You are on page 1of 3

เอกสารแนะแนวทางที่ 6.

1 - 30 - สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2

เอกสารแนะแนวทางที่ 6.1 เรื่องการคูณเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์ (1)


ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ชื่อ ห้อง เลขที่
จุดประสงค์การเรียนรู้
นักเรียนสามารถหาผลคูณของเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์ได้

การคูณเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์
 b11 
b21 
บทนิยาม 6.1 ถ้า A = [a11 a12 a13 … a1n] และ B =  b31  เป็นเมทริกซ์ที่มีมิติ 1  n และ

 bn1 
n  1 ตามลาดับ ผลคูณ A ด้วย B จะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ AB โดยที่
AB = [a11b11 + a12b21 + a13b31 + … + a1nana]11
ข้อสังเกต 1) สังเกตมิติของ A และ B จะพบว่า AB จะหาค่าได้ก็ต่อเมือ่
จานวนหลักของ A = จานวนแถวของ B
2) มิติของ AB เท่ากับ 1  1 นั่นคือ
(1  n) (n  1) = (1  1)
  
มิติ A มิติ B มิติ AB
ตัวอย่างที่ 6.1 จงหา
3
1) [1 2]  4  =
 

1
2) [5 0 -2]  1 =
 3 

 1
1
3) [-2 -5 2 3]  1 =
 
 0 

อายุของข้าพเจ้ามีขีดจากัด แต่ความรู้ไม่มีขีดจากัด จวงจื่อ


เอกสารแนะแนวทางที่ 6.1 - 31 - สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2

ตัวอย่างที่ 6.2 จงหาจานวนจริง y ที่สอดคล้องกับสมการในแต่ละข้อต่อไปนี้


 2y 
1) [1 2 y]  1  = [x – 4]
 3

  1
1
2) [3 -y -6 -2y]  y  = [0]
 
 y 

บทนิยาม 6.2 ถ้า A = [aij]m  n และ B = [bij] n  k ผลคูณ AB จะเป็นเมทริกซ์ที่มีมติ ิเท่ากับ


mk
สมมติให้ AB = C = [cij] m  k จะได้ว่า
cij = ai1b1j + ai2b2j + … + ainbnj
ข้อสังเกต 1) AB จะหาค่าได้ก็ต่อเมื่อ
จานวนหลักของตัวตั้ง (A) = จานวนแถวของตัวคูณ (B)
2) มิติของ AB เท่ากับ จานวนแถวของ A และจานวนหลักของ B นั่นคือ
(m  n) (n  k) = (m  k)
  
มิติ A มิติ B มิติ AB
3) ถ้า AB = [cij] m  k แล้วจะได้ว่า
cij = (แถวที่ i ของ A)  (หลักที่ j ของ B) นั่นคือ

อายุของข้าพเจ้ามีขีดจากัด แต่ความรู้ไม่มีขีดจากัด จวงจื่อ


เอกสารแนะแนวทางที่ 6.1 - 32 - สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 2

 a11 a12  a1n  b  c11  c1 j  c1k 


b1i
b1k   
   11
    
   
b b2 i
b2 k   c
ain   12
 
 ai1 ai 2 cij ci1k 
  =
 i1  
     
  
    
a m1 am 2 a mn   bn1bni bnk   
c mk 
 c m1 c mj
  
2 1 1 0
ตัวอย่างที่ 6.3 กาหนดให้ A = 0  1 และ B =  3 1 จงหา
   
1) AB 2) BA
วิธีทา

เอกสารฝึกหัดที่ 6.1 เรื่องการคูณเมทริกซ์ด้วยเมทริกซ์


ประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 ชื่อ ห้อง เลขที่
จงแสดงวิธที า
1. จงหา AB และ BA (ถ้าหาได้) เมื่อ A และ B เป็นเมทริกซ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้
  1  3
1) A = [2 -3 4], B =  1   1
3 3) A = [1 2 0 3], B =  1
   4 
1
2  0.5 
2) A = [6 4 -2], B =   1   0.5 
4) A = [8 -6 4 6], B =  1.0 
2
   1.5 
1 0 2 1
2. กาหนด A = 2 1 และ B = 4 3 จงหา
   
1) AB 5) (A + B)(A + B)
2) BA 6) (A – B)(A – B)
3) A2 7) (A + B)(A – B)
4) A3

อายุของข้าพเจ้ามีขีดจากัด แต่ความรู้ไม่มีขีดจากัด จวงจื่อ

You might also like