั่น
โดยไมตองใหผูทําการสําเร็จ หรือผูชนะประกวดแสดงเจตนาอะไรเพิ่มขึ้นอีก
คํามั่นจึงเกิดจากการแสดงเจตนาฝายเดียวที่มุงกอความผูกพันหรือกอใหเกิดสัญญาขึน้
ภายใตเงื่อนไขหรือกําหนดอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งยอมผูกพันผูใหคํามั่นฝายเดียวเมื่อไดทําคํามั่น
สําเร็จลง โดยคูกรณีอีกฝายหนึ่งเปนแตผูรับคํามั่น และผูร ับคํามั่นยอมมีสิทธิตามคํามั่นโดยไมตอง
แสดงเจตนาผูกพันดวยแตประการใด
ดวยเหตุขางตน คํามั่นจึงแตกตางจากคําเสนอตรงที่คําเสนอจะกอใหเกิดสัญญาไดก็ตอ เมื่อ
มีคําสนองจากคูกรณีอีกฝายหนึ่งสนองรับคําเสนอนั้น แตคํามั่นไมตอ งมีการแสดงเจตนาสนอง
หรือบอกกลาวสนองคํามั่นก็เกิดขึน้ แลว และหากมีการกระทําสําเร็จตามเงื่อนไขทีต่ ั้งไวในคํามั่น
คูกรณีในคํามัน่ ยอมมีสิทธิตามคํามั่นนั้น
สิทธิตามคํามั่นนั้น เปนสิทธิที่มักตั้งอยูบนหลักอันเนื่องมาจากมีการใหคํามั่นระหวางกัน
หรือมีขอตกลงกันไวกอนในการกอตั้งสิทธิเชนนั้น

๗๖
ตัวอยางเชน สัญญาเชาโดยทัว่ ไปเปนสัญญามีกําหนดสิ้นสุด แตอาจมีการตกลงกันวา เมื่อ
สัญญาเชาระงับลงแลวหากผูเ ชาประสงคจะตอสัญญาก็ใหแสดงเจตนาไปยังผูใหเชา ดังนี้หากมี
การแสดงเจตนาของผูเชา สัญญาเชายอมเกิดขึ้น๑๐
โดยนิตินยั นัน้ คํามั่นจึงเปนสัญญาฝายเดียวที่มีเงื่อนไขบังคับกอนนั่นเอง กลาวคือเมื่อการ
ใดอันเปนเงื่อนไขตามคํามั่นสําเร็จลง สัญญายอมมีผลและผูใหคํามัน่ ยอมผูกพันตองทําการตามที่
ตัวใหคํามั่นไว
ผลของคํามั่นนี้มีลักษณะใกลเคียงกับคําเสนอแบบไมมีกาํ หนด (ซึ่งปกติมักตั้งคําเสนอเปด
ไวเปนเวลานานหลาย ๆ ป) และหากผูรับคําเสนอบอกกลาวสนองก็ทําใหเกิดสัญญาขึ้น แตคํามั่น
นั้นมีขอแตกตางจากคําเสนอตรงที่ การแสดงเจตนาใดถาเปนคําเสนอก็ตองมีคําสนองสัญญาจึงจะ
เกิดขึ้นได ถากฎหมายกําหนดใหการทําสัญญาใดตองทําตามแบบ การทําคําเสนอสนองก็ตอง
เปนไปตามแบบที่กําหนดไวดวย สัญญาจึงจะเกิดขึ้นได สวนคํามั่นนัน้ ถาจะใหมีผลจะตองทํา
คํามั่นนั้นใหเปนไปตามแบบมาแตตนเสียกอน เมื่อคํามัน่ มีผลแลว หากอีกฝายหนึ่งใชสิทธิโดย
แสดงเจตนาหรือปฏิบัติตามเงื่อนไขหรือกําหนดเงื่อนเวลาสําเร็จลงตามคํามั่น การใชสิทธิหรือการ
ปฏิบัติตามคํามั่นยอมไมจําเปนตองอยูใตบังคับเรื่องแบบอีกตอไป
อยางไรก็ดี คํามั่นจะซื้อขายอสังหาริมทรัพยนั้น มาตรา ๔๕๖ วรรคสอง ปพพ. กําหนดให
มีหลักฐานเปนหนังสือจึงจะฟองรองบังคับคดีกันได ดังนี้ควรเขาใจวา หากอีกฝายหนึ่งบอกกลาว
วาจะทําสัญญาซื้อขายใหสําเร็จตลอดไป ผลของการกระทําเชนนั้นยอมมีคาเปนสัญญาจะซื้อขาย
หากจะทําเปนสัญญาซื้อขายยอมตองทําตามแบบในมาจรา ๔๕๖ วรรคแรก ปพพ. อีกทอดหนึ่ง

๑๐ ฏีกาที่ ๗๔๘/๒๕๓๓ ๒๕๓๓ ฎ.๒๘๓ ขอตกลงตอทายสัญญาเชาที่ดินที่วา "ผูใหเชาสัญญาวาเมื่อครบ


กําหนดอายุสัญญานี้แลว ผูใหเชาจะใหผูเชาไดเชาตอปอีกเปนเวลา ๑๐ ป ทั้งนี้โดยผูใหเชาตกลงยินยอม ให
ผูเชาเชาที่ดินดังกลาวแลวในคาเชาเดือนละ ๘๐๐ บาทโดยผูเชามิตองจายเงินเปนกอนเพิ่มเติม" นั้น เปน
คํามั่นของผูใหเชา ผูใหเชาตกเปนฝายลูกหนี้ที่ผูเชามีสิทธิที่จะเรียกรองบังคับเอาไดกอนสัญญาเชาสิ้นสุด
โจทกผูเชาไดแจงความประสงคในการที่จะเชาที่ดินพิพาทตอไปอีก ๑๐ ป ใหแกจําเลยผูใหเชาทราบ และ
จําเลยไดรับแจงแลวจึงตองผูกพันตามคํามั่นของตนโดยตองทําสัญญาใหโจทกเชาที่ดินพิพาทตอไปอีก ๑๐
ป

๗๗
๓.๒ การนิ่งจัดเปนการบอกกลาวสนองไดเพียงใด
๓.๑ โดยหลักแลวการนิ่งไมอาจถือเปนการบอกกลาวสนองคําเสนอได แตตอ งถือวาเปนการ
ปฏิเสธคําเสนอ เวนเสียแตวา คูกรณีไดตกลงกันไวใหถือวาการนิ่งเปนการบอกกลาวสนอง หรือมี
กฎหมายกําหนดไวโดยเฉพาะใหถือการนิง่ ในบางกรณีเปนการบอกกลาวสนองได
ตัวอยางเชน กรณีตามบทบัญญัติมาตรา ๓๖๑ ปพพ. ที่กําหนดไววา
“ถาตามเจตนาอันผูเสนอไดแสดง หรือตามปกติประเพณีไมจําเปนจะตองมีคําบอกกลาว
สนองไซร ทานวาสีญญานั้นเกิดเปนสัญญาขึ้นในเวลาเมื่อมีการอันใดอันหนึ่งขึ้น อันจะ
พึงสันนิษฐานไดวาเปนการแสดงเจตนาสนองรับ”

๓.๒ อยางไรก็ดี หากมีปกติประเพณีทางการคาระหวางกัน การนิ่งอาจนับไดวาเปนการแสดง


เจตนายอมรับเนื้อหาในหนังสือยืนยันทางธุรกิจการคา (Letter of Confirmation) ได
ก) ในการประกอบกิจการธุรกิจการคานั้น หลังจากไดมกี ารเจรจาระหวางกันดวยวาจา
แลว คูกรณีฝายหนึ่งอาจทําหนังสือยืนยันเนื้อความที่ไดเจรจาดวยวาจาระหวางกันอีกชั้นหนึ่ง การ
ทําหนังสือยืนยันเชนนี้ก็เพื่อหลีกเลี่ยงขอสงสัยหรือโตแยงกันในภายหลังวาไดมีการตกลงกัน
เชนนั้นหรือมีเงื่อนไขประการใดอยางไรหรือไมเพียงใด การสงหนังสือยืนยันดังกลาวนี้กเ็ พื่อให
เปนหลักฐานไวชั้นหนึ่งกอนนั่นเอง หากผูรับหนังสือยืนยันมิไดโตแยงหนังสือยืนยันนั้น แลว
ตอมาเมื่อเกิดขอพิพาทระหวางกัน ผูรับหนังสือยอมไมอาจอางขึ้นวาเนื้อหาของหนังสือยืนยันนั้น
ไมถูกตองตามความประสงคหรือมีเนื้อหาเปนอยางอื่นไดอีก ดังนัน้ หากผูรับหนังสือยืนยันไมเห็น
พองดวยกับเนือ้ หาในหนังสือยืนยันทางธุรกิจการคานัน้ ก็ควรจะโตแยงหรือคัดคานหนังสือนั้น
โดยมิชักชา มิฉะนั้นหากปลอยใหเนิ่นชาไป ผูไดรับหนังสือยืนยันอาจตองยอมใหอกี ฝายหนึ่งยก
เนื้อหาขอความในหนังสือขึ้นยันตนได
ข) โดยที่การแสดงเจตนาดวยการนิ่งนี้จะมีไดในฐานะทีเ่ ปนขอยกเวน ดังนั้นจึงควรปรับ
ใชอยางแคบ กลาวคือใชเฉพาะหมูพอคาหรือผูประกอบธุรกิจการคา อันเปนบุคคลซึ่งตองมีความ
ระมัดระวังทางธุรกิจการคายิง่ กวาคนธรรมดา และควรนํามาใชเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับการเจรจา
ทางธุรกิจการคา และตองเปนกรณีที่มกี ารสงหนังสือยืนยันกันในทันทีเทานั้น โดยจะควรจะเปน
กรณีที่กลาวยืนยันขอตกลงที่ไดทํากันไวแลวดวยวาจาเปนสําคัญ ทั้งนี้ผูสงหนังสือยืนยันจะตอง
เปนผูใชสิทธิโดยสุจริตและผูร ับหนังสือยืนยันจะตองยอมรับโดยไมโตแยงจึงจะถือวาหนังสือ
ยืนยันนั้นมีฐานะเปนหลักฐานที่ฟงได

๗๘
เอกสารประกอบการศึกษา
วิชากฎหมายลักษณะนิติกรรมสัญญา (น.๑๐๑)
ผศ.ดร.กิตติศักดิ์ ปรกติ
สวนที่ ๒
การเกิดขึ้นแหงสัญญา
บทที่ ๒
ปญหาคําเสนอสนองไมตรงกัน

อุทาหรณ
ก) ข.ประสงคจะขายรถจักรยานใหแก ก. ในราคา ๙,๘๐๐ บาท แตในการเขียนจดหมายทําคํา
เสนอ ข.เขียนตัวเลขสับกัน โดยเสนอราคาขายเปนเงิน ๘,๙๐๐ บาท ก. ซึ่งไดเคยเจรจาเรื่องนี้กับ ข.
ดวยวาจาไวแลว เขาใจดีวา ก. เจตนาขายที่ราคา ๙,๘๐๐ บาท และ ข. เองก็ยินดีจะซื้อที่ราคา
๙,๘๐๐ บาท ก.จึงตอบจดหมาย ข. ไปวาตกลงซื้อจักรยานที่เสนอในราคา ๙๘๐ บาท และเมื่อ ข.
ไดรับหนังสือจาก ก. ข.ก็เขาใจวา ก.ระบุราคาผิดไป ดังนี้ทานจงพิจารณาวาสัญญาซื้อขายจักรยาน
ระหวาง ก. กับ ข. เกิดขึ้นหรือไม

ข) กรณีในขอ ก)จะเปนอยางไร หาก ก.ตอบจดหมายไปยัง ข.เพียงวาตกลงตามที่เสนอโดย ก.


ไมรูวา ข.ไดทําคําเสนอโดยเขียนเลขสับกัน และ ก.ก็ไมมีเหตุอันควรรูดวยวาตามเจตนาที่แทจริง
ของ ข. นั้น ประสงคจะขายจักรยานในราคา ๙,๘๐๐ บาท

ค) ข.เสนอขายจักรยานให ก.ในราคา ๙,๘๐๐ บาท และ ก.ตอบตกลงซื้อจักรยานตามราคาที่


เสนอ แตยืนยันขอผอนชําระราคาเปนงวด ๆ ข.ตอบตกลงยอมใหผอนชําระราคาไดและแจงให ก.
เปนผูกําหนดวาจะชําระราคาเปนกี่งวด ดังนี้สัญญาระหวาง ก. กับ ข.เกิดขึ้นแลวหรือยัง

ง) ก.สงโทรเลขไปยัง ข. วา “โทรทัศนยี่หอ X รุน Y จํานวน ๕๐ เครื่อง เครื่องละ ๕,๐๐๐


บาท” ข.ไดรับโทรเลขของ ก. แลวสงโทรเลขตอบกลับไปวา “ตกลง” ปรากฏตอมาวาทั้ง ก. และ
ข. ตางประสงคจะขายโทรทัศน โดยเขาใจวาอีกฝายหนึ่งประสงคจะซื้อ ดังนี้สัญญาซื้อขายระหวาง
ก. กับ ข.เกิดขึ้นหรือไม

๗๙
บทที่ ๒
ปญหาคําเสนอสนองไมตองตรงกัน

๑. คําเสนอสนองตองตรงกัน
๑.๑ ความหมายของคําเสนอสนองตองตรงกัน
คําเสนอสนองตองตรงกันหมายถึงกรณีที่เจตนาของคูกรณีที่แสดงออกในการตกลงผูกพัน
กันในรูปของคําเสนอและคําสนองนั้นตองตรงกัน เจตนาเสนอสนองตองตรงกันโดยมุงผูกพันกัน
นี้เปนเงื่อนไขสําคัญของการเกิดขึ้นของสัญญา เมื่อใดที่คําเสนอสนองไมตองตรงกัน เมื่อนั้น
สัญญายอมเกิดขึ้นไมได โดยที่สัญญาเกิดจากคําเสนอสนองตองตรงกัน ดังนั้นเจตนาของทั้งสอง
ฝายจึงตองเปนเจตนาที่แสดงออกโดยมุงผูกพันซึ่งกันและกันอีกดวย ถาเปนแตเพียงตางผายตาง
แสดงเจตนาในเรื่องเดียวกัน หรือมีเนื้อหาเหมือนกัน หากเจตนาที่แสดงออกนั้นมิไดเปนเจตนาที่
แสดงออกเพื่อเสนอและสนองตอกันก็ยังถือไมไดวาคูกรณีทั้งสองไดแสดงเจตนาผูกพันกันโดยมี
คําเสนอสนองตองตรงกัน เชน ตางฝายตางยื่นคํารองตอเจาหนาที่ในเรื่องเดียวกัน๑๑ หรือแสดง
เจตนาในเรื่องที่เกี่ยวของกัน หรือตางฝายตางทําคําเสนอตอกัน โดยอีกฝายหนึ่งยังมิไดแสดงเจตนา
สนองรับคําเสนอเลย ดังนี้ไมถือวาคูกรณีไดแสดงเจตนาเสนอสนองตองตรงกัน เมื่อเจตนาที่มุง
ผูกพันกันยังไมตองตรงกัน ดังนี้สัญญายอมไมเกิดขึ้น

แมในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมิไดมีการบัญญัติไวโดยตรงวาสัญญาจะเกิดขึ้น
เมื่อคําเสนอสนองตองตรงกัน แตเราก็สามารถอนุมานไดจากหลักเกณฑวาดวยการเกิดขึ้นของ
สัญญาซึ่งไดรับการบัญญัติไวในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยนั่นเองดังจะเห็นไดจากหลัก
สําคัญในมาตรา ๓๕๔ , ๓๕๕ ปพพ. ซึ่งวางหลักวาดวยความผูกพันของคําเสนอ และมาตรา ๓๕๙
ปพพ. ก็วางหลักวาดวยความมีผลของคําสนองตอไปวา “คําสนองอันมีขอความเพิ่มเติม มีขอจํากัด
หรือมีขอแกไขอยางอื่นประกอบดวยนั้น ทานใหถือวาเปนคําบอกปดไมรับ ทั้งเปนคําเสนอขึ้น
ใหมดวยในตัว” แปลความในทางกลับกันไดวา คําสนองที่ไมแกไขเพิ่มเติมคําเสนอยอมสมบูรณ
เปนคําสนอง และทําใหเห็นไดวา ความผูกพันอันจะกอใหเกิดสิทธิหนาที่ตามสัญญาระหวางกันได

๑๑ โปรดดู จิ๊ด เศรษฐบุตร, นิติกรรมและสัญ ญา (แกไขเพิ่ม เติม โดยจิตติ ติงศภั ทิย) พิม พค รั้ งที่ ๕, พ.ศ.
๒๕๒๘, น. ๒๖๘ ซึ่งอางฎีกาที่ ๑๓๐๘/๒๕๑๕ ๑๕๑๕ ฎ.๑๐๕๑ใ

๘๐
นั้นจะตองเปนกรณีที่คําสนองตองรับกันกับคําเสนออยางเหมาะเจาะหรือที่มักจะกลาวกันวาสัญญา
จะเกิดขึ้นไดจะตองปรากฏวา “คําเสนอสนองตองตรงกัน” นั่นเอง

๑.๒ การตีความการแสดงเจตนาในการพิจารณาปญหาคําเสนอสนองตองตรงกันหรือไม
เมื่อมีปญหาวาคําเสนอสนองตองตรงกันหรือไม สิ่งแรกที่ตองพิจารณาก็คือ เจตนาที่
บุคคลไดแสดงออกมานั้น ตองตรงตามเจตนาที่แทจริงของตนหรือไม และเจตนาที่แสดงออกมา
นั้นมีความหมายอันคนทั้งหลายพึงเขาใจวาอยางไร ในการพิจารณาปญหาเหลานี้มีกรณีที่ตองแยก
ศึกษาดังนี้
ก) ถาปรากฏวา เจตนาที่คูกรณีแสดงออกในรูปของคําเสนองสนองตองตรงกันแลว
สิ่ ง ที่ ต อ งพิ จ ารณาต อ ไปก็ คื อ เจตนาภายในของผู แ สดงเจตนาต อ งตรงกั น กั บ เจตนาที่ ผู นั้ น
แสดงออกหรือไม หากเจตนาภายในของคูกรณีตองตรงกันแลว ก็ไมมีปญหาขอสงสัยเรื่องเจตนา
เสนอสนองไมตองตรงกันอีก แมในกรณีที่เจตนาที่แสดงออกของคูกรณีทั้งสองฝาย จะแตกตาง
จากเจตนาที่แทจริงของคูกรณี ถาปรากฏวาเจตนาภายในหรือเจตนาที่แทจริงของคูกรณีตองตรงกัน
(ซึ่งรูจักกันในกฎหมายโรมัน เปนสุภาษิตละตินวา falsa demonstration non nocet) ดังนี้ก็ยังถือได
วาเจตนาเสนอสนองตองตรงกัน ทั้งนี้เพราะการแสดงเจตนาที่ ปรากฏออกมาภายนอก แมจ ะ
แตกตางจากเจตนาภายใน แตเมื่อทั้งสองฝายเขาใจตองตรงกัน และมีเจตนาภายใน หรือเจตนาที่
แทจริงตองตรงกันแลว สัญญายอมเกิดขึ้นตามเจตนาแทจริง หรือตามเจตนาภายในของคูกรณีทั้ง
สองฝาย การเกิดขึ้นของสัญญาในลักษณะนี้ยอมเปนไปตามเจตนาที่แทจริง และยอมไมกอผล
เสียหายใหแกคูกรณีฝายใดเลย๑๒
กรณีตามอุทาหรณ ก) นั้นเราเห็นไดชัดวาคูกรณีทั้งสองฝายมีเจตนาที่แทจริงตอง
ตรงกัน ดังนั้นสัญญายอมเกิดขึ้นตามเจตนาที่แทจริงของทั้งสองฝาย คือตกลงซื้อขายกันดวยราคา

๑๒ โปรดเทียบคําพิพากษาฎีกาที่ ๗๔๕/๒๕๑๑ ๒๕๑๑ ฎ.๙๗๙; ฎีกาที่ ๒๒๔๓/๒๕๑๗ ๒๕๑๗ ฏ.๑๖๙๓


และในกฎหมายอังกฤษ ก็เคยปรากฏคดีทํานองเดียวกันนี้ เชนคดี Craddock Brothers v. Hunt (1923) 2
Ch.136 ซึ่งเปนเรื่องตกลงซื้อขายที่ดินกันเปนหนังสือแตกตางจากที่ตกลงกันไวดวยวาจา เมื่อพิสูจนไดวา
เจตนาที่แทจริงคือเจตนาเมื่อคราวตกลงกันดวยวาจา ศาลอังกฤษก็พิพากษาใหแกเสียใหถูกตอง และโปรด
เทียบคดี Frederick E. Rose (London), Ltd. v. William H. Pim Jur. & Co., Ltd. (1953) 2 Q.B. 450 ซึ่งเปน
เรื่องการซื้อถั่วชนิดหนึ่งเรียกวา feveroles ตามหนังสือสั่งซื้อของผูซื้อ ปรากฏวาผูขายไมแนใจวาหมายถึง
อะไร จึงสอบถามผูซ้อื และผูซื้อก็ไดอธิบายวา feveroles นั้นเปนชื่อของถั่ว horsebeans ทั่วไปนั่นเอง ดังนั้น
ตอมาเมื่อผูขายสงมอบถั่ว horsebeans แกผูซื้อจึงปรากฏวาแทจริงแลว feveroles เปนถั่วคนละชนิดกันกับ
ถั่ว horsebeans มาก คดีนี้ศาลจึงตัดสินวา คูสัญญาตกลงซื้อขายถั่ว horsebeans และผูซื้อไมอาจอางวาตน
ตองการซื้อถั่ว feveroles ได

๘๑
๙,๘๐๐ บาท โดยไมตองคํานึงถึงวาเจตนาที่แดงออกจะปรากฏตรงกันหรือไมก็ตามและเรายอม
สรุปไดวา หากเจตนาที่แทจริงของคูกรณีที่แสดงเจตนาเสนอสนองออกมานั้นตองตรงกันแลว ดังนี้
คําเสนอสนองยอมตองตรงกัน และสัญญายอมเกิดขึ้น ในกรณีเชนนี้เจตนาที่แสดงออกยอมไมใช
สาระสําคัญ กฎหมายยอมรับรองวาสัญญาเกิดขึ้นและคุมครองใหความผูกพันตามสัญญาเปนไป
ตามเจตนาที่แทจริง

ข) อยางไรก็ดี หากตีความการแสดงเจตนาของคู กรณีทั้งสองฝายแลว ปรากฏว า


เจตนาภายในหรือเจตนาที่แทจริงของฝายเสนอและฝายสนองไมตองตรงกัน ดังนี้ ตองพิจารณา
เสียกอนวา เจตนาที่แสดงออกนั้นปรากฏแกผูรับการแสดงเจตนาใหพึงเขาใจไดเปนประการใด
ทั้งนี้โดยพิจารณาตามมาตรฐานความรูสึกนึกคิดของวิญูชน (normative interpretation) ถา
พิเคราะหไดวา ตามมาตรฐานวิญูชนนั้นเจตนาที่แสดงใหปรากฏรับรูกันนั้นตองตรงกัน ก็เปน
กรณีที่ถือไดวาเจตนาเสนอสนองตองตรงกันตามที่ปรากฏใหรับรูกันไดนั้น ทั้งนี้ไมวาเจตนาที่
แทจริงของคูกรณีจะมิไดตรงกันเลยก็ตาม
ดังนี้ กรณีตามอุทาหรณขอ ข) เปนกรณีที่เจตนาภายในของคูกรณีทั้งสองฝายไม
ตองตรงกัน เพราะ ข.ตองการขายจักรยานในราคา ๙,๘๐๐ บาท แต ก.ตองการซื้อในราคา ๘,๙๐๐
บาท แตหากตีความเจตนาที่แสดงออกใหปรากฏรับรูกันไดแกคนทั่วไป ยอมไดความวาการที่ ข.
ทําคําเสนอโดยเขียนเลขสับกันจาก ๙,๘๐๐ บาท เปน ๘,๙๐๐ บาทนั้น ยอมทําใหคนทั้งหลายเขาใจ
ไดวา ข. ประสงคจะเสนอขายจักรยานในราคา ๘,๙๐๐ บาท (เพราะคนทั่วไปยอมไมอาจลวงรูถึง
เจตนาที่แทจริงของ ก.) ดังนั้น ข.ยอมตองยอมรับวาตนตองผูกพันตามคําเสนอที่ตนแสดงออกให
ปรากฏแกผูรับคําเสนอ แมวาจะขัดตอเจตนาที่แทจริงของตน ในกรณีนี้สัญญาซื้อขายระหวาง ก.
และ ข. ยอมเกิดขึ้น โดยทั้งสองฝายตกลงซื้อขายกันในราคา ๘,๙๐๐ บาท ตามที่ปรากฏในคําเสนอ

๑.๓ ผลทางกฎหมายของการที่เจตนาเสนอสนองตองตรงกัน
ก) กรณีที่คําเสนอสนองตองตรงกัน สัญญายอมเกิดขึ้น และคูสัญญายอมมีสิทธิและ
หนาที่ตามที่ตกลงกันในสัญญา

ข) ถาคําเสนอสนองตองตรงกันโดยเจตนาภายในก็ตองตรงกันดวย ดังนี้คูกรณีทั้ง
สองฝายยอมตองผูกพันตามสัญญาที่เกิดขึ้น แมวาการแสดงเจตนาที่ปรากฏตอภายนอกจะแตกตาง
จากเจตนาที่แทจริงก็ตาม ในเมื่อคูกรณีมีเจตนาแทจริงตองตรงกัน ก็ยอมผูกพันกันตามเจตนานั้น
ๆ ในกรณีเชนนี้ เราจะเห็นไดวาไมมีเหตุผลที่กฎหมายจะพึงคุมครองคูกรณีฝายหนึ่งฝายใดเปน
พิเศษ กฎหมายจึงรับรองและคุมครองใหสญ ั ญามีผลตามเจตนาที่แทจริง

๘๒
กรณีตามอุทาหรณในขอ ก) สัญญายอมเกิดขึ้นโดยมีเนื้อหาตามที่คูกรณีทั้งสอง
ฝ า ยต อ งการ กล า วคื อ สั ญ ญาซื้ อ ขายจั ก รยานที่ ร าคา ๙,๘๐๐ บาท ในกรณี เ ช น นี้ แ ม เ จตนาที่
แสดงออกจะตางจากเจตนาภายใน ก็ไมมีเหตุใหตองอางสําคัญผิดลบลางการแสดงเจตนาที่ได
แสดงไวแตประการใด

ค) ในกรณีที่คําเสนอสนองตองตรงกัน โดยผลของการตีความเจตนาที่แสดงออกได
ความวาเจตนาที่แสดงออกนั้นตองตรงกัน แตหากปรากฏวาเจตนาที่คูกรณีฝายหนึ่งฝายใดได
แสดงออกนั้นแตกตางจากเจตนาที่แทจริง ดังนี้ยอมเกิดปญหาที่ควรพิจารณาวาการแสดงเจตนานั้น
ๆ มีผล หรือตองเสียไปเพราะเหตุสําคัญผิดหรือไม กรณีนี้กฎหมายวางหลักไววาการแสดงเจตนา
โดยสําคัญผิดในสาระสําคัญยอมตกเปนโมฆะ แตหากความสําคัญผิดนั้นเกิดจากความประมาท
เลินเลออยางรายแรงของผูแสดงเจตนา ผูแสดงเจตนานั้นไมอาจอางเปนโมฆะกรรมได (มาตรา
๑๕๘ ปพพ.)
ในอุทาหรณขอ ข) สัญญาซื้อขายยอมเกิดขึ้นตามเจตนาที่คูกรณีทั้งสองฝายได
แสดงออกตองตรงกันคือตกลงซื้อขายจักรยานกันดวยราคา ๘,๙๐๐ บาท แตโดยที่ ข.แสดงเจตนา
โดยสําคัญผิดในสาระสําคัญ คือแสดงเจตนาออกไปโดยไมตรงกับเจตนาที่แทจริง ดังนี้ ข.ยอมอาง
โมฆะกรรมได แต หาก ก.นํ าสื บวาความสําคัญผิดของ ข.เกิดจากความประมาทเลิน เลออยาง
รายแรงของ ข. เอง ข.ยอมถูกกฎหมายปดปากไมใหอางโมฆะกรรมนั้นเปนประโยชนแกตนตาม
มาตรา ๑๕๘ ปพพ.๑๓

๒. คําเสนอสนองไมตองตรงกัน
๒.๑ ขอพิจารณาเบื้องตน
คําเสนอสนองไมตองตรงกัน (dissensus) หมายถึงกรณีที่เจตนาที่แทจริงของคูกรณีไมตอง
ตรงกัน และเจตนาที่แสดงออกมาก็ไมตองตรงกันดวย
ในกรณี มี เ หตุ ส งสั ย ว า เจตนาของคู ก รณี ไ ม ต อ งตรงกั น ต อ งตี ค วามเจตนาของคู ก รณี
เสียกอน วาเจตนาที่แทจริงของคูกรณีหรือเจตนาที่แสดงออกอยางหนึ่งอยางใดตองตรงกันหรือไม

๑๓ ควรสังเกตวา กรณีสําคัญผิดในคุณสมบติอันปกติเปนสาระสําคัญแหงนิติกรรมนั้น ไมใชบัญหาคําเสนอ


สนองไมตองตรงกัน เพราะกรณีสําคัญผิดในคุณสมบัติอันปกติเปนสาระสําคัญนั้นเปนแตเพียงกรณีสําคัญ
ผิดในมูลเหตุจูงใจที่เกิดขึ้นในขณะตกลงใจเทานั้น เจตนาที่แสดงออกเปนเจตนาที่ตรงกับเจตนาที่แทจริง
เจตนานั้นจึงสมบูรณ เพียงแตกฎหมายยอมยกเวนใหตกเปนโมฆียะ เปนเหตุใหถูกบอกลางไดภายหลัง
เทานั้น

๘๓
เมื่อสรุปแนไดวาเจตนาที่แทจริงและเจตนาที่แสดงออกไมตองตรงกันแลว จึงจะสรุปไดวาเปน
กรณีคําเสนอสนองไมตองตรงกัน

กรณีที่คําเสนอสนองไมตองตรงกันนี้อาจมีได ๒ กรณีใหญ ๆ คือ


ก) การแสดงเจตนาของคูกรณีไมตองตรงกันเลย
ตัวอยางเชน ข.แสดงเจตนาเสนอขายจักรยานแก ก. เปนเงิน ๑๐,๐๐๐ บาท และ ก.ตอบไป
ยัง ข. วาตนประสงคจะซื้อในราคา ๙,๐๐๐ บาท ดังนี้เห็นไดชัดวา คูกรณีตกลงกันไมไดในเรื่อง
ราคา ดังนั้นคําเสนอสนองไมตองตรงกัน สัญญาซื้อขายยอมไมเกิดขึ้น แตถาทั้งสองฝายตกลงกัน
ได เชน ตกลงซื้อขายกันในราคา ๑๐,๐๐๐ บาท คําเสนอสนองก็ตองตรงกัน สัญญาซื้อขายจักรยาน
ก็เกิดขึ้น

ข) เจตนาที่แสดงออกมีความหมายหลายนัย
กรณีที่เจตนาที่แสดงออกมีความหมายไดหลายนัยนี้ แมเจตนาที่แสดงออกจะดูเหมือนวา
ตองตรงกัน หากพิเคราะหดูดวยความระมัดระวัง ก็อาจพบวา เจตนาที่ดูเผิน ๆ เหมือนกับวาตอง
ตรงกันนั้น แทจริงแลวอาจเปนกรณีที่คําเสนอสนองไมตองตรงกันได
ตัวอยางที่สําคัญในกรณีทํานองนี้ไดแกกรณีใชชื่อสกุลเงินที่อาจมีความหมายไดหลายนัย
เชนสัญญาซื้อขายจักรยานมูลคา ๑,๐๐๐ ฟรังก การระบุราคาเปนสกุลเงินฟรังกนี้ ก็อาจหมายถึง
เงินฟรังกฝรั่งเศส ฟรังกเบลเยี่ยมหรือฟรังกสวิสก็ได ถาคูกรณีมีเจตนาตองตรงกันก็ยอมไมมีปญหา
หรือหากสามารถอนุมานไดจากเหตุการณแวดลอม เชนคูกรณีทําสัญญากันในประเทศฝรั่งเศส เปน
เหตุใหอาจตีความคําวาฟรังกที่ใชวาหมายถึงฟรังกฝรั่งเศสได แตถาไมใชเปนกรณีที่คูกรณีมีเจตนา
ตองตรงกัน หรือไมอาจตีความการแสดงเจตนาตามความหมายที่วิญูชนพึงเขาใจไดตามปกติได
เชน ทําสัญญากันในประเทศไทย และไมมีพฤติการณใหอนุมานไดวาคูกรณีหมายถึงเงินสกุลใด
ดังนี้ยอมเปนกรณีที่เจตนาที่แสดงออกนั้นมีความหมายไดหลายนัยคําเสนอสนองจึงไมตองตรงกัน
ตัวอยางในทํานองนี้อาจเห็นไดจากคดีดังเรื่องหนึ่งของอังกฤษซึ่งปรากฏวาในสัญญาซื้อ
ขายฝายจากอินเดียรายหนึ่ง คูกรณีตกลงซื้อขายฝายในเรือเที่ยวหนึ่ง ซึ่งบรรทุกลงเรือเดินทะเลชื่อ
วา Peerless ซึ่งออกจากเมืองบอมเบยมายังอังกฤษ ปรากฏวาเรือชื่อ Peerless เหมือนกันมีอยู ๒ ลํา
และบังเอิญเรือทั้งสองลําก็บรรทุกฝายออกจากบอกเบยเหมือนกัน แตออกเรือกอนหลังกันเปนเวลา
๒ เดือน ผูขายนั้นทําสัญญาขายฝายในเรือลําที่ออกมาเตือนตุลาคม แตผูซื้อนั้นตองการซื้อฝายใน

๘๔
เรือลําที่ออกเดือนธันวาคม เมื่อเรือลําแรกมาถึงอังกฤษผูขายก็เรียกเก็บเงิน แตผูซื้อปฏิเสธ จึงเกิด
พิพาทกันขึ้น คดีนี้ศาลตัดสินวาสัญญาซื้อขายรายนี้ไมเกิดขึ้นเพราะคําเสนอสนองไมตองตรงกัน๑๔

๒.๒ กรณีที่คําเสนอสนองไมตองตรงกันชนิดเห็นประจักษและชนิดไมเห็นประจักษ
ในกรณีที่คําเสนอสนองไมตองตรงกันและคูกรณีที่เกี่ยวของรูวาเจตนาเสนอสนองไมตอง
ตรงกัน ดังนี้เปนกรณีที่เห็นประจักษ แตถาคูกรณีกรณีสําคัญผิดไปวา คําเสนอสนองนั้นตอง
ตรงกันทั้ง ๆ ที่แทจริงแลว คําเสนอสนองของทั้งสองฝายไมตองไมตองตรงกัน หรือนาสงสัยวายัง
มิไดตกลงกันหมดทุกขอ ดังนี้เปนกรณีที่คําเสนอสนองไมตองตรงกันโดยไมเห็นประจักษ และใน
กรณีเชนนี้ การตีความการแสดงเจตนายอมตองเปนไปตามหลักในมาตรา ๓๖๖, ๓๖๗ ปพพ.
มาตรา ๓๖๖ ขอความใด ๆ แหงสัญญาแมเพียงฝายเดียวไดแสดงไววาเปน
สาระสําคัญอันจะตองตกลงกันหมดทุกขอนั้น หากคูสัญญายังไมตกลงกันไดหมด
ทุกขออยูตราบใด เมื่อกรณีเปนที่สงสัย ทานนับวายังมิไดมีสัญญาตอกัน การที่ไดทํา
ความเขาใจกันไวเฉพาะบางสิ่งบางอยาง ถึงแมวาจะไดจดลงไวก็หาเปนการผูกพัน
ไม
ถาไดตกลงกันวาสัญญาอันมุงจะทํานั้นจะตองทําเปนหนังสือไซร
เมื่ อ กรณี เ ป น ที่ ส งสั ย ท า นนั บ ว า ยั ง มิ ไ ด มี สั ญ ญาต อ กั น จนกว า จะได ทํ า ขึ้ น เป น
หนังสือ
มาตรา ๓๖๗ สัญญาใดคูสัญญาไดถือวาเปนอันไดทํากันขึ้นแลว แตแทจริง
ยังมิไดตกลงกันในขอหนึ่งขอใดอันจะตองทําความตกลงใหสําเร็จ ถาจะพึงอนุมาน
ไดวาถึงหากจะไมทําความตกลงกันในขอนี้ได สัญญานั้นก็จะไดทําขึ้นไซร ทานวา
ขอความสวนที่ไดตกลงกันแลวก็ยอมเปนอันสมบูรณ

ก) กรณีคําเสนอสนองไมตองตรงกันชนิดที่เห็นประจักษ คือกรณีที่คูกรณีตางรูดีวา
คําเสนอสนองไมตองตรงกัน หรือยังตกลงกันไมไดนั่นเอง
ตัวอยางเชน ข.เสนอขายเครื่องจักรแก ก.เครื่องหนึ่ง มูลคา ๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท แต ก. แจง
ให ข. ทราบวาตนประสงคจะซื้อเครื่องจักรนี้ในราคา ๔,๕๐๐,๐๐๐ บาท ดังนี้เปนกรณีที่ ก. บอก
ปดคําเสนอของ ข. และทําคําเสนอใหม โดยเสนอซื้อเครื่องจักรเปนเงิน ๔,๕๐๐,๐๐๐ บาท
(๑) ในกรณีที่คูกรณีมิไดตกลงกันในขอสาระสําคัญ (essentialia negotii) ดังนี้สัญญา
ยอมไมเ กิด ขึ้น ขอสาระสํ าคั ญนี้อาจมี ไดทั้งที่ คูก รณี ถือเปนข อสาระสําคัญ และกรณีที่เ ปน ขอ

๑๔ ผูสนใจโปรดดูคดี Raffles v. Wichelhaus, 2 H.&C. 906.

๘๕
สาระสําคัญตามกฎหมาย ขอสาระสําคัญตามกฎหมายไดแกบรรดาพฤติการณทั้งหลายอันเปน
เครื่องกําหนดลักษณะแหงนิติกรรมสัญญานั้น ๆ ตามกฎหมายนั่นเอง
ตั ว อย า ง เช น ในสั ญ ญาซื้ อ ขาย สาระสํ า คั ญ ของสั ญ ญาก็ ไ ด แ ก ทรั พ ย สิ น ที่
ประสงคจะซื้อขายกัน และราคาซื้อขายตามมาตรา ๔๕๓ ปพพ. นั่นเอง ดังนั้นหากยังไมไดตกลง
กันวาจะซื้อขายกันในราคาเทาใด หรือยังไมไดตกลงกันใหรูแนวาทรัพยที่ซื้อขายกันคือทรัพยสิ่ง
ใด และจะคัดเลือกตัวทรัพยอยางไร สัญญายอมไมเกิดขึ้น หรือในกรณีสัญญาเชา สาระสําคัญของ
สัญญายอมไดแกทรัพยสินที่เชา และคาเชาตามมาตรา ๕๓๗ ปพพ. หากยังไมไดตกลงกันวาจะเชา
ทรัพยชนิดหรือประเภทใด หรือยังไมไดตกลงราคา หากไมมีราคาตลาด สัญญายอมไมเกิดขึ้น
(๒) ในกรณีที่คูกรณีมิไดตกลงกันในขอที่มิใชสาระสําคัญ (accidentalia negotii) การ
พิจารณาวาสัญญาจะเกิดขึ้นหรือไม ยอมตองพิจารณาจากเจตนาของคูสัญญาวาประสงคจะตกลง
กันทุกขอเสียกอนหรือไม หรือจะถือวาสัญญานั้นเกิดขึ้นแลวแมจะยังมิไดตกลงกันหมดทุกขอ
ขอตกลงอันมิใชสาระสําคัญนี้อาจมีไดหลายกรณี ขึ้นอยูกับเจตนาของคูกรณีเปนสําคัญ เชนเรื่อง
กําหนดเวลา และสถานที่ชําระหนี้ เรื่องภาระคาใชจายในการขนสงทรัพยสิน ฯลฯ อาจเปนเรื่องที่
ไมสําคัญ แตขณะเดียวกันกรณีเหลานี้ อาจเปนเรื่องที่คูกรณีถือวาเปนสาระสําคัญที่ตองตกลงกัน
ใหไดเสียกอนจึงจะถือวามีสัญญาเกิดขึ้นแลวก็ได และในทางกลับกัน ก็อาจเปนเรื่องที่คูสัญญาเห็น
วาเปนเรื่องเล็กนอย และถือวาสัญญาเกิดขึ้นแลว แมวาจะยังตกลงกันในเรื่องเหลานี้ไมไดหมดทุก
ขอก็ตาม ทั้งหมดนี้ขึ้นอยูกับเจตนาของคูกรณี ซึ่งตองอาศัยหลักการตีความการแสดงเจตนามาใช
ในการพิจารณา
ตามอุทาหรณในขอ ค) เราเห็นไดวา ข.ตกลงรับขอเสนอของ ก.โดยยอมให ก.
ผอนชําระราคาจักรยานเปนงวด ๆ ได แตขอตกลงวาจะผอนชําระกี่งวด งวดละเทาใด และกําหนด
ชําระในวันใด เหลานี้เปนประเด็นที่ยังมิไดตกลงกัน ประเด็นที่ตองพิจารณาในที่นี้ก็คือ ก. และ ข.
ถื อ ว า สั ญ ญาเกิ ด ขึ้ น แล ว หรื อ ไม ซึ่ ง ต อ งพิ จ ารณาจากเจตนาของทั้ ง สองฝ า ยที่ แ สดงออกมา
พฤติการณที่อาจนํามาประกอบการพิจารณาวา ก. และ ข. ถือวาสัญญาเกิดขึ้นแลว และขอที่ยัง
ไมไดตกลงกันเปนเพียงรายละเอียดปลีกยอยที่ไมจําเปนตองตกลงกันหมดทุกขอเสียกอน อาจ
อนุมานไดจากพฤติการณตาง ๆ ที่พอจะใหเชื่อแนไดวาคูกรณีตกลงผูกพันกันแลว เชนมีการสง
มอบจักรยานใหอกกันแลว หรือมีการชําระเงินบางสวนแกกันแลว เปนตน อยางไรก็ดี ถาไมอาจ
ตีความการแสดงเจตนาของคูกรณีใหปรากฏจนปราศจากขอสงสัยวา คูกรณีประสงคจะถือวา
สัญญาเกิดขึ้นแลวแมจะมิไดตกลงกันทุกขอ ดังนี้เปนกรณีอันเปนที่สงสัย ซึ่งมาตรา ๓๖๖ ปพพ.
กําหนดใหถือวาสัญญายังไมเกิดขึ้น เพราะคําเสนอสนองไมตองตรงกันหมดทุกขอ
ในกรณีที่อนุมานไดวา คูสัญญาถือวาสัญญาเกิดขึ้น แมจะยังมิไดตกลงกันหมดทุก
ขอ ก็จะเกิดปญหาวา ขอที่ยังไมไดตกลงกันนั้นจะกําหนดแนไดอยางไรวาคูกรณีตกลงผูกพันกัน

๘๖
อยางไร ดังนี้ตองใชวิธีตีความอุดชองวางเจตนาของคูกรณีโดยวิธีใดวิธีหนึ่ง เชนพิเคราะหจาก
เจตนาที่ แ ท จ ริง ปกติ ประเพณี หรือการกระทํ ากอ น ๆ ของคู กรณี หรื อปรั บ ใช บ ทกฎหมายที่
เกี่ยวของแทนการแสดงเจตนาของคูกรณี
มาตรา ๓๖๖ ยังวางหลักเกณฑในการตีความเจตนาตอไปอีก ๒ ประการกลาวคือ
ในกรณีอันเปนที่สงสัยวาสัญญายังไมเกิดขึ้น ดังนี้เรื่องที่ไดทําความเขาใจกันไว แมวาจะไดจดลง
ไวก็ยังถือไมไดวาผูกพัน ประการหนึ่งและถาคูสัญญาไดตกลงจะทําสัญญากันเปนหนังสือ ดังนี้
สัญญานั้นยอมไมอาจมีขึ้นไดจนกวาจะไดทําสัญญากันเปนหนังสือแลว๑๕
ข) กรณีคําเสนอสนองไมตองตรงกันโดยไมเห็นประจักษ ไดแกกรณีที่คูกรณีเขาใจวา
คําเสนอสนองตองตรงกันแลว ทั้ง ๆ ที่แทจริงแลวไมตรงกัน ดังตัวอยางตอไปนี้
ก.ข.ค. ตกลงกอตั้งหางหุนสวนขึ้น โดยไดทําสัญญากอตั้งหางกันไวเปนลายลักษณอักษร
และไดลงชื่อไว คูกรณีทุกคนเขาใจวาไดตกลงกันสําเร็จหมดทุกขอแลว โดยหลงเขาใจไปวาไดตก
ลงกันในเรื่องการสิ้นสุดของสัญญาหางหุนสวนดวยแลว ทั้ง ๆ ที่แทจริงแลวทั้ง ก.ข.ค. ยังมิไดตก
ลงกันในเรื่องดังกลาวเลย ดังนี้จะเห็นไดวาคําเสนอสนองไมตองตรงกัน อนึ่งจากอุทาหรณในขอ
ง) เราจะเห็นไดวาเจตนาของคูกรณีในสัญญาซื้อขายที่แสดงใหปรากฏนั้นตรงกันแลว แตตางฝาย
ตางเขาใจวาตนเปนผูขายและอีกฝายหนึ่งเปนผูซื้อ ในกรณีดังกลาวนี้แมจะใชหลักการตีความการ

๑๕ เทียบฎีกาที่ ๕๓๔๓/๒๕๔๒ ๒๕๔๒/๑๐ ฎ.สงเสริมฯ ๙๑ ผูขายมีคําเสนอขายขาวสารจํานวนสองหมื่น


เมตริกตัน สงมอบเดือนตุลาคม-ธันวาคม ๒๕๓๗ ไปยังผูซื้อ โดยตกลงใหจําเลยเปนผูสงขาวสารไปยัง
ตางประเทศแทนผูซื้อ คําเสนอและคําสนองดังกลาวจึงถูกตองตรงกัน ยอมกอใหเกิดสัญญาขึ้นแลว แตเมื่อ
ผูขายมีหนังสือขอเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขการชําระราคาและเสนอราคาใหมไปยังผูซื้อ ถือวาเปนคําเสนอใหม
เมื่อผูซื้อตอบตกลงซึ้อขาวสารตามราคมที่เสนอมาใหมและใหผูขายไปทําสัญญาซื้อขายกับผูซื้อ แสดงวาคํา
เสนอสนองใหมถูกตองตรงกัน สัญญาเกิดขึ้นแลว มีผลใหเปนการยกเลิกสัญญาเดิม และผูกพันกันตาม
สัญญาที่เกิดขึ้นใหม ตอมาผูซื้อมีหนังสือแจงใหผูขายสงมอบขาวลงเรือในเดือนตุลาคม ๒๕๓๗ โดยไมมี
ขอความใหผูขายมาทําสัญญาเปนหนังสือ แตกลับเรงรัดใหจําเลยสงมอบขาวใหทันกําหนดเวลา แสดงวาผู
ซื้อไมไดมีเจตนาที่จะใหสัญญามีผลสมบูรณตอเมื่อไดทําสัญญาเปนหนังสือกอน การที่ผูขายไดรับหนังสือ
ดังกลาวแลวมีหนังสือขอเลื่อนเวลาสงมอบขาวสารไปเดือนธันวาคม ๒๕ภ๗ โดยไมไดทักทวงหรือโตแยง
วาสัญญายังไมไดลงนาม เนื่องจากยังไมไดตกลงกันในเรื่องคาเสียหาย การค้ําประกันและการสงมอบ ทั้ง
ปรากฏวากรมการคาตางประเทศเคยซื้อขาวสารจากผูขายโดยสงประกาศรับซื้อไป ผูขายก็ตอบรับ และ
หลังจากนั้นผูขายไดสงมอบขาวโดยไมจําตองทําสัญญาเปนหนังสืออีก พฤติการณของผูขายแสดงวาตนเอง
มิไดมุงที่จะใหการซื้อขายขาวดังกลาวนั้นจะตองทําสัญญากันเปนหนังสือเชนกัน ดังนั้นสัญญาซื้อขายรายนี้
จึงมีผลบังคับกันไดตามกฎหมายแลว หาไดมีกรณีเปนที่สงสัยวาสัญญาจะตองทําเปนหนังสือดังที่บัญญัติ
ไวใน ปพพ. มาตรา ๓๖๖ วรรคสอง แตอยางใดไม

๘๗
แสดงเจตนาตามพฤติการณที่วิญูชนพึงเขาใจไดตามปกติมาใชก็ไมอาจสรุปไดวาคําเสนอสนอง
ตองตรงกันแลวเพราะไมอาจสรุปไดวาใครเปนผูซื้อใครเปนผูขาย

โดยนัยขางตนนี้ หากปรากฏวา
(๑) คูกรณีไมไดตกลงกันในขอสัญญาอันเปนสาระสําคัญ ดังนี้สัญญายอมไมเกิดขึ้น
(๒) คูกรณีมิไดตกลงกันในขอสัญญาอันมิใชขอสาระสําคัญ ดังนี้ตองพิจารณาตอไป
วาแมเจตนาเสนอสนองยังไมตองตรงกันเสียทั้งหมดทีเดียว หากคูกรณีถือวาไดทําสัญญากันขึ้น
แลว ดังนี้กฎหมายไดวางหลักการตีความการแสดงเจตนาไวในมาตรา ๓๖๗ ปพพ. โดยใหถือวา
ขอตกลงอื่นที่ไดตกลงกันไวแลวยอมไมเสียไป
ปญหาวา ในกรณีที่คูกรณียังมิไดตกลงกันในขอสัญญาอันมิใชขอสาระสําคัญ
หมดทุกขอนั้น เราจะรูไดอยางไรวา คูกรณีถือวาไดทําสัญญากันแลวหรือไม กรณีนี้ยอมตองอาศัย
หลักการตีความการแสดงเจตนาเขาชวย เมื่อไดความวาคูกรณีถือวาสัญญาเกิดขึ้นแลวจึงนําเอา
หลักการตีความเสริมเจตนาที่แทจริง หรือการตีความเพื่ออุดชองวางในสัญญามาปรับใชหรืออาจ
นําเอาบทกฎหมายที่บัญญัติสันนิษฐานเจตนาของคูกรณีมาใชบังคับแกกรณีที่ยังมิไดตกลงกันไวก็
ไดแลวแตกรณี
ตัวอยางเชน ในกรณีที่คูกรณีในสัญญาหางหุนสวนมิไดตกลงกันในเรื่องการเลิก
หาง ดังนี้หากไมปรากฏขอเท็จจริงใดใหสันนิษฐานเจตนาของคูสัญญาเปนอยางอื่น ก็อาจนําเอา
หลักเกณฑที่กฎหมายบัญญัติเปนบทสันนิษฐานเจตนาของคูสัญญาไวตามมาตรา ๑๐๕๕ ปพพ.มา
ปรับใชได กลาวคือหางหุนสวนสามัญยอมเลิกกันดวยเหตุดังกลาวตอไปนี้
(๑) ถาในสัญญาทําไวมีกําหนดกรณีอันใดเปนเหตุที่จะเลิกกัน เมื่อมีกรณีนั้น
(๒) ถาสัญญาทําไวเฉพาะกําหนดกาลใด เมื่อสิ้นกําหนดกาลนั้น
(๓) ถาสัญญาทําไวเฉพาะเพื่อทํากิจการอยางหนึ่งอยางใดแตอยางเดียว เมื่อ
เสร็จการนั้น
(๔) เมื่อผูเปนหุนสวนคนใดคนหนึ่งใหคําบอกกลาวแกผูเปนหุนสวนอื่น ๆ
ตามกําหนดดั่งบัญญัติไวในมาตรา ๑๐๕๖
(๕) เมื่ อผูเ ปน หุ น สว นคนใดคนหนึ่ ง ตาย หรือล ม ละลาย หรื อ ตกเป น ผูไ ร
ความสามารถ

consensus01

๘๘

You might also like