You are on page 1of 84

รูทันราชวงศจักรี

บทนํา

ประเทศไทยปกครองดวยระบบศักดินามานานหลายรอยป พวกเจาศักดินาจะครองบานครองเมือง ตั้งตนเปนเจาของ


ที่ดินทั้งที่ตนไมเคยออกแรงถางปาพันไร มีอํานาจเปนเจาเหนือหัวเหนือชีวิตผูคนในบานเมือง ดังที่พวกเรารูจักกัน
ในนามพระมหากษัตริย, พระราชา, พระเจาแผนดิน, พระเจาอยูหัว ซึ่งชื่อของเขาไดบงถึงความยิ่งใหญกับฟาอยูใน
ตัว ขาราชบริพารและไพรฟาประชาราษฎรตางตองทํามาหากินเปนชาวนาชาวไร ไมมีใครเปนอิสระ ตองเปนไพร
ติดที่ดินสังกัดเจาศักดินาคนใดคนหนึ่ง ปหนึ่งๆไพรชายที่มีอายุ 18 ปขึ้นไปตองถูกเกณฑแรงงานถึง 6 เดือน คือเขา
เดือนเวนเดือนโดยไมมีคาตอบแทนแมแตสตางคแดงเดียว ซ้ํายังตองนําขาวไปกินเอง ทุกคนตองเปนขารับใช
แรงงาน ไปรบ ไปทําอะไรตอมิอะไร แมแตไปตายตามที่เจาศักดินาสั่ง ตองทําเชนนี้จนถึงอายุ 60 ปจึงจะเปนไท
ชีวิตไพรจึงเหมือนวัวควายที่พูดได จะอยูจะตายขึ้นอยูกับคําสั่งของเจานาย หากเจาศักดินายกที่ดินใหใคร ไพรติด
ที่ดินนั้นก็ตองไปขึ้นกับเจาศักดินาคนใหมทันที นอกจากนั้นการเพาะปลูกของไพรยังตองถูกเรียกเก็บภาษี ถูกรีด
อากรในรูปของเงินและพืชผลอีกหลายประเภท พวกเขาตองมีชีวิตอยูอยางยากแคน ตองทํางานหนักหนวงไมเพียง
เพื่อเลี้ยงตนเองและครอบครัว แตยังตองเลี้ยงเจาศักดินาของตน แทที่จริงชีวิตของชาวไทยทุกคนมีไวเพื่อเลี้ยงดูเจา
ศักดินาทั้งสิ้น ใครที่ทนไมไดก็จะหนีไปอยูปาอยูดง ไปใหไกลๆพนจากเงื้อมมือการปกครองของพวกเขา คน
ประเภทนี้เจาศักดินาจะไมรับรองความเปนคน จะไมมีสิทธิฟองรอง รองเรียนตอบานเมือง ดังไดตราไวในกฎหมาย
ตั้งแตกรุงศรีอยุธยาและถอดแบบเปนกฎหมายตราสามดวงในยุคกรุงรัตนโกสินทร หากคนพวกนี้ถูกคนพบจะถูก
สักขอมือกลายเปนไพรหลวงคือขารับใชของเจาแผนดินทันที
ชีวิตของพวกศักดินาจํานวนหยิบมือหนึ่งนี้อยูกันอยางฟุงเฟอหรูหรา กินทิ้งกินขวาง เสพสุขโดยไมออกแรงทํางาน
ใดๆทั้งสิ้น ซ้ํายังดูถูกการใชแรงงานเปนสิ่งต่ําตอยหยาบชา ขณะที่พวกเขาเฝาเสพเมถุนเชายันค่ําโดยไมใยดีวาเปน
ลูกเตาและเมียใคร แลวกลับยกยองสรรเสริญหญิงนั้นวามีบุญวาสนาสูงสงจึงไดบําเรอเจาศักดินา หลายยุคหลาย
แผนดินที่ผานมา พวกเขายังคงเสวยสุขบนน้ําตา เลือดเนื้อและความขมขื่นของไพรฟาชาวไทยทั้งหลาย
การที่ระบบศักดินายืนยงอยูไดยาวนาน สาเหตุที่สําคัญอันหนึ่งคือ การสรางความนิยมชมชอบใหเกิดขึ้นโดยอาศัย
บรรดาสิ่งศักดิ์สิทธิ์จากสิ่งที่ผูคนศรัทธาเชื่อถืออยูแลว เชน แอบอิงพระพุทธศาสนาดวยการโออวดวา กษัตริยคือ
พระโพธิสัตวซึ่งจะไดตรัสรูเปนพระพุทธเจา1 เพื่อหลอกลวงผูอื่นใหเขาใจวา การปกครองของกษัตริยนั้นชอบ
ธรรมและทั้งๆที่ไมมีขอความใดในพระไตรปฎกทั้ง 84,000 พระธรรมขันธจะรับรองวากษัตริยคือพระโพธิสัตวเลย
พวกเขาก็ยังยืนยันเรียกกษัตริยวา “พระพุทธเจาอยูหัว” ซึ่งเปนพระนามอันมีไวเฉพาะพระพุทธองค และเรียกลูก
กษัตริยวา “หนอพุทธางกูร” อันหมายถึง ผูที่จะไดเปนพระพุทธเจาในอนาคตขางหนาซึ่งเปนการนําเอาพระนามของ
พระศาสดาอันประเสริฐที่สุดองคหนึ่งมาใชโดยปราศจากความเคารพ เชน รัชกาลที่ 1 ซึ่งพวกเจาศักดินารุน “ร.ศ.
200” พยายามจะยกขึ้นเปนมหาราช ถึงกับไดรับคําสรรเสริญจากศักดินาดวยกันที่แตงหนังสือเทศนาจุลยุทธการวงศ
วา “พระองคเปนพงศพุทธางกูรทรงบําเพ็ญพุทธการจริยา...”
นอกจากแอบอิงพระพุทธศาสนาแลว ยังแอบอิงความเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ยึดถือกันมานานไดอยางวิจิตรพิสดารนั่น
ก็คือ การที่พวกศักดินาถือวากษัตริยเปนเทวดาตั้งแตขณะที่มีชีวิตอยู จึงสรางราชาศัพทซึ่งมีไวใชเฉพาะกับกษัตริย
และราชนิกุลทั้งหลาย และมีการตั้งกฎเกณฑตางๆอันทําใหแลดูวากษัตริยสูงสงกวามนุษยทั่วไป เชน หามมองดู
กษัตริย โดยอางวาถามนุษยมองดูพระเจาก็เหมือนมองพระอาทิตย กษัตริยจะไมยอมใหเทาเหยียบแผนดินโดยไมใส
รองเทา โดยอางวาเทาของเทวดายอมรอน ถาเหยียบแผนดินแลวไฟจะไหมโลก2 นอกจากนี้ยังหามแตะตองกษัตริย3
ผูที่มีสิทธิ์ถูกตองตัวกษัตริยไดจึงมีแตชางตัดผมและนางบําเรอของกษัตริยเทานั้น
ไมเพียงเทานี้เจาศักดินายังแตงตํานานโกหกพกลม โดยอางกฎแหงกรรมมาบิดเบือนวา พวกตนมีบุญญาธิการสูงสง
หาผูใดเปรียบเปรยมิได ชาตินี้จึงเกิดมาไดเปนเจาแผนดิน ลูกทานหลานเธอจึงไดเสวยสุขบรมสุข มีอํานาจเหนือหัว
ผูคนทั้งหลาย แทที่จริงพระพุทธองคไมเคยตรัสเชนนั้นเลย ดังจะเห็นไดจากยักคัญสูตรที่พระพุทธองคทรงย้ําวา
คนเราแตกตางกันเพราะการกระทําหาใชชาติกําเนิด ในพระสูตรดังกลาวไดกลาวถึงกําเนิดของกษัตริยโดยไม
ยอมรับเลยวา กษัตริยนั้นมีบุญมากกวาผูอื่นแตอยางใด

1. กรมพระยาดํารงราชานุภาพ “เรื่องการปกครองของประเทศสยามโบราณ” หนังสืออานประกอบคําบรรยายวิชาพื้นฐานอารยธรรมไทย


(มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร) หนา 54
2. ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ”สถาบันกษัตริย” (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2523) หนา 14-23
3. เรื่องเดิม หนา 14

 
ความในใจของผูเขียน

ผูเขียนขอเรียนชี้แจงไวเปนปฐม ณ ที่นี้วา จุดเริ่มตนของการเขียน หาไดมีเจตนาที่จะลบหลูพระบรมเดชานุภาพของ


องค พ ระมหากษั ต ริ ย ร าชวงศ จั ก รี แ ต อ ย า งใดไม หากแต อ ยู บ นพื้ น ฐานความต อ งการเป ด เผยข อ เท็ จ จริ ง ทาง
ประวัติศาสตรที่ผูเขียนไดศึกษาคนควาดวยความสํานึกที่รุมรอน และตระหนักตอหนาที่ของนักประวัติศาสตรที่
เคารพความจริงคนหนึ่ง และดวยเหตุผลที่วา “ขอเท็จจริง” เปนสัจธรรมที่มีความเที่ยงตรง มันจึงไดปรากฏคุณคา
และพระเกียรติอยางตรงไปตรงมาและแจมชัดในตัวมันเอง ดังนั้นความกระทบกระเทือนอันใดที่มีจึงหาใชเจตนาใน
ขอเขียนของขาพเจาแตอยางใดไม แตเปนเพราะขอเท็จจริงในประวัติศาสตรนั้นเอง
ขอเท็จจริงเหลานี้เปนแสงสวางอันมีคุณคาและดูเหมือนจะมีคุณคายิ่งโดยเฉพาะในยุค 200 ปแหงกรุงรัตนโกสินทร
ที่ผูคนสวนหนึ่งพยายามจะเชิดชูพระเกียรติกษัตริยไทยใหสูงสงเกินจริง ราวกับหวั่นเกรงวา ขอเท็จจริงอันเลวราย
ของราชวงศจักรีที่ปกปดกันมาชานานจะรั่วหลุดไปถึงสายตาปวงชน อันจะนําไปสูความเสื่อมศรัทธาครั้งใหญและ
จะยังความวิบัติแกราชวงศจักรี โดยที่แมแตสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใดๆก็ไมอาจคุมครองได
ทานผูอานที่เคารพ ประวัติศาสตรไทยที่เราทานเลาเรียนกันมามิไดสะทอนความเปนจริงแหงการดํารงชีพของคน
ไทยและความเปนจริงของเหตุการณในแผนดินอยางตรงไปตรงมา เนื้อหาสวนใหญกลับเปนเรื่องบิดเบือนและปดหู
ปดตาไมใหผูคนรูความจริง ประวัติศาสตรไทยกลายเปนตํานานของการสืบสันตติวงศ เปนการยกยองกษัตริยใหผิด
มนุษยธรรมดา ทําใหผูคนหลงเชื่อวา กษัตริยคือเทพเจาอยูเหนือคําตําหนิใดๆของมนุษย เมื่อกลาวถึงกษัตริยจะมีแต
สวนดีงามและการยกยองสรรเสริญเทานั้น
ผูเขียนมีความเห็นอยางบริสุทธิ์ใจวา กิจวัตรของกษัตริยและราชนิกุลทั้งหลายก็เฉกเชนคนสามัญ ที่ประกอบคละกัน
ไปดวยสวนที่ดีงามควรแกการสรรเสริญ กับสวนที่เลวรายควรแกการตําหนิวิจารณ ฉะนั้นการที่มีแตสรรเสริญฝาย
เดียวและหามเอยถึงสวนที่เสียแมแตนอยเพื่อการปรับปรุงสรางสรรคจึงเปนหนทางแหงการเสื่อมถอยมากกวาเปน
เรื่องดี โดยเฉพาะในยุคปจจุบันที่การศึกษา ความรับรูของมนุษยไดกาวไปไกลมาก อีกทั้งสังคมก็มีสิทธิเสรีภาพ ขอ
ยึ ด ปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ กษั ต ริ ย จึ ง เป น เรื่ อ งล า หลั ง อย า งยิ่ ง เพราะการศึ ก ษาค น คว า ทํ า ให เ ราทราบข อ เท็ จ จริ ง ทาง
ประวัติศาสตรวาใครถูกผิด ใครดีชั่ว อีกประการหนึ่งปุถุชนวิสัยมีความอยากรูอยากเห็น ยิ่งบิดเบือนมากเสียงซุบซิบ
ก็จะหนาหูขึ้น ดังเชนในยุคปจจุบันที่ผูคนวงการตางๆนําเรื่องในราชสํานักมาเลาลือจนกลายเปนเรื่องตลกหลัง
อาหารอยางกวางขวาง การโปปดมดเท็จหลอกลวงผูคนเพื่อหวังกดหัวประชาชนใหรับใชพวกตนอยางงมงายดวย
ความสัตยซื่อมานับรอยๆปนั้น มาบัดนี้จะเปนหนาที่ของประวัติศาสตรที่จะไดเปดใหเห็นโฉมหนาอันแทจริงของ
เจาศักดินาไทย โดยเฉพาะกษัตริยราชวงศจักรีใหประจักษชัดตอประชาชนไทย
ณ ที่นี้ผูเขียนใครขอขอบคุณนักคิดนักเขียน นักโบราณคดีและนักประวัติศาสตรทั้งคนไทยและคนตางชาติที่กลา
หาญและซื่อสัตยตอขอเท็จจริง พวกเขาไดเขียนบันทึกและเผยโฉมหนาที่แทจริงของประวัติศาสตรออกมา จน
ผูเขียนสามารถนํามาเรียบเรียงเปนหนังสือเลมนี้ ผูเขียนมีความเชื่ออยางเต็มเปยมวา “ความเปนจริง ยอมลอยขึ้น
เหนือน้ํา เหนือฟาเสมอ”
สารบัญ

หนาที่
พระเจาตาก : กษัตริยผูกอบกูบานเมือง 1
รัชกาลที่ 1 : ผูสถาปนาราชวงศจักรีดวยชีวิตของกษัตริยผูกูชาติ 3
รัชกาลที่ 2 : กษัตริยกวีผูอื้อฉาวเรื่องโลกีย 8
รัชกาลที่ 3 : กษัตริยผูฆาพระราชบิดา 9
รัชกาลที่ 4 : กษัตริยอดีตภิกษุ เฒาหัวงูผูไมอิ่มในกามคุณ 10
รัชกาลที่ 5 : กษัตริยผูพัฒนาประเทศเพียงเพื่อค้ําบัลลังก 17
รัชกาลที่ 6 : กษัตริยผูหลงระเริงอยูกับวรรณกรรมและการละคร 22
รัชกาลที่ 7 : กษัตริยผูไมอาจรั้งประชาธิปไตย 25
รัชกาลที่ 8 : กษัตริยหนุม ผูเปนเหยื่อของความทะเยอทะยาน 28
รัชกาลที่ 9 : คนบาปในคราบนักบุญ 39
บทความพิเศษ : โพธิอธิษฐาน 74
บทความพิเศษ : ครอบครัวคุณธรรม 75
พระเจาตาก : กษัตริยผูกอบกูบ านเมือง

หลังกรุงศรีอยุธยาเสียกรุงแกพมาในป 2310 พระเจาตากสินไดรวบรวมผูคนและนักรบตอสูขับไลพมาอยางเด็ดเดี่ยว


จนกอบกูบานเมืองไดสําเร็จ จากนั้นก็ใชเวลาอีก 15 ปกรําศึกสงครามรวบรวมหัวเมืองตางๆที่กระจัดกระจาย ขณะ
เดียวก็ตองทําศึกใหญกับพมาหลายครั้ง จนสรางความเปนปกแผนแกบานเมือง พรอมกับทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา
อยางขนานใหญ พระองคเปนพุทธบริษัทที่ดี เมื่อวางเวนจากราชการแผนดินพระองคจะไปทรงศีล บําเพ็ญพระ
กรรมฐานที่วัดบางยี่เรือเปนนิจ1
ตอมาในป 2323 ทางเมืองเขมรเกิดกบฏขึ้นโดยการยุยง แทรกแซงของญวนฝายองเชียงสือ เปนการหากําลังและ
เสบียงขององเชียงสือ เพื่อทําสงครามแยงชิงความเปนใหญกับญวนฝายราชวงศไตเชิง (เล) ขณะเดียวกันในกรุง
ธนบุรีเอง องเชียงชุน (พระยาราชาเศรษฐี) ซึ่งเขามาสวามิภักดิ์ตอพระเจาตาก ไดกอกบฏขึ้นในเดือนอายป 2324
หลังจากทําการปราบปรามกบฏสําเร็จในเดือนยี่ พระเจาตากไดพิจารณาเหตุการณตางๆ และทรงตัดสินพระทัยให
กองทัพไทยยกไปตีเมืองเขมรและไปรับมือญวนใหเด็ดขาดลงไป จึงทรงแตงตั้งสมเด็จเจาฟากรมขุนอินทรพิทักษ
พระมหาอุปราช องครัชทายาทเปนแมทัพใหญ2 เจาพระยาจักรี (ดวง)3 เจาพระยานครสวรรค เจาพระยาสาศรี (บุญ
มา นองชายเจาพระยาจักรี) เปนแมทัพรองๆลงมา ในครั้งนั้นแมทัพใหญพยายามรุดหนาไปตามพระราชโองการ แต
ติดขัดที่แมทัพรองบางนายพยายามยับยั้ง เพื่อคอยฟงเหตุการณทางกรุงธนบุรี สวนทางญวนซึ่งไมตองการเผชิญศึก
2 ดาน ทั้งไทยและญวนราชวงศเล ไดแตงทูตมาเจรจาลับกับแมทัพรองฝายไทย ทางแมทัพรองตกลงจะชวยเหลืออง
เชียงสือในอนาคต หากงานที่เตรียมไวสําเร็จทางญวนไดทําตามสัญญาดวยการลอมกองทัพมหาอุปราชองครัช
ทายาทอยางหนาแนน เปดโอกาสใหแมทัพรองฝายไทยยกกําลังกลับกรุงธนบุรี4
เหตุการณในกรุงธนบุรี เกิดมีผูยุยงชาวกรุงเกาใหเกิดความเขาใจผิดในพระเจาตากและชักชวนกบฏยอยๆขึ้น
จากนั้นก็ยกพลมาลอมยิงพระนคร ขณะเดียวกันภายในกรุงธนบุรีเองก็มีคนกอจลาจลขึ้นรับกับกบฏ พระเจาตาก
ทรงบัญชาการรบจนถึงรุงเชา จึงทราบวาพวกกบฏเปนคนไทยดวยกันทั้งสิ้นก็สลดสังเวชใจ เพราะพระทัยทรงตั้งอยู
ในธรรมปฏิบัติมุงโพธิญาณเปนสําคัญ และทรงเห็นวาหากการเปลี่ยนแปลงอํานาจนั้นไมกอความเดือดรอนแกชาว
ไทย พระองคจะทรงหลีกทางใหพวกกบฏจึงทูลใหออกบวชสะเดาะเคราะหสัก 3 เดือนแลวคอยกลับสูราชบัลลังก
ขณะนั้นพระยาสรรคบุรี พระยารามัญวงศ ขาราชการชั้นผูใหญที่ยังอยูในกรุงและมีความภักดีตอพระเจาตากเห็น
เปนการคับขัน จําตองผอนคลายไปตามสถานการณ
หลังจากบวชได 12 วัน พระยาสุริยอภัยหลานเจาพระยาจักรียกทัพมาโดยมิไดรับพระบรมราชานุญาต เกิดการรบพุง
กับกําลังของกรุงธนบุรีและไดรับชัยชนะ จากนั้นอีก 3 วันคือ เขาวันที่ 6 เมษายน เจาพระยาจักรี (ดวง) ซึ่งเลี่ยงทัพ
จากสงครามเขมรมาถึงกรุงธนบุรี ไดมีการสอบถามความเห็นกัน ขาราชการชั้นผูใหญที่ยังจงรักภักดีและเชื่อใน
ปรีชาสามารถของพระเจาตากตางยืนยันใหอัญเชิญพระองคมาครองราชยตอไป แตขาราชการเหลานี้กลับถูกคุมตัว
ไปประหารชีวิต เชน เจาพระยานครราชสีมา (บุญคง ตนตระกูลกาญจนาคม), พระยาสวรรค (ตนตระกูลแพงสภา),
พระยาพิชัยดาบหัก (ตนตระกูลพิชัยกุลและวิชัยขัทคะ), พระยารามัญวงศ (ตนตระกูลศรีเพ็ญ) เปนตน จํานวนกวา
50 นาย

1
พระเจาตากก็ถูกปลงพระชนมทั้งที่ทรงเพศพระภิกษุในวันนั้นเอง ณ พระวิหารที่ประทับในวัดแจงและอัญเชิญพระ
ศพไปฝงที่วัดอินทรารามบางยี่เรือ ใกลตลาดพลู คลองบางหลวง สวนราชวงศที่เปนชายและเจริญวัยทั้งหมดถูกจับ
ปลงพระชนมหมด นอกนั้นใหถอดพระยศ แมกระทั่งสมเด็จพระราชินีและสมเด็จพระนานาง เปนการถอดอยางที่
ไมเคยมีมา5 เมื่อขาวนี้ทราบไปถึงเจาพระยาอินทวงศา อัครมหาเสนาบดีฝายกลาโหมซึ่งตั้งบัญชาการทัพอยูที่ปาก
พระใกลเมืองถลางก็ไดฆาตัวตายตามเสด็จ เพราะไมยอมเปนขาคนอื่น
เมื่อขาวการปลงพระชนมพระเจาตากแพรออกไป เมืองตะนาวศรีและเมืองมะริดอันเปนเมืองสําคัญทางตะวันตกก็
ตกไปเปนของพมาในปนั้นเอง และเนื่องจากพันธะสัญญาที่ทําไวกับญวนอยางลับๆ ไทยจึงตองชวยญวนฝายอง
เชียงสือรบกับญวนฝายราชวงศเลถึง 2 ครั้ง รวมทั้งการชวยอาวุธยุทธภัณฑอีกนับไมถวน พอครั้นญวนฝายอง
เชียงสือมีกําลังกลาแข็งขึ้น ไทยกลับตองเสียเมืองพุทไธมาศและผลประโยชนอีกมากมายแกญวนไป6
ดวยความเหิมเกริมทะยานอยากไดอํานาจสูงสุด เจาพระยาจักรีจึงเปนกบฏ ทรยศตอพระเจาตาก กษัตริยผูกูชาติไทย
กระทําการเขนฆาลางโคตรอยางโหดเหี้ยม อํามหิตที่สุด ซ้ํายังเสริมแตงใสรายพระเจาตากวาวิปลาสบาง7 กระทําการ
มิบังควรแกสงฆบาง วิกลจริตในการบริหารราชการบาง8 จากนั้นก็ตั้งตนเปนกษัตริยองคใหม และเริ่มสราง
พระราชวังใหมที่ฟากตะวันออกของแมน้ําเจาพระยาอันเปนจุดเริ่มตนของการสถาปนาราชวงศใหม “ราชวงศจักรี”
และดวยความโหดรายบนเลือดเนื้อและชีวิตของกษัตริยในเพศพระภิกษุ กษัตริยองคตอๆมาในราชวงศจักรีจึงเต็ม
ไปดวยความบาดหมาง แกงแยงชิงราชสมบัติกันทุกรัชกาล ลูกฆาพอ พี่ฆานอง นองฆาพี่อยางไมวางเวนแมกระทั่ง
ในรัชกาลองคปจจุบัน

1. กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ประชุมพงศาวดารเลม 3 เรื่องไทยรบพมา


2. ตามพงศาวดารกลาววา “ใหพระยาจักรีเปนแมทัพใหญ” (ตามประเพณีสงคราม กษัตริยจะเปนจอมทัพและจะแตงตั้งผูที่ไววางพระทัย
ที่สุดเปนแมทัพใหญ ซึ่งนาจะเปนองครัชทายาทมากกวาพระยาจักรี...ผูเขียน)
3. ตามพงศาวดารบางฉบับอางวาไดยศเปน “เจาพระยามหากษัตริยศึก” ชื่อนี้เกิดเปนปญหาขัดแยงกันจนถึงปจจุบัน
4. นาย ตันหยง ทหารปนใหญ พงศาวดารญวน เลม 2 หนา 378-382
5. กรมศิลปากร หนังสือไทยตองจํา และลําดับสกุลเกา ภาค 4 พิมพครั้งที่ 2
6. นาย ตันหยง ทหารปนใหญ พงศาวดารญวนเลม 2 หนา 294, 518 และกรมศิลปากร หนังสือไทยตองจํา พิมพครั้งที่ 2 หนา 113
7. สมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ประชุมพงศาวดาร เลม 3 เรื่องไทยรบพมา
8. ประเด็นวิกลจริต อาจารย ขจร สุขพานิช ไดเคยสัมภาษณในวิทยาสารปที่ 22 ฉบับที่ 32, 22 สิงหาคม 2514 กลาววา “มีหลักฐานเปน
เอกสารภาษาฝรั่งเศส ซึ่งบาทหลวงในสมัยนั้นเขียนไววา ทานเปนบางครั้งบางคราวเทานั้น เชน เมื่อครั้งหนึ่งรับสั่งใหบาทหลวงเขาเฝา แลว
ตรัสวา “นี่แก ฉันจะเหาะแลวนะ” บาทหลวงทูลวา “ไมเชื่อ” ทานก็วา “ฮื้อ ไอนี่ ขัดคอซะเรื่อย” (หัวเราะ) แลวก็ไลออกไปไมไดเฆี่ยนตีอะไร
คือบาทั้ง 24 ชั่วโมงนั้นไมใช แคเปนบางครั้ง นี่เปนขอเท็จจริง แตผมไมเขียน ถาเขียนแลวเปนผลรายตออนาคต ผมไมเขียน”

2
รัชกาลที่ 1 : ผูสถาปนาราชวงศจักรีดวยชีวิตของกษัตริยผ ูกูชาติ

เมื่อรัชกาลที่ 1 ยายเมืองหลวงมาอยูที่กรุงเทพแลว ก็พยายามทุกวิถีทางที่จะทําใหผูอื่นเขาใจวาตนเองไมมี


ขอบกพรอง ไมเคยกระทําสิ่งใดผิดพลาด เปนเอกบุรุษที่อุดมสมบูรณไปดวยบุญญาบารมีและบริสุทธิ์กวาผูอื่นทั้ง
แผนดิน เพื่อใหสมกับที่ตนเองไดเปนพระโพธิสัตวและเทวดาแลว โดยเสแสรงทําเปนลืมไปวา ในโลกแหงความ
เปนจริงพระองคมิไดวิเศษกวาบุคคลอื่น ตรงที่เปนมนุษยเดินดินกินขาวแกงเหมือนกัน และที่สําคัญทําเปนจําไมได
วากอนหนานี้พระองคก็เปนสามัญชน ที่มิไดมีเลือดสีน้ําเงิน แมพอจะไดชื่อวาเปนขุนนางก็จัดอยูในชั้นปลายแถว
แมก็เปนเพียงหญิงเชื้อสายจีนพอคา1 มิไดเลิศเลอไปกวาประชาชนสวนใหญที่ตนเหยียดหยามเปนไพรราบพลเลว
เลย
จุดบอดที่รัชกาลที่ 1 เห็นวาสรางความอัปยศใหแกตนเองมากคือ ความปราชัยในการรบกับอะแซหวุนกี้ที่พิษณุโลก
ในรัชกาลพระเจาตากสิน การรบคราวนั้น ศาสตราจารย ขจร สุขพานิช สรุปจากพงศาวดารที่แตงโดย Sir Arthur
Phayre และจากจดหมายเหตุความทรงจําของกรมหลวงนรินทรเทวี (นองสาวรัชกาลที่ 1) เอง ไดความวา แมอะ
แซหวุนกี้รบชนะเมืองพิษณุโลกที่มีรัชกาลที่ 1 เปนแมทัพฝายไทย แตก็ถูกกองทัพของพระเจาตากสินหนุนเนื่อง
ขึ้นมาโจมตีจนแตกพายยับเยิน จดหมายเหตุความทรงจํากรมหลวงนรินทรเทวี (เพิ่งถูกคนพบสมัย รัชกาลที่ 5)
บันทึกวาฝายไทยสามารถ “จับไดพมาแมทัพใหญ ไดพมาหลายหมื่น พมาแตกเลิกทัพหนีไป” หลักฐานฝายพมา
ปรากฏวา อะแซหวุนกี้ถึงกับถูกกษัตริยพมาถอดจากยศ “หวุนกี้” และเนรเทศไปอยูที่เมืองจักกายดวยความอัปยศอด
สู2 ทั้งที่อะแซหวุนกี้เคยไดรับการยกยองในฐานะวีรบุรุษที่รบชนะกองทัพจีนมาแลวก็ตาม
หลังจากที่ปราบดาภิเษกสําเร็จและปลงพระชนมพระเจาตากสินรวมทั้งขุนนางฝายตรงขามไปกวา 50 ชีวิตแลว ครา
ใดที่ระลึกถึงเหตุการณที่เมืองพิษณุโลก หัวใจก็เหมือนถูกชโลมดวยยาพิษ ใจหนึ่งนั้นแสนจะอัปยศอดสูที่ตองลา
ทัพหนีพมา อีกดานก็ริษยาพระเจาตากสินที่สามารถปราบกองทัพพมาที่มีขนาดใหญที่สุดในสมัยกรุงธนบุรี และกํา
หราบอะแซหวุนกี้ที่เอาชนะทั้งกองทัพจีนและพระองคมาแลว พระองคจึงใชเลหเพทุบายบังคับใหอาลักษณแกไข
ประวัติศาสตรทุกฉบับ บิดเบือนวาอะแซหวุนกี้มิไดรบกับพระเจาตากสิน แตตองถอยทัพไป เพราะกษัตริยพมามี
หมายเรียกตัวกลับบาน3 พงศาวดารฉบับราชหัตถเลขาถึงกับบิดเบือนวา พออะแซหวุนกี้กลับพมาก็ไดรับบําเหน็จ
รางวัลจากกษัตริยพมาในฐานะที่ปราบหัวเมืองเหนือของไทยไดสําเร็จ4 เพื่อใหประชาชนเขาใจวาอะแซหวุนกี้นั้น
มิใชยอยๆ หาไมแลวที่ไหนเลยจะเอาชนะรัชกาลที่ 1 ได จึงมิใชเรื่องอับอายเลยที่รัชกาลที่ 1 รบแพอะแซหวุนกี้
พงศาวดารฉบับพระนพรัตนถึงกับบันทึกไวอยางนาขบขันวา รัชกาลที่ 1 ไดสําแดงความเปนเสนาธิการชั้นเซียน
เหยียบเมฆ ดวยการแตงอุบายใหเอาพิณพาทยขึ้นตีบนกําแพงลวงพมาเหมือนขงเบง ตีขิมลวงสุมาอี้ในเรื่องสามกก
แลวรัชกาลที่ 1 ก็ชิงโอกาสตีแหกทัพพมาที่ลอมเมืองพิษณุโลกหนีออกมาได ก็ขนาดเรื่องใหญเชนนี้รัชกาลที่ 1 ยัง
กลาใหอาลักษณบิดเบือนกันถึงเพียงนี้ ทํานองเดียวกับเหตุการณที่อะแซหวุนกี้ขอดูตัวเจาพระยาจักรีนั้นก็กลาวได
วาเปนความเท็จอีกเชนกัน เพราะจะมีแมทัพชาติไหนกันที่จะขอดูตัวแมทัพอีกฝายหนึ่งเพื่อสรรเสริญวา เกงกาจ
สามารถเปนเยี่ยม เนื่องจากการทําเชนนี้ยอมทําลายขวัญสูรบของทหารฝายตนใหพังพินทไป อาจารย นิธิ เอียวศรี
วงศ วิจารณไวชัดเจนวา

3
“ถาจะมองจากกฎหมายของไทยและพมาแลว ถาพระยาจักรีและอะแซหวุนกี้เจรจากันดังที่ศักดินาจักรีอวดอาง
แลว ทั้ง 2 ฝายนาจะมีความผิดถึงขั้นขบถเลยทีเดียว5 ทั้งนี้เปนไปตามกฎมณเฑียรบาล กฎหมายตราสามดวงที่วา
อนึ่ง ผูใดไปคบหาxxxเมืองxxxxราชทูตเจรจาโทษถึงตาย”
สําหรับเรื่องที่มีผูรูเห็นมากมาย รัชกาลที่ 1 ยังกลาใชใหอาลักษณแตงพงศาวดารกลับดําใหเปนขาว ดังนั้นสิ่งที่เปน
เรื่องสวนตัวไมมีผูอื่นรูเห็นดวย เชน เรื่องของซินแสหัวรอทํานายวา พระยาจักรีกับพระยาตากสินจะไดเปนกษัตริย
นั้นจึงวินิจฉัยไดไมยากวา เปนสิ่งที่รัชกาลที่ 1 เสกสรรปนแตงขึ้นมาเอง ซึ่งพวกศักดินาจักรีจะอางไมไดวาเรื่องนี้
เกิดจากคําเลาลือของคนรุนหลัง เพราะรัชกาลที่ 1 เองนั่นแหละที่เปนผูออกปากเลาความใหเจาเวียงจันทรกับพระยา
นครศรีธรรมราชฟงในวัดพระแกว จนกระทั่งมีผูไดยินไดฟงดวยกันหลายคน6 การที่รัชกาลที่ 1 กลาโปปดมดเท็จถึง
เพียงนี้ก็เพราะพระองคกําลังอยูบนบัลลังกเลือดของกษัตริยองคกอน จึงตองลอลวงใหผูอื่นเขาใจวา พระองคมีพระ
ปรีชาสามารถเปนเลิศ มีปญญาอภินิหารกวาผูอื่นในแผนดินรวมทั้งพระเจาตากสินดวย นี่เปนการพยายามสราง
เหตุผลเพื่อรับรองวา การปราบดาภิเษกเปนกษัตริยองคใหมเปนสิ่งที่เหมาะสมที่สุด
ภายในจิตใจลึกๆของ 2 พี่นองคือ รัชกาลที่ 1 กับกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท มีทั้งความพยาบาทชิงชังและ
ความไมพอใจในตัวพระเจาตากสินไมนอย ทั้งที่พระเจาตากสินไดทํานุบํารุงใหพี่นองคูนี้มีอํานาจวาสนากวาขุนนาง
ทั้งหลายในกรุงธนบุรี ที่เปนเชนนี้เนื่องจากวา กรมพระราชวังบวรมหาสุรสีหนาถนั้น เคยถูกพระเจาตากสินโบยถึง
60 ทีเพราะมีพฤติกรรมซุมซาม คลานเขาถึงตัวพระเจาตากสินขณะกรรมฐานอยูที่ตําหนักแพกับสมเด็จพระวันรัตน
(ทองอยู) โดยมิไดตรัสเรียก7 กรมพระราชวังบวรมหาสุรสีหนาถจึงมีจิตอาฆาตแคนเปนหนักหนา สวนรัชกาลที่ 1 ก็
เคยถูกพระเจาตากสินโบยถึง 2 ครั้ง คราวแรกในป 2313 เพราะรัชกาลที่ 1 รบกับเจาพระฝางดวยความยอหยอนไม
สมกับที่เปนขุนนางใหญจึงถูกโบย 30 ที8 และในป 2318 รัชกาลที่ 1 ไดรับคําสั่งใหทําเมรุเผาชนนีของพระเจาตาก
สิน แตเมรุนั้นถูกฝนชะเอากระดาษปดทองที่ปดเมรุรวงหลุดลงหมดสิ้น พระเจาตากจึงวา “เจาไมเอาใจใสใน
ราชการ ทํามักงายใหเมรุเปนเชนนี้ดีแลวหรือ” ทําใหรัชกาลที่ 1 ถูกโบยอีก 50 ที
ความสัมพันธระหวางรัชกาลที่ 1 กับพระเจาตากสินมิไดสิ้นสุดลงเพียงเทานี้ รัชกาลที่ 1 ไดถวายบุตรสาวเปนสนม
ของพระเจาตากสินซึ่ง ศาสตราจารย ขจร สุขพานิช ตั้งขอสังเกตวา สนมพระเจาตากสินผูหนึ่งที่ถูกประหารชีวิต
เพราะมีชูก็นาจะเปนบุตรสาวของรัชกาลที่ 1 นี่เอง9 ดวยเหตุนี้รัชกาลที่ 1 จึงเคียดแคนพระเจาตากสินมาก เมื่อมี
โอกาสคราใดก็จะประณามอยางตรงไปตรงมา คราวหนึ่งถึงกับประณามไวในสารตราตั้งเจาพระยานครศรีธรรมราช
เมื่อป 2327 เพื่อประจานพระเจาตากสินวาเปนผูที่ “กอรปไปดวย โมหะ โลภะ”10
ขอเท็จจริงทางประวัติศาสตรยืนยันวา พระเจาตากสินเปนผูนําในการรวบรวมผูคนที่แตกระส่ําระสาย ในภาวะที่
บานเมืองไมมีขื่อแป อดอยาก และพมาเขากวาดตอนขมเหงผูคนไปทั่ว รวบรวมกําลังทีละนอยรบกับพมาและคน
ไทยขายชาติบางกลุม รบกันหลายสิบครั้ง ผลัดกันแพผลัดกันชนะ จนสุดทายมีกําลังปราบพวกพมาและชิงกรุงศรี
อยุธยากลับคืนมาได จากนั้นก็ปราบกกตางๆจนสามารถรวบรวมเปนประเทศไดอีกครั้งหนึ่ง นี่ยอมหมายความวา
พระเจาตากสินตองมีบุคลิกของความเปนผูนํา มีลักษณะรักชาติ กอรปดวยจิตใจที่กลาหาญดีงาม จึงจะสามารถเปน
ศูนยรวมของชาวไทยในภาวะบานแตกสาแหรกขาด จนสามารถนําชาวไทยไปกอบกูบานเมืองไดสําเร็จในชวงเวลา
เพียงปเดียว

4
นอกจากนั้นหลักฐานทางประวัติศาสตร เชน เอกสารของบาทหลวงสมัยนั้นกลาววา พระเจาตากมีความเปนอยูอยาง
งายๆ แมแตปราสาทราชวังหลังเดียวก็ไมปรากฏขึ้นในกรุงธนบุรี อนุสรณที่พระเจาตากสินสรางไวเปนเพียงทอง
พระโรงที่พระราชวังเดิมซึ่งดูๆไปก็ไมวิจิตรพิสดารไปกวาโบสถขนาดยอมหลังหนึ่ง จึงเปนหนาที่ของเราที่จะ
วินิจฉัยเอาเองวา ใครกันแนที่กอรปดวยโลภะ โมหะ
หลังจากรัชกาลที่ 1 ไดผลิตผลงานชิ้นเอกดวยการปลอมแปลงประวัติศาสตรของชาติแลว พระองคก็หันมาฟนฟู
พุทธศาสนาครั้งใหญ โดยการแสดงตนเปนพระโพธิสัตวผูรูแจง ดวยการกลาวรายคณะสงฆไทยอยางสาดเสียเทเสีย
เชน หาวา “ทั้งสมณะและสมเณรมิไดรักษาพระจตุบาริยสุทธิศีล”11 บาง “มิไดกระทําตามพระวินัยปรนิบัติเห็นแตจะ
เลี้ยงชีวิตผิดธรรม”12 บาง นอกจากนี้ยังโมเมวาพระภิกษุ “มิไดระวังตักเตือนสั่งสอนกํากับวากลาวกัน”13 บาง ทั้งๆที่
สมัยพระเจาตากสินเพิ่งมีการฟนฟูพุทธศาสนาหลังภาวะสงครามครั้งใหญ และพระองคทรงสงเสริมการปฏิบัติ
ธรรมอยางกวางขวาง ดวยพระองคเองก็ทรงมั่นในวิปสสนาธุระ สภาพของสงฆจึงอยูในกรอบพระธรรมวินัยได
เครงครัด ดังนั้นการกลาวรายจึงไมอาจมองเปนอื่นไปได นอกจากการสรางเรื่องเพื่อหาชองทางเขาไปควบคุมศาสน
จักร เพื่อเสริมอํานาจการครองราชยของพระองคใหเขมแข็งขึ้น จึงมีการควบคุมจิตสํานึกของสังคมดวยการบีบ
บั ง คั บ พระภิ ก ษุ ส งฆ ส ว นใหญ ไม ใ ห มี โ อกาสคั ด ค า นการนํ า เอาพระพุ ท ธศาสนาไปกระทํ า ปู ยี่ ปู ยํา เพื่ อ รั บ ใช
ผลประโยชนของกษัตริยจักรี
พระมหากรุณาธิคุณของพระมหาราชองคนี้ในดานการฟนฟูพุทธศาสนาคือ ใหตํารวจวังไปเอาสมเด็จพระวันรัต
(ทองอยู) วัดบางหวาใหญ ซึ่งเปนพระอาจารยวิปสสนาธุระของพระเจาตากสินและเปนพระอาจารยของลูกฟาฉิม
(รัชกาลที่ 2) ใหสึกออกแลวลงพระราชอาญาเฆี่ยน 100 ที และมีดํารัสใหประหารชีวิตเสีย14 เพราะแคนพระทัยมา
นานแตครั้งสมเด็จพระวันรัตเคยทูลใหพระเจาตากสินลงโทษ พระองคเคราะหดีที่ลูกฟาฉิมทรงทูลขอไวชีวิต
อาจารยของตนไว พระแกๆที่เครงในธรรมจึงไดรอดชีวิตมาอยางหวุดหวิด
การที่พระองคทรงบังอาจลงโทษดวยการทํารายพระสงฆชราผูมั่นในโลกุตรธรรมอยางรุนแรง นับเปนพฤติกรรมที่
ชั่วรายมาก อันชาวบานสามัญชนถือเปนบาปมหันต ไมนอยกวาการฆาบิดามารดาผูบังเกิดเกลา แตดวยโมหะจริตที่
พยาบาทอาฆาตมานาน และดวยอํานาจอันยิ่งใหญในแผนดิน ทุกสิ่งที่พระองคกระทําจึงเปนความถูกตองชอบธรรม
ทุกประการ
แตเดิมนั้นกษัตริยจะควบคุมสงฆไวเพียงระดับหนึ่ง แตในรัชกาลนี้การควบคุมกลับเขมงวดกวาเดิม กษัตริยจะให
ขุนนางในกรมสังฆการีมีอํานาจปกครองสงฆและเปนผูคัดเถระแตละรูปวาควรอยูในสมณะศักดิ์ขั้นใด นอกจากนี้
ยังใหกรมสังฆการีดูแลความประพฤติของสงฆและคอยตัดสินปญหาเวลาที่พระภิกษุตองอธิกรณ โดยจะเปนทั้ง
อัยการและตุลาการ สิ่งนี้ทําใหกษัตริยและกลุมคนดังกลาวมีอํานาจเหนือพระ15
ในที่สุดคณะสงฆไทยก็ตองตกอยูภายใตภาวะที่นาอเนจอนาถใจเพราะถูกครอบงําโดยพวกศักดินาจักรี อันเปน
ฆราวาสซึ่งมีเพศที่ต่ําทรามกวา บางครั้งถึงกับถูกควบคุมโดยพวกลักเพศ เชนคราวหนึ่งคณะสงฆทั้งอาณาจักร ตอง
ตกอยูใตการปกครองของกรมหลวงรักษรณเรศ โอรสของรัชกาลที่ 1 ซึ่งเปนพวกลักเพศ ชอบมั่วสุมกับเด็กหนุมๆ
แตไดรับการมอบหมายจากกษัตริยใหบังคับบัญชากรมสังฆการี

5
แมวารัชกาลที่ 1 รวมทั้งศักดินาอื่นจะถือตนวาเปนพระโพธิสัตวและหนอพุทธางกูร จนกาวกายเขาไปในศาสนจักร
อยางนาเกลียดก็มิอาจปกปดธาตุแทที่โลภโมโทสันได พวกเขาตางก็ปดแขงปดขากันเองอุตลุต เพื่อแกงแยงอํานาจ
และผลประโยชนที่ไดมาจากหยาดเหงื่อแรงงานของประชาชนสวนใหญของประเทศ
ความขัดแยงอยางรุนแรงระหวางพวกศักดินาในรัชกาลที่ 1 เกิดขึ้นระหวางกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทหรือ
วังหนากับรัชกาลที่ 1 หรือวังหลวง 2 พี่นองซึ่งตางก็ไมยอมลดราวาศอกใหแกกันและกัน คราวหนึ่งวังหนาจะสราง
ปราสาทมียอดขึ้นประดับเกียรติยศ ทั้งที่รูวาปราสาทยอดเปนของหวงหามไวสําหรับกษัตริยเทานั้น ในป 2326 จึง
เกิดมีผูรายแปลกปลอมเขาไปในวังหนาจะฆากรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทขณะทรงบาตร บังเอิญผูราย
เหลานี้ถูกจับไดเสียกอนซึ่งก็ปรากฏวาเปนคนในวังหลวงเปนสวนใหญ16 วังหนาจึงรูวา “ที่พระองคมาทรงสราง
ปราสาทขึ้นในวังหนา เห็นจะเกินวาสนาไปจึงมีเหตุ จึงโปรดใหงดการสรางปราสาทนั้นเสีย”17
เหตุการณไดรุนแรงยิ่งขึ้นหลังจากที่วังหนาขอใหวังหลวง เพิ่มผลประโยชนจากภาษีอากรใหวังหนามากกวาเดิม แต
วังหลวงไมยินยอม วังหนาจึงโมโหหัวฟดหัวเหวี่ยง จนไมเขาเฝารัชกาลที่ 1 พอถึงป 2339 พวกวังหนาไดเห็นขุน
นางวังหลวงขนปนใหญขึ้นปอมจึงตั้งปนใหญหันไปทางวังหลวงบาง จนเกือบเกิดสงครามกลางเมือง ทําใหพี่สาว
รัชกาลที่ 1 ตองเลาโลมวังหนาใหเขาเฝา เหตุการณจึงสงบลงได18
โดยพื้นฐานแลวพวกวังหนามักดูถูกดูหมิ่นพวกวังหลวงวาไมเอาไหน สูพวกตนไมได เมื่อคราวทําสงครามที่
เชียงใหมในป 2339-2345 พวกขุนนางวังหลวงจึงถูกวังหนาซึ่งเปนแมทัพบริภาษติเตียนวา รบไมไดเรื่อง19
พอถึงป 2344 วังหนาปวยหนักดวยโรคนิ่ว อาการกําเริบจึงใหคนหามเสลี่ยงเดินรอบวังหนา แลวสาปแชงวา “ของ
ใหญของโตก็ดี ของกูสราง นานไป ใครไมใชลูกกู ถามาเปนเจาของเขาครอบครอง ขอผีสางเทวดาจงดลบันดาล
อยาใหมีความสุข”20 เพราะทั้งนี้รูอยูเต็มอกวาของเหลานั้น “ตอไปจะเปนของทานอื่น”21 ครั้นมาถึงวัดมหาธาตุ ทรง
เรียกเทียนมาจุดxxxxxมาติดที่พระแสง แลวเอาพระแสงจะแทงพระองค พระองคเจาลําดวนและพระองคเจาอินทปต
พระโอรสใหญทั้งสองเขาปลุกปล้ําแยงชิงพระแสงไปได วังหนาทรงกันแสงกับพื้นและตรัสวา “สมบัติครั้งนี้ ขาได
ทําสงครามกูแผนดินขึ้นมาไดก็เพราะขานี่แหละ ไมควรใหสมบัติตกไปไดแกลูกหลานวังหลวง ใครมีสติปญญาก็ให
เรงคิดเอาเถิด”
พอวังหนาสวรรคต พวกวังหนาจึงตั้งกองเกลี้ยกลอมหาคนที่มีวิชาความรูฝกปรืออาวุธกัน ทํานองจะเปนกบฏ โดยมี
พระองคเจาลําดวนและอินทปตเปนหัวหนา แตเปนคราวเคราะหดีของรัชกาลที่ 1 ที่ความแตกกอนจึงสามารถจับคน
เหลานี้ไปฆาจนหมดสิ้น22 ราชบังลังกของรัชกาลที่ 1 จึงยังคงตั้งอยูไดบนคราบเลือดและซากศพของหลานตนเอง
หลังจากนั้นไมนาน จะมีการประกอบราชพิธีกรรมทางศาสนา เพื่ออุทิศสวนกุศลใหกับพระอนุชารวมพระอุทร แต
รัชกาลที่ 1 ทรงไมหายกริ้วเรื่องอดีตถึงกับตรัสวา “บุญมา เขามันรักลูกยิ่งกวาแผนดิน ใหสติปญญา ใหลูกกําเริบถึง
คิดรายตอแผนดิน ผูใหญไมดี ไมอยากเผาผีเสียแลว”23 พวกเจาศักดินาไมวาจะอยูระดับสูงหรือต่ําไมวาจะเปนใน
อดีตหรือปจจุบันตางก็มีความคิดตื้นๆอยูเสมอวา “ใครก็ตามที่คิดรายตอขา เขาผูนั้นคิดรายตอแผนดิน” เพราะพวก
เขาคิดวา แกนแทของความถูกตองก็คือตัวเขานั่นเอง
จะอยางไรก็ตามเหตุการณสุดทายที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1 ซึ่งนาจะหยิบยกขึ้นมากลาวถึง เพื่อตัดสินวากษัตริยเจา
ฟาเจาแผนดินทั้งหลายนั้นมีศีลธรรมจรรยาสมกับที่ตั้งตนเองเปนเทวดาและพระโพธิสัตวหรือไม ก็คือเรื่องคาวๆ
ฉาวโฉ ที่สรางรอยดางใหกับราชสํานักรัชกาลที่ 1 ซึ่งเกิดขึ้นภายหลังจากที่เจาฟาฉิม (ซึ่งตอมาเปนรัชกาลที่ 2) เกิดมี
6
จิตปฏิพัทธกับเจาฟาบุญรอด (หลานสาวของรัชกาลที่ 1) จนถึงขั้นลักลอบเสพสังวาสกันในพระบรมมหาราชวัง
โดยไมนึกถึงขนบธรรมเนียมของปูยาตายายที่สั่งสอนใหสตรีไทยรักนวลสงวนตัว หนังสือขัตติยราชปฏิพัทธสมุด
ขอยที่พวกศักดินาบันทึกไวไดเปดเผยวา หลังจากที่เจาฟาบุญรอดทองถึง 4 เดือนความจึงแตก เพราะเรื่องอยางนี้ถึง
อยางไรก็ปดไมมิด24 เมื่อเหตุการณอันนาอับอายขายหนาของพวกเจาฟาเจาแผนดินถูกเปดเผยขึ้นมา รัชกาลที่ 1 ก็
โกรธเปนฟนเปนไฟที่หนอพุทธางกูรกระทําการอุกอาจถึงในรั้ววังหลวงซึ่งพวกศักดินาถือวาศักดิ์สิทธิ์ จึงขับไลเจา
ฟาบุญรอดออกไปจากวังหลวงทันทีที่รูเรื่อง และหามไมใหเจาฟาฉิมเขาเฝาอีกเปนเวลานาน25 นับเปนบุญของเจาฟา
ฉิมที่ไมถูกลงโทษมากกวานี้ เพราะโอรสของรัชกาลที่ 1 นี้เคยถูกราชอาญาของพอถึง 30 ป เพราะบังอาจไปหลง
สวาทพี่สาวของตนเองเขาให26

1. เปนคําอธิบายของรัชกาลที่ 4 ที่ใหไวแก เซอร จอหน เบาริ่ง ดู นิธิ เอียวศรีวงศ ประวัติศาสตรรัตนโกสินทรในพระราชพงศาวดารอยุธยา


(สถาบันไทยคดีศึกษา ธรรมศาสตร, 2523) หนา 39
2. ศาสตราจารย ขจร สุขพานิช ขอมูลประวัติศาสตรสมัยบางกอก (ภาควิชาประวัติศาสตรม.ศรีนครินทรวิโรฒน ประสานมิตร, 2518) หนา
54-57
3. เรื่องเดิม หนา 38
4. เรื่องเดิม หนา 54
5. นิธิ เอียวศรีวงศ เรื่องเดิม หนา 45
6. ดู “อภินิหารบรรพบุรุษ” (เปนสมุดขอยพบในสมัยรัชกาลที่ 7) อินทุจันทรยง เรียบเรียง (ประพันธสาสน, 2517-2520) หนา 30
7. เรื่องเดิม หนา 56-58
8. เรื่องเดิม หนา 49
9. ขจร สุขพานิช เรื่องเดิม หนา 63
10. นิธิ เอียวศรีวงศ เรื่องเดิม หนา 43
11. “กฎพระสงฆ” กฎหมายตราสามดวง เลม 4 (คุรุสภา, 2505)
12. เรื่องเดิม หนา 193
13. เรื่องเดิม หนา 178
14. ประกอบ โชประการ, ประยุทธ สิทธิพันธ, สมบูรณ คนฉลาด พระมหากษัตริยไทย หนา 556
15. อัจฉรา กาญจโนมัย การฟนฟูพุทธศาสนาในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน (มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2525)
หนา 21
16. กรมหลวงนรินทรเทวี จดหมายเหตุความทรงจํา (คุรุสภา, 2507) หนา 7
17. กรมดํารงราชานุภาพ ตํานานวังหนา ประชุมพงศาวดารเลม 11 (คุรุสภา, 2507) หนา 27
18. เรื่องเดิม หนา 38
19. เรื่องเดิม หนา 38-51
20. เรื่องเดิม หนา 47
21. เรื่องเดิม หนา 46
22. เรื่องเดิม หนา 4
23. ประกอบ โชประการ, ประยุทธ สิทธิพันธ, สมบูรณ คนฉลาด พระมหากษัตริยไทย หนา 551-553
24. บรรเจิด อินทจันทรยง (รวบรวม) ขัตติยราชปฏิพันธ พงศาวดารกระซิบ (ประพันธสาสน, 2521) หนา 118
25. เรื่องเดิม หนา 119
26. เรื่องเดิม หนา 117

7
รัชกาลที่ 2 : กษัตริยก วีผูออื้ ฉาวเรือ่ งโลกีย

เจาฟาฉิมไดเปนกษัตริยองคตอมา และแตงตั้งเจาฟาบุญรอดใหเปนราชินีของพระองค รุงวันใหมของการเปน


กษัตริยก็มิใชวาจะเปนวันมงคลอะไรที่จะหามไมใหพวกศักดินาเขนฆาเพื่อแยงความเปนใหญกัน เพราะพอรัชกาล
ที่ 2 ขึ้นนั่งเมืองไดเพียง 3 วัน พระองคก็ทรงบัญชาใหจับเจาฟาสุพันธวงศ (หลานรัชกาลที่ 1) และพรรคพวกไปฆา
กวา 100 คน โดยกลาวโทษวาพวกนี้คิดจะกบฏ ขณะเดียวกันพวกศักดินาที่บันทึกพงศาวดารซึ่งอยากจะยกยอง
รัชกาลที่ 2 เต็มแกก็ไดแตงนิยายหลอกเด็กวา รัชกาลที่ 2 รูวาเจาฟาสุพันธวงศจะเปนกบฏนั้นก็เพราะมีกาดําคาบ
หนังสือแจงรายชื่อพวกคิดรายตอกษัตริยมาทิ้งในวังหลวง1 ทํานองสรางเรื่องใหคนเชื่อวา กษัตริยมีบุญญาธิการเปน
ลนพน กระทั่งกาดําสัตวชั้นต่ําก็ยังจงรักภักดีคาบขาวมาทูลใหทราบเหตุเภทภัย เรื่องพรรคอยางนี้ก็ไมรูวาจะหลอก
คนไปไดสักกี่น้ํา
กลับมาเรื่องคาวๆฉาวโฉ ใชวาชราแลวจะลดลงบาง ทําเอาเจาฟาบุญรอดตองทุกขระทมในบั้นปลายชีวิต เพราะ
รัชกาลที่ 2 ก็เหมือนกับพอคือ เปนผูมักมากในกามคุณ พอไดเมียสาวก็มักจะลืมเมียหลวง กลาวคืออยูมาวันหนึ่ง
รัชกาลที่ 2 ไปเห็นเอาเจาฟากุณฑล (นองสาวคนละแม) ซึ่งมีอายุเพียง 18-19 ปเขาก็มีจิตพิศวาส จึงยกขึ้นเปนมเหสี
ขางซาย เคียงคูเจาฟาบุญรอดมเหสีขางขวา เจาฟากุณฑลมีอายุออนกวาเจาฟาบุญรอดถึง 30 ป รัชกาลที่ 2 จึงลุมหลง
เปนนักหนาตามประสาโคเฒากับหญาออน ในที่สุดเจาฟาบุญรอดก็ทนเห็นภาพบาดใจตอไปมิได จึงหนีออกจากวัง
หลวงไปอยูที่พระราชวังเดิมธนบุรี ไมยอมเขาเฝารัชกาลที่ 2 อีก2
เมื่อกลาวถึงเรื่องนี้แลวตองกลาววา เจาฟาบุญรอดนั้นยังมีชะตากรรมดีกวาพระชนนีของรัชกาลที่ 2 คือมเหสีของ
รัชกาลที่ 1 มาก พระชนนีของรัชกาลที่ 2 ถึงกับเคยตองเจ็บช้ําน้ําใจเพราะถูกพระสวามีที่หนามืดตามัว หลงอิสตรี
วัยรุน วิ่งไลฟนดวยดาบมาแลว สาเหตุที่รัชกาลที่ 1 โกรธพระมเหสีถึงกับจะลงไมลงมือ ก็เพราะวาคืนหนึ่งขณะที่
รัชกาลที่ 1 เมื่อครั้งเปนขุนนางเมืองธนบุรี นอนเปลาเปลี่ยวใจอยูคนเดียวนั้นไมอาจทนราคะจริตอยูได เพราะพระ
มเหสีในขณะนั้นไปนอนอยูกับบุตรสาวในวังพระเจาตากสิน จึงวางแผนจะเรียกเด็กสาวลาวผูหนึ่ง ซึ่งตอมาเปนเจา
จอมแวน ใหเขาไปหาในหองนอนเพื่อหวังจะเผด็จสวาท แตพระมเหสีรูขาวเขาเสียกอน จึงเอาไมตีเด็กนั้นเพราะ
ความหึงหวง รัชกาลที่ 1 พอรูเขาก็โกรธจัด ควาดาบไลไปถึงที่อยูของพระมเหสีแลวจะพังประตูหอง แตเขาไมได
จึงฟนประตูหองอุตลุดจะเขาไปทํารายพระมเหสีใหได รอนถึงลูกฉิมตองพาแมหนีภัยออกไปทางหนาตาง3 แตนั้น
มาแมรัชกาลที่ 2 ก็ไมยอมอาศัยอยูใตชายคาบานของรัชกาลที่ 1 อีกจนตายจากกันไป4

1. สิริ เปรมจิตต พระบรมราชจักรีวงศ (โรงพิมพเสาวภาค, 2514) หนา 82


2. โสมทัต เทเวศร เจาฟาจุฬามณี (แพรพิทยา, 2513) หนา 11-12
3. บรรเจิด อินทุจันทรยง (รวบรวม) “เจาจอมแวน” พงศาวดารกระซิบ (ประพันธสาสน, 2521) หนา 129-131 โปรดดูเทียบกับหนังสือ เรื่อง
โครงกระดูกในตู โดย ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช
4. เรื่องเดิม หนา 132

8
รัชกาลที่ 3 : กษัตริยผ ูฆา พระราชบิดา

กรมหมื่นเจษฎาบดินทรเปนเพียงโอรสของเจาจอมมารดาเรียมและประสูตินอกเศวตฉัตร มีความทะยานอยากเปน
กษัตริยแทนเจาฟามงกุฎมานานแลว ประจวบกับปลายรัชกาลที่ 2 เจาฟามงกุฎทรงหมกมุนอยูกับการกวีและ
กามารมณ จึงปลอยใหกรมหมื่นเจษฎาบดินทรทํางานแทนพระเนตรพระกรรณรวม 20 ป จึงใกลชิดรัชกาลที่ 2
มากกวาโอรสองคอื่นๆ และจากพงศาวดารทําใหทราบวา ความจริงรัชกาลที่ 2 ไมไดประชวรมากนัก แตเพราะเสวย
พระโอสถที่จัดถวายโดยเจาจอมมารดาเรียม พระอาการจึงทรุดหนักและสวรรคตโดยปจจุบันทันดวน กอนหนานี้
กรมหมื่นเจษฎาบดินทรสั่งใหทหารลอมวัง หามเขาออก รัชกาลที่ 2 จึงหมดโอกาสมอบบัลลังกใหเจาฟามงกุฎ สวน
เจาฟามงกุฎเองตองรีบรอนออกบวชกอนหนานี้เพียง 2 เดือน ราวกับทรงทราบวามหันตภัยสําหรับพระองคกําลังจะ
คืบคลานเขามาหากไมละจากพระราชวัง แตก็ทรงจากไปดวยภาวะ “รอนผาเหลือง” และก็ตองรอนไปเปนเวลานาน
เพราะไมสามารถสะสมกําลังอยางเต็มที่
อยางไรก็ตามแมวากรมหมื่นเจษฎาบดินทรจะกดเจาฟามงกุฎลงใตบาทไดก็หาใชจะหามไมใหศักดินาอื่นสะสม
กําลังเพื่อความมักใหญใฝสูงได กรมหลวงรักษรณเรศ (โอรสรัชกาลที่ 1) “หนอพุทธางกูร” องคนี้ เริ่มสะสมไพรพล
มากขึ้นๆทุกที จนรัชกาลที่ 3 ทนไมไดจึงดากรมหลวงรณเรศวา “เปนพืชพันธุลูกอียายเดนเกือก เปนคนอุบาทว
บานเมือง...”1 และวา “อยาวาแตมนุษยจะใหกรมหลวงรักษรณเรศเปนกษัตริยเลย แมแตสัตวเดรัจฉานมันก็ไมยอม”2
แลวจึงใหจับกรมหลวงรักษรณเรศยัดเขาถุงแดงและใหใชไมทุบจนตาย ทั้งนี้มีขออธิบายวาที่ตองฆาในถุงสีแดงนั้น
ก็เพราะความเจายศเจาอยางของพวกศักดินานั้นเอง ดวยถือวาเลือดพวกเจาเปนเลือดเทวดา พระโพธิสัตว เปนของ
ขลัง หากตกถึงแผนดิน ปฐพีจะลุกขึ้นเปนไฟและใชปลูกอะไรไมได3 จึงตองฆาใหตายในถุงสีแดง
นอกจากนี้รัชกาลที่ 3 ก็เกิดขัดแยงกับวังหนาของพระองคคือ กรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพยอีก เรื่องนี้
รัชกาลที่ 5 เลาวาความสัมพันธระหวางวังหนาและวังหลวงไมใครจะดีนัก เหตุเพราะคราวหนึ่งวังหนาจะไปรบกับ
ลาว กษัตริยพระนั่งเกลาไมไววางพระทัยจึงบังคับใหวังหนาดื่มน้ําพระพิพัฒนสัตยาเสียกอน หลังจากนั้นมาไมนาน
วังหนาจะสรางปราสาทมียอดขึ้นในวังของตน แตรัชกาลที่ 3 ทรงทราบจึงหามไว เหตุการณทั้งหมดนี้ทําใหวังหนา
นอยพระทัยมาก4 ถาวังหนาไมสวรรคตไปกอน ความขัดแยงระหวางรัชกาลที่ 3 กับวังหนาจะตองรุนแรงกวานี้อยาง
แนนอน
มีขอนาสังเกตวา การที่รัชกาลที่ 3 ทรงอุปการะพระพุทธศาสนาเปนพิเศษ อีกทั้งสรางวัดวาอารามและเจดียที่มี
ชื่อเสียงไวมากมายนั้น เหตุผลสําคัญที่นาสนใจคือ เพราะพระองคทรงปตุฆาตจึงสรางไวเพื่อไถบาป5

1. ลอม เพ็งแกว “ฟาอาภร (แปลกพักตร อาลักษณเดิม)” วารสารศิลปวัฒนธรรม ปที่ 2 ฉบับที่ 8 เดือน มิ.ย. 2524 หนา 65
2. เรื่องเดิม หนา 65
3. ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เรื่องเดิม หนา 25
4. ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ เลม 1 (แพรพิทยา, 2516) หนา 659-660
5. ส.ธรรมยศ พระเจากรุงสยาม (โรงพิมพ ส.สงา, 2495) หนา 101

9
รัชกาลที่ 4 : กษัตริยอ ดีตภิกษุ เฒาหัวงูผูไมอิ่มในกามคุณ

รัชกาลที่ 4 ทวดของรัชกาลองคปจจุบัน เปนผูที่มีประวัติโลดโผนมาก กอนเปนกษัตริยเคยบวชมานานและมีสาวก


มาก เพราะเปนผูริเริ่มเทศนแบบปาฐกถาซึ่งเราอารมณ ไมใชการแสดงธรรมตามธรรมเนียมแบบเกาตามคัมภีรซึ่งไม
มีชีวิตชีวา1 นอกจากนี้ยังเปนผูที่รูจักหาเสียงดวยวิธีที่แหวกแนว โดยมีบรรดาสาวกคอยชวยเหลือ เผยแพรการ
โฆษณาอันเปนเท็จ เชน กระพือขาววา ขณะที่เปนสงฆนั้นเพียงแคพระองคขอพระธาตุจากพระปฐมเจดียในป จ.ศ.
1193 พระบรมธาตุก็แสดงปาฏิหาริยตาม “เสด็จ” ถึงกรุงเทพฯ พอถึงป จ.ศ. 1195 ภิกษุฟามงกุฏธุดงคไปถึงชัยนาท
ก็มี “จระเขใหญลอยขึ้นเหนือน้ําชื่นชมบารมี” ครั้นนั่งวอไปสวรรคโลก ก็พบเสือรายใหญเทาโค นอนกระดิกหาง
ชื่นชมบารมีหางจาก “ทางเสด็จ” เพียง 8 ศอก ครั้นไปถึงแกงหลวง เมืองสวรรคโลก ซึ่งเปนหนาแลงไมเคยมีปลามา
กอนก็บังเกิดมีปลาตะเพียนใหญมากมายเหลือประมาณ กระโดดขึ้นริมตลิ่ง ชื่นชมพระบารมี และพอพระองคเลาให
ญาติโยมที่เมืองสุโขทัยฟงวา เมื่อคืนนี้ไดฝนวามีชาวเมืองสุโขทัยมากมายมาขอใหอยูที่สุโขทัยนานๆหนอยเทา
นั้นเองก็ปรากฏวามีฝนตกใหญ จนน้ําทวมแผนดินถึง 2 วันซอนในฤดูแลง เปนปาฏิหาริย2
นอกจากนี้ภิกษุเจาฟามงกุฎ ยังรูจักวิธีการที่จะทําใหประชาชนศรัทธาตนดวยวิธีการแปลกๆไมตางจากที่กลาวไป
แลว พระองคถึงกับหลอกลวงใหผูอื่นเขาใจวาตนเปน “ภิกษุยิ่งกวาภิกษุอื่น” ดวยการบวชซ้ําบวชซากถึง 6 ครั้ง ทั้งที่
ตามพุทธบัญญัตินั้นอนุญาตใหทําอุปสมบทกรรมดวยญัตติจตตุถกรรมวาจาเพียงคราวเดียว3 ก็สําเร็จเปนสงฆ ภาษิต
ไทยที่วาชาย 3 โบสถนั้นคบไมได แตพระองคเปนถึงชาย 6 โบสถจะนาคบหาสมาคมดวยเพียงใด
โดยพื้นฐานแลว ภิกษุเจาฟามงกุฎอยากเปนกษัตริยมากกวาเปนพระ ตามสิทธิแหงการเปนโอรสของราชินี และตาม
ความปรารถนาของบิดา ซึ่งพระยาตรังรัตนกวีแหงรัตนโกสินทรตอนตน บอกใหเรารูวารัชกาลที่ 2 นั้นประกาศ
ตั้งแตยังไมสวรรคตวา จะใหเจาฟามงกุฎเปนกษัตริย4 แตดวยสติปญญาของเจาฟามงกุฎเองก็รูวา ถาตนสึกเมื่อใดก็
หัวขาดเมื่อนั้น จึงทนอดเปรี้ยวไวกินหวานเพื่อสะสมกําลัง โดยหวังที่จะเอาอยางบุตรของพระเอกาทศรถผูหนึ่ง ซึ่ง
บวชจนไดเปนพระพิมลธรรมและมีญาติโยมมากกระทั่งสามารถยกกําลังเขาไปในวัง และจับกษัตริยศรีเสาวภาค
ปลงพระชนม แลวสถาปนาตนเองเปนพระเจาทรงธรรมสมัยอยุธยา
การสะสมกําลังของภิกษุเจาฟามงกุฎนั้น ใชวิธีการที่นาเกลียดไมแพรัชกาลที่ 1 ปูของตนเองซึ่งใสรายปายสี
พระภิก ษุทั่ว ทั้งแผ น ดิน ดังจะเห็ นได ว า พอพระองคบวชอยูที่วั ดมหาธาตุไ ดไ มถึงปก็วิจารณพระภิก ษุ ไทยวา
“สมณะเหลานั้น ไมเปนที่นํามาซึ่งความเลื่อมใสศรัทธา เปรียบเหมือนตนไมที่ไมมีรากเหงาอันเนาผุพัง” ครั้นไป
ถามปญหาตางๆกับทานที่เปนอาจารย “ก็งุบงิบออมแอม ไมอธิบายใหกระจางสวางได” จึงตองไปศึกษาพระธรรม
วินัยกับภิกษุมอญ5 หลังจากนั้นอีก 5 ปก็ใสไคลวาสงฆหลายรอยรูปในวัดมหาธาตุที่สถิตยของพระสังฆราช
อุปชฌายของพระองคเองเต็มไปดวยภิกษุลามกอลัชชี6 จึงหนีไปตั้งธรรมยุตินิกายที่วัดสมอราย7
การที่ภิกษุเจาฟามงกุฎคุยเขื่องถึงเพียงนี้นับเปนเรื่องที่นาตลกมาก เพราะเมื่อพระองคบวชไมถึง 12 เดือน ยังเปนนว
ภิกขุ แปลบาลีก็ไมได กลับเพอเจอวาพระมอญรูวินัยดีกวาพระไทย และยังมีสติปญญาแกกลาถึงขนาดที่ถามปญหา
ธรรม ไลตอนจนอาจารยจนแตมได พึงทราบวาอุปชฌายของพระองค สมเด็จพระสังฆราช (ตวน) ธรรมดานั้น ภิกษุ
ใหม มี ป ญ หาอะไร ย อ มต อ งศึ ก ษาหาความรู กั บ อุ ป ช ฌาย ในกรณี ข องภิ ก ษุ เ จ า ฟ า มงกุ ฎ นี้ เ ป น ไปได ห รื อ ที่

10
พระสังฆราชประมุขของสงฆทั่วราชอาณา ถึงกับจนแตมศิษยนอยจอมกระลอนที่บวชพระไดไมถึงป ? ถาไม
เรียกวาเปนการโปปดมดเท็จแลวจะเรียกวาอะไร ?
แนนอนการที่ภิกษุเจาฟามงกุฎยกตนขมครูโดยปราศจากความเคารพดวยการอุตริมนุสธรรมเชนนี้ ก็เพื่อเหตุผล
ประการเดียวคือ การโฆษณาหาเสียง สรางความนิยมในหมูสาวก เพื่อเตรียมการเปนกษัตริยในวันหนา
การดึงเอาพระศาสนามาแปดเปอนการเมืองของภิกษุมงกุฎนั้นมิใชจะไมมีผูใดจับไดไลทัน ส.ธรรมยศ นักปรัชญา
คนสําคัญวิจารณวา ธรรมยุติและมหานิกายมีวัตรปฏิบัติตางกันเพียงเล็กนอย เชน วิธีการครองผา วิธีสวดมนต และ
วิธีลงอุโบสถสังฆกรรมซึ่งเปนความแตกตางเพียงเศษหนึ่งแหงเสี้ยวธุลีดิน ไมเหมือนกับนิกายแคทอลิคและโป
รแตสแตนในคริสตศาสนาซึ่งแตกตางกันโดยสิ้นเชิง ตั้งแต วัด คัมภีร ชีวิตของพระและการแตงกาย จึงไมมีเหตุผล
เพียงพอที่พระองคจะแยกธรรมยุติเปนอีกนิกายหนึ่งตางหากจากมหานิกาย เหมือนกับที่โปรแตสแตนแยกตัวออก
จากแคธอลิค8
หากจะกลาวถึงสาเหตุที่ภิกษุเจาฟามงกุฎแยกตนมาตั้งธรรมยุตินิกาย และรังเกียจไมใหคณะมหานิกายซึ่งเปนสงฆ
สวนใหญของประเทศรวมสังฆกรรมกับตน โดยไมยอมรับวาการอุปสมบถกรรมของฝายมหานิกายบริสุทธิ์พอคือ
ไมถือวาคณะภิกษุฝายมหานิ กายเสื่อมถอยไปเสียจากพระธรรมวินัยจึ งยังไมนับวามีเหตุผล เพราะใครจะกลา
อวดอางวา โดยพื้นฐานแลวมหานิกายตกต่ํากวาธรรมยุติ ดูเอาแตประมุขของแตละคณะเถิด ใครจะกลายืนยันวา
สมเด็จปาวัดโพธิ์พระสังฆราชองคกอนฝายมหานิกายมีวัตรปฏิบัติออนดอยกวาสมเด็จวัดมงกุฎ สังฆราชองคกอน
หนาทาน และออนดอยกวาสมเด็จวัดราชบพิธ สังฆราชองคปจจุบันซึ่งเปนฝายธรรมยุตินิกาย หากยอนไปสูอดีต
ใครเลยจะกลารับรองวาภิกษุเจาฟามงกุฎ มีศีลบริสุทธิ์และสันโดษเสมอดวยพระเถระฝายมหานิกาย ซึ่งมีอยูในยุค
สมัยใกลเคียงกับพระองค เชน สมเด็จพุฒาจารย (โต) และสมเด็จพระสังฆราช (สุก) ซึ่งเชี่ยวชาญในวิปสสนาธุระ
จนทําใหไกปาเชื่องได ดวยเหตุนี้ ส.ธรรมยศ จึงวิจารณวา การที่ภิกษุเจาฟามงกุฎตั้งนิกายธรรมยุตินั้น “ไมใช
เนื่องจากแตความเสื่อมโทรมของศาสนา กลาวใหชัดก็คือ ทรงตั้งธรรมยุติกะขึ้นมาในนามของพระพุทธศาสนา เพื่อ
การเมืองคือ เอาพระพุทธศาสนามาเปนโล เปนเครื่องมือของพระองคเพื่อชิงเอาราชสมบัติ”9
ในที่สุดเจาฟามงกุฎก็เลนการเมืองเต็มที่ ดวยการคบหากับขุนนางตระกูลบุนนาคขณะที่ยังอยูในสมณเพศ เพื่อสราง
หนทางทอดไปสูความเปนกษัตริย สําหรับจุดเริ่มตนแหงสัมพันธภาพดังกลาวนั้น กรมพระยาดํารงราชานุภาพเลาไว
ในหนังสือประวัติเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศวา เมื่อจวนสิ้นรัชกาลที่ 3 นั้นพวกบุนนาคอยากใหภิกษุเจาฟา
มงกุฎเปนกษัตริย จึงปฏิสังขรณวัดบุปผารามเปนวัดธรรมยุติ จนสามารถสนิทสนมกับพระองคตั้งแตคราวนั้น10
ในที่สุดพอถึงปลายรัชกาลที่ 3 ภิกษุเจาฟามงกุฎก็กําลังกลาแข็งมาก ในวันอังคาร เดือน 3 ขึ้น 10 ค่ํา เปนวันที่รัชกาล
ที่ 3 มีอาการทรุดหนัก สุดวิสัยที่จะรักษาได ในวันพุธ เดือน 4 ขึ้น 8 ค่ําเจาพระยาพระคลัง หัวหนาพวกบุนนาคจึง
เชิญภิกษุเจาฟามงกุฎขึ้นเปนกษัตริย ทั้งที่รัชกาลที่ 3 ยังไมสวรรคต11
ในคราวที่รัชกาลที่ 2 สวรรคตนั้น ภิกษุเจาฟามงกุฎเที่ยวถามใครตอใคร เชน นาชายของตนเอง และกรมสมเด็จ
พระปรมานุชิตชิโนรสวา ควรสึกเพื่อเรียกรองสิทธิที่จะไดรับสมบัติหรือไม จนไดขอสรุปวาไมควรสึก แตเมื่อเวลา
ลวงเลยมาถึงคราวรัชกาลที่ 3 จะสิ้นแลว พระองคไมพักตองไปถามใครทั้งสิ้น ยินยอมตกลงตามขอเสนอของ
เจาพระยาพระคลังดวยความยินดี โดยไมไดอาลัยอาวรณผากาสาวพัสตรและตําแหนงประมุขแหงธรรมยุตินิกาย
แมแตนอย
11
ในที่สุดภิกษุเจาฟามงกุฎก็ไดเปนกษัตริยทั้งที่รัชกาลที่ 3 ไมไดปรารถนาที่จะใหเปนเชนนี้เลย เซอร แฮรี่ ออด เจา
เมืองสิงคโปรสมัยรัชกาลที่ 4 เขียนจดหมายเหตุเลาวา รัชกาลที่ 3 อยากใหราชสมบัติตกอยูกับลูกชายตนเอง12 ซึ่งก็
ไดแกพระองคเจาอรรณพ เพราะพระองคเคยมอบแหวนและเครื่องประคําของรัชกาลที่ 1 อันเปนของสําหรับ
กษัตริยใหแกลูกชายคนนี้กอนสวรรคต13 แตโชครายที่พระองคเจาอรรณพไมไดสิ่งของดังกลาวตามสิทธิ14 เพราะถูก
กีดกันจากฝายภิกษุเจาฟามงกุฎ ซึ่งตอมาเปนรัชกาลที่ 4 และไดมอบประคําและแหวนดังกลาวใหแกรัชกาลที่ 5
ตอไป15 ในภายหลังไมมีใครรูเรื่องราวของพระองคเจาอรรณพอีกเลย16
สําหรับภิกษุเจาฟามงกุฎนั้นพอเปนพระเจาแผนดิน พระองคก็หลงใหลปลาบปลื้มอยูกับกามารมณไมรูสราง พวก
ขุนนางที่รูวากษัตริยพอใจในเรื่องพรรคนี้ไดกวาดตอนเอาผูหญิงมาบํารุงบําเรอเจาชีวิตของตนเต็มที่ เหมือนกับที่
สุนทรภูสะทอนภาพศักดินาใหญไวในกาพยพระไชยสุริยาวา
“อยูมาหมูขาเฝา ก็หาเยาวนารี ที่หนาตาดีดี ทํามโหรีที่เคหา ค่ําเชาเฝาสีซอ เขาแตหอลอกามา”
บางคนถึงกับฉุดคราตัวเด็กสาวๆจากบิดา มารดามา “กราบ” รัชกาลที่ 4 อดีตสมภารนักการเมือง “ตนตระกูลกิตติ
วุฒโท” แหงจิตตภาวันในปจจุบัน เชน ในกรณีของพระยาพิพิธฤทธิเดช เจาเมืองตราด ครากุมเอาลูกสาวชาวบาน 3
คนไป “ถวายตัวใหกษัตริย” เมื่อพอแมเด็กยื่นถวายฎีกา รัชกาลที่ 4 ที่มัวเมาโมหะกลับหาวาพระยาพิพิธฤทธิเดชไม
ผิด ผูที่ผิดคือพอแมเด็กที่ “เปนคนนอกกรุง ไมรูอะไรจะงาม ไมงาม” แถมยกยองวาพระยาพิพิธฤทธิเดช “ถือน้ํา
พิพัฒนสัตยา อยูในพระนามพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ก็ควรเห็นวาเปนอันเหมือนขนทรายเขาวัด มิใช
เกาะกรองเรงรัดลงเอาเบี้ยหอยเงินทองอะไรฤา จะเอาไปถวายเจาอื่นนายอื่น ประจบประแจงผูใดก็หาไม ไมควรจะ
เอาโทษ”17
การที่รัชกาลที่ 4 สะสมนางในไวในฮาเร็มมากมายนั้น ถึงกับทําใหขาราชการฝายในกับวังจน แทบไมมีที่อยูที่กิน
พระองคเองก็หลงๆลืมๆจําชื่อคนเหลานั้นไมไดหมด18 ภายในระยะเวลาเพียงกวา 10 ป แมวาพระองคจะเฒาชะแล
แกชราเต็มทีก็ยังสามารถผลิตลูกไดถึง 82 พระองค19 เพราะหมกมุนอยูกับอิสตรีไมมีวันหนายซึ่งนับวาไมมีกษัตริย
อื่นใดในกรุงรัตนโกสินทรจะสูได เพราะรัชกาลที่ 5 แชมปลูกดกอันดับที่ 2 ก็ยังมีลูกเพียง 76 พระองค เมื่อกลาวถึง
ความมีเมียมากของรัชกาลที่ 4 แลวก็อดพูดถึงชีวิตของบรรดาเจาจอมหมอมหามของกษัตริยไมไดวามีชีวิตที่นา
เวทนาเพียงใด เพราะนางสนมทั้งหมดเพิ่งจะพนจากวัยเด็ก ไมทันพบกับความสดชื่นของชีวิตในวัยสาวก็ตองตกไป
อยูในมือของโคแกกระหายสวาท
ผูที่นาสงสารที่สุดคือ เจาจอมทับทิม เด็กสาวที่มีอายุเพียง 15 ป ถูกพอ “กราบ” เปนนางบําเรอรัชกาลที่ 4 อายุ 60 ป
ฟนฟางหักหมดปากตั้งแตขณะที่เปนสงฆ20 เหมือนโฉมหนาทาวสันนุราช (เฒาราคะ) ที่ปรากฏอยูในเรื่องคาวีที่วา
“...หนาพระทนตบนลางหางหัก ดวงพระพักตรเหี่ยวเห็นเสนสาย...”
เจาจอมทับทิมนั้นชอบพอกับพระครูปลัดใบฎีกา ฐานานุกรมของสมเด็จพระสังฆราช (สา) อยูแลว ยอมไมยอมทน
อยูกับตาเฒาฟนฟางหักหมดปากจึงหนีไปกับคูรัก แตหนีไมพน ถูกรัชกาลที่ 4 จับฆาทั้งคู เหตุการณนี้ นาง แอนนา
ลีโอโนเวนส เขียนเอาไว มีคนจํานวนมากไมเชื่อวาจริง แตก็ไมเห็นมีใครยกหลักฐานมาพิสูจนวาไมจริงอยางไร ส.
ธรรมยศ นักคิดที่สําคัญคนหนึ่งวิจารณวา นาง แอนนา เขียนหนังสือเกี่ยวกับพระจอมเกลาไวกวา 80,000 คํา แตผู
คัดคานทั้งหลายเขียนหนังสือเกี่ยวกับเรื่องนี้ไมถึง 2,000 คํา ทั้งไมมีสาระเพียงพอที่จะลบลางถอยคําของ นาง แอน
นา เลย
12
ความจริงแลวมีนางสนมกํานัลเอาใจออกหางจากกษัตริยตลอดมามากมาย ในสมัยกอนรัชกาลที่ 4 เองก็มีการฆาฟน
เจาจอมที่เปนชู รวมทั้งชายชูอีกหลายครั้ง เชน ในกรณีของพระยากลาโหมราชเสนา (ทองอิน) เปนชูกับเจาจอม
วันทา ของวังหนารัชกาลที่ 121 หรือกรณีของบุตรชายเสนาบดีผูใหญแหงตระกูลบุนนาคในรัชกาลที่ 3 และกรณีของ
พระอินทรอภัย ฯลฯ เปนตน
สวนในชวงหลังรัชกาลที่ 4 นั้นการฆาสตรีในวังก็ยังไมหมดไป เพียงแตคราวนี้ผูตายมิใชสนม หากเปนพระองค
หญิงเยาวลักษณ (ธิดาองคโต) เพราะไปรักใครกับสามเณรรูปหนึ่งของวัดราชประดิษฐ22 ชื่อโต ทําใหฝายชายตอง
ถูกประหารชีวิต และฝายหญิงถูกเผาทั้งที่ยังไมทันตายสนิทก็ถูกเผาทั้งเปนเสียแลว
เหตุที่นางสนมมีชูกันมากเชนนี้ก็เพราะไมอาจทนมีชีวิตอยูในวังหลวงหรือฮาเร็มของกษัตริยที่เต็มไปดวยสิ่งที่
กดดัน ไมมีเสรีภาพ จะไปไหนมาไหนโดยอิสระก็ไมได แมกระทั่งนางกํานัลของพระสนม ถาหนีออกจากวังจะตอง
ไดรับโทษอยางหนัก23 นอกจากนี้ยังตองตกอยูในภาวะที่เก็บกดในเรื่องเพศซึ่งปุถุชนทั่วไปจะตองมีอีก นางสนม
กํานัลจํานวนมากตอง “เลนเพื่อน” เพื่อระบายอารมณ ดังจะศึกษาไดจากวรรณกรรมเรื่อง “หมอมเบ็ดสวรรค” ที่แตง
โดย สุวรรณ กวีหญิงผูโดงดังในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนซึ่งไดสะทอนภาพของราชสํานักแหงจักรีวงศ อันนา
เกลียดออกมาใหประชาชนเห็นอยางกะจะแจง
นาสังเกตวาการ “เลนเพื่อน” ในวังมีมากจนรัชกาลที่ 4 ก็กลัววาลูกสาวของตนจะเลนเพื่อน ทั้งนี้นาจะเพราะรูดีวา
สตรีชั้นสูงในวังมักไมมีผัว ดวยสตรีสูงศักดิ์จะแตงงานกับชายที่ต่ําศักดิ์กวาไมได24 จึงถึงกับอุตสาหเขียนจดหมาย
สั่งลูกสาวทุกคนไมให “เลนเพื่อน”
เมื่อกลาวถึงเพียงนี้ขอยอนถามผูที่ปกปองรัชกาลที่ 4 จนเกินขอบเขตวา ก็ในเมื่อมีการฆาเจาจอมที่เอาใจออกหาง
กษัตริยแก ตลอดมาเชนนี้แลวทําไมการฆาเจาจอมทับทิมจะเกิดขึ้นไมไดเลา
เมื่อกลาวถึงบรรดาสนมนางกํานัลรุนเด็กแลว ไมกลาวถึงบรรดาเจาจอมที่มีอายุมากบางก็จะมองดูชีวิตแตงงานของ
รัชกาลที่ 4 ไมครบทุกดาน ปกติแลวเจาจอมที่มีอายุมากของพระองคนั้นจะถูกมองเปนของเกาแกที่เขรอะไปดวย
สนิม ตองถูกทอดทิ้งใหอยูตามลําพัง จึงมีความรูสึกเก็บกดไมตางไปจากเจาจอมวัยรุนทั้งหลาย ชีวิตของเจาจอม
มารดานอยที่อยูกินกับรัชกาลที่ 4 ตั้งแตขณะที่มิไดบวชเปนพระ นับเปนตัวอยางของเรื่องนี้ การที่เจาจอมมารดา
นอยเห็นรัชกาลที่ 4 หมกมุนอยูเฉพาะกับเจาจอมหมอมหามสาวๆ ทําใหเจาจอมมารดานอยไดรับความขมขื่นและ
นอยอกนอยใจมาก ดังนั้นวันหนึ่งเจาจอมมารดานอยจึงลงเรือเกงสั่งใหนายทายเรือ พายเรือไปเทียบกับเรือพระที่นั่ง
ของรัชกาลที่ 4 หนาวัดเขมา นนทบุรี จนไดเห็นพระองคหอมลอมไปดวยนางสนมเด็กเสนอหนาราวดอกเห็ดก็เลย
ใหขาหลวงที่ไปดวยหัวเราะฮาๆเยยหยัน รัชกาลที่ 4 กลับกริ้ว หาวาเจาจอมมารดานอย “ตามมาลอตอหนานางสนม
ใหมๆสาวๆ”26 จึงใหจับเอาตัวไปขังไวในวังหลวง เจาจอมมารดานอยอางวา “จะตามไปกรุงเกาดวย”27 พระองคไม
ฟงเสียง กลับนึกอยากจะใครใหเอาไปตัดหัวเสียตามสกุลพอมัน...”28 (เจาจอมมารดานอยเปนหลานพระเจาตากสิน)
จึงไมยอมยกโทษให เจาจอมมารดานอยผูนั้นตองติดคุกสนมจนตาย แลวถูกนําศพไปเผาที่วัดตรีทศเทพ ไมไดเขา
เมรุกลางกรุงเหมือนเขา29 ซึ่งก็นับวาเปนเรื่องที่นาสังเวชใจเปนอยางยิ่ง เพราะขณะที่รัชกาลที่ 4 บวชอยู ไรอํานาจ
เจาจอมมารดานอยเปนผูอุปฏฐากสงสํารับเชาเพลดวยความซื่อสัตย แมวาทั้งตัวเองและลูกๆถูกกลั่นแกลงรังแกโดย
ศักดินาที่เปนศัตรูของรัชกาลที่ 4 อยางไรก็ยอมทน30 พระองคกลับไมยอมคิดถึงคุณงามความดีเลย

13
ดวยเหตุนี้ กี ฐานิสสร อดีตสมาชิกสภา จ.นครศรีธรรมราช จึงแตงหนังสือวิจารณรัชกาลที่ 4 วา “มิใชลักษณะบุรุษ
อาชาไนยหรือนารายณอวตารแบงภาคมาเกิด... ความจริงเปนบุคลิกลักษณะของทศกรรฐอวตารแบงภาคมาเกิด หรือ
เปนพระเจาเสือทีเดียว อันที่จริงละมายคลายจมื่นราชามาตย เผาวังทั้งเปนเพื่อปรุงเปนอาหาร สุนทรภู (ความจริง
พระมหามนตรี (ทรัพย)-ผูแตง) แตงกลอนเยาะเยยวา มีบุญเหมือนเจาคุณราชามาตย รายกาจเหมือนยักษมักกะสัน
ฉะนั้น”31 บางทานอาจเห็นวา กี ฐานิสสร พูดจารุนแรงเกินไป แตขาพเจาเห็นวาไมรุนแรงเลย ทานผูนี้เคยถูก
พนักงานสอบสวนฟองในคดีหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ เนื่องจากการวิจารณดังกลาว แตศาลก็ยกฟอง แสดงวา
ทัศนะของ กี ฐานิสสรถูกเปา ตรงประเด็น เปนความจริงทุกอยาง แมแตศาลก็ไมเห็นผิด
ผูที่มองเห็นเบื้องหลังของรัชกาลที่ 4 อยางทะลุปรุโปรง ไมไดมีเฉพาะคนอยาง กี ฐานิสสร ซึ่งมีชีวิตในยุคหลัง
เทานั้น แมแตสมเด็จพระพุฒาจารย (โต) แหงวัดระฆังยอดสงฆฝายมหานิกายในรัชกาลที่ 4 ที่มีชื่อเสียงในเรื่อง
ความมักนอย (สมถะ) ก็ยังเคยเดินถือไตดวงใหญ เขาวังหลวงในเวลาเที่ยงวัน ปากก็บนวา “...มืดนัก....ในนี้มืดนัก
มืดนัก...”32
เมื่อพูดถึงรัชกาลที่ 4 แลว ถาไมพูดถึงความขัดแยงระหวางพระองคกับพระปนเกลานองชายเลย ยอมไมอาจจะเห็น
ภาพของราชสํานักที่เต็มไปดวยการชิงดีชิงเดนได ปรากฏความตามจดหมายของรัชกาลที่ 5 ถึงเจาฟาวชิรุณหิศเลาวา
รัชกาลที่ 4 กับพระปนเกลาไมคอยจะกินเสนกันเทาใดนัก เพราะพระองคระแวงที่พระปนเกลามีผูนิยมมาก ทั้งพระ
ปนเกลาเองก็มักจะกระทําการที่มองดูเกินเลยมาก33
พระปนเกลาไมคอยยําเกรงรัชกาลที่ 4 กรมพระยาดํารงราชานุภาพเลาวา พระปนเกลามักจะลอรัชกาลที่ 4 วา “พี่หิต
บาง พี่เถรบางและตรัสคอนวา แกวัด”34 สวนรัชกาลที่ 4 เองแมไมอยากยกนองชายขึ้นเปนพระเจาแผนดินองคที่ 2
แตก็จําเปนตองทํา ทั้งนี้เพราะรูดีวา มีผูยําเกรงพระปนเกลากันมากวาเปนผูมีวิชา มีลิ้นดําเหมือนพระเจาหงสาวดีลิ้น
ดํา มิหนําซ้ํายังเหยียบเรือรบฝรั่งเอียง นอกจากนี้ยังมีทหารในกํามือมาก35 และพระองครูดีวา นองชายก็อยากเปน
กษัตริยเพราะวา ขณะเมื่อรัชกาลที่ 3 ปวยหนักนั้นพระปนเกลาไดเขาหาพี่ชายถามวา “พี่เถร จะเอาสมบัติหรือไมเอา
ถาเอาก็รีบสึกไปเถอะ ถาไมเอาหมอมฉันจะเอา...”36 พระองคจึงตั้งพระปนเกลาเปนกษัตริยองคที่ 2 เพื่อระงับความ
ทะเยอทะยานของนองชาย
แตนานวันความสัมพันธระหวางพี่นองทั้งสองคนก็หางเหินกันมากขึ้นทุกที รัชกาลที่ 4 นั้นไมพอใจเปนอยางยิ่งที่มี
เสียงเลาลือไปในหมูคนไทย ลาว อังกฤษ วาตนเองเปนผูที่ “...ชรา คร่ําเครง ผอมโซ เอาราชการไมได ไมแข็งแรง โง
เขลา”37 จนกษัตริยทนฟงไมไดตองออกกฎหมาย หามประชาชนวิพากษวิจารณพระกายของกษัตริยวา อวน วาผอม
วาดํา วาขาว หามวางามหรือไมงาม38 ในขณะที่มีเสียงเลาลือเกี่ยวกับพระปนเกลาในทางตรงขาม เชน มีผูเลาลือกัน
ทั่วไปวา “...วังหนาหนุมแข็งแรง.....ชอบการทหารมาก มีวิทยาอาคมดี....”39 ขอที่สรางความชอกช้ําระกําใจใหกับ
พระองคที่สุดคือการที่พระปนเกลาไปไหนก็ “ไดลูกสาวเจาบานผานเมืองแลกรมการมาทุกที” แตพระองคมิเปน
เชนนั้นเลย จึงริษยาและบนเอากับคนที่ไวใจวา “...ขาพเจาไปไหนมันก็วา ชรา ไมมีใครใหลูกสาวเลย ตองกลับมา
แพลงรัง....”40
ต อ มาพระป น เกล า ก็ ส วรรคต แต ก ารสวรรคตของพระป น เกล า มี เ บื้ อ งหลั ง มาก ส.ธรรมยศ เขี ย นไว ว า
“ที่พระปนเกลาทรงสวรรคตดวยยาพิษโดยพระเจากรุงสยาม (รัชกาลที่ 4) ทรงจางหมอใหทํา..... ส.ธรรมยศ อาง
หนังสือ An English Governor and the Siamese Court ที่เขียนโดย นาง แอนนา เลขานุการของรัชกาลที่ 4 วา เปน
14
พฤติการณที่รูเห็นกันทั่วไป และนางใชคําวา พระเจากรุงสยามเปนกษัตริยที่โหดรายชั่วชามาก และที่รายแรงกวา
ความชั่วชาคือ ความผูกอาฆาต พยาบาทอยางรุนแรง และทรงเปนกษัตริยที่มีพระนิสัยอิจฉาริษยาอยางมาก โดย
ยกตัวอยางไวมากมาย” (พระเจากรุงสยาม หนา 81, 178)
และหลังจากที่พระปนเกลาสวรรคต รัชกาลที่ 4 ก็ไดแกแคนคนทั้งปวงที่นิยมพระปนเกลา ดวยการบังคับใหพระ
นางสุนาถวิสมิตรา (ลูกสาวของเจาชายแหงเมืองเชียงใหม) มเหสีของพระปนเกลา ใหมาเปนเจาจอมของตน แตพระ
นางสุนาถวิสมิตราไมยอมจึงถูกจับกุมขังไวในวังหลวง แตโชคดีที่หนีไปเมืองพมาไดในภายหลัง41

1. ส. ธรรมยศ พระเจากรุงสยาม (โรงพิมพ ส.สงา, 2495) หนา 96-67


2. สมเด็จพระมหาสมณะเจา กรมพระยาปวเรศอริยาลงกรณ “พระราชประวัติในรัชกาลที่ 4” (สิริ เปรมจิตต รวบรวม) พระบรมราชจักรีวงศ
(โรงพิมพเสาวภาค, 2514) หนา 293-302
3. กี ฐานิสสร ประวัติคณะสงฆไทยกับธรรมยุติกประหาร (มณีกรวิทยาการพิมพ, 2518) หนา 96-97
4. หนังสือโคลงดั้นเฉลิมพระเกียรติ ร.2 ของพระยาตรัง พรรณนาพิธีโสกันตเจาฟามงกุฎกอน ร.2 ตายวา
“ปางองคอิศรราชเจา จอมกษัตริย หวังหนอนฤบดินทร ธเรศทาว ใหสืบสิริพัฒว ทรราช เรืองพระยศอกราว ครอบครอง”
5. พระมหาสมณเจากรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ เรื่องเดิม หนา 284-285
6. เรื่องเดิม หนา 295
7. เรื่องเดิม หนา 295
8. ส. ธรรมยศ เรื่องเดิม หนา 110 และ 115
9. เรื่องเดิม หนา 103-104
10. ธงไทย หลอมนิกาย (สีหะพันธการพิมพ, 2518) หนา 66-67
11. สิริ เปรมจิตต เรื่องเดิม หนา 236
12. ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม เรื่องเดิม หนา 352-353
13. ส. ธรรมยศ เรื่องเดิม หนา 149
14. โสมทัต เทเวศร เรื่องเดิม หนา 134
15. เรื่องเดิม หนา 134
16. ส. ธรรมยศ เรื่องเดิม หนา 157
17. ประกาศเรื่องพระยาพิพิธฤทธิเดช ผูสําเร็จราชการเมืองตราดสงหญิงเขามาถวาย 3 คน ปมะเมีย จ.ศ. 1220 ในประชุมกฎหมายประจําศก
เลม 6
18. พระจอมเกลา “ประกาศพระราชทานอนุญาตใหขาราชการฝายในทูลลาออกนอกราชการได ประชุมประกาศ ร.5 ป 2405-2408 (คุรุสภา,
2505) หนา 125
19. เรื่องเดิม หนา (ท) ท.ทหาร
20. ส. ธรรมยศ เรื่องเดิม หนา 360
21. พระจุลจอมเกลา “พระบรมราโชวาทประทานเจาฟาวชิรุณหิศ” พระราชนิพนธ มูลนิธิพิพิธภัณฑวังวรดิศ พระญาติและนิกรของ ม.จ.
พูนพิสมัย ดิศกุล (รวบรวม) (ชวนพิมพ, 2523) หนา 5
22. ส. ธรรมยศ เรื่องเดิม หนา 287
23. “พระราชกําหนดใหม เรื่อง โทษลักพาคนในพระราชวัง” กฎหมายตราสามดวง เลม 5 (คุรุสภา, 2506) หนา 251-254
24. พระจอมเกลา “ประกาศ พรบ.ลักษณะลักพา ปฉลูศัปตศก” ประชุมประกาศ ร.4 ป 2405-2408 (คุรุสภา, 2504) หนา 307
25. พระจอมเกลา “พระบรมราโชวาท” พระราชทานในพระเจาลูกเธอพระราชหัตถเลขา (มงกุฎราชวิทยาลัย, 2521) หนา 6
26. พระจอมเกลา “พระราชหัตถเลขาถึงเจาจอมมารดาผึ้ง ปเถาะ 2398” พระราชหัตถเลขา (มหามงกุฎฯ, 2521) หนา 294-296
27. เรื่องเดิม หนา 296

15
28. เรื่องเดิม หนา 295
29. กี ฐานิสสร เรื่องเดิม หนา (ท)
30. พระจอมเกลา “จดหมายถึงกรมหมื่นมเหศวรศิววิลาศ” (ลูกหมอมนอย-ผูเขียน) พระราชหัตถเลขา เรื่องเดิม หนา 204
31. กี ฐานิสสร เรื่องเดิม หนา (น)
32. ส. ธรรมยศ เรื่องเดิม หนา 122 ดู ฉันทิชัย สมเด็จพระพุฒาจารย (โต) เลม 1 (คุรุสภา, 2507) หนา 13
33. พระจุลจอมเกลา “พระบรมราโชวาทถึงเจาฟาวชิรุณหิศ” เรื่องเดิม หนา 26
34. โสมทัต เทเวศร เรื่องเดิม หนา 183
35. เรื่องเดิม หนา 165
36. เรื่องเดิม หนา 170
37. พระจอมเกลา “จดหมายถึงพระยามนตรีสุริยวงศ” พระราชหัตถเลขา เรื่องเดิม หนา 582
38. พระจอมเกลา “ประกาศหามมิใหกราบบังคมทูลทัก อวน ผอม ดํา ขาว” ประชุมประกาศ ร.4 (คุรุสภา, 2524) หนา 14
39. พระจอมเกลา “จดหมายถึงพระยามนตรีสุริยวงศ” พระราชหัตถเลขา เรื่องเดิม หนา 582
40. เรื่องเดิม หนา 582
41. กี ฐานิสสร เรื่องเดิม หนา (ฌ)

16
รัชกาลที่ 5: กษัตริยผ พู ัฒนาประเทศเพียงเพื่อค้ําบัลลังก

พอถึงป 2411 เจาฟาจุฬาลงกรณแชมปลูกดกอันดับที่ 2 ของประเทศ ในรอบ 200 ปก็สืบราชสมบัติเปนรัชกาลที่ 5


รัชกาลที่ 5 เองเปนกษัตริยขณะที่เยาววัยอยู อํานาจทั้งปวงจึงตกอยูในมือขุนนางเกา ภายหลังจึงพยายามรวมศูนย
อํานาจมาไวที่ตนเอง ดวยการดึงเอาอํานาจในการเก็บภาษีอากรมาไวที่หอรัษฎากรพิพัฒนซึ่งพระองคเปนผูควบคุม
อยู นอกจากนี้ยังพยายามสรางทางรถไฟ เพื่อใหสามารถสงกองทัพไปควบคุมขุนนางตามขางเมืองและรวบอํานาจ
ในการเก็บภาษีอากรตามขางเมืองมาไวในมือของตนเอง กอนนั้นขุนนางตามขางเมืองสงภาษีใหกษัตริยไมเต็มเม็ด
เต็มหนวยซึ่งกษัตริยก็มิรูจะทําอยางไร เพราะการคมนาคมไมสะดวก แตหลังจากที่รัชกาลที่ 5 สรางทางรถไฟและ
ลิดรอนอํานาจของขุนนางเกาแลวก็มีภาษีอากรหลั่งไหลเขาทองพระคลังมากมายกวาเดิม
นโยบายดังกลาวถูกตอตานจากขุนนางเกามาก โดยเฉพาะพวกที่อยูในกรุงเทพ รวมทั้งกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญ
วังหนาในสมัยนั้นดวย เพราะกอนหนานั้นอํานาจในการเรียกเก็บภาษีอากรกระจายอยูตามกรมกองตางๆ โดยขุน
นางและพวกเจาที่คุมกรมกองเหลานั้นจะสงภาษีอากรใหกษัตริยในภายหลัง จึงมีโอกาสแบงปนภาษีอากรบางสวน
เปนอาณาประโยชนสวนตน ทําใหกษัตริยสูญเสียผลประโยชนไปปละไมนอย การที่รัชกาลที่ 5 ใหหนวยงานที่ตน
กุมไดเปนผูเก็บภาษีทําใหพระองคเปนผูเดียวที่ไดประโยชนจากภาษี ในขณะที่ผูอื่นตางสูญเสียผลประโยชน
การเลิกทาสในป 2417 และยกเลิกการเกณฑแรงงานไพรในป 2421 ซึ่งพวกศักดินายกยองวาเปนผลงานชิ้นสําคัญยิ่ง
ในการปลดปลอยปวงชนชาวไทย ดวยพระมหากรุณาธิคุณเปนลนพนจนรวมหัวกันถวายพระนามวา “พระปย
มหาราช” นั้น ความจริงพระองคมิไดมีเจตนาเชนนั้นเลย เปาหมายสําคัญเปนไปเพื่อลดการซองสุมไพรพลของ
บรรดาขุนนางใหญในกรุงและหัวเมือง โดยเฉพาะขุนนางตระกูลบุนนาค (สมเด็จเจาพระยาศรีสุริยวงศ) เพราะเกรง
วาประวัติศาสตรจะซ้ํารอยที่พวกขุนนางจะหนุนเจาศักดินาอื่นขึ้นเปนกษัตริยแทนพระองค
ในชวงนั้นทั้งเจาศักดินาและขุนนางพากันไมพอใจรัชกาลที่ 5 อยางมากที่ริดรอนอํานาจการปกครองและการเก็บ
ภาษี ในที่สุดความขัดแยงระหวางพวกศักดินาก็ถึงจุดสูงสุด เมื่อรัชกาลที่ 5 ลิดรอนอํานาจในการเก็บภาษีของวัง
หนา และตัดทอนผลประโยชนที่วังหนาเคยไดรับ พระองคก็ไมยอมสงใหอีกตอไป จนกระทั่งวังหนาไดยินขาวลือ
วาวังหลวงจะทํารายตนจึงหนีไปอยูใตรมธงอังกฤษ โดยมีกงสุลนอกซเปนผูคุมครอง1
การนิเอ กงสุลฝรั่งเศสขณะนั้นบันทึกวา รัชกาลที่ 5 ตองการรวบอํานาจมาอยูในมือตัวเองจึงวางแผนที่จะจับวังหนา
โดยแสรงกอไฟไหมวังหลวง ซึ่งตามระเบียบแลววังหนาตองคุมทหารมาชวยดับไฟจะไดหาวาวังหนาเปนกบถ และ
ยึดตัวไวใหสละตําแหนง ถาไมยอมจะสําเร็จโทษ แผนการที่ 2 คือ พระองคเตรียมใหเจาฟามหามาลาไปบอกวังหนา
วา วังหลวงจะไปเยี่ยม ใหวังหนาขนทหารไปจากวังแลวพระองคก็จะนําทหารไปจับวังหนา แตในที่สุดใชวิธีแรก
คือทําใหเกิดไฟไหมในวังหลวง แตบังเอิญวังหนาไมยอมไปชวยดับไฟ เพราะเปนรูมาติซั่ม (โรคขออักเสบชนิด
หนึ่ง) รัชกาลที่ 5 จึงถือโอกาสกลาวหาวาวังหนามีแผนการจะยึดวังหลวงและเอาปนใหญหันไปทางวังหนา โดย
ลอมวังหนาไวทุกดาน ทางแมน้ําก็มีเรือปนเฝาไว ถึงกระนั้นวังหนาก็ลงเรือหนีออกไปไดพรอมกับครอบครัวใน
ตอนกลางคืน2
เมื่อรัชกาลที่ 5 เห็นวังหนาหนีไปอยูกับอังกฤษก็ขอใหขาหลวงอังกฤษที่สิงคโปรไกลเกลี่ยนโยบายที่เสี่ยงภัยของ
พวกศักดินา ในการชักเอาไทยตางดาวทาวตางแดนเขามายุงเกี่ยวกับการแยงผลประโยชนประดุจเด็กอมมือ ทําให
17
อธิปไตยของไทยแขวนอยูบนเสนดาย ฝรั่งเศสและอังกฤษสงเรือรบของตนเข ามาที่กรุ งเทพ อางวาเพื่อรักษา
ผลประโยชนของพวกตน นอกจากนี้ถึงกับมีการพูดกันระหวางกงสุลอังกฤษและฝรั่งเศสวา ควรแกปญหาดวยการ
แบงไทยเปน 3 สวน ใหรัชกาลวังหนาและสมเด็จเจาพระยาศรีสุริยวงศปกครองกันคนละสวน3 อันจะเปนผลให
อังกฤษและฝรั่งเศสสามารถแทรกแซงประเทศเราไดสะดวกยิ่งขึ้นในเวลาตอไป แตเปนคราวเคราะหดีที่ผูสําเร็จ
ราชการอังกฤษที่สิงคโปรไมเห็นดวย เพราะคิดวาถาทําเชนนั้นฝรั่งเศสจะไดภาคตะวันออกของไทย สวนอังกฤษได
เพียงฝงตะวันตกซึ่งทําเลคาขายสูอีกฝงหนึ่งไมได ซ้ําจะทําใหการคาของอังกฤษซึ่งครอบงําไทยไดอยูแลวตอง
เสียหายไปอีก4 จึงตกลงใจเขาขางรัชกาลที่ 5 บีบบังคับใหวังหนาตองออกจากกงสุลอังกฤษ กลับวังดวยความคับ
แคนใจ
นโยบายที่ละโมบของรัชกาลที่ 5 ทําใหสวนพระองคไดรับรายไดจากภาษีอากรมากกวาเดิมมากมาย ภาษีอากรที่ได
เพิ่มขึ้นนี้ถูกพระองคนําไปใชจายอยางฟุมเฟอยซึ่ง ม.จ. จงจิตรถนอม ดิศกุล และ ม.จ. พูนพิสมัย ดิศกุล เลาวา วัง
หลวงสมัยนั้นมีแตความฟุมเฟอย พวกเจามีชีวิตที่เหลวไหลอยูทามกลางงานสังสรรค และการแตงแฟนซี ม.จ. จง
จิตรถนอม ดิศกุล เลาวา “...ในสมัยนั้นโปรดการแตงแฟนซีมาก มักจะมีเสมอ เมื่อเลี้ยงที่สวนศิวาลัย...”5 ม.จ. พูน
พิสมัย ดิศกุล ก็เลาวา “...มักจะมีงานสนุกๆเสมอ...”6 “...เจานายฝายในทรงมีเวลาวางมากก็เสด็จไปเยี่ยมเยียนกันตาม
ตําหนัก บางทีก็เสวยดวยกันบาง กระนั้นพอเย็นลง ทุกคนก็แตงตัวสวยๆออกเดินกันเต็มถนนในวัง...”7
โดยเฉพาะรัชกาลที่ 5 นั้น “....คิดทําอะไรใหแปลกๆและสนุกอยูเสมอ เชน งานปใหม งานขึ้นพระที่นั่ง ขึ้นพระ
ตําหนัก แมตนพะยอมที่ทรงปลูกออกดอกก็จะมีการออกราน ของกิน เฉลิมฉลองกันอยูใตตนพะยอมนั้น”8 ซึ่ง
นับเปนเรื่องที่ไรสาระมากที่จัดงานเลี้ยงพร่ําเพรื่อ ขนาดตนพะยอมออกดอกก็เฉลิมฉลองกัน
ม.จ. พูนพิสมัย ดิศกุล เลาตอไปวา “ขาพเจาจําไดชัดเจนดี การแตงแฟนซีปใหม มีเจานายทรงแตงเปนพระยาวอก
องคหนึ่งถึงวันพระยาระกาจะมา มีการเสด็จออกรับรองกันสนุก ทั้งสองฝายตกแตงเปนไทยโบราณรับรองกัน สนุก
ทั้ง 2 ฝาย มีบริวารตกแตงเปนไทยโบราณดวยกันทั้ง 2 ฝาย เดินกระบวนแหมาพบกันที่พระที่นั่งอัมพรสถาน”9
นาสังเกตวาในรัชกาลนี้เองที่มีการสรางปราสาทราชวัง เปลืองเงินทองของประเทศ เพื่อใชประดับเกียรติยศของ
กษัตริยมากที่สุด พระที่นั่งจักรีแบบวิกตอเรียขนาดใหญ ยอดปราสาทไทยก็ดี พระที่นั่งอนันตสมาคมซึ่งเปนหิน
ออนอิตาลีทั้งหลังก็ดี ลวนสรางขึ้นในรัชกาลนี้ทั้งสิ้น
สวนบุคคลอื่นที่ใกลชิดกับรัชกาลที่ 5 นั้นก็นําเอาภาษีอากรของประชาชนมาบํารุงบําเรอความสุขของตนเชนกัน ดู
พระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ (มเหสีของรัชกาลที่ 5) ซึ่งมิไดทําคุณประโยชนอันใดแกแผนดินเลย กลับมีเงิน
ทองใชสอยสุรุยสุรายบนความทุกขยากของประชาชนสวนใหญ อุทุมพร วีระไวทยะ (นาง อมร คุรุณารักษ อ.
สุนทรเวช) ขาราชสํานักของพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถเลาวา ราชินีองคนี้สนใจสะสมเครื่องเพชรและ “ทรง
โปรดแลวก็ทรงศึกษาหาความรู พรอมทั้งเต็มพระทัยจับจายซื้อหาเทาที่ทรงเห็นสมควรโดยไมลังเล”10 ฉะนั้นจึงเปน
ที่เลาลือทั่วไปวา “ไมเคยมีสมเด็จพระอัครมเหสี-เทวีพระองคไหนในรัชกาลใดๆแหงราชวงศจักรี ทั้งในอดีตและ
ปจจุบันจะไดทรงเปนเจาของเครื่องราชอาภรณที่เปนเพชรนิลจินดาคาควรเมืองที่งดงามหลากสี หลายตระกูล ขนาด
ตางๆนานาชนิดเหมือนกับของสมเด็จจนอาจจะกลาวไดวา กระบวนเครื่องอาภรณ เพชรพลอย ที่เปนอัญมณีชั้นยอด
เทาที่จะมีอยูในประเทศแถบตะวันออกนี้แลวเปนอันไมมีของใครจะงดงามเทา หรือสะสมไวมากเทาเทียม แมแต
ครึ่งหนึ่งของสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถแหงกรุงสยาม”11 เครื่องเพชรคาควรเมืองชุดใหญเปนพิเศษ
18
เหลานี้ประกอบดวยชุดเพชรรูปกลมเม็ดใหญ 2 ชุด ชุดเพชรรูปหยดน้ํา ชุดทับทิมลอมเพชร มรกตลอมเพชร นิลสี
น้ําเงินแกลอมเพชร กลาวกันวานิลเม็ดใหญเม็ดเดียวก็มีคานับลาน12 นอกจากนี้ยังมีไขมุกตั้งแตสั้นจนยาวถึงสะเอว
ไมต่ํากวา 1,000 เม็ดตางสีและตางขนาดกัน เม็ดที่มีคามากที่สุดนั้นสีเหลืองน้ําผึ้งซึ่งรัชกาลที่ 5 ซื้อมาจากยุโรป ดวย
มูลคาที่จุลจอมเกลาเองก็ออกปากวา “ราคาแพงเต็มที”13
หลังป 2475 ไดมีผูพยายามนําเอาเครื่องเพชรเหลานี้มาเก็บไวเปนของแผนดิน หรือทําใหกลายเปนสมบัติของ
ประชาชนทั้งชาติ แตถูกพวกศักดินาคัดคานอยางหนัก จนถึงรัชกาลที่ 9 พวกศักดินาที่เปนทายาทของสมเด็จพระศรี
พัชรินทราบรมราชินีนาถจึงไดรับการจัดสรรปนสวนทรัพยสมบัติเหลานี้ไปจนหมดสิ้น14
การที่บรรดาเจาจอมหมอมหามของรัชกาลที่ 5 ไดรับผลประโยชนจากพระองคแตกตางกันไปตามความพอใจของ
พระองคนั้น ทําใหหลานเจาจอมของพระองคทะเลาะเบาะแวง แบงแยกกันเปนกกเปนเหลา เพราะตางก็อิจฉาริษยา
และแกงแยงชิงดีชิงเดนกันอยางหนัก เชน เจาจอมหมอมหามที่ขึ้นอยูกับพระศรีพัชรินทรบรมราชินีนาถ มีเจาจอม
ม.ร.ว. แปน มาลากุล, เจาจอม ม.ร.ว. แปม มาลากุล, เจาจอม ม.ร.ว. แปง มาลากุล, เจาจอมเลื่อน, เจาจอมชุม, เจา
จอมแส, เจาจอมอนและเจาจอมศรีพรหมา สวนเจาจอมที่สังกัดกับเจาจอมมารดาแพพระสนมเอกมี เจาจอมกก อ. 5
คน พี่นองตระกูลบุนนาคคือ เจาจอมออน, เจาจอมเอี่ยม, เจาจอมเอิบ, เจาจอมอาบและเจาจอมเอื้อม สําหรับเจาจอม
ที่ขึ้นกับพระนางเจาสวางวัฒนาบรมราชเทวีนั้นมี เจาจอม ม.ร.ว. เนื่อง สนิทวงศ, เจาจอม ม.ร.ว. ขอ สนิทวงศ, เจา
จอมพรอมและเจาจอมเรียม เปนตน15 การที่เจาจอมหมอมหามทั้งหลายแตกเปนกกเปนเหลาเชนนี้ทําใหแตละกก
ตางก็วิวาทบาดหมางกัน ไมผิดพวก “ไพร” ที่พวก “ผูดี” ทั้งหลายเหยียดหยามวาต่ําทราม หมื่นพิทยาลาภเลาไวใน
งานชื่อ คุณทาว วรจันทร ในหนังสือชุมนุมพระนิพนธของทานวา บางครั้งความกินแหนงแคลงใจระหวางนางใน
ราชสํานักกกตางๆ ทําใหคูขัดแยงแตละขางถึงกับยกพวกเขาตบตีกันเปนโกลาหล โดยมิไดเกรงพระราชอาญา
ขณะที่รัชกาลที่ 5 และเหลาราชนิกุลเสพยสุขอยูในวัง และทะเลาะเบาะแวงไรสาระนั้น ประชาชนสวนใหญกลับมี
สภาพยากจน อดมื้อกินมื้อ ตางไปจากพวกผูดีอยางฟากับดิน พระสุริยานุวัติเลาในหนังสือทรัพยศาสตรใหเห็นถึง
ชีวิตของชาวไรชาวนา ประชาชนกวารอยละ 80-90 ของประเทศในเวลานั้นวา “ราษฎรที่ยากจนขัดสนดวยทุนตอง
ออกแรงทํางานแตลําพังดวยความยากลําบากเพียงใด ยอมจะเห็นปรากฏอยูทั่วไปแลว ในเวลาที่ทํานาอยู เสบียง
อาหารและผานุงหมไมพอก็ตองซื้อเขาโดยเสียราคาแพง หรือถากูเขาไปซื้อก็ตองเสียดอกเบี้ยอยางแพงเหมือนกัน
เมื่อเกี่ยวขาวไดผลแลวไมมีกําลังและพาหนะพอจะขนไปจากลานนวดขาว หรือไมมียุงฉางสําหรับเก็บขาวไวขาย
เมื่อเวลาขาวในตลาดจะขึ้นราคาก็จําเปนตองขายขาวเสียแตเมื่ออยูในลานนั้นเอา จะใหราคาต่ําสักเทาใดก็จําใจขาย
มิฉะนั้นจะไมมีเงินใชหนี้เขาทันตามกําหนดสัญญา ตองเสียเปรียบเพราะมีทุนนอยเชนนี้.....แรงที่ไดออกไปดวย
ความเหน็ดเหนื่อยและทรมานกาย อุตสาหตากแดดฝนทนลําบากเปนหนักหนานั้นก็ไมทําใหเกิดเปนผลทรัพยของ
ตัวเองได เทากับออกแรงทําประโยชนใหแกผูอื่นฝายเดียวเปนแท ดูเปนนาสมเพชนัก....”
ในขณะที่ประชาชนทุกขยากถึงเพียงนี้รัชกาลที่ 5 กลับมิไดเหลียวแลเลย จนพระยาสุริยานุวัตรอดีตเสนาบดี
กระทรวงพระคลังมหาสมบัติอดไมไดที่จะวิจารณวา “พระเจาแผนดินไมตองทําอะไร เพราะไมมีความกังวลในศึก
สงครามก็มีแตจะแสวงหาความสุข แบงปนเอาเงิน ผลประโยชนแผนดินไปใชเปนสวนพระองค...”16 ซ้ํายังวิจารณ
อีกวา “....รายไดของแผนดินตองเสียไปสําหรับพระมหากษัตริยมากมายดังกลาวแลว รัฐบาลจะเอาเงินที่ไหนมาใช
บํ า รุ ง ความเจริ ญ ของบ า นเมื อ งได ต ามความปรารถนาของราษฎร ขาดการศึ ก ษา การอนามั ย และขาดความ
19
สงเคราะหทุกอยางแกการกสิกรรม อุตสาหกรรม พานิชยกรรม เปนตน ถาทานไมเอาเงินแผนดินไปใชเสียมากมาย
เชนนั้น ฐานะของพลเมืองคงจะดีกวาทุกวันนี้เปนอันมาก....”17
การที่พระยาสุริยานุวัตรวามานี้เปนความจริงทุกประการ สมัยรัชกาลที่ 5 นั้นราชสํานักซึ่งประกอบดวยกษัตริยและ
เจาจอมหมอมหามหยิบมือเดียวไดรับงบประมาณถึง 1 ใน 7 ของรายจายของรัฐ ในขณะที่ประชาชนหลายลานตอง
เสียภาษีอากรเปนรายไดทั้งหมดของแผนดิน แตกลับไดรับการจัดสรรรายจายของรัฐตามโครงการพัฒนาเศรษฐกิจ
เชน รถไฟ ถนน เขื่อน และการศึกษาเพียง 1 ใน 6 ของรายจายแผนดินซึ่งมีจํานวนพอๆกับรายจายสําหรับกษัตริย
เพียงพระองคเดียว18
ภายใตภาวะเชนนี้ ชาวไร ชาวนา คนสวนใหญของประเทศถูกศักดินาขูดรีดอยางหนัก ชาวนาภาคกลางตองเสียภาษี
ตางๆ ดอกเบี้ยและคาเชารวมกันถึง 3 ใน 5 ของผลผลิตทั้งหมด19 ซึ่งกษัตริยเปนผูที่ไดรับประโยชนที่สุด เพราะเปน
ผูที่ไดประโยชนจากภาษีอากรมากที่สุด นอกจากนี้ยังเปนเจาที่ดินใหญที่สุดในประเทศซึ่งขูดรีดเอาคาเชาจากชาวนา
ของเขาถึง 50,000 ไรเปนอยางนอย สวนชาวนาในภาคอื่นนั้น แมไมเชาที่ดินกันมาก แตก็ทํากินในที่ดินไมอุดม
สมบูรณไดผลผลิตพอยังชีพเทานั้น เพราะไมมีชลประทาน โดยเฉพาะในปที่มีภัยธรรมชาติ เชน ฝนแลง ชาวนาจะมี
ขาวไมพอกินจนตองขายลูกเมียและตนเองลงเปนทาส20 การเก็บเกี่ยวที่ไมไดผลในบางปทําใหคนถึงกับอดตาย
เหตุการณที่นาเศรานี้สวนมากเกิดขึ้นในภาคเหนือและอีสานซึ่งดินไมอุดมสมบูรณ21 ชาวนาอีสานตองเรรอนไปยังที่
ตางๆเพื่อหาอาหาร และบอยครั้งที่ตองบริโภคกลอยแทนขาว22 โดยไมไดรับการนําพาจากกษัตริยเลย
ในป 2433 และ 2452 ชาวนาที่ขัดสนถึงกับรวมตัวกันยื่นฎีกา ขอกูเงินหลวงเพื่อนําไปซื้ออาหารรับประทาน แต
รัชกาลที่ 5 กลับปฏิเสธ23 ทั้งที่รัชกาลที่ 5 มักจะยอมปลอยเงินกูใหแกพอคาจีน24 เพราะไดดอกเบี้ยคุมเงินที่เสียไป
นี่แหละคือน้ําใจของผูที่เจาขุนมูลนายยกยองวาเปน “ปยมหาราช” แตเดิมนั้นชาวนาไทยยังพออดทนอยูได แตเมื่อ
เวลาผานไปสภาวะกลับเลวรายลงทุกที เพราะราคาขาวเริ่มตกต่ําลง นอกจากนี้การที่รัชกาลที่ 5 ใชเงินจํานวนมาก
บํารุงบําเรอความสุขของตนเองและเจาจอมหมอมหามอันไมกอประโยชนใหแกประเทศเลย ไดทําใหเศรษฐกิจโดย
สวนรวมเสื่อมทรามลงเรื่อยๆ ดังจะเห็นขอเท็จจริงไดจากการวิจารณของพระยาวิสุทธิ์สุริยศักดิ์ หลังจากที่รัชกาลที่
5 สวรรคตไปแลววา “การคาขายและการเพาะปลูกในเมืองไทยนั้นตกต่ํา ทรุดโทรมมาแตปลายรัชกาลกอนแลว
(รัชกาลที่ 5) ราษฎรไดรับความคับแคน อับจนตางๆ”

1. ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม เรื่องเดิม หนา 486


2. ม.ล. มานิจ ชุมสาย ประวัติศาสตรญวน-ไทย ในเรื่องเขมร-ลาว (รวบรวมจากเอกสารกระทรวงตางประเทศรัฐบาลฝรั่งเศส) พิมพเปน
อนุสรณในงานฌาปนกิจศพนางเจิม ชุมสาย ณ อยุธยา วันที่ 18 เม.ย. 2522 หนา 63-64
3. ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม เรื่องเดิม หนา 634-635
4. เรื่องเดิม หนา 634-635
5. ม.จ. จงจิตรถนอม ดิศกุล “คําปรารภ” พระราชนิพนธและพระนิพนธ (เรื่องเดิม) หนา 76
6. ม.จ. พูนพิสมัย ดิศกุล “ชิงนาง” พระราชนิพนธและพระนิพนธ (เรื่องเดิม) หนา 89
7. ม.จ. พูนพิสมัย ดิศกุล “ความสนุกในพระบรมมหาราชวัง” พระราชนิพนธและพระนิพนธ (เรื่องเดิม) หนา 94
8. เรื่องเดิม หนา 95
9. เรื่องเดิม หนา 95
10. อุทุมพร พระราชประวัติสมเด็จพระศรีพัชรินทราฯ เลม 6 (คุรุสภา, 2514) หนา 133

20
11. เรื่องเดิม หนา 134
12. เรื่องเดิม หนา 141-149
13. เรื่องเดิม หนา 140-149
14. เรื่องเดิม หนา 145
15. อุทุมพร เรื่องเดิม หนา 48-51
16. พระยาสุริยานุวัตร เศรษฐวิทยา เลม 3 (พิมพที่ระลึกงานศพ นาง กุณฑลี วรศะวิน 25 พ.ค. 2519) หนา 2
17. เรื่องเดิม หนา 2
18. คํานวณจาก Statiscal year book of Kingdom of Siam.1916
19. คํานวณโดย ฉัตรทิพย นาถสุภา และ สุธี ประศาสนเศรฐ “ระบบเศรษฐกิจไทย” 1851-1910 (สรางสรรค, 2524) หนา 151
20. เอกสารในหอจดหมายเหตุแหงชาติ (ตอไปเรียก กจช.) เลขที่ กษ 3.1/12 พระยาวงศานุประพัทธิ์ ทูล ร.5 วันที่ 18 ส.ค. ร.ศ. 128
21. กจช.เอกสารสมัย ร.5 เลขที่ ม 2.25/3 Mr. Henry M. Jones (of the British Legation) To Prince 1892 กจช.เอกสารรัชกาลที่ 5 เลขที่ ม
2.25/39 กรมดํารงทูลกรมสมมติ อมรพันธ 25 ก.ย. ร.ศ. 122
22. กจช.เอกสารสมัย ร.5 เลขที่ ม 2.25/36 และ ม 2.25/35 การโตตอบของกรมดํารง กรมสมมติ อมรพันธและกรมหมื่นปราจิณกิติบดี ร.
ศ.122 และ ร.ศ. 126
23. กจช.เอกสาร ร.5 ก.ย. 3.1/3 ฎีการาษฎร ร.ศ. 109 และเอกสาร ร.5 ก.ย. 3.1/12 เจาพระยาวงศานุประพัทธิ์ ทูล ร.5 ร.ศ. 128
24. ดู สิริลักษณ ศักดิ์เกรียงไกร ตนกําเนิดชนชั้นนายทุนในประเทศไทย (2398-2453) (สรางสรรค, 2523) หนา 54
25. กจช.เอกสาร รัชกาลที่ 6 หมายเลข บ. 17/11 พระยาวิสุทธิ์ สุริยศักดิ์ ทูล ร.6 วันที่ 4 มี.ค. ร.ศ. 130

21
รัชกาลที่ 6 : กษัตริยผ ูหลงระเริงอยูกับวรรณกรรมและการละคร

เมื่อรัชกาลที่ 5 สวรรคตและเจาฟาวชิราวุธไดครองราชยสถานการณทางเศรษฐกิจก็มิไดดีขึ้น ขนาดเจาพระยาวงษา


นุประพัทธิ์เสนาบดีเกษตรเองก็ยังวิจารณนโยบายของรัฐบาลวายัง “...ไมไดกระจายความมั่งคั่ง เพื่อความสุขสบาย
ของประชาชาติซึ่งเปนจุดมุงหมายของอารยประชาชาติทั้งปวง....”1
แมวาเจาพระยาวงศานุประพัทธิ์จะไดนําเอาสภาพชาวนาที่ประสบกับปญหาดินฟาอากาศวิปริตไปเลาใหรัชกาลที่ 6
ฟงเมื่อตนรัชกาลวา ในเวลาที่ดินฟาวิปริตนั้นพืชพรรณธัญญาหารจะเสียหายเปนสวนใหญ เพราะรัฐศักดินาแทบจะ
ไมไดพัฒนาชลประทานของประเทศเลย สิ่งนั้นทําใหผูคนซึ่งอดอยาก “ตางก็พากันออกไปเที่ยวหาขาวมาเลี้ยงกัน
....” บางคนถึงกับอดขาวตายเพราะความหิวโหย โดยเฉพาะเด็กตัวดําๆที่มีรางกายเปราะบาง และคนชราซึ่งทํางาน
เกณฑ และชําระภาษีอากรเพื่อบํารุงบําเรอความสุขของพวกศักดินามาตลอดชีวิต
แตรัชกาลที่ 6 ไมนําพารายงานดังกลาว กลับใชจายเงินฟุมเฟอยมากขึ้นเรื่อยๆในเรื่องโขนละคร โดยไมยอมเจียด
เงินไปพัฒนาประเทศชาติเลย งบประมาณสวนที่ประชาชนไดรับประโยชนยังคงมีนอยนิดเดียวไมผิดกับในสมัย
รัชกาลที่ 53 พระองคใชจายเงินสุรุยสุรายจนมีหนี้สินหลายลานบาท ทั้งที่กษัตริยเพียงคนเดียวไดรับงบประมาณ
มากกวางบสรางเขื่อนใหประชาชนไมรูกี่เทาตัวซึ่งสถานทูตอังกฤษบันทึกวา หนี้สวนหนึ่งเกิดจากการซื้อเพชร
พลอย อัญมณีแจกจายขาราชบริพารคนโปรด4 กษัตริยบีบบังคับใหกระทรวงพระคลังมหาสมบัติจายเงินแผนดินอัน
เปนภาษีอากรของประชาชนใชหนี้ใหแกตน นอกเหนือจากงบประมาณสําหรับกษัตริยถึง 3 บาท5
บทความอางงานของ Anderson ที่กลาววา “ระบบใหมนี้ (ระบบการสืบราชสันตติวงศ) นําคนรักรวมเพศที่ไมได
เรื่องคนหนึ่งขึ้นสูราชบัลลังกในป 2453” หรืออางงานของ Greene วา รัชกาลที่ 6 นั้น “ทรงโปรดใหมีผูแวดลอมเปน
ชาย” บทความตอนหนึ่งพูดถึงเจาพระยารามราฆพ “คนที่พระเจาแผนดินทรงไววางพระทัยและเปนพระสหายคูใจที่
ซื่อสัตย” จากการเปนคนโปรดของพระเจาแผนดินนั้นพระยารามไดรับพระราชทานตําแหนงเจาพระยาอันเปน
ตําแหนงสูงสุดทางราชการตั้งแตป 2464 ในขณะที่มีอายุเพียง 31 ป เจาพระยารามราฆพนั้นตอมาไดรับแตงตั้งเปน
ประธานสมาคมฟุตบอลแหงประเทศไทย บทความกลาวไวตอนหนึ่งวา “รัชกาลที่ 6 ทรงกระทําทุกอยางเพื่อให
แนใจวาทีมมหาดเล็กคนโปรดและพระสหายคูใจตลอดกาลคือ เจาพระยารามราฆพจะตองชนะเสมอ”
คนโปรดอีกคนหนึ่งที่บทความพูดถึงคือ พระยานรรัตนราชมานิตย ซึ่งไดตําแหนงพระยาเมื่อมีอายุเพียง 24 ป
รัชกาลที่ 6 ไดทรงสังเกตเห็นพระยานรรัตนราชมานิตยในคราวเมื่อมีการสวนสนามเสือปา ขณะที่พระยานรรัตน
ราชมานิตยยังคงเปนนักเรียนในโรงเรียนมหาดเล็ก บทความอาง กมลา ติยะวณิช ที่ไดบรรยายไววา “ดวยรูปราง
หนาตาที่หลอเหลา และมีกิริยามารยาทดีทําใหรัชกาลที่ 6 ทรงสนพระทัย หลังจบจากโรงเรียนมหาดเล็กแลวก็ไดเขา
รับราชการเปนมหาดเล็กของพระเจาอยูหัว และตอมาก็ไดเปนคนสนิทของพระองค”
ตามที่บทความอาง ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เคยบรรยายถึงลักษณะที่พระยานรรัตนราชมานิตยปะและซอมกางเกง
แพรจีนของพระเจาอยูหัวดวยอาการราวกับภรรยาบนถึงสามีหัวดื้อของเธอมี่แมจะสามารถซื้อกางเกงตัวใหมไดแตก็
ไมยอมทิ้งกางเกงตัวเกาที่โปรดปราน
ในบรรดามหาดเล็กคนโปรดของรัชกาลที่ 6 คือ เจาพระยารามราฆพและเจาคุณอนิรุทธิ์เทวานองชายนั้นเปนผูได
ประโยชน ม ากที่ สุ ด คนพี่ ไ ด บ า นไทยคู ฟ า คื อ ทํ า เนี ย บรั ฐ บาลเป น ของขวั ญ ส ว นเจ า คุ ณ อนิ รุ ท ธิ์ เ ทวาได บ า น
22
พิษณุโลก และขาราชบริพารคนโปรดอีกคนหนึ่งไดบานมนังคสิลา คฤหาสนยักษทั้ง 3 หลังซึ่งมีบานไทยคูฟาใหญ
ที่สุดที่รัชกาลที่ 6 สรางขึ้น เพื่อมอบใหเปนกรรมสิทธิ์แกคนโปรดนี้มีราคาแพงมหาศาล ถาปจจุบันนี้ใชเงินเพียง 10-
20 ลานบาทก็สรางไมได เพราะเพียงบานพิษณุโลกหลังเดียวที่รัฐบาล จอมพล ป. บังคับซื้อจากเจาคุณอนิรุทธิ์เทวา
ในราคาถูกนั้น รัฐบาลปจจุบันจะซอมแซมสําหรับใชเปนที่อาศัยของนายกรัฐมนตรีก็ตั้งงบประมาณนับสิบลานบาท
ทีเดียว
ในรัชกาลนี้ความสัมพันธระหวางพวกเจากับรัชกาลที่ 6 อยูในภาวะมึนชาอยางยิ่ง เพราะพวกเจาเห็นวาพระองค
ไดผลประโยชนเทาไรก็ประเคนใหมหาดเล็กคนโปรดหมด ไมแบงปนใหญาติพี่นองเลย พระองคไมยกยองพวกตน
เทาที่ควร พระองคเองก็ไมเคารพพวกพี่นอง ในขณะที่พระองครวมโตะกับพระยารามราฆพและพระยาอนิรุทธิ์เทวา
เปนประจํา กลับไมเคยกินขาวรวมกับเจาฟากรมหลวงพิษณุโลกประชานาถซึ่งเปนนองชายรวมสายโลหิตอยางเปน
กันเองตลอดเวลานานนับ 10 ป6 สวนพี่นองคนอื่นๆก็ยิ่งหางเหินมาก ขนาดนองชายอีกคนหนึ่งคือกรมหลวง
นครสวรรควรพินิตจะไดเฝาทีไรก็ตองคอยคราวละตั้ง 3-4 ชั่วโมง บางคราวถึงกับตองคอยเกอก็มี7
ในการฝกเสือปานั้นพวกเจาถูกลบหลูอยางหนัก มหาดเล็กที่ใกลชิด เชน นาย จายง (ตอมาเปนเจาพระยารามราฆพ)
ไดรับตําแหนงนายกองโท และเพียง 2 เดือนตอมาก็เลื่อนเปนถึงนายกองเอก8 ทั้งที่พระราชวงศชั้นผูใหญที่เรียน
ทหารจากตางประเทศ เชน จอมพลเจาฟากรมพระภาณีพันธุ วงษวรเดช (อาของรัชกาลที่ 6) พล.ร.อ. กรมขุน
นครสวรรควรพินิต (นองชายของรัชกาลที่ 6) พล.อ. กรมหมื่นนครไชยศรีสุรากช (พี่ชายของรัชกาลที่ 6) และกรม
หลวงพิษณุโลก (นองชายของรัชกาลที่ 6) เปนแคนายกองตรีทั้ง 4 คน9
ความที่ริษยามหาดเล็กคนโปรดของรัชกาลที่ 6 อยางรุนแรง และความที่โมโหพี่ชายรวมสายเลือดจนอดทนตอไป
ไมได ทําใหเจาฟาจักรพงษภูวนาถเสนาธิการทหารบกไมยอมใหทหารไปฝกเสือปาในเวลาราชการเลย10 สวนเจาฟา
ประชาธิปกศักดิเดช (นองชายของรัชกาลที่ 6) ก็ไมพอใจพี่ชาย และเขียนจดหมายถึง ดร. ฟรานซิส บีแซร เลาวา
“พระเจาแผนดินกลายเปนผูที่ตกอยูใตอิทธิพลของขาราชบริพารคนโปรด ขาราชการทุกคนถูกเพงเล็งมากบาง นอย
บาง ในดานฉอราษฎรบังหลวงหรือเลนพรรคเลนพวก ......... พระราชสํานักของพระองคเปนที่เกลียดชังอยาง
รุนแรง และในตอนปลายรัชกาลก็ถูกลอเลียนเยาะเยย....”11
การที่พวกเจาไมพอใจรัชกาลที่ 6 เพราะเรื่องผลประโยชน ทําใหไมมีใครรูสึกเดือดรอนแทนพระองคในเวลาที่เกิด
กบฏของพวกทหารใน ร.ศ. 130 จนกระทั่งพระองครูซึ้งถึงเรื่องดังกลาวจนอดคิดไมไดวา ตอกรณีนี้ผูอื่นตางก็รอง
อยูในใจวา “ไมใชกงการอะไรของขา...”12 เอกสารของสถานทูตอังกฤษเปดโปงวา ที่พวกราชวงศไมพอใจมากก็คือ
การที่พวกขุนนางของรัชกาลที่ 6 กลั่นแกลงพวกตน เชน เจาพระยายมราชคนโปรดของพระองคพยายามบีบ
พระองคเจาศุภโยคเกษมใหพนจากตําแหนงเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ โดยออกคําสั่งลับไมใหเจาหนาที่
ฝายตนเก็บภาษีเพื่อฟองพระองควา กระทรวงพระคลังมหาสมบัติไมสามารถเก็บภาษีไดทั้งที่มีเงินอยูในประเทศ
มาก13
ในบรรดาพวกเจาเหลานี้ตางก็รวมตัวกันตอตานรัชกาลที่ 6 อยางจริงจัง โดยมีกรมพระจันทบุรีนฤนาทเปนผูนํา
สวนเจานายคนอื่นก็มี พระเจาพี่ยาเธอกรมพระกําแพงเพชร, พระองคเจาศุภโยคเกษม และเจาฟากรมพระ
นครสวรรควรพินิต14 ในที่สุดก็มีขาวลือตลอดรัชกาลนี้วาจะมีรัฐประหารโดยพวกเจา เชน เมื่อตนป ร.ศ. 130 มีขาว
ลือวากรมหมื่นชุมพรเขตอุดมศักดิ์จะรัฐประหาร เชิญเจาฟากรมหลวงนครสวรรคเปนกษัตริย15 ซึ่งสิ่งนี้ที่จริงแลวก็
23
คือปฏิกิริยาที่พวกเจามีตอรัชกาลที่ 6 อยางนอยที่สุดก็เปนการปลอยขาวออกมาบีบบังคับพระองควา ถาเอ็งยังดื้อรั้น
ขาก็จะจัดการละนะหรืออะไรทํานองนั้น โชคดีที่รัชกาลที่ 6 ไมถูกพวกเจาถอดจากราชบัลลังก เพราะสวรรคตไป
เสียกอน

1. กจช. เอกสาร ร.6 แฟมกระทรวงเกษตร เลขที่ กษ 1/4 เจาพระยาวงษานุประพัทธิ์ 17 ธ.ค. 2453


2. เรื่องเดิม
3. ดูรายละเอียดใน พรเพ็ญ ฮันตระกูล การใชจายเงินแผนดินในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาฯ วิทยานิพนธอักษรศาสตร
มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณฯ, 2517
4. เรื่องเดิม
5. เรื่องเดิม
6. พระองคเจาจุลจักรพงษ เจาชีวิต หนา 580-581
7. ม.จ. สมประสงค บริพัตร บันทึกความทรงจําบางเรื่อง (อางแลว) หนา 19
8. กจช. ร.6 บ 11/10 ทะเบียนธงเสือปา 22 ก.ค. 30 พ.ค. 2454
9. แถมสุข นุมนนท ยังเติรกรุนแรก กบถ ร.ศ. 130 (เรืองศิลป 2423) หนา 149
10. เรื่องเดิม หนา 148
11. กจช. เอกสาร ร.7 สบ. 2.87/32 เลม 3 บันทึกเรื่องการปกครอง (23 ก.ค.-1 ส.ค. 2469) พระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระปกเกลา
เจาอยูหัว ถึง ดร. ฟรานซิส บีแซร
12. กจช. เอกสาร ร.6 จดหมาย ร.6 ถึงเจาพระยายมราช 4 มิ.ย. ร.ศ. 131
13. Greg to Sir Austin Chamberlain, May, 27th 1925
14. Greg to Sir Austin Chamberlain, Annual Report,1925 Feb 10th1926 FO.371/117 19F1122/1122/40 และ Greg to Sir Austin
Chamberlain May 27th1925 Fo371/10972 F2745/72/40
15. บันทึกความทรงจําบางเรื่องของหมอมเจาหญิงประสงคสม บริพัตร (โรงพิมพทาพระจันทร, 2499) หนา 17-18
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

24
รัชกาลที่ 7 : กษัตริยผ ูไมอาจรัง้ ประชาธิปไตย

กอนหนารัชกาลที่ 7 นั้น รัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 ทรงตอตานประชาธิปไตยมาก รัชกาลที่ 5 หาวาพวกที่


สนับสนุนระบบรัฐสภานั้น “พูดไปโดยรู งูๆ ปลาๆ.......”1 เพราะฝนเฟองไปวา ตนเองซึ่งเปนกษัตริย “.....จะทรง
ประพฤติการณอันใดก็ตองเปนไปตามทางที่สมควรและยุติธรรม”2 และหลงวาถึงจะมี ส.ส. คนก็คงเชื่อกษัตริย
มากกวา ส.ส.3 สวนรัชกาลที่ 6 ก็แสดงความเห็นไวในหนังสือเรื่อง “ฉวยอํานาจ” วาการปกครองแบบเกาสมบูรณ
ที่สุด เพราะวา “มีราชาเปนสงาแหงแควน” และพยายามตอตานระบบประชาธิปไตยอยางรุนแรง ประดุจผูที่ปดหูปด
ตาตนเอง โดยดึงเอาระบบประชาธิปไตยไปพัวพันกับความจลาจลวุนวาย ดังจะเห็นไดจากบทความเรื่อง “ความ
กระจัด กระจายแห ง เมื อ งจี น ” และ “การจลาจลในรั ส เซีย ” ซึ่ ง พระองคแ ปลมาจากภาษาอั ง กฤษ เพื่ อ ปกป อ ง
สถานภาพที่ไดเปรียบของตนไว
ความคิดที่ลาหลังของกษัตริยทั้งสองขัดขวางความกาวหนาของประเทศชาติจึงถูกผูที่รักชาติตอตานตลอดมา ซึ่งจาก
บันทึกของรัชกาลที่ 7 ไดชี้วาตั้งแตปลายรัชกาลของรัชกาลที่ 5 แลวที่มีผูวิพากษวิจารณกษัตริยในแงลบมากขึ้น4
บั น ทึ ก นั้ น มี ส าระตรงกั บ ความคิ ด ของเจ า ฟ า กรมหลวงพิ ษ ณุ โ ลกประชานาถที่ ว า “นั บ แต ป ลายรั ช กาล
พระบาทสมเด็จพระพุทธเจาหลวงเปนตนมา ความเชื่อมั่นในพระบรมราโชบาย......ดูเบาบางลง เกิดมีความเห็นวา
ทําอยางนั้นจะดีกวา ทําอยางนี้จะดีกวา ทําอยางนั้นเปนการเดือดรอนแกราษฎร....”5

ลําดับเหตุการณการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475

กุมภาพันธ 2469 : คณะราษฎรไดถูกจัดตั้ง และประชุมครั้งแรกที่หอพัก Rue Du Somerard กรุงปารีส ประเทศ


ฝรั่งเศส ผูเขารวมประชุมมี 7 คนคือ ร.ท. ประยูร ภมรมนตรี (นายทหารกองหนุน อดีตผูบังคับหมวดทหารมหาดเล็ก
รักษาพระองครัชกาลที่ 6), ร.ท. แปลก ขีตตะสังคะ (นักศึกษาในโรงเรียนนายทหารปนใหญฝรั่งเศส), ร.ต. ทัศนัย
มิตรภักดี (นักศึกษาในโรงเรียนนายทหารมาฝรั่งเศส), นาย ตั้ว ลพานุกรม (นักศึกษาวิทยาศาสตรใน
สวิตเซอรแลนด), หลวงสิริราชไมตรี (ผูชวยสถานทูตสยามประจํากรุงปารีส), นาย แนบ พหลโยธิน (เนติบัณฑิต
อังกฤษ) และนาย ปรีดี พนมยงค (ดุษฎีบัณฑิตกฎหมายฝายนิติศาสตร ฝรั่งเศส) โดยลงมติให นาย ปรีดี เปน
ประธาน และหัวหนาคณะราษฎร
12 มิถุนายน 2475 : คณะราษฎรไดวางแผนการที่บาน ร.ท. ประยูร ภมรมนตรี เพื่อจะดําเนินการควบคุมสมเด็จ
เจาฟากรมพระนครสวรรควรพินิต (ผูสําเร็จราชการรักษาพระนคร)
16 มิถุนายน 2475 : คณะราษฎรไดมีการประชุมเตรียมการหลายครั้ง รวมถึงไดมีการลมเลิกแผนการบางแผนการ
เชน การเขายึดอํานาจในวันพระราชพิธีถือน้ําพิพัฒนสัตยา เนื่องจากมีความเสี่ยงสูง จนกระทั่งสุดทายไดขอสรุปวา
จะดําเนินการในเชาวันศุกรที่ 24 มิถุนายน 2475 ซึ่งเปนชวงที่รัชกาลที่ 7 ประทับที่วังไกลกังวล ทําใหเหลือ
ขาราชการเพียงไมกี่คนอยูในกรุงเทพ

25
หลังจากนั้นยังไดมีการประชุมกําหนดแผนการเพิ่มเติมอีกที่บานพระยาทรงสุรเดช โดยมีการวางแผนวาจะ
ดําเนินการอยางไร และมีการแบงงานใหแตละกลุม แบงออกเปน 4 หนวยดวยกันคือ
หนวยที่ 1 ทําหนาที่ทําลายการสื่อสารและการคมนาคมที่สําคัญ เชน โทรศัพท โทรเลข ดําเนินการโดยทั้งฝาย
ทหารบกและพลเรือน ทหารบกจะทําการตัดสายโทรศัพทของทหาร สวนโทรศัพทกลางที่วัดเลียบมี นาย ควง อภัย
วงศ, นาย ประจวบ บุนนาค, นาย วิลาศ โอสถานนท ดําเนินการ โดยมีทหารเรือทําหนาที่อารักขา สวนสายโทรศัพท
และสายโทรเลขตามทางรถไฟและกรมไปรษณียเปนหนาที่ของ หลวงสุนทรเทพหัสดิน, ม.ล. อุดม สนิทวงศ, ม.ล.
กรี เดชาติวงศ เปนตน ซึ่งหนวยนี้ยังรับผิดชอบคอยกันมิใหรถไฟจากตางจังหวัดแลนเขามาดวย โดยเริ่มงานตั้งแต
เวลา 06.00 น.
หนวยที่ 2 เปนหนวยเฝาคุม โดยมากเปนฝายพลเรือนผสมกับทหาร ทําหนาที่ควบคุมตัวเจานายและบุคคลสําคัญ
ตางๆ เชน สมเด็จเจาฟากรมพระนครสวรรควรพินิต จากวังสวนผักกาดมายังพระที่นั่งอนันตสมาคม พระประยุทธ
อริ ยั่น จากกรมทหารบางซื่ อ เปน ต น นอกจากนี้ ยัง มี ก ารวางแผนให เ ตรี ย มรถยนต สํ าหรั บ ลากปน ใหญ ม าตั้ ง
เตรียมพรอมไว โดยทําทีทาเปนตรวจตรารถยนตอีกดวย โดยหนวยนี้ดําเนินงานโดย นาย ทวี บุณยเกตุ, นาย จรูญ
สืบแสง, นาย ตั้ว ลพานุกรม, หลวงอํานวยสงคราม เปนตน โดยฝายนี้เริ่มงานตั้งแตเวลา 01.00 น.
หนวยที่ 3 เปนหนวยปฏิบัติการเคลื่อนยายกําลังซึ่งทําหนาที่ประสานทั้งฝายทหารบกและทหารเรือ เชน
ทหารเรือจะติดไฟเรือรบ และเรือยามฝง ออกเตรียมปฏิบัติการณตามลําน้ําไดทันที
หนวยที่ 4 เปนฝาย “มันสมอง” มี นาย ปรีดี พนมยงค เปนหัวหนา ทําหนาที่รางคําแถลงการณ รางรัฐธรรมนูญ
และหลักกฎหมายปกครองประเทศตางๆ รวมทั้งการเจรจากับตางประเทศเพื่อทําความเขาใจภายหลังการปฏิบัติการ
สําเร็จแลว
แมวาทางคณะราษฎรจะพยายามที่ทําลายหลักฐานตางๆแลวแตก็ยังมีขาวเล็ดรอดไปยังทางตํารวจซึ่งไดออก
หมายจับกลุมผูกอการ 4 คน คือ หลวงประดิษฐมนูธรรม, พ.ต. หลวงพิบูลสงคราม, ร.ท. ประยูร ภมรมนตรี และ
นาย ตั้ว ลพานุกรม อยางไรก็ตามเมื่อนําเขาแจงแกสมเด็จเจาฟากรมพระนครสวรรควรพินิตก็ถูกระงับเรื่องไวกอน
เนื่องจากไมทรงเห็นวานาจะเปนอันตราย และใหทําการสืบสวนใหชัดเจนกอน
24 มิถุนายน 2475 : คณะราษฎรไดใชกลลวงนําทหารบกและทหารเรือมารวมตัวกันบริเวณรอบพระที่นั่งอนันต
สมาคมประมาณ 2,000 คน ตั้งแตเวลา 5.00 น. โดยอางวาเปนการสวนสนาม จากนั้นนายพันเอกพระยาพหลพล
พยุหเสนาไดอานประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1 ณ บริเวณลานพระบรมรูปทรงมาเสมือนประกาศยึดอํานาจการ
ปกครอง กอนจะนํากําลังแยกยายไปปฏิบัติการตอไป คณะราษฎรประกาศเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศ
ไทยจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยไปเปนระบอบประชาธิปไตย ในการปฏิบัติการมีพระยาพหลพลพยุหเสนา
เปนหัวหนาคณะราษฎร
27 มิถุนายน 2475 : รัชกาลที่ 7 ทรงลงพระปรมาภิไธยในธรรมนูญการปกครองประเทศ โดยทรงเพิ่มคําวา
“ชั่วคราว” ตอทายธรรมนูญการปกครองฯ (ผูรางคือ นาย ปรีดี พนมยงค)
28 มิถุนายน 2475 : สภาผูแทนราษฎรสมัยแรกตามธรรมนูญการปกครองฯ ชั่วคราว มีจํานวน 70 คน โดยแตงตั้ง
จากคณะราษฎร 31 คน และจากขาราชการชั้นผูใหญในระบอบเดิม 39 คน ทําการเลือกพระยามโนปกรณนิติธาดา

26
เปนประธานกรรมการราษฎร (นายกรัฐมนตรี) คนแรกของประเทศไทย และ นาย ปรีดี เปนเลขาธิการสภา
ผูแทนราษฎรคนแรกของสภาผูแทนราษฎร
25 สิงหาคม 2475 : คณะราษฎรโดยพระยานิติศาสตรไพศาล (นาย วัน จามรมาน) จดทะเบียนจัดตั้ง “สมาคม
คณะราษฎร” ซึ่งเปนสมาคมที่อาจถือไดวาเปนพรรคการเมืองแรกของไทย (ในสมัยนั้นยังไมมีบัญญัติคําวา “พรรค
การเมือง”)
10 ธันวาคม 2475 : รัฐธรรมนูญฉบับถาวร ผานการเห็นชอบของสภาผูแทนราษฎร และไดรับพระราชทานจาก
รัชกาลที่ 7 และไดมีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ แตงตั้งผูบริหารชุดใหมในนามใหมคือ นายกรัฐมนตรีและ
รัฐมนตรีจํานวน 20 นาย (โดยไมไดใชชื่อตําแหนงวา ประธานคณะกรรมการราษฎร และ กรรมการราษฎร อีก
ตอไป) คณะบริหารชุดใหมมีพระยามโนปกรณนิติธาดาเปนนายกรัฐมนตรี และมีรัฐมนตรีประจํากระทรวง 7
กระทรวง และรัฐมนตรีลอยอีก 13 คน
15 มีนาคม 2475 : นาย ปรีดี เสนอ “เคาโครงรางเศรษฐกิจ” หรือที่เรียกกันวา “สมุดปกเหลือง” เพื่อใหพิจารณา
ใชเปนหลักสําหรับนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ

สําหรับรัชกาลที่ 7 นั้น มีความทันสมัยกวาพี่ชายและพอคือ เห็นวา “.....ฐานะของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเปน


สิ่งที่ตกอยูในสภาวะลําบาก ความเคลื่อนไหวทางความคิดในประเทศ แสดงใหเห็นอยางชัดเจนวา ระยะเวลาของ
ระบบเอกาธิปไตยเหลือนอยเต็มที....”6 แตถึงพระองคจะรูเชนนี้และมีโอกาสเปนกษัตริยอยูหลายปก็มิไดผลักดันให
มีการเปลี่ยนแปลงใดๆใหเกิดขึ้นในเวลาอันสมควร จนทําใหสถานการณทั้งทางเศรษฐกิจ การเมืองเลวรายลงทุกที
แมหนังสือพิมพ เชน นครสาร, บางกอกการเมือง, ปากกาไทย, สยามรีวิว, ศรีกรุง และไทยหนุม จะเรียกรองใหมี
การแกไขปญหาประชาธิปไตยและเศรษฐกิจ นสพ.ไทยหนุม ฉบับเดือน กรกฎาคม 2470 ถึงกับเสียดสีพวกศักดินา
วา “....อยาวาแตราษฎรที่ไมไดรับการศึกษาจะเปนพลเมืองที่ถวงความเจริญของประเทศเลย ถึงพระเจาแผนดินที่มี
ชีวิตไมเต็มความก็เปนภัยกับประเทศเหมือนกัน.....” แตพวกเจาก็ยังแสดงทีทาวาเปนพระอิฐพระปูน สิ่งนี้ทําใหเกิด
กรณีการเปลี่ยนแปลงในป 2475 อันเปนฝนรายของพวกศักดินา พวกอนุรักษนิยมที่จะตองจดจําไปตลอดชีวิต และก็
เพราะเหตุการณนี้เองที่ทําใหรัชกาลที่ 7 ตองสละราชสมบัติ

1. พระจุลจอมเกลา “พระบรมราชาธิบายวาดวยความสามัคคี” หนังสืออานประกอบคําบรรยายวิชาพื้นฐานอารยธรรมไทย (เรื่องเดิม) หนา


240
2. พระจุลจอมเกลา “พระราชดํารัสลงในพระบรมราชาธิบายแกไขการปกครอง” หนังสืออานประกอบคําบรรยายฯ ( เรื่องเดิม) หนา 235
3. เรื่องเดิม หนา 235
4. กจช.เอกสาร ร.7 สบ. 2.47/32 เลม 3 บันทึกเรื่องการปกครอง (23 ก.ค.-1 ส.ค. 2469) พระราชหัตถเลขา ร.7 ถึง ดร. ฟรานซิส บีแซร
5. กจช.เอกสารสมัย ร.6 หมายเลข ก 1/2 ลายพระหัตถเลขา เจาฟากรมหลวงพิษณุโลกฯ ทูล ร.6 ป 2454
6. กจช. เอกสาร ร.7 สบ. 2.47/32 เลม 3 บันทึกเรื่องการปกครอง (23 ก.ค.-1 ส.ค. 2469) จดหมาย ร.7 ถึง ดร. ฟรานซิส บีแซร ผูสนใจ
สามารถศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสือเกี่ยวกับประวัตงิ านของ เทียนวรรณ ก.ร.กุหลาบ เชน ฟนอดีต ของ แถมสุข นุมนนท

27
รัชกาลที่ 8 : กษัตริยห นุมผูเปนเหยื่อของความทะเยอทะยาน

ความขัดแยงของพวกศักดินาปจจุบันเริ่มขึ้นเมื่อรัชกาลที่ 7 สละราชสมบัติ เนื่องจากรัชกาลที่ 7 ไมมีพระอนุชา ไมมี


พระโอรสและธิดาตามกฎมณเฑียรบาลการสืบราชสันตติวงศ จะตองกระทําโดยการสืบเชื้อพระวงศจากวงในสุด
ออกมา ซึ่งทานแรกคือ “พระองคเจาจุลจักรพงษ” แตเนื่องจากทานมีแมเปนชาวรัสเซีย มีพระชายาเปนชาวอังกฤษ
เปนการผิดกฎมณเฑียรบาลจึงไมสามารถขึ้นมาเปนกษัตริยได องคถัดมาคือ “พระองคเจาวรนนทธวัส” แตเนื่องจาก
มีพระชายาเปนชาวตะวันตกจึงไมไดรับเลือกอีกเชนกัน ตําแหนงจึงตกมาอยูกับพระองคเจาอานันทมหิดลในที่สุด
อันที่จริงพระองคเจาอานันทมหิดลและพระองคเจาภูมิพล มีพอคือกรมหลวงสงขลานครินทรกับ น.ส. สังวาลย
ตะละภัฏ ซึ่งเปนหญิงสามัญชน ลูกพอคาจีนขายกวยเตี๋ยวอยูแถวทาชาง (ที่เขียนเชนนี้มิไดมีเจตนาลบหลูคนจีนหรือ
อาชีพชาวบาน เพียงแตชี้ใหเห็นวาแทจริงพวกเขาก็เปนคนสามัญชนทั่วๆไปอยางเราทาน) ลูกที่เกิดมาจึงมีศักดิ์เปน
เพียงหมอมเจาเทานั้น แตเนื่องจากกรมหลวงสงขลานครินทรเปนบิดาทางการแพทย สรางคุณงามความดีไวมาก
รัชกาลที่ 7 จึงโปรดเกลาฯใหลูกของกรมหลวงสงขลาเลื่อนฐานันดรศักดิ์เปนพระองคเจา เพื่อตอบแทนที่กรมหลวง
สงขลานครินทรตองสิ้นพระชนมในวัยหนุมฉกรรจในการบุกเบิกการแพทยไทย
เมื่อครั้งที่พระองคเจาอานันทมหิดลเปนกษัตริย พระองคมีพระชนมายุเพียง 9 พรรษาเทานั้นและกําลังศึกษาอยูที่
สวิสเซอรแลนด รัชกาลที่ 8 เมื่อทรงพระเจริญวัยขึ้นไดรับอิทธิพลจากตะวันตกมามาก โดยเฉพาะความรูทางดาน
การปกครอง ถึงแมพระองคจะไดชื่อวามีเชื้อสายกษัตริย แตก็มีพระราชประสงคใหประชาชนอยูดีกินดี มีการ
ปกครองตนเอง อีกทั้งไดรับอิทธิพลจากการสละราชบัลลังกของรัชกาลที่ 7 จึงมีพระราชดําริที่จะสละราชสมบัติ
และเลิกลมระบบกษัตริย เพราะเห็นวายุคนี้การเปนกษัตริยนั้น เปนการเอาเปรียบประชาชน และผูปกครองประเทศ
ควรมาจากการเลือกตั้ง โดยพระองคจะลงเลนการเมืองในระบอบประชาธิปไตยดวยตนเอง เรื่องนี้ทําใหพระชนนี
ไมพอพระทัยมากจึงขัดแยงกันขึ้น
เหตุการณที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือ รัชกาลที่ 8 ทรงเห็นดวยกับความคิดในการปรับปรุงประเทศของ นาย ปรีดี
พนมยงค ซึ่งเคยเปนผูสําเร็จราชการแทนพระองคอยูระยะหนึ่ง โดยเฉพาะเคาโครงเศรษฐกิจของชาติที่มีเนื้อหาการ
จัดระบบสหกรณ และการปฏิรูปที่ดินอยางขนานใหญทั่วประเทศ และเรื่องนี้กระทบกระเทือนผลประโยชนของ
พวกศักดินาอยางรุนแรง เพราะพวกศักดินาเปนเจาของที่ดินสวนใหญของประเทศไทย พวกศักดินาจึงใสรายหาวา
นาย ปรีดี เปนคอมมิวนิสต
เนื่องจากพระองคทรงเปนกษัตริยหนุมที่เลือดรักชาติแรงกลาและเห็นใจประชาชนเปนพื้นจึงทรงออกนั่งตุลาการ
ดวยตนเอง ทั้งยังออกเยี่ยมประชาชนอยูเนืองๆ เชน คนจีนที่สําเพ็ง ซึ่งปรากฏวาชาวจีนถวายความนับถือและ
จงรักภักดีมาก การออกเยี่ยมตามที่ตางๆทําใหพระองคไดสัมผัสกับชีวิตความเปนอยูของประชาชนอยางแทจริง ทํา
ใหความคิดของพระองคยิ่งขัดแยงกับพวกศักดินามากขึ้นเปนลําดับ
หมอม สังวาลย อดีตนางพยาบาลที่ปรนนิบัติกรมหลวงสงขลานครินทรจนไดแตงงานกัน มีความหลงใหลใน
เกียรติยศชื่อเสียงของตน นึกไมถึงวาจะไดเปน “สมเด็จพระบรมราชชนนี” ซึ่งหมายถึงแมของกษัตริย ประมุขสูงสุด
ของประเทศ นางจึงขัดแยงมากและยอมไมไดที่รัชกาลที่ 8 จะลมลางสถาบันพระมหากษัตริย อันหมายถึงเกียรติยศ
ชื่อเสียงและผลประโยชนจํานวนมหาศาลที่จะดลบันดาลความสุขสบายแกตนเองและวงศตระกูลไปตลอดชาติตอง
28
อันตรธานในพริบตา นอกจากนี้ยังมีความขัดแยงอื่นๆระหวางแมลูกคูนี้อีกกลาวคือกรมหลวงสงขลานครินทรได
สิ้นพระชนมไปขณะที่สมเด็จพระบรมราชชนนียังสาวอยู นางจึงดําริจะแตงงานใหม แตทวารัชกาลที่ 8 ไมเห็นดวย
อยางไรก็ตามดวยความตองการทางเพศอันเปนปกติของรางกายในวัยสาว นางจึงไดมีสัมพันธสวาทกับฝรั่งชาติกรีก
นายหนึ่งอยางลึกซึ้ง และเมื่อรัชกาลที่ 8 ทรงทราบเขาก็เกิดการถกเถียงอยางหนักในเรื่องนี้ซึ่งเปนที่รูกันในหมูคน
ไทยที่ใกลชิดในเมืองโลซาน เรื่องนี้ทําให นาง สังวาลย ไมพอใจมาก
โดยธรรมชาติของมนุษย เมื่อลูกคนใดคนหนึ่งเกิดความขัดแยงกับพอหรือแมก็จะมีลูกอีกคนหนึ่งเกิดความไมพอใจ
กับลูกที่ขัดแยงนี้ นี่ก็เชนเดียวกันภูมิพลไดเขาขางแมและไมพอใจพี่ชายหาวา รัชกาลที่ 8 เปนลูกอกตัญูประกอบ
กับตนเองมีปมดอยทางรางกายและอยูในวัยรุนดวยจึงมีความคิดละอารมณวูวาม ขาดความยั้งคิด ตองการเดนดังมี
หนามีตาอยางพี่ชายของตนบาง อีกทั้งไดแรงยุจากแมในเรื่องที่ขัดแยงกับรัชกาลที่ 8 ภูมิพลซึ่งเดิมเปนเด็กที่อยูใน
โอวาท ขี้ประจบ หัวออน ก็กลับกลายเปนผูที่มีอารมณวูวาม รุนแรงในบางครั้งกับคนที่ตนไมพอใจ โดยปกติวิสัย
ของรัชกาลที่ 8 ชอบสะสมปนมาก และมีปนของรัชกาลที่ 8 อยูกระบอกหนึ่งซึ่งไกปนออนมาก ขณะเดียวกับภูมิพล
ชอบเอาปนของรัชกาลที่ 8 มาเลน เชน ไปจี้คนนั้นคนนี้ บางครั้งเอาปนมาจอรัชกาลที่ 8 ทําทายิงเลนๆ จนผูคนในวัง
เห็นเปนเรื่องปกติไปเสียแลว แตแลวสิ่งที่ไมมีใครคาดฝนก็ไดเกิดขึ้น
เมื่อเวลา 9.30 น. ของวันที่ 9 มิถุนายน 2489 เสียงปนดังขึ้น 1 นัด จากหองบรรทม ชั้นบนของพระที่นั่งบรมพิมาน
ตอจากนั้นอีกไมกี่นาที นาย ชิต ยามมหาดเล็ก วิ่งหนาตื่นไปทูลพระราชชนนีวา “ในหลวงทรงยิงพระองค”
การสิ้นพระชนมของรัชกาลที่ 8 นั้น ศาลอาญา, ศาลอุทธรณและศาลฎีกา สรุปตรงกันวา เกิดโดยการลอบปลงพระ
ชนม มิใชการปลงพระชนมเอง เพราะวาแผลที่ทําใหพระองคสวรรคตอยูที่หนาผาก กระสุนทะลุออกทางทายทอย
ซึ่งแสดงวาไมใชการฆาตัวตาย เพราะผูที่อัตตวินิบาตกรรม สวนมากจะยิงขมับและหัวใจเทานั้น นอกจากนี้ น.พ. ใช
ยูนิพันธ ยังใหความเห็นวา แผลของพระองคเกิดจากการอัตตวินิบาตกรรมไมได เพราะวิถีกระสุนเฉียงลง รัชกาลที่
8 ผูที่ยิงตนเองตองยกดามปน หันปากกระบอกปนลงเปนของทําไดยาก นอกจากนี้แผลยังแสดงวาอุบัติเหตุที่เกิด
โดยรัชกาลที่ 8 เองก็ไมมีทางเปนไปไดเชนกัน เพราะวิถีกระสุนมีลักษณะที่เห็นชัดวาเกิดจากการตั้งใจทําของผูที่ยิง

ลําดับเหตุการณการสวรรคตของรัชกาลที่ 8

2 มิถุนายน 2489 : รัชกาลที่ 8 เริ่มมีพระอาการประชวรเกี่ยวกับพระนาภี (ปวดทอง)


3 มิถุนายน 2489 : รัชกาลที่ 8 พรอมดวยรัชกาลที่ 9 เสด็จเยี่ยมเยียนสําเพ็งดวยการพระราชดําเนิน ทามกลาง
ความปลาบปลื้มยินดีของพสกนิกร โดยเฉพาะชาวจีนและชาวไทยเชื้อสายจีนที่อาศัยอยู ณ ที่แหงนั้น
5 มิถุนายน 2489 : รัชกาลที่ 8 เสด็จพระราชดําเนินพรอมดวยรัชกาลที่ 9 ทรงทอดพระเนตรการทํานาที่อําเภอ
บางเขน และกิจการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยรัชกาลที่ 8 ทรงหวานขาวในแปลงนาหลังตึกขาวซึ่งปจจุบัน
คือตึกพืชพรรณของกรมวิชาการเกษตร
8 มิถุนายน 2489 : รัชกาลที่ 8 มีพระอาการประชวรมากขึ้น เวลาเย็นวันนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหรัชกาลที่
9 ปฏิบัติพระราชกิจแทนพระองค นาย ปรีดี พนมยงคไดรับเลือกจากรัฐสภาใหเขาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรี
(ครั้งที่ 2)
29
ภาพผังพระที
พ ่นั่งบรรมพิมาน

9 มิถุนายยน 2489 (วันเกิ เ ดเหตุ) : เสนทางเคลื


น ่อนไไหวของบุคคลตางๆ ในพรระที่นั่งบรมพิพิมานชั้นบน ภายหลั
ภ งเสียง
ปนดังขึ้น เมืมื่อเชาวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 เวลลาประมาณ 9.30 น. (ภาพพจากหนังสือกกรณีสวรรคตต 9 มิถุนายนน
2489)
เวลา 5.000 น. สมเด็จพระบรมราชช
พ ชนนีทรงปลุกบรรทมรั
ก ชกาาลที่ 8 เพื่อถววายพระโอสถถใหเสวย จากกนั้นรัชกาลที่
8 บรรทมตอ
เวลา 6.200 น. นาย บุศย ศ ปทมศริน มหาดเล็กหองพระบรรทม
อ มของรัชกาลทีที่ 8 มาเขาเวรรถวายงานที่พระที
พ ่นั่งบรม
พิมานซึ่งเปนที
น ่ประทับขอองรัชกาลที่ 8 และไดรินน้ําส า มคั้นที่หองเสวยเพื
ง ่อคอยยทูลเกลาฯ ถววาย
เวลา 7.000 น. พระยาอนนุรักษราชมณ ณเฑียรกับ นาย ชิต สิงหเสนี ขึ้นมาที่พระที ร ่นั่งบรมพิมานเพื่อวัดขนาดพระตราา
จากนั้นทั้งสองออกจากพระที่นั่งเพื่อไปปติดตอชางทํทําบพระตราทีทีร่ านงามพันธ
เวลา 8.000 น. นาย บุศย เห็นรัชกาลทีที่ 8 ตื่นพระบบรรทมจึงนําน้นําสมคั้นไปถถวาย แตพระอองคโบกพระหัตถไมเสวยย
แลวเสด็จขึ้นพระแท
น นบรรรทมตามเดิม นาย บุศย จึงกลับมาประะจําหนาที่ ที่หน ห าหองพระะบรรทมตามเดิม หลังจากก
นั้นรัชกาลที่ 9 ตื่นพระบรรรทม จากนั้นเวลาประมา
น ณ 8.30 น. เสสด็จไปเสวยพพระกระยาหาารเชาที่หนามุขชั้นบนของง
พระที่นั่งบรมพิมานแตเพียงพระองคเดียว

30
เวลา 9.00 น. นาย ชิต ไดขึ้นมาที่ชั้นบนของพระที่นั่งบรมพิมานและนั่งอยูหนาหองพระบรรทมดวยกันกับนาย
บุศย เพื่อรอใหรัชกาลที่ 8 ตื่นจากบรรทมเสียกอน เพื่อขอพระบรมราชานุญาตเขาไปเอาพระตราไปทาบ เนื่องจาก
ทางรานงามพันธตองการดูขนาดของพระตราองคจริง
เวลา 9.05 น. รัชกาลที่ 9 เสวยเสร็จแลว เสด็จมาที่หนาหองแตงพระองคของรัชกาลที่ 8 เพื่อถามพระอาการกับ
นาย ชิต กับ นาย บุศย จากนั้นพระองคก็เสด็จไปที่หองเครื่องเลนซึ่งอยูติดกับหองบรรทมของพระองค ในเวลา
เดียวกันนั้น สมเด็จพระบรมราชชนนีประทับอยูที่หองบรรทมของพระองคกับ น.ส. จรูญ ตะละภัฏ ขาหลวงใน
พระองค สวนพระพี่เลี้ยง (เนื่อง จินตดุล) กําลังเขาไปเก็บพระที่ในหองบรรทมของรัชกาลที่ 9
เวลา 9.30 น. มีเสียงปนดังขึ้น 1 นัด ภายในหองพระบรรทมของรัชกาลที่ 8 นาย ชิต สะดุงอยูมองหนา นาย บุศย
และคิดหาที่มาของเสียงปนอยูประมาณ 2 นาทีจึงเขาไปในหองพระบรรทม พบวารัชกาลที่ 8 บรรทมหลับอยูเปน
ปกติ แตปรากฏวามีพระโลหิตไหลเปอนพระศอ (คอ) และพระอังสะ (ไหล) ดานซาย นาย ชิต จึงวิ่งไปที่หอง
บรรทมของสมเด็จพระบรมราชชนนีแลวกราบทูลวา “ในหลวงถูกยิง” สมเด็จพระบรมราชนนีตกพระทัย ทรงรอง
ขึ้นไดเพียงคําเดียวและรีบวิ่งไปที่หองพระบรรทมของรัชกาลที่ 8 ทันที นายชิต, พระพี่เลี้ยงเนื่อง, รัชกาลที่ 9, และ
น.ส. จรูญ ไดวิ่งตามเสด็จสมเด็จพระบรมราชชนนีไปติดๆ (ดูแผนผังพระที่นั่งบรมพิมานประกอบ)
เมื่อไปถึงที่หองพระบรรทมนั้นปรากฏวา รัชกาลที่ 8 เสด็จสวรรคตเสียแลว ในลักษณะของคนที่นอนหลับ
ธรรมดา มีผาคลุมพระองคตั้งแตขอพระบาทมาจนถึงพระอุระ ที่พระบรมศพมีบาดแผลกลางพระนลาฎ (หนาผาก)
บริเวณระหวางพระขนง (คิ้ว) ขางพระศพบริเวณขอพระกรซายมีปนพก US Army ขนาดกระสุน 11 มม.วางอยูใน
ลักษณะชิดขอศอก ดามปนหันออกจากตัว ปากกระบอกปนชี้ไปที่ปลายพระแทนบรรทม สมเด็จพระบรมราชชนนี
ไดโถมพระองคเขากอดพระบรมศพของรัชกาลที่ 8 จนรัชกาลที่ 9 ตองพยุงสมเด็จพระบรมราชชนนีไปประทับที่
พระเกาอี้ปลายแทนพระบรรทม จากนั้นสมเด็จพระบรมราชชนนีจึงมีรับสั่งใหตาม พ.ต. น.พ. หลวงนิตยเวชวิศิษฐ
แพทยประจําพระองคมาตรวจพระอาการของในหลวง สวนพระพี่เลี้ยงไดจับพระชีพจรของรัชกาลที่ 8 ที่ขอพระ
หัตถซายพบวา พระชีพจรเตนอยูเล็กนอยแลวหยุด พระวรกายยังอุนอยูจึงเอาผาคลุมพระองคมาซับบริเวณปากแผล
และปนกระบอกที่คาดวาเปนเหตุทําใหรัชกาลที่ 8 สวรรคตไปให นาย บุศย เก็บพระแสงปนไวที่ลิ้นชักพระภูษา
เหตุการณชวงเองนี้ไดกอปญหาในการพิสูจนหลักฐานในเวลาตอมาเมื่อมีการจัดตั้ง “ศาลกลางเมือง” เพื่อสอบสวน
เกี่ยวกับกรณีสวรรคต เนื่องจากไมมีการกันที่เกิดเหตุไวใหเจาหนาที่ตํารวจมาตรวจสอบอยางเวลามีคดีฆาตกรรม
ตางๆเกิดขึ้นตามปกติ ทําใหหลักฐานตางๆในคดีนี้ลวนถูกทําลายจากการเปลี่ยนแปลงและเคลื่อนยายพระบรมศพ
และหลักฐานไปจากตําแหนงเดิม
เวลา 10.00 น. หลวงนิตยเวชวิศิษฐไดมาถึงสถานที่เกิดเหตุและตรวจพระอาการของรัชกาลที่ 8 พบวาสวรรคต
แนนอนแลวจึงกราบทูลใหสมเด็จพระบรมราชชนนีทรงทราบ สมเด็จพระบรมราชชนนีจึงรับสั่งใหทําความสะอาด
และตกแตงพระบรมศพเพื่อเตรียมการถวายน้ําสรงพระบรมศพในชวงเย็น
ในชวงเวลาเดียวกันพระยาเทวาธิราช (ม.ร.ว. เทวาธิราช ป. มาลากุล) สมุหพระราชพิธีไดเดินทางไปที่ทําเนียบทา
ชาง ที่พักของ นาย ปรีดี พนมยงค เพื่อแจงขาวการสวรรคต (ขณะนั้น นาย ปรีดี ประชุมอยูกับหลวงเชวงศักดิ์
สงคราม (รมว.มหาดไทย) พล.ต.อ. พระรามอินทรา (อธิบดีกรมตํารวจ) และหลวงสัมฤทธิ์สุขุมวาท (ผูบังคับการ
ตํารวจสันติบาล) ในเรื่องกรรมกรที่มักกะสันหยุดงานประทวง)
31
เวลา 11.00 น. นาย ปรีดี มาถึงพระที่นั่งบรมพิมานและสั่งใหพระยาชาติเดชอุดมอัญเชิญพระบรมวงศานุวงศชั้น
ผูใหญและเชิญคณะรัฐมนตรีมาประชุมเกี่ยวกับเรื่องการเสด็จสวรรคตของรัชกาลที่ 8 ที่ประชุมสรุปวาใหออก
แถลงการณแจงใหประชาชนทราบวา การเสด็จสวรรคตของรัชกาลที่ 8 เปนอุบัติเหตุ แถลงการณของกรมตํารวจที่
ออกมาในวันนั้นก็มีเนื้อหาในลักษณะเดียวกัน
เวลา 21.00 น. รัฐบาลเรียกประชุมรัฐสภาเปนการดวนเพื่อแจงใหสภาทราบเรื่องการสวรรคตของรัชกาลที่ 8 และ
สรรหาผูสืบราชสมบัติ ที่ประชุมไดลงมติถวายราชสมบัติใหแกรัชกาลที่ 9 ขึ้นสืบราชสมบัติ เปน “พระบาทสมเด็จ
พระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช” รัชกาลที่ 9 แหงพระบรมราชจักรีวงศตอไป จากนั้น นาย ปรีดี ไดประกาศลาออก
จากตําแหนงนายกรัฐมนตรีเพื่อแสดงความรับผิดชอบในกรณีสวรรคต
10 มิถุนายน 2489 : เจาหนาที่และแพทยจากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณไดเดินทางมาทําการฉีดยารักษาสภาพพระ
บรมศพ ระหวางการทําความสะอาดพระบรมศพเพื่อเตรียมการฉีดยานั้น คณะแพทยและเจาหนาที่ไดพบบาดแผลที่
พระปฤษฎางค (ทายทอย) ซึ่งเปนบาดแผลที่ทะลุจากรูกระสุนปนที่พระพักตรบริเวณพระนลาฏ (หนาผาก) ตรง
ระหวางพระขนง (คิ้ว) ทําใหเกิดกระแสวิพากษวิจารณวา ที่จริงแลวรัชกาลที่ 8 ถูกลอบปลงพระชนม เนื่องจาก
บาดแผลที่พบใหมไมตรงกับคําแถลงการณที่ออกมาในตอนแรก ทําใหประชาชนเกิดความสงสัยวารัฐบาลมีสวนใน
การปลงพระชนมรัชกาลที่ 8 กรมตํารวจจึงออกแถลงการณเพิ่มเติมวาไดตั้งประเด็นการสวรรคตไว 3 ประเด็น คือ
1. มีผูลอบปลงพระชนม
2. ทรงพระราชอัตนิวิบากกรรม (ปลงพระชนมเอง) และ
3. อุปทวเหตุ
11 มิถุนายน 2489 : กรมตํารวจยังคงแถลงการณยืนยันวา รัชกาลที่ 8 สวรรคตดวยอุบัติเหตุ แตประชาชนยังคงมี
ความคลางแคลงใจตอรัฐบาลอยูเชนเดิม ในวันนี้ทางกรมตํารวจไดนําปนของกลางที่พบในวันสวรรคตไปใหกรม
วิทยาศาสตรตรวจสอบ
นาย ปรีดี พนมยงค ไดรับเลือกจากรัฐสภาใหดํารงตําแหนงนายกรีฐมนตรีอีกครั้ง และสมเด็จพระเจานองยาเธอ เจา
ฟาภูมิพลอดุลยเดช สืบราชสมบัติ เปนพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 แหงพระบรมราช
จักรีวงศ
นาย ปรีดี พนมยงค ไดรับผลกระทบจากคดีนี้มากที่สุด เพราะถูกคนกลาวหาวา "ปรีดีฆาในหลวง" เนื่องจากชี้แจง
สาเหตุการสวรรคตแกประชาชนไดไมชัดเจนและคลี่คลายคดีนี้ไมสําเร็จ และกลายเปนหนึ่งในสาเหตุหลักที่ทําให
นาย ปรีดี ไมเดินทางกลับมาประเทศไทยอีกเลยจนสิ้นชีวิต หลังจากการลี้ภัยทางการเมืองเพราะเหตุการณกบฏวัง
หลวงป 2492 อยางไรก็ตาม ในขณะที่มีชีวิตอยูไดใหลูกชาย (นาย ปาล พนมยงค) และคนรูจักที่อยูเมืองไทยคอย
ชวยตอสูคดีหมิ่นประมาทจากกรณีสวรรคตอยูตลอด เพื่อพิสูจนความบริสุทธิ์วา ตนเองไมไดมีสวนกอคดีกรณี
สวรรคตนี้แตอยางใดซึ่งผลปรากฏวา ชนะทุกคดี
คดีนี้ไดกลายเปนขออางสําคัญประการหนึ่งในการทํารัฐประหารป 2490 เนื่องจากรัฐบาลของหลวงธํารงนาวา
สวัสดิ์ (รับชวงตอจาก นาย ปรีดี) ไมสามารถสะสางกรณีสวรรคตได อนึ่งกรณีสวรรคตยังสงผลใหกลุมการเมือง
ฝาย นาย ปรีดี ตองพลอยหมดบทบาทจากเวทีการเมืองไทยภายหลังการรัฐประหารครั้งนี้ดวยทฤษฎีและความเชื่อ

32
ในตอนเชาวันสวรรคต ระหวางการชักธงชาติขึ้นสูยอดเสาที่หนากองทัพอากาศ ดอนเมือง ปรากฏวา ผืนธงไดถูกลม
พัดรวงหลนลงพื้น และที่หนากระทรวงกลาโหม ธงก็ชักไปติดแคครึ่งเสา ชักตอไมได ทั้ง 2 เหตุการณนี้เสมือนลาง
บอกเหตุราย

ใครลอบปลงพระชนมรัชกาลที่ 8

ผูที่ฆามิใชบุคคลอื่นที่ อยูนอกวั ง โดยเฉพาะอยางยิ่งพระที่นั่งบรมพิมาน เพราะวาไดมีการจัดทหาร ตํารวจวัง


ลอมรอบพระที่นั่งอยางเขมงวด ตั้งแตประตูวังถึงองคพระที่นั่ง คือถาเปนกลางวัน ณ ที่ประตูเหล็กทางเขาพระที่นั่ง
จะมีทหารยามรักษาการณ สวนพระที่นั่งชั้นบนมียามมหาดเล็ก 3 จุด สําหรับชั้นลางมียามตํารวจหลวงและยังมี
ทหารยามเฝาอยูที่เชิงบันไดสวนที่จะขึ้นพระที่นั่งอีก1 เฉพาะที่บันไดใหญทางขึ้นพระที่นั่งมียามถึง 4-5 คน2 สวนใน
เวลากลางคืนจะมียามอยูที่ชั้นบนตรงตําแหนงที่สําคัญ 2 จุดๆละ 2 คน นอกจากนี้ยังมียามที่ชั้นลางอีก3 ตัวพระที่นั่ง
มีทางขึ้นชั้นบนที่ประทับของรัชกาลที่ 8 อยู 3 บันได ในจํานวนนี้อนุญาตใหคนขึ้นลงตลอดวันเพียง 1 บันได ปด
ตาย 1 บันได สวนอีก 1 บันได เปดเฉพาะเวลากลางวัน สําหรับบันไดที่เปดตลอดเวลานั้นจะมียามเฝาในเวลา
กลางคืน4 ยามเหลานี้ลวนเปนมหาดเล็กที่คัดเลือกกันมาตามตระกูลที่เชื่อไดวาจงรักภักดี สามารถสละชีพเพื่อ
กษัตริยได (ขนาดชางตัดผมของรัชกาลที่ 9 ทุกวันนี้ก็ตัดผมกษัตริยมาตั้งแตบรรพบุรุษ) ยอมไมมีวันยินยอมปลอย
ใหผูรายภายนอก หลงหูหลงตาขึ้นไปชั้นบนพระที่นั่งเปนอันขาด
จะเห็นไดวาถาไมใชคนในพระที่นั่งบรมพิมานแลวจะฆารัชกาลที่ 8 ไมไดเลย เพราะนอกจากไมสามารถเล็ดลอด
ยามจํานวนมากขึ้นไปบนพระที่นั่ง ยังไมสามารถหนีไปไดพนเมื่อยิงแลว เพราะเปนที่ยอมรับกันวา รัชกาลที่ 8
สิ้นพระชนมในเวลา 9 โมงเศษ ซึ่งในเวลานั้นจะมีผูคนพลุกพลานบนพระที่นั่งแลว เพราะอยางนอยที่สุด ชาววังจะ
ทําความสะอาดตั้งแต 6-8 โมงเชา5 ผูรายภายนอกจะไมมีทางวิ่งหนีลงไปจากพระที่นั่งได เพราะเมื่อเสียงปนดังสนั่น
ขึ้นแลว ทุกคนโดยเฉพาะอยางยิ่งพวกยามยอมรูวามีเหตุรายจะคอยสังเกตดูความผิดปกติ แตปรากฏวาพยานทุกคนที่
เปนยามใหการกับศาลวา ไมปรากฏวาผูใดเห็นรองรอยผูรายวิ่งลงมาจากพระที่นั่งเลย
นอกจากประเด็นที่กลาวแลว ควรพิจารณาตอไปอีกวา ในวันที่ 8 มิถุนายน 2498 นั้นรัชกาลที่ 8 เขานอนเวลา 3 ทุม
เศษ และตื่นขึ้นมาในเวลาย่ํารุงวันที่ 9 มิถุนายน 2498 หลังจากนั้นพระชนนีและมหาดเล็ก 1 คนไดถวายน้ํามันละหุง
เพราะในวันที่ 8 มิถุนายนพระองคทองเดิน หลังจากนั้นก็หลับไปจนเวลา 8.00 น. จึงตื่นขึ้นไปเขาหองน้ํา แลว
กลับมานอนอีกราว 1 ชั่วโมง เวลา 9 โมงเชาก็ถูกลอบปลงพระชนม
หลังจากที่ถูกยิงแลวคณะแพทยสวนใหญไดตรวจพระศพและวินิจฉัยวา แผลที่เกิดจากการยิงหางจากหนาผากไม
เกิน 5 ซม.6 ซึ่งตอมา น.พ. สุด แสงวิเชียร ตรวจสอบบาดแผลเปนพิเศษพบวา ที่ตําแหนงหนาผากตรงที่ถูกยิงมีรอย
กดของกระบอกปนเปนวงกลม แสดงวาผูที่ยิงตองเอาปนกระชับยิงลงไปที่หนาผาก ทั้งนี้เมื่อตรวจมุงของรัชกาลที่ 8
แลวไมปรากฏวามีรอยทะลุ แสดงวาผูรายตองเลิกมุงออกแลวจึงเอาปนจอยิงในหลวง โดยที่ “ผูที่ยิงตองเปนคน
รูปรางสูง แขนยาว” จึงจะทําไดสะดวก เพราะจากขอบเตียงถึงบาดแผลมีระยะหางกันถึง 66 ซม. ถารูปรางเล็กแขน
สั้นจะทําไมได7 (ซึ่งเรื่องนี้เปนสิ่งที่นาตลก ที่พวกศักดินาพยายามวา ร.ท. สิทธิชัย ชัยสิทธิเวช ฆารัชกาลที่ 8 ซึ่ง
เปนไปไมได เพราะ ร.ท. สิทธิชัย เปนคนรูปรางเล็ก)
33
จะเห็นวาถาผูรายเปนบุคคลอื่นซึ่งไมสนิทสนมกับรัชกาลที่ 8 มากๆแลวจะกระทําการดังกลาวไมไดเลย เพราะเปน
การเสี่ยงภัยและไมมีทางสําเร็จ เพราะพระองคนอนตั้งแตเวลา 3 ทุมของวันที่ 8 มิถุนายนจนตื่นขึ้นมาในเวลาเชาตรู
ของวันที่ 9 มิถุนายน และเขานอนถึง 2 ระยะยอมหลับไมสนิท เพราะปกติในหลวงไมเคยตื่นสายกวา 8.30 น. เลย
ดังนั้นถามีคนเลิกมุงยอมมีเสียง เพราะมุงมีเหล็กทับอยูทําใหพระองครูตัวกอนที่ผูรายจะทําการได8นอกจากนี้ถามี
ผูรายภายนอกแอบเขาไปในหองบรรทมก็ตองเขาไปในเวลากลางคืนและยิงในเวลานั้นเลย เพราะปลอดคน ทั้งหนี
สะดวก มิใชรอจนเวลาเชาจึงยิง อันจะทําใหตองแอบซอนตัวอยูเปนเวลานานซึ่งเปนการเสี่ยงภัยมากกวา และหากมี
ผูรายซอนตัวอยูจริง ยอมไมอาจรอดสายตาพระชนนี และมหาดเล็กที่เขาไปถวายน้ํามันละหุงใหรัชกาลที่ 8 ได
ตามธรรมดานั้นปรากฏในประวัติศาสตรเสมอมาวา พี่ฆานอง นองฆาพี่ ลูกฆาพอ อาฆาหลาน หลานฆาอา และ
กระทั่งแมฆาลูกเพื่อชิงราชสมบัติ เชน กรณีแมเจาอยูหัวศรีสุดาจันทรสมัยอยุธยาฆาพระแกวฟา บุตรของตนเอง
เพื่อใหพันบุตรศรีเทพหรือขุนวรวงศาธิราชชูรักไดเปนกษัตริย ในเมื่อผูรายเปนบุคคลภายนอกมิได สวนผูที่อยูใน
พระที่นั่งก็ลวนจงรักภักดีและไมไดประโยชนจากการตายของรัชกาลที่ 8 ผูที่นาสงสัยที่สุดก็คือ รัชกาลที่ 9 ซึ่งเปนผู
ที่ไดรับประโยชนมากที่สุดจากกรณีสวรรคต ทั้งในดานลาภยศและทรัพยศฤงคาร

ขอสังเกตในเหตุการณสวรรคตของรัชกาลที่ 8

หองของรัชกาลที่ 8 อยูทางตะวันออกของพระที่นั่งชั้นบน สวนหองของรัชกาลที่ 9 อยูอีกฟากหนึ่งทางทิศตะวันตก


มีระเบียงเชื่อมถึงกัน ขางหองรัชกาลที่ 9 เปนหองพระชนนีซึ่งมีประตูติดตอถึงกันได
รัชกาลที่ 9 ใหการวาในวันนั้นตนจะเขาไปหาพี่ชายในเวลาประมาณ 9 โมงเชา กอนเกิดเสียงปนไมนานนักพบ นาย
ชิต สิงหเสนี และ นาย บุศย มหาดเล็กซึ่งนั่งอยูที่ประตูหองรัชกาลที่ 8 เมื่อรูวาพี่ชายยังไมตื่นจึงเดินกลับไปที่หอง
ของตน เขาๆออกๆระหวางหองตนกับหองเครื่องเลน (ดูแผนที่) และในเวลาที่มีการยิงปนนั้นตนไมไดยินเสียงปน
เลย จนเมื่อรูเรื่องการยิงรัชกาลที่ 8 จาก น.ส. จรูญ ตะละภัฏ แลวจึงวิ่งไปที่หองบรรทมซึ่งก็มีแมและพระพี่เลี้ยงเนื่อง
อยูในหองนั้นกอนหนาที่ตนจะวิ่งเขาไป
คําใหการนี้ซึ่งก็สอดคลองกับคําใหการของ น.ส. จรูญ ตะละภัฏ ขาหลวงพระชนนี (เปนญาติพระชนนีดวยเพราะ
นามสกุลเดียวกัน) ที่อางวา พอตนไดทราบจาก นาย สาธิต วา รัชกาลที่ 8 ถูกยิงก็วิ่งไปที่หองบรรทมพบรัชกาลที่ 9
อยูที่ประตูหองบันไดเล็ก (ซึ่งมีประตูติดตอกับหองเครื่องเลน) จึงแจงใหรูวาในหลวงสวรรคตแลวพากันวิ่งไปที่
หองบรรทมดวยกัน โดยมีรัชกาลที่ 9 วิ่งนําหนาไป คําใหการของรัชกาลที่ 9 และพยานในที่เกิดเหตุมีพิรุธมากเพราะ
- ทุกคนที่อยูในพระที่นั่งไดยินเสียงปนดังสนั่นทั้งชั้นลางและชั้นบน มีแตรัชกาลที่ 9 และพระชนนีเทานั้นที่
ไมไดยินเสียงปน
- จากคําใหการของ นาย ฉลาด เทียมงามสัจ ซึ่งยืนอยูในบริเวณหองเสวยพระกระยาหาร อันเปนจุดที่สามารถ
เห็นการเคลื่อนไหวหนาหองบรรทมไดหมดนั้น นาย ฉลาด ใหการวารัชกาลที่ 9 วิ่งเขาไปในหองบรรทมกอนพระพี่
เลี้ยง (เนื่อง จินตะดุลย) ไมตรงกับคําใหการของรัชกาลที่ 9 ที่วาเขาไปในหองหลังพระพี่เลี้ยง
- พระพี่เลี้ยงนักเรียนพยาบาลรุนเดียวกับพระชนนีใหการวา ตนอยูในหองรัชกาลที่ 9 20 นาทีกอนมีเสียงปน และ
ไมพบรัชกาลที่ 9 ในหองนั้นเลย แสดงวารัชกาลที่ 9 อางวา ตนเองเขาๆออกๆระหวางหองนอนของตนกับหอง
34
เครื่องเลนยอมเปนการโกหก นอกจากนี้พระพี่เลี้ยงยังใหการตอไปอีกวา เมื่อไดยินเสียงปนแลวก็รีบวิ่งไปยังหอง
บรรทมผานหองเครื่องเลน แตไมพบรัชกาลที่ 9 ในหองนั้น แสดงวาขออางของรัชกาลที่ 9 ที่วาอยูในหองเครื่องเลน
กอนหนาเหตุการณสวรรคตก็ไมเปนจริง เพราะถาเปนอยางนี้จริงขณะที่พี่เลี้ยงวิ่งผานหองเครื่องเลนนั้นจะตองแล
เห็นรัชกาลที่ 9 เพราะรัชกาลที่ 9 เองก็ยังอางวา ตนวิ่งไปยังหองบรรทมหลังพระพี่เลี้ยง
- รัชกาลที่ 9 และ น.ส. จรูญ ตะละภัฏ ญาติพระชนนี อางวา ตนวิ่งไปที่หองบรรทมดวยกัน แต นาย ฉลาด เทียม
งามสัจ ซึ่งอยูนอกหองบรรทมและเห็นเหตุการณใกลชิดใหการวา ไมเห็น น.ส. จรูญ เขาไปในหองบรรทมเลย (นา
สังเกตวาคําใหการของ น.ส. จรูญ นี้ เชื่อถือไมไดทั้งสิ้น เพราะ น.ส. จรูญอางวา ตนอยูในหองพระชนนีกอนเสียง
ปนดัง แตพยานอื่นที่อยูในหองขณะนั้นใหการเปนอยางอื่น)
- รัชกาลที่ 9 บอกใหกรมขุนชัยนาทนเรนทรฟงวา ขณะที่ผูรายยิงปนนั้นตนเองอยูในหองของตน9 ซึ่งเปนเรื่อง
เท็จอยางเห็นไดชัด เพราะขัดแยงกับคําใหการของพระพี่เลี้ยงซึ่งอยูในหองของพระองคในขณะนั้น
- นาย เวศน สุนทรวัฒน มหาดเล็กหนาหองรัชกาลที่ 9 ใหการวา แมหองนอนของรัชกาลที่ 9 มีประตูติดกับหอง
เครื่องเลน แตประตูนี้ปดตายตลอดเวลา ถารัชกาลที่ 9 ตองการจะเขาหองเครื่องจะตองเขาทางประตูดานหนาของ
หองเครื่อง มิใชเขาทางประตูดานหลังซึ่งติดตอกับหองของรัชกาลที่ 9
จึงเห็นไดวา ขออางที่รัชกาลที่ 9 โกหกวาตนเขาๆออกๆระหวางหองเครื่องกับหองนอนตนเองนั้นเปนเท็จ พยายาม
อางวาตนอยูไกลสถานที่เกิดเหตุที่สุด และไปถึงหองบรรทมคนสุดทาย โดยรวมมือกับบุคคลอื่น เชน น.ส. จรูญ
ตะละภัฏ เปนตน

ปริศนาการสวรรคตของรัชกาลที่ 8

โดยขอมูลนี้เราจะเห็นไดวา เมื่อรัชกาลที่ 9 กินขาวเชาอิ่มก็ไดเดินไปถึงหนาหองบรรทมของรัชกาลที่ 8 กอนเสียง


ปนไมนานนักและเขาไปในหองนั้น โดยที่ นาย ชิต และ นาย บุศย มิไดหามปราม เพราะตามคําใหการของพระพี่
เลี้ยงนั้นปรากฏวาพี่นองคูนี้นั้น ถาผูใดตื่นกอนมักจะเขาไปยั่วเยาอีกคนหนึ่งใหตื่น ฉะนั้น นาย ชิต และ นาย บุศย
ยอมไมสงสัยวาเหตุใดรัชกาลที่ 9 จึงเขาไปในหองรัชกาลที่ 8
เมื่อเขาไปในหองรัชกาลที่ 8 แลวก็เอาปนของรัชกาลที่ 8 นั้นเองถือเดินไปที่พระแทน เลิกมุงขึ้นแลว “บุรุษรางสูง
แขนยาว” ผูนี้ก็เอาปนจอยิงรัชกาลที่ 8 ขณะที่รัชกาลที่ 8 ยังไมทันรูตัววาจะถูกฆา
รัชกาลที่ 8 ไมรูตัวในเวลาที่นองชายเลิกมุงหรือ ?
ตอบไดวา จะรูหรือไมไมสําคัญ เพราะพี่ชายยอมไมระแวงนองชาย นอกจากนี้ทั้งคูก็มักจะใชปนลอผูอื่นอยูแลว
พระพี่เลี้ยงใหการวา บางครั้งทั้งคูจะใชปนจี้ลอพวกฝายใน เชน ทาวสัตยา, น.ส. จรูญ, น.ส. ทัศนียา และพระพี่เลี้ยง
บางครั้งถึงกับเอาปนเขาไปใกลๆยกขึ้นเล็งไปยังคนเหลานั้น ฉะนั้นแมรัชกาลที่ 8 จะเห็นรัชกาลที่ 9 ถือปนก็ไมมีวัน
ระแวง
จะเปนเรื่องอุบัติเหตุไดหรือไม ?
ไมนาจะเปนอุบัติเหตุ เพราะถารัชกาลที่ 9 เอาปนลอรัชกาลที่ 8 แมจะเล็งปนเขาไปใกลเพียงใดก็ไมนาจะถึงกับ
เอาปนจอกระชับเขาไปที่หนาผากเปนอันขาด (ตามการตรวจแผลของ น.พ. สุด แสงวิเชียร) เพราะทรงยอมรู
35
เหมือนกับคนอื่นทั่วไปวา ปนกระบอกนั้นไกออน ถากระชั บปนเขาที่ห นาผากขนาดนั้น ยอมเปนการเสี่ย งภัย
จนเกินไป
พยานหลายคน เชน นาย ชิต นาย บุศย และ นาย ฉลาด เทียมงามสัจ ที่ใหการตรงกันวา รัชกาลที่ 9 ไมไดเขาไป
ในหองบรรทมเชื่อไมไดเลยหรือ ?
ตอบไดวา “เชื่อไมได” คนเหลานี้ลวนใหการเท็จ เพราะสําหรับ นาย ฉลาด นั้น เปนผูไดรับประโยชนจากการ
โกหกของตนเอง นาย ฉลาด ยอมรับในศาลวา ตั้งแตถูกเรียกตัวไปสอบสวนก็ไดเบี้ยเลี้ยงจากสันติบาลวันละ 3 บาท
นอกจากนี้หลังจากที่ถูกปลดจากสํานักราชวัง ฐานหยอนความสามารถ เมื่อเดือน มกราคม 2491 ก็ยังไดรับการบรรจุ
เขาทํางานที่ธนาคารแหงประเทศไทยดวยความสนับสนุนของพนักงานสอบสวน ขอที่ชี้ชัดไดวา นาย ฉลาด โกหกก็
คือ การที่ นาย ฉลาด บอกวาไมเห็นผูรายวิ่งออกจากหองบรรทมเลยนี่เปนการโกหกชัดๆ เพราะเมื่อมีการปลงพระ
ชนมเกิดขึ้นแลว ผูรายที่ไหนจะยอมอยูเปนเหยื่อในหองบรรทมจะตองวิ่งหนีออกจากหองนั้น
สวน นาย ชิต กับ นาย บุศย นั้น ตกอยูในฐานะน้ําทวมปาก พูดมากไมได เพราะการฟองรองคดีสวรรคตนี้เกิดขึ้น
หลังจากที่พวกทหารกอรัฐประหารลมลางรัฐบาลเลือกตั้ง ผลจากรัฐประหารทําใหพระพินิจชนคดีไดเปนอธิบดีกรม
ตํารวจ และดําเนินการสอบสวน นาย ชิต เองถูกฉีดยาใหเคลิบเคลิ้ม ถูกขูเข็ญสารพัด10 ทั้งคูรูดีวา พวกศักดินาและ
พระพินิจชนคดีจะตองเลนงานพวก นาย ปรีดี พนมยงคใหได โดยใชกรณีสวรรคตเปนเครื่องมือ ฉะนั้นถึงตนพูด
ความจริงก็ไ มมีประโยชน ซ้ําจะเปนอันตรายถึงครอบครัว เพราะทั้งคูรูดีวา สมัยนั้นมี การใชอํ านาจเผด็จการ
รัฐประหารอยางปาเถื่อน เชน ยิงทิ้ง จับกุมคุมขังและทรมานผูบริสุทธิ์อยางไรบางจึงยอมสงบปาก หวังที่จะไดรับ
ความเมตตาของศาล และอยางนอยที่สุดทั้งคูนาจะไดรับคํารับรองจากศักดินาวา ถาศาลตัดสินประหารชีวิต รัชกาล
ที่ 9 จะใหอภัยโทษ ไมตองถูกประหารชีวิตและทางครอบครัวจะไดรับการเลี้ยงดู
เปนที่นาเสียใจที่ นาย ชิต และ นาย บุศย ไมไดรับความปรานีจากศักดินา หลังจากที่เขาถูกตัดสินประหารชีวิต
แมจะถวายฎีกา แตรัชกาลที่ 9 ยกฎีกาเสีย จอมพล ป. เลาใหลูกชาย (พล.ต. อนันต พิบูลยสงคราม) ฟงวา “ตนเอง....
ไดขอพระราชทานอภัยโทษขึ้นไปถึง 3 ครั้ง...”10 แตรัชกาลที่ 9 ไมยอมใหผูที่รูความลับของตนมีชีวิตตอไป จึงยก
ฎีกาเสีย
อยางไรก็ดีศักดินาใหญก็ฉลาดพอที่จะสงเงินอุดหนุนจุนเจือครอบครัวผูถูกประหารชีวิตเสมอมา เพื่อปองกันมิ
ใหครอบครัวผูสิ้นชีวิตโวยวายซึ่งเรื่องนี้ นาย ปรีดี พนมยงค ไดเปดโปงไวในคําฟองคดีที่ นาย ชาลี เอี่ยมกระสิทธ
หมิ่นประมาท นาย ปรีดี วา ครอบครัวผูตายไดรับการชวยเหลือทางการเงินจากพระราชวงศองคหนึ่งซึ่งพวกศักดินา
ก็ไมกลาโตตอบแตอยางใด

การบิดเบือนคดีลอบปลงพระชนมรัชกาลที่ 8

ขณะนั้นอํานาจมืดอันเกิดจากการรัฐประหารดวยปนแผซานไปทั่ว มีความพยายามที่จะปกปองรัชกาลที่ 9 และโยน


บาปไปใหพวก นาย ปรีดี โดยการใชวิธีการทุกอยาง เชน
- สรางพยานเท็จ นอกจากที่กลาวแลวยังมีการสรางพยานเท็จวา นาย ปรีดี และพวก ปรึกษากันวาจะฆารัชกาลที่
8 ที่บานพระยาศรยุทธเสนี โดยมี นาย ตี๋ ศรีสุวรรณ เปนผูลวงรูความลับนี้ เรื่องโกหกพรรคนี้แมศาลก็ไมกลาเชื่อ ใน
36
ภายหลัง นาย ตี๋ ศรีสุวรรณ ยอมรับกับทานปญญานันทะภิกขุวาตนใหการเท็จ นอกจากนี้ยังมี นาย วงศ เชาวนะกวี
ใหการวาไดยิน นาย ปรีดี พูดกับตนวา ตอไปนี้ นาย ปรีดี จะไมปองกันราชบัลลังกซึ่งเปนเรื่องที่นาหัวเราะ เพราะ
นาย วงศ มิใชผูที่สนิทชิดเชื้อกับ นาย ปรีดี พอที่ นาย ปรีดี จะพูดความลับอันเปนความเปนความตายดวย
- มีการทําลายหลักฐานตางๆที่จะผูกมัดรัชกาลที่ 9 ในภายหลัง เชน พระชนนีสั่งใหพระพี่เลี้ยงทําความสะอาด
พระศพแลวยังใหหมอนิตยเย็บบาดแผล ทั้งที่พระชนนีเปนพยาบาลมากอนยอมรูดีวาควรจัดการอยางไรกับศพที่มี
เคาวาจะถูกฆาตกรรม นอกจากนี้ยังมีการผลัดเสื้อผาพระศพ โดยเฉพาะหมอนนั้นถูกนําไปฝงหลังรัชกาลที่ 8
สวรรคตไปแลว 10 วัน ซึ่งพระยาชาติเดชอุดมเลขาธิการพระราชวังใหการวาจะทําเชนนี้ไดตองมี “ผูใหญ” สั่ง
แนนอน ผูที่ใหญกวาเลขาธิการพระราชวังในวังหลวงนั้นเห็นจะมีแตพระชนนีหาไมก็รัชกาลที่ 9 เทานั้น ที่รายกวา
นั้นคือ มีการเคลื่อนยายพระศพรัชกาลที่ 8 ออกไปและมีผูยกเอาพระศพไปไวบนเกาอี้โซฟาแทน11 การแตะตองพระ
บรมศพนั้นมิใชวาจะกระทําไดงายๆตองไดรับอนุญาตจากเจานายผูใหญกอนเทานั้น
- เมื่อรัฐบาลพลเรือนชุดกอนที่จะถูกรัฐประหารจะชันสูตรพระศพรัชกาลที่ 8 กลับถูกคัดคานจากกรมขุนชัยนาท
และพระชนนีจนกระทําไมได12
- แมแตศาลฎีกาก็พยายามชวยเหลือรัชกาลที่ 9 และโยนความผิดใหผูอื่นดังจะเห็นไดวา มีเพียง 2 คนเทานั้นใน
คดีนี้ที่ไมไดรับการตรวจพิสูจนเขมาปนที่มือคือ พระชนนีกับรัชกาลที่ 9 เมื่อปรากฏวามีนายตํารวจคนหนึ่งเสนอให
ทําการพิสูจนดวย ผลตอมาปรากฏวานายตํารวจผูนั้นถูกสั่งปลดออกจากราชการ
- ศาลหลีกเลี่ยงไมยอมปฏิบัติตามมาตรา 172 และ 172 ทวิแหงประมวลวิธีความอาญาซึ่งกําหนดวา การซักคาน
พยานอันจะเกิดความเสียหายตอจําเลย ตองกระทําตอหนาจําเลย ศาลกลับเดินเผชิญสืบพระชนนีและรัชกาลที่ 9 ที่
สวิสเซอรแลนด ในวันที่ 12 และ 15 ป 2493 โดยไมยอมใหจําเลยและทนายไปซักคานดวย แมพระชนนีและรัชกาล
ที่ 9 ใหการสับสนทนายจําเลยก็ซักคานไมได
- การซักคานรัชกาลที่ 9 และพระราชชนนีโดยอัยการคราวนี้ไดกระทําอยางขอไปทีอยางนาเกลียด ทั้งที่รัชกาลที่
9 เปนผูที่นาสงสัยที่สุด ในฐานะที่ไดรับประโยชนจากการตายของรัชกาลที่ 8 แตผูเดียว อัยการกลับซักถามรัชกาลที่
9 เพียงไมกี่คํา และเลี่ยงที่จะไตถามในสิ่งที่เปนสาระสําคัญ นอกจากนี้ศาลฎีกายังหลีกเลี่ยงไมยอมปฏิบัติตามมาตรา
208 และ 208 ทวิ และ 225 แหงประมวลวิธีความอาญา เพราะวาตามปกตินั้นคดีสําคัญๆจะตองนําไปใหที่ประชุม
ใหญศาลฎีกาวินิจฉัย แตคดีสวรรคตเปนคดีที่สําคัญกวาคดีทั้งปวงในประวัติศาสตรที่ประชุมใหญของศาลฎีกากลับ
ไมไดวินิจฉัย มีเพียงผูพิพากษา 5 คนเทานั้นที่เปนผูตัดสินคดี ที่คณะศาลฎีกาไมยอมเอาคดีนําขึ้นสูที่ประชุมใหญก็
เพราะไมอยากใหผูที่จับไดไลทันคัดคานนั่นเอง
- เพื่อใหความผิดพนจากตัวรัชกาลที่ 9 ศาลฎีกาถึงกับประหารชีวิตผูบริสุทธิ์อยาง นาย เฉลียว ปทุมรส ซึ่งคนผูนี้
ศาลฎีกาไมสามารถกลาวออกมาไดวา เกี่ยวของกับคดีสวรรคตอยางไร นอกจากอางซ้ําแลวซ้ําอีกวา มีความใกลชิด
กับ นาย ปรีดี เชน ยืนตามคําใหการของ “นาย รวิ ผลเนืองมา” วา นาย เฉลียว จัดรถพระที่นั่งของรัชกาลที่ 8 ให นาย
ปรีดี ใชขณะที่รัชกาลที่ 8 อยูที่หัวหิน อันเปนการแสดงความไมจงรักภักดี (ซึ่งเปนคําใหการเท็จเพราะขณะนั้น นาย
ปรีดี ก็อยูที่หัวหินดวย) ไมวา นาย เฉลียว จะใกลชิดกับ นาย ปรีดี หรือมีความจงรักภักดีกับรัชกาลที่ 8 มากนอย
เพียงใด การประหารชีวิต นาย เฉลียว ก็เปนบาปอันมหันตของศาลฎีกาชุดนั้น เพราะกระทั่งฆาตกรศาลก็วินิจฉัย
ไมไดวาใครเปนผูกระทํา ศาลกลับใหประหาร นาย เฉลียว เพียงเพราะ นาย เฉลียว ใกลชิดกับ นาย ปรีดี
37
เมื่อการสะสางคดีนี้จบลงโดยการมีแพะรับบาปตองคําพิพากษาประหารชีวิต 3 คนคือ นาย ชิต สิงหเสนี นาย บุศย
ปทมศริน นาย เฉลียว ปทุมรส สวนรัชกาลที่ 9 ก็ไดทรงหนีไปอยูตางประเทศชั่วคราวระยะหนึ่งจึงเสด็จกลับ เพื่อ
เปนการหนีเสียงครหานินทาของประชาชน โดยวางหมากใหแมเปนผูออกรับแทน
กอนที่คนทั้ง 3 จะถูกประหารชีวิต คนหนึ่งไดขอพบ พล.ต.อ. เผา ศรียานนท เปนการสวนตัว และไดพูดคุยกับ
พล.ต.อ. เผา เปนการลําพังประมาณ 10 นาที เมื่อหนังสือพิมพไดถามหลังการประหาร 3 คนนั้นแลววา ไดคุยเรื่อง
อะไรกันบาง พล.ต.อ. เผา ไมยอมตอบ แนนอน พล.ต.อ. เผา จะตองรูวา ใครเปนฆาตกรโหดในกรณีดังกลาว
และไมเปนที่สงสัยเลยวา พล.ต.อ. เผา จะไมไดบอกเพื่อนสนิทใหรูความลับนี้ ในจํานวนเหลานั้นมี จอมพล ป.
จอมพล สฤษดิ์ และ จอมพล ประภาส รวมอยูดวย
การกําจัดรัชกาลที่ 8 นั้นนับวาเปนการยิงทีเดียวไดนก 2 ตัว เพราะนอกจากรัชกาลที่ 9 จะจัดการกับรัชกาลที่ 8 ได
แลวยังไดกําจัด นาย ปรีดี ซึ่งเปนตนตอทําลายผลประโยชนของพวกกลุมศักดินาอีกดวย อีกทั้ง นาย ปรีดี จะรูอะไร
มากไปสักหนอยสมควรที่จะถูกทําลายลงเสียที ฉะนั้นเมื่อสิ้นเสียงปนไมนาน นาย ปรีดี ตองลี้ภัยทางการเมืองไป
ตั้งแตป 2491
ขอนาสังเกตประการหนึ่ง ซึ่งเพิ่งถูกคนพบในระยะหลังๆคือ เมียของ ร.ท. สิทธิชัย ชัยสิทธิเวช ผูถูกระบุวาเปน
มือปนแลวหนีตาม นาย ปรีดี ไปอยูเมืองนอก ชื่อ ชะอุม กลับไดรับตําแหนงหัวหนาแมครัวในวังสวนจิตรลดาตราบ
เทาทุกวันนี้ ลูกทุกคนไดรับการสงเสียใหเงินทุนไปเรียนตอตางประเทศ และตัว ร.ท. สิทธิชัย เองก็กลับมาอยูอาศัย
ที่ลาดพราว ซอย 101 อยางสุขสบาย โดยที่เจาตัวไมตองทํามาหากินแตอยางใด หากเขาเปนฆาตกรจริงทําไมรัชกาล
ที่ 9 จึงยังทรงไววางพระทัยในตัวแมครัวปจจุบัน และเหตุใดจึงไมใหมีการลงโทษตามตัวบทกฎหมาย เชนเดียวกับที่
เคยเลนงาน นาย ชิต และ นาย บุศย
หลักฐานจากผูเกี่ยวของกับเหตุการณสวรรคตที่กลาวมาทั้งหมดนี้ไดชี้อยางเดนชัดวา ฆาตกรผูฆารัชกาลที่ 8 อยาง
เลือดเย็นนั้นจะเปนผูอื่นมิไดเลยนอกจากรัชกาลที่ 9 มหาราชองคปจจุบัน

1. คําใหการพระยาชาติเดชอุดม (พยานโจทก) คดีสวรรคต


2. คําใหการของ นาย เวช สุนทรรัตน (มหาดเล็กหนาวัง)
3. คําใหการของ นาย มังกร ภมรบุตร (มหาดเล็กในฐานะพยานโจทก)
4. คําใหการของพระพี่เลี้ยงเนื่อง
5. คําใหการของพระพี่เลี้ยง (พยานโจทก)
6. คําวินิจฉัยของศาลกลางเมือง
7. คําใหการของ นายแพทย นิตย เวชวิศิษฐ ผูตรวจศพ
8. คําวินิจฉัยของศาลกลางเมือง
9. คําใหการของกรมขุนชัยนาทฯ
10. พล.ท. อนันต พิบูลยสงคราม จอมพล ป.พิบูลสงคราม เลม 8 หนา 687
11. คําใหการพระยาอนุรักษราชมณเฑียร
12. คําใหการหมอนิตยและคําใหสัมภาษณของ ม.จ. สกลวรรณกร วรวรรณ ตอ นสพ.เสียงไทย วันที่ 28 มิ.ย. 2488

38
รัชกาลที่ 9 : คนบาปในคราบนักบุญ

แมรัชกาลที่ 9 ไดเปนกษัตริยแลวแตก็ไมไดรับการยอมรับจาก จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีที่มีอํานาจ


มากที่สุดในชวงกอนหนาป 2500 ทั้งนี้เพราะ จอมพล ป. รูเชนเห็นชาติพระองคเปนอยางดีจึงมิไดมีความเคารพนับ
ถือแมแตนอย ยิ่งเปน พล.ต.อ. เผา ศรียานนท ดวยแลวถึงกับขูวาจะเปดโปง “กรณีสวรรคต” โดยการจาง นาย สงา
เนื่องนิยม นักไฮปารกสมญานาม “ชางงาแดง” ปาวประกาศกึกกองกลางสนามหลวงหนาพระบรมมหาราชวังที่
ประดิษฐานของพระเศวตฉัตรวา จะเปดเผยตัวผูฆารัชกาลที่ 8 เมื่อมีประชาชนมารอฟง นาย สงา เนื่องนิยม จํานวน
มาก นาย สงา ก็ปนขึ้นไปยืนบนที่สูงกลางทองสนามหลวง ในวันที่ 24 มิถุนายน 2500 และรองกองวา “ผูฆารัชกาล
ที่ 8 คือ....” แลวเอาแวนตาขึ้นมาสวมทําทาประหลาด เพื่อบอกใบใหคนดูรูวาฆาตกรคือ รัชกาลที่ 9 โดยไมพูดอะไร
อีก แม นาย สงา แสดงกิริยาเชนนี้ตํารวจของ พล.ต.อ. เผาก็มิไดจับตัว นาย สงา ไปลงโทษแตอยางใด (นาย สงา
ถูกจับตัวไปลงโทษภายหลังในสมัย จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต)
สวน จอมพล ป. มีมาดที่สุขุมกวานี้ ตอหนาประชาชนแลว จอมพล ป. จะย้ําวาตนจงรักภักดีกษัตริย แตในที่ลับนั้น
จอมพล ป. ไดเตรียมการที่เปดโปง รื้อฟนการพิจารณาคดีสวรรคตขึ้นมาใหม1 ซึ่งสิ่งนี้รัชกาลที่ 9 ทนไมได จึง
เปดตัวออกมาเลนการเมืองอยางเปดเผย ในวันที่ 25 มกราคม 2488 ทรงเริ่มปราศรัยในวันกองทัพบกวา ทหารไม
ควรเลนการเมือง รัฐบาลจึงไดนําเอาบทความของ ดร. หยุด แสงอุทัย ออกอากาศทางวิทยุแสดงความเห็นวา “องค
พระมหากษัตริยไมพึงตรัสสิ่งใดที่เปนปญหาหรือเรื่องราวเกี่ยวกับเศรษฐกิจการเมือง หรือทางสังคมของประเทศ
โดยไมมีรัฐมนตรีในคณะรัฐบาลเปนผูสนองพระบรมราชโองการ...” เพื่อเปนการโตตอบ พวกศักดินาเคียดแคน
บทความนี้มาก พากันโจมตีเปนการใหญ รัชกาลที่ 9 ฉวยโอกาสที่มีประชาชนไมพอใจนโยบายเผด็จการของ จอม
พล ป. กันมากเปนเครื่องมือรุกทางการเมือง โดยไมยอมลงพระปรมาภิไธยแตงตั้ง ส.ส. ประเภท 2 ตามที่รัฐบาล
จอมพล ป. เสนอไป ในขณะเดียวกันก็พยายามทําใหความสัมพันธระหวาง จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต กับตนเอง
กระชับมากขึ้น และแลว จอมพล สฤษดิ์ ก็รวมมือกับรัชกาลที่ 9 ดวยการพาเอาพรรคพวกลาออกจากการเปน ส.ส.
ประเภท 2 เปนจํานวนมาก และไมยอมสนับสนุน จอมพล ป. อีกตอไป จนกระทั่งทําการรัฐประหารในป 2500 จอม
พล สฤษดิ์ ยกยองรัชกาลที่ 9 ใหไดรับเกียรติยศมากขึ้นและฟนฟูพระราชพิธีที่ลาหลัง เชน แรกนาขวัญอันถูกยกเลิก
ไปในระยะหลังป 2475 ในอดีตนั้นประเพณีนี้ลาหลังถึงขั้นที่วา ถากษัตริยยังไมไดประกาศใหมีการแรกนาขวัญใน
แตละปแลว ประชาชนจะทําไรทํานาไมไดเปนอันขาดทีเดียว2 มิฉะนั้นจะตองถูกลงโทษอยางหนัก ในฐานะที่
บังอาจทําอะไรขามหนาขามตากษัตริย
รัชกาลที่ 9 เองไดพยายามสนับสนุนการปกครองที่บีบคั้นเสรีภาพของประชาชน เขาไดกลาวสุนทรพจนสนับสนุน
จอมพล สฤษดิ์ อยูเนืองๆโดยไมคํานึงถึงความผิดชอบชั่วดีเลยวา ผูที่ตนสนับสนุนนั้นเปนจอมเผด็จการที่คอรัปชั้น
ทรัพยของแผนดินไปนับพันลานบาท สวนราชินีก็เชนเดียวกัน คราวหนึ่งราชินีกับรัชกาลที่ 9 ไดรับการสนับสนุน
จาก จอมพล สฤษดิ์ ใหไปเยือนประเทศออสเตรเลียในฐานะตัวแทนแหงประเทศไทย ขณะที่ทรงประทับอยูหนา
ศาลาเทศบาลเมืองซิดนียนั้นมีประชาชนจํานวนหนึ่งโปรยใบปลิวลงจากหนาตางตึกหนาศาลาเทศบาลนั้น กระจาย
ในหมูฝูงชน มีขอความโจมตี จอมพล สฤษดิ์ วาเปนฆาตกรประหารชีวิตผูบริสุทธิ์ ราชินีทนอานขอความนี้ไมไดเลย
เพราะโดยพื้นๆนั้นทรงโปรดอานแตเรื่องภูตผีวิญญาณ โดยเฉพาะอยางยิ่งทางดานโหราศาสตรของไคโร โหรจาก
39
อังกฤษ3 (กอนที่จะสวดมนตภาวนากอนนอนวันละ 2 ชั่วโมง)4 จึงแตงหนังสือโตตอบกับประชาชนที่เกลียดชังเผด็จ
การดังกลาววา ตนเองไดรูจากนักเรียนไทยในออสเตรเลียวาผูที่ตอตาน จอมพล สฤษดิ์ ที่ซิดนี่ยนั้นเปน “...องคการ
ลับของพวกแดงที่มีทุนรอนมาก...” ทรงแสดงความเห็นวา “ขาพเจาอดที่จะนึกไมไดวาคงจะตองเปนองคการใหญที่
มีเงินมากอยางแนนอนจึงมีทุนทรัพยและหนทางที่จะสืบเรื่องเมืองไทยไดอยางละเอียดลออ และยังลงทุนพิมพ
ใบปลิวมากมายไวโปรยเลนตอนเราไดรับเชิญมาเมืองนี้...” ทรงโตแทน จอมพล สฤษดิ์ วา “...เหตุผลของเขาในการ
ตําหนิรัฐบาลเราฟงไมคอยขึ้น คนที่เขาเรียกวาผูบริสุทธิ์ในใบปลิวก็คือ พวกที่โดนประหารชีวิตเพราะวางเพลิงกับ
พวกที่กระทําจารกรรมและอาชญากรรมตางๆในเมืองเรานั่นเอง...”5 ตกลงราชินีก็เชนเดียวกับผูที่นิยมลัทธิเผด็จการ
เบ็ดเสร็จ คนอื่น คือ พอเห็นใครตอตานโจมตีการใชอํานาจเผด็จการปาเถื่อนกดหั วประชาชน โดยไมคํานึงถึง
ศีลธรรม หาวาผูนั้นเปนคอมมิวนิสต เปนแดง เปนซายและอะไรตอมิอะไร ที่จะเสกสรรปนเรื่องขึ้นเปนเหตุผลใน
การปดปากประชาชนตอไป โดยพอใจที่จะยกยองรัฐบาลที่มีนายกรัฐมนตรีเปนคนขี้โกง เชน จอมพล สฤษดิ์ วาเปน
“รัฐบาลของเรา” มากกวาที่จะเห็นอกเห็นใจประชาชนสวนใหญของประเทศที่ถูกคอรัปชั่นจนยากจน สูญเสียโชค
วาสนาและความหวังในชีวิตไปแทบจะหมดสิ้น ขณะที่รัชกาลที่ 9 และราชินีกําลังรวมมือกับ จอมพล สฤษดิ์ เพื่อรื้อ
ฟนฐานะของสถาบันกษัตริยใหสูงขึ้นนั้น ในกลุมศักดินาดวยกันเองก็ไมละเวนที่จะแกงแยงชิงความเปนใหญใน
แผนดินทุกขณะ ...... ตราบเทาที่ตําแหนงกษัตริยยังคงมีอยูในประเทศไทยจึงขอยอนกลาวถึงการแกงแยงราชสมบัติ
ระหวางพวกศักดินา จนกระทั่งฝายมหิดลไดเปนกษัตริย
ตามที่ไดกลาวไวขางตนแลวนั้น เรื่องนี้ไดสรางความเคียดแคนใหฝายจักรพงษมากจึงมีการวางแผนอยางลึกซึ้ง โดย
ใหเครือญาติของตนเขาไปมีสวนรวมในสถาบันกษัตริย เพื่อใหราชสมบัติกลับมายังพวกตนบาง ถาเอาคนในตระกูล
จักรพงษเขาไปสัมพันธทางสายโลหิตกับตระกูลมหิดลโดยตรงก็เกรงวาอีกฝายจะรูตัว ดังนั้นจึงวางแผนเอาตระกูล
ที่ใกลชิดกับตนคือ ตระกูลกิติยากรเขาไปสัมพันธกับพระองคเจาภูมิพล (รัชกาลที่ 9)
รัชกาลที่ 9 ทรงพระราชสมภพที่รัฐนิวยอรค สหรัฐอเมริกา ทรงไดรับการศึกษาที่สวิสเซอรแลนด โดยเริ่มจาก
วิชาการแพทยแลวทรงเปลี่ยนเปนรัฐศาสตร เมื่อพระองคไดขึ้นครองราชยเปนกษัตริยพระองคใหมของราชวงศจักรี
การดําเนินชีวิตของพระองคในตางประเทศเต็มไปดวยความสนุกสนาน ทรงโปรดทั้งดนตรี งานสังคม และทรง
โปรดการขับรถเร็วเปนพิเศษ ดวยพระองคทรงอยูในวัยหนุมและชอบสนุกจึงเปดชองใหฝายจักรพงษใชแผนลับ
ดังกลาวผานรัชกาลที่ 9 ซึ่งจะดูแนบเนียนมาก ฝายจักรพงษไดรวมมือกับฝายกิติยากรสง ม.ร.ว.สิริกิต กิติยากร ธิดา
ของกรมหมื่นจันทบุรีซึ่งเปนทูตไทยในอังกฤษขณะนั้นใหไปชวยรักษาพยาบาลรัชกาลที่ 9 อยางใกลชิดที่
สวิสเซอรแลนด ภายหลังที่พระองคทรงเกิดอุบัติเหตุทางรถยนตจนกระจกทิ่มเอาพระเนตรบอดสนิทไปขางหนึ่ง
จากเสนหของสาวแรกรุนและความใกลชิดทําใหรัชกาลที่ 9 ทรงติดเนื้อตองใจ ม.ร.ว.สิริกิต ดวยความประทับ
พระทัย พระองคจึงมอบแหวนธรรมดาวงหนึ่งใหเพื่อเปนการตอบแทนน้ําใจของ ม.ร.ว.สิริกิต ฝายจุลจักรพงษและ
กิติยากรเห็นเปนนิมิตรหมายที่ดีจึงฉวยโอกาสประโคมขาวออกมาวา รัชกาลที่ 9 ทรงหมั้น ม.ร.ว.สิริกิต จนทําให
พระองคตกกระไดพลอยโจน ตองทรงประกาศการหมั้นอยางเปนทางการในเวลาตอมา และไดเขาพิธีอภิเษกสมรส
ในป 2493 ขณะนั้นรัชกาลที่ 9 ทรงมีพระชนมายุได 22 พรรษา ขณะที่ ม.ร.ว. สิริกิต มีอายุได 17 ป
อยางไรก็ตามอีกไมนานตอมารัชกาลที่ 9 กับพระชนนีก็ไดเริ่มเขาพระทัยวาการแตงงานครั้งนี้คงจะตองมีเบื้องหลัง
ทรงไมพอพระทัยมากที่ไปตกหลุมพรางจึงทรงผูกใจเจ็บและพยายามหาทางตอบโตอีกฝายหนึ่ง ครั้นแลวพระ
40
วโรกาสก็มาถึง เชาวันหนึ่งขณะที่กรมหมื่นจันทบุรี พระบิดาของราชินีกําลังวิ่งออกกําลังกายในกิจวัตรปกติ เพื่อ
เปนการกระตุนเลือดลมใหเดินสะดวกยิ่งขึ้นหลังจากออกกําลังกายเสร็จ รัชกาลที่ 9 ทรงยกสุราใหดื่มแกวหนึ่ง
หลังจากที่กรมหมื่นจันทบุรีดื่มแลวก็ไดเสียชีวิตลงในวันนั้นเอง แมวาจะไมมีหลักฐานอยางเดนชัดวาการตายของ
กรมหมื่นจันทบุรีมีสาเหตุจากรัชกาลที่ 9 ตาของฝายกิติยากรและญาติวงศตางไมพอใจจึงเก็บความคับแคนนี้ไวใน
สวนลึกของหัวใจ เบื้องหลังเหตุการณที่แทจริงเปนเชนไร รัชกาลที่ 9 และพระชนนีจะทรงเลาไดดีที่สุด ความรัก
ใครปรองดองของทั้ง 2 พระองค เริ่มหางเหินและทรงกินแหนงแคลงใจมากขึ้นเปนลําดับ หลายๆครั้งที่แสดงออก
ถึงการพยายามจะชิงความเปนใหญดังจะไดกลาวในโอกาสตอไป
แมวารัชกาลที่ 9 และราชินีจะทรงบาดหมางใจกันจนเขากันไมได แตในสภาพที่ตางก็มีผลประโยชนมหาศาล
ร ว มกัน ในสถาบัน กษั ตริ ย การขัด แย งจึ ง เป น เรื่ อ งภายใน แตห ลั ง ฉากแลว ความเป น อั น หนึ่ง อั น เดี ย วกั น เป น
ภาพพจนที่สําคัญซึ่งจะดํารงความศรัทธาของปวงชนที่มีตอ 2 พระองค ยิ่งในภาวการณที่ถูกอิทธิพลทหารบีบ เชน
รัฐบาล จอมพล ถนอม จอมพล ประภาส การกลมเกลียวเพียงหนาฉากยังไมเพียงพอ ทั้ง 2 พระองคบอยครั้งที่ตอง
ปรึกษาความกันจนสวาง มีความรวมมือกันอยางจริงจัง เพื่อแสดงบทขอความเห็นใจจากประชาชน ทั้งนี้ก็เพื่อ
ตอตานกับพลังใดๆที่บังอาจมาทําลายสถาบันผลประโยชนอันลาหลังของตน
ในชวงที่รัฐบาล จอมพล ถนอม จอมพล ประภาส เรืองอํานาจอยูนั้น จอมพล ประภาส ไมลงรอยกับศักดินาใหญมา
ตลอด เปนเพราะตางก็ตองการเปนใหญเหนือผูอื่นในแผนดิน อีกทั้ง จอมพล ประภาส สามารถกําความลับเรื่องการ
สังหารรัชกาลที่ 8 อยูดวยจึงเห็นไดวาการกระทําของกลุม จอมพล ถนอม จอมพล ประภาส มีลักษณะแขงขันและ
ไมไวหนาศักดินาใหญมากขึ้นเปนลําดับ เชน นาง ไสว จารุเสถียร ชอบแตงตัวแขงขันกับราชินีตลอดเวลา ไมวา
ราชินีจะทรงแตงกายอยางฟุมเฟอยเพียงใด นาง ไสว จะตองแตงใหไดเทียมนั้น นับเปนการพยายามแขงขันที่นา
สังเวชมาก พ.อ. ณรงค กิตติขจร เองถึงกับประกาศกองในหมูเพื่อนทหารขณะมึนสุราอยางนอย 2 ครั้งวา “กูนี่แหละ
จะเปนประธานาธิบดีคนแรกของเมืองไทย” ครั้งหนึ่งที่ จ.เพชรบุรี อีกครั้งหนึ่งที่ จ.เพชรบูรณ
ในวันเฉลิมพระชนมพรรษาของกษัตริยภูมิพลหรือราชินีจะมีขาราชการชั้นผูใหญทั้งนายทหารและพลเรือนเขา
ถวายพระพรเปนประจําทุกป แตในชวงกอนเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 จะพบวาไมมีชื่อของ จอมพล ประภาส
พล.อ. ไสว ไสวแสนยากร พ.อ. ณรงค กิติขจร และภรรยา เขาไปถวายพระพรเลย ในชวงนั้นฝายศักดินาใหญ
พยายามปลอยขาววา จอมพล ประภาส สงคนไปยิงฟาชายวชิราลงกรณที่ประเทศออสเตรเลีย เพื่อเปนการปลูกความ
จงรักภักดีในสถาบันกษัตริยและเปนการทําลาย จอมพล ประภาส ไปในตัวซึ่งวิธีการอันแนบเนียนนี้เปนวิธีการที่ทั้ง
2 พระองคทรงโปรดปรานมากนิยมนํามากลั่นแกลงและทําลายผูที่ลวงรูความลับอันเลวราย และไมยอมออนขอให
พระองคเปนประจํา ขณะที่กลุม จอมพล ถนอม จอมพล ประภาส มีอํานาจและมีกําลังทหารในมือพรอมที่จะโคน
ศักดินาใหญได ฝายศักดินาใหญก็มีประชาชนจํานวนมากที่ใหการสนับสนุนดวยความงมงายตามประเพณีนิยม ใน
ภาวะขณะนั้นฝายศักดินาใหญแมจะเสียเปรียบอยูบาง แตก็ไมอาจสรางกําลังใดๆไดเลย นอกจากตํารวจชายแดน
จํานวนไมมากที่ทรงใหความสนิทสนมโดยสวนพระองคของพระชนนีและกษัตริยภูมิพล ปญหาฐานอํานาจของ
ศักดินาคือ กําลังติดอาวุธนี่เปนสิ่งที่กลุมทหารที่กุมอํานาจตระหนักและกีดกันสถาบันกษัตริยหลัง 2475 มาตลอด
และเปนความเจ็บปวดของฝายศักดินาที่จดจําไดแมนยําจนเปนบทเรียนสําคัญ ดังจะเห็นไดในระยะหลัง 14 ตุลาคม
2516 ที่ศักดินาใหญพยายามแทรกอิทธิพลของตนเขาไปในหมูทหารและขาราชการสําคัญๆ รวมทั้งการเลนเลห
41
เพทุบายเพื่อหาคนหัวออนและงมงายในตนขึ้นมาคุมอํานาจตางพระกรรณอันจะเปนฐานอํานาจที่แทจริงในการค้ํา
จุนสถาบันกษัตริยซึ่งนับวันจะเสื่อมดวยความเหลวแหลกของคนในสถาบันเอง อยางไรก็ตามกําลังของทั้ง 2 ฝายก็
ไมอาจทําลายลางกันไดในทันทีเชนกัน ปญหาของทั้ง 2 ฝายคือ การคอยจองหาโอกาสเหมาะๆที่อีกฝายเพลี่ยงพล้ํา
เพื่อทําลายอีกฝายลงไปใหได

ลําดับเหตุการณวิกฤตการณ 14 ตุลาคม 2516

5 ตุลาคม 2516 : เวลา 16.00 น. มีการแถลงขาวโครงการรณรงคเรียกรองรัฐธรรมนูญ สมาชิกกลุมเรียกรอง


รัฐธรรมนูญประมาณ 10 คน อาทิ นาย ธีรยุทธ บุญมี, นาย ประสาร มฤคพิทักษ, นาย ประพันธศักดิ์ กมลเพชร, นาย
ธั ญ ญา ชุ น ชฎาธาร ได แ ถลงข า วเปน ครั้ง แรกถึ ง โครงการรณรงค เ รี ย กร อ งรั ฐ ธรรมนู ญ ณ สนามหญ า บริ เ วณ
อนุสาวรียทหารอาสา แตฝายตํารวจไดแถลงวา หากการเรียกรองครั้งนี้ทําใหเกิดการเดินขบวนขึ้นทางเจาหนาที่
ตํารวจจะดําเนินการจับกุมทันที ขณะเดียวกัน พ.อ. ณรงค กิตติขจร (รองเลขาธิการคณะกรรมการติดตามผลการ
ปฏิบัติราชการ (ก.ต.ป.)) ไดใหสัมภาษณหนังสือพิมพวา มีอาจารยมหาวิทยาลัยและนักการเมืองบางคนกําลัง
ดําเนินการใหนักศึกษาเดินขบวนในเร็วๆนี้ และหากมีการเดินขบวนแลวไมผิดกฎหมายอีก ผมก็จะนําทหารมา
เดินขบวนบาง
6 ตุลาคม 2516 : ในตอนเชาสมาชิกของกลุมเรียกรองรัฐธรรมนูญทั้งหญิงและชายประมาณ 20 คน นัดชุมนุมกัน
ที่ลานอนุสาวรียทหารอาสา และเริ่มเดินแจกใบปลิวเชิญชวนใหประชาชนรวมกันตอเรียกรองรัฐธรรมนูญ มีการถือ
ปายโปสเตอรซึ่งมีขอความเรียกรองรัฐธรรมนูญและใหรัฐบาลคืนอํานาจ
เวลา 14.00 น. ที่ประตูน้ําขณะกําลังจะแยกยายกันแจกใบปลิว ตํารวจสันติบาลและนครบาลก็เขาจับกุมกลุม
เรียกรองรัฐธรรมนูญทันที โดยจับกุมได 11 คนประกอบไปดวยอาจารย นิสิตนักศึกษา นักหนังสือพิมพ และ
นักการเมือง ทั้งหมดถูกแจงขอหา “มั่วสุมชักชวนใหมีการชุมนุมทางการเมืองเกินกวา 5 คน” ทางตํารวจปฏิเสธไม
ยอมใหเยี่ยมและหามประกัน ผูตองหาถูกนําไปคุมขังไวที่กองบังคับการตํารวจสันติบาลกอง 2 จนกระทั่งหลังเที่ยง
คืนจึงถูกยายไปคุมขังที่โรงเรียนพลตํารวจนครบาลบางเขน
7 ตุลาคม 2516 : ในตอนเชาเจาหนาที่ตํารวจไดนําตัว นาย ธัญญา และ นาย บุญสง ชเลธร ไปคนสํานักงาน
ทนายความ “ธรรมรังสี” ซึ่งเปนของ นาย ไขแสง สุกใส (อดีต ส.ส.นครพนม) โดยเจาหนาที่ตํารวจไดตรวจคน
เอกสาร โปสเตอร และหนังสือจํานวนหนึ่ง ตอมาเจาหนาที่ตํารวจสันติบาล กองกํากับ 2 ไดแจงใหทราบถึงขอหาที่
จับกุมกลุมเรียกรองรัฐธรรมนูญ 11 คน วา ขัดขืนคําสั่งคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 4 และมีความผิดในลักษณะกบฏตอ
ราชอาณาจักร
ในชวงเที่ยงศูนยกลางนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทย (ศนท.) ไดเรียกประชุมคณะกรรมการ และออก
แถลงการณคัดคานการจับกุม
ในชวงบายเจาหนาที่ตํารวจไดจับกุมตัว นาย กองเกียรติ คงคา นักศึกษาคณะนิติศาสตรปที่ 3 ม.รามคําแหง นําไป
สอบสวนที่กองกํากับการตํารวจสันติบาล 2 เพิ่มอีกคนหนึ่ง โดยตั้งขอหาเชนเดียวกับผูที่ถูกจับกุมกอนหนาทั้ง 11
คน ศนท. ไดพยายามเจรจาขอใหปลอยผูถูกจบกุมทั้งหมด แตก็ไดรับการปฏิเสธ
42
8 ตุลาคม 2516 : ตอนเชามีในตัวเมือง จ.เชียงใหม และ ม.ธรรมศาสตร (วันแรกของการสอบประจําภาค) มี
โปสเตอรโจมตีรัฐบาลอยางรุนแรงปดทั่วบริเวณ มีนักศึกษารวมกันลงชื่อถึง จอมพล ถนอม กิตติขจร เรียกรอง
ความเปนธรรมแกผูถูกจับกุม วันเดียววันนั้นตํารวจสันติบาลไดออกหมายจับ นาย ไขแสง (อดีต ส.ส.นครพนม) ใน
ขอหาวาอยูเบื้องหลังกลุมเรียกรองรัฐธรรมนูญ จอมพล ประภาส จารุเสถียร ไดใหสัมภาษณวา จากการสอบสวน
ตามที่ตางๆโดยเฉพาะที่สํานักงานทนายความธรรมรังสีของ นาย ไขแสง มีการคนพบเอกสารสอนลัทธิคอมมิวนิสต
และบันทึกแผนงานของกลุมเรียกรองรัฐธรรมนูญที่ยุยงใหประชาชนลมลางรัฐบาล
เวลา 15.00 น. ที่ประชุมกระทรวงมหาดไทยชี้แจงวา มีคอมมิวนิสตจากตางประเทศเขามาแทรกแซงการ
เคลื่อนไหวของนิสิตนักศึกษา และ “เชื่อวานิสิตนักศึกษาจะเสียไปราวรอยละ 2 จากจํานวนเปนแสนคนจําตอง
เสียสละเพื่อความอยูรอดของบานเมือง”
ในชวงเย็นองคการนักศึกษา ม.ธรรมศาสตร (อมธ.) ไดเรียกประชุมลับ กลุมนักศึกษาอิสระไดเสนอให อมธ.
ชักชวนใหนักศึกษา ม.ธรรมศาสตร งดสอบและชุมนุมประทวง คืนนั้นเองนักศึกษา ม.ธรรมศาสตร สวนหนึ่งจึงได
เอาโซลามประตู เอาปูนปลาสเตอรอุดรูกุญแจหองสอบ และตัดสายไฟฟาทําใหลิฟทใชการไมได
9 ตุลาคม 2516 : เมื่อถึงรุงเชาหนังสือพิมพทุกฉบับลงแถลงการณประกาศงดสอบของ อมธ. สวนนักศึกษาที่เขา
หองสอบไมไดก็ทยอยไปชุมนุมและฟงการอภิปรายโจมตีรัฐบาลอยางเผ็ดรอน ณ บริเวณลานโพธิ์ ขณะที่ ศ. สัญญา
ธรรมศักดิ์ (ประธานองคมนตรีและอธิการบดี ม.ธรรมศาสตร) ไดเรียกประชุมคณาจารยทันทีเพื่อพิจารณาถึงขอ
เรียกรองของนักศึกษาที่จะใหเลื่อนสอบออกไปอยางเปนทางการ
เวลา 10.30 น. นาย ไขแสง ไดเขามอบตัวที่กองบังคับการตํารวจสันติบาล ดานวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสาน
มิตร (ตอมาเปลี่ยนชื่อเปน ม.ศรีนครินทรวิโรฒ) ไดชุมนุมอภิปรายโจมตีรัฐบาลเปนวันที่สอง พรอมกับออก
แถลงการณเรียกรองใหปลอยผูตองหาทั้ง 12 คน ภายในวันที่ 13 ตุลาคม และใหรัฐบาลประกาศใชรัฐธรรมนูญใน
วันที่ 10 ธันวาคม ที่ ม.รามคําแหง เริ่มชุมนุมอภิปรายเรียกรองใหมหาวิทยาลัยเลื่อนการสอบ ที่ ม.เชียงใหม ออก
แถลงการณเรียกรองรัฐธรรมนูญและโจมตีรัฐบาล สวนที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไดแถลงวา จะรวมตอสูกับ อมธ.
ในชวงบายนักศึกษาแพทยศาสตรศิริราชไดขามแมน้ําเจาพระยามาสมทบที่ ม.ธรรมศาสตร พรอมกับมาตั้งหนวย
แพทย ขณะเดียวกันสภานักศึกษา ม.ธรรมศาสตร ทําหนังสือเรียกรองใหรัฐบาลปลอยตัวผูตองหาทั้ง 13 คนโดยไม
มีเงื่อนไข ทําหนังสือถึงอธิการบดีใหเลื่อนการสอบประจําภาคแรก ตอมาอาจารยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 205 คน
ไดลงมติใหทําจดหมายเปดผนึกถึง จอมพล ถนอม เรียกรองใหปลอยผูตองหาทั้ง 13 คน
ในชวงเย็นที่ทําเนียบรัฐบาล จอมพล ถนอม (นายกรัฐมนตรี) ไดมีคําสั่งตามมติของคณะรัฐมนตรีใหใชอํานาจ
ตามมาตรา 17 แหงธรรมนูญการปกครอง ควบคุมผูถูกจับกุมทั้ง 13 คนจนกวาจะเสร็จสิ้นการสอบสวน ที่ ม.
เกษตรศาสตร มีการออกแถลงการณโจมตีการกระทํ าของรัฐบาล ขณะที่นัก ศึกษา ม.มหิดล และวิทยาลัย วิชา
การศึกษาประสานมิตรเริ่มทยอยไปรวมชุมนุมที่ลานโพธิ์ ขณะเดียวกันอธิการบดี ม.ธรรมศาสตร ไดออกประกาศ
ของมหาวิทยาลัยเลื่อนการสอบออกไปจนกวาภาวการณจะกลับคืนสูปกติ
เวลา 20.00 น. สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยไดออกแถลงการณของรัฐบาลระบุวา บุคคลทั้ง 13 คน ที่
ถูกตํารวจจับกุมมีแผนลมลางรัฐบาล ไมใชเพราะเรียกรองรัฐธรรมนูญ ตอมาทบวงมหาวิทยาลัยประกาศแถลงการณ
ผานทางวิทยุ ขอใหนิสิตนักศึกษาปฏิบัติตามกําหนดการสอบอยางเครงครัด หลังจากนั้น ศนท. ไดออกแถลงการณ
43
วา การตั้งขอหากลุมเรียกรองรัฐธรรมนูญวามีการกระทําอันเปนคอมมิวนิสต แสดงใหเห็นวารัฐบาลพยายามใช
อํานาจเถื่อนกลาวหาผูบริสุทธิ์
10 ตุลาคม 2516 : ตลอดทั้งวัน นักเรียน นักเรียนอาชีวะ นิสิต นักศึกษาในกรุงเทพจากหลายสถาบันเริ่มทยอยกัน
มาชุมนุมที่ลานโพธิ์ แตละสถาบันไดสงตัวแทนขึ้นพูดอภิปราย ยืนยันหนักแนนวาจะหยุดเรียนจนกวาจะตอสูสําเร็จ
ขณะเดียวกันอาจารยจากหลายมหาวิทยาลัยไดพากันไปเยี่ยมผูที่ถูกจับ ณ ศูนยฝกตํารวจนครบาล บางเขน
     ในชวงเชาที่ ม.รามคําแหง คณาจารยไดออกแถลงการณคัดคานการกระทําของรัฐบาล
ในชวงบายคณาจารณจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยไดออกแถลงการณวา รัฐบาลลุแกอํานาจ หลังจากนั้นสภาอาจารย
ม.ธรรมศาสตร ก็ออกแถลงการณโดยเห็นวา เปนการจงใจใสความเท็จ เพื่อมุงหวังจะขมขูประชาชน ทางดาน
นักศึกษาในตางจังหวัดก็มีการชุมนุมประทวงรัฐบาลเชนกัน
เวลา 14.00 น. ศนท. ไดเรียกประชุมกรรมการ เพื่อรวมปรึกษาหารือและวางแผนในการผนึกกําลังกันตอสูกับ
รัฐบาลเผด็จ การ พรอมกันนั้ น จอมพล ถนอม ไดเ รียกประชุมคณะรัฐมนตรีเ ปนการฉุกเฉิน ที่ศู น ยปฏิบัติ ก าร
ทหารบก (ศ.ป.ก.ท.บ.) สวนรื่นฤดี ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีมีมติแตงตั้งให จอมพล ประภาส (รองผูบัญชาการทหาร
สูงสุด) เปนผูอํานวยการกองอํานวยการรักษาความสงบ ตอมาองคการนิสิต ม.เกษตรศาสตร ไดออกแถลงการณวา
จะดําเนินการประทวงรวมกับ ศนท. จนกวาขอเรียกรองจะไดรับการปฏิบัติตาม
ในชวงเย็นวันนั้นนิสิตนักศึกษาวิทยาลัยวิชาการศึกษาและนักศึกษาวิทยาลัยครูเดินทางมายังลานโพธิ์ และ
ประกาศวา วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตรและวิทยาลัยวิชาการศึกษาหลายไดหยุดเรียนตั้งแตวันนี้เปนตนไป
ขณะที่ ม.เกษตรศาสตร สภาผูแทนนิสิตและองคการนิสิตไดมีมติงดสอบตั้งแตวันที่ 11 ตุลาคม 2516 เปนตนไป
และยังไดมีการออกแถลงการณของแนวรวมพลังนิสิตนักศึกษาแหง ม.เกษตรศาสตร เรียกรองใหประชาชนผนึก
กําลังกันเพื่อเรียกรองรัฐธรรมนูญและรณรงคใหผูถูกจับกุม 13 คนเปนอิสระ
ในชวงกลางคืนที่ชุมนุมบริเวณลานโพธิ์มีสถาบันการศึกษาทุกระดับในกรุงเทพสงตัวแทนมารวม ทั้งวิทยาลัยครู
ทุกแหง โรงเรียนอาชีวะ และมัธยมสายสามัญ รวมทั้งมหาวิทยาลัยทุกแหงทั่วประเทศ พรอมกันนั้น ศนท. ไดออก
แถลงการณเพื่อวิงวอนถึงประชาชนชาวไทยและคณาจารยทุกสถาบันใหผนึกกําลังกันตอตานอํานาจเถื่อนของ
รัฐบาล
เวลา 20.30 น. จํานวนผูชุมนุมเพิ่มขึ้นมากขึ้นเปน 20,000 คน อมธ. จึงสั่งยายการชุมนุมมาที่หนาตึกสถาบัน
นักศึกษาดานสนามฟุตบอล มีบุคคลลึกลับนําใบปลิวเถื่อนโจมตีกลุมเรียกรองรัฐธรรมนูญไปโปรยรอบสนาม
ฟุตบอล ม.ธรรมศาสตร
11 ตุลาคม 2516 : หลังจากชุมนุมโจมตีรัฐบาลมาตลอดทั้งคืน นิสิต นักศึกษา และประชาชนจากทั่วกรุงเทพ และ
จังหวัดใกลเคียงก็ไดทยอยหลั่งไหลมายังสนามฟุตบอล ม.ธรรมศาสตร ตลอดทั้งวัน จนทําใหมีผูรวมชุมนุมกวา
60,000 คน นิสิต ม.เกษตรศาสตร และอีกหลายสถาบันประกาศงดสอบและหยุดเรียนอยางไมมีกําหนดแลวเคลื่อน
ขบวนมา ม.ธรรมศาสตร คณะกรรมการ ศนท. ไดประชุมและมีมติวา การกระทําของรัฐบาลเปนการลิดรอนและ
ละเมิดสิทธิเสรีภาพจึงตองการใหปลอยผูเรียกรองรัฐธรรมนูญทั้ง 13 คนโดยไมมีเงื่อนไข
เวลา 10.30-12.30 น. ศนท. ไดเขาเจรจากับฝายรัฐบาล ณ วังปารุสกวัน ปรากฏวาทั้ง 2 ฝายตกลงกันไมได ฝาย
นิสิตนักศึกษายืนยันใหรัฐบาลปลอยตัวผูตองหาทั้ง 13 คน ตอมาในชวงเย็นผูตองหาทั้ง 13 คนก็ไดประกาศจะอด
44
อาหารตั้งแตวันนี้เปนตนไป เพื่อประทวงการกระทําของรัฐบาล นอกจากนี้นักเรียน นักศึกษา และอาจารยจาก
สถาบันตางๆก็ไดออกแถลงการณสนับสนุนการตอสูและคัดคานการกระทําของรัฐบาล อยางไรก็ตามนอกจากจะมี
แถลงการณสนับสนุนแลวก็ยังแถลงการณโจมตีฝายนักเรียน นิสิต นักศึกษาดวย มีการเคลื่อนไหวในตางจังหวัดดวย
ในชวงกลางคืนการชุมนุมดําเนินไปอยางเผ็ดรอนและแนนขนัด มีทั้งเงินบริจาคหลายแสนบาท มีทั้งอาหาร
ผลไมและยาหลั่งไหลเขามาไมขาดสาย ทางดาน จอมพล ถนอม ไดสั่งใหทหาร 3 เหลาทัพ เตรียมพรอมเพื่อรับ
สถานการณที่อาจเกิดขึ้นจากการรวมพลังของนักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน สถานีโทรทัศนทุกแหงออก
ขาวถึงหลักฐานในการจับกุมผูเรียกรองรัฐธรรมนูญ โดยรัฐบาลใหความมั่นใจวา เหตุการณไมรายแรงแตอยางใด
นอกจากนี้ ศนท. ยังไดรับรายงานขาววา ตํารวจในตางจังหวัดไดรับคําสั่งใหกักรถที่บรรทุกนักเรียนนักศึกษา
ตางจังหวัดไมใหเขากรุงเทพ
12 ตุลาคม 2516 : หลังการชุมนุมติดตอกันเปนเวลา 3 วัน ถนนทุกสายของผูใฝหาเสรีภาพและประชาธิปไตยก็
มุงสู ม.ธรรมศาสตร การจราจรบนถนนในกรุ งเทพ โดยเฉพาะสายที่จะไป ม.ธรรมศาสตร ติด ขัดขนาดหนัก
คลาคล่ํ า ไปด ว ยขบวนของนั ก เรี ย นและนิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา มี ค นร ว มชุ ม นุ ม เป น จํ า นวนเรื อ นแสน ที่ จุ ฬ าลงกรณ
มหาวิทยาลัย สโมสรนิ สิตฯ ไดประกาศงดสอบ ที่ ม.รามคําแหง ไดออกประกาศใหเลื่อนการสอบ ขณะที่ ม.
เกษตรศาสตร สภาคณาจารยไดออกแถลงการณใหเลิกใชมาตรา 17 แหงธรรมนูญการปกครองกรณีการจับกุม
ผูตองหา 13 คน และใหประกาศใชรัฐธรรมนูญภายใน 6 เดือน
เวลา 12.00 น. นาย สมบัติ ธํารงคธัญญวงศ (เลขาธิการ ศนท.) ไดประกาศแถลงการณใหรัฐบาลปลดปลอย
ผูตองหาทั้ง 13 คน ภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากนั้นที่กองบัญชาการปราบปรามจลาจล สวนรื่นฤดี นายกรัฐมนตรีได
เรียกประชุมคณะรัฐมนตรีเรื่อง ศนท. ยื่นคําขาดใหปลอยตัวผูเรียกรองรัฐธรรมนูญ 13 คน ในที่สุดที่ประชุมตกลง
ใหปลอยผูตองหา 13 คนไดโดยมีการประกันตัว สวนขอกลาวหาวาเปนกบฏและคอมมิวนิสตนั้นใหไปตอสูกันใน
ชั้นศาล ชวงเวลาเดียวกันคณาจารยวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตรไดยื่นหนังสือถึงรัฐบาลใหหลีกเลี่ยงความ
รุนแรง บัณฑิตและนักศึกษาปริญญาโทเศรษฐศาสตร ม.ธรรมศาสตร กับนักศึกษาปริญญาโทสถาบันบัณฑิตพัฒนบ
ริหารศาสตรไดรวมกันออกแถลงการณใหรัฐบาลปลอยตัวผูตองหา ขณะที่นักหนังสือพิมพไดเขียนคําวิงวอนขอ
ประชามติจากประชาชนใหปลอยตัวผูเรียกรองรัฐธรรมนูญ
เวลา 17.00 น. พล.ต.ต. ชัย สุวรรณศร (ผูบังคับการตํารวจสันติบาล) ไดแถลงกับผูสื่อขาววาไดรับคําสั่งจาก
อธิบดีกรมตํารวจ อนุมัติใหประกันตัวผูตองหาทั้ง 13 คนได ซึ่ง นาย สนั่น ผิวนวล (อาจารยโรงเรียนรุจิเสรีวิทยา)
ไดยื่นหลักทรัพยประกันกับอธิบดีกรมตํารวจโดยตรง ทางดาน ศนท. ไดเรียกประชุมกรรมการมีมติไมยอมให 13
ผูตองหารับการประกันตัว และยืนยันวารัฐบาลจะตองปลอยตัวผูเรียกรองรัฐธรรมนูญโดยไมมีเงื่อนไขใดๆทั้งสิ้น
ภายใน 12.00 น. ของวันที่ 13 ตุลาคม โดยถือวาการอนุมัติใหมีการประกันตัวนั้นเปนการบายเบี่ยงเปาหมายการตอสู
ของประชาชน
หลังจากนั้นเมื่อ พล.ต.ต. ชัย ไดแจงเรื่องการใหประกันตัวแกผูตองหาทั้ง 13 คนทราบ แตทั้ง 13 คนก็ไมยอมเซ็น
รับทราบและไมยอมรับการประกันตัว ตํารวจสันติบาลไดพาตัว นาย ไขแสง ไปที่กองบังคับการตํารวจสันติบาล
ปทุมวัน สวนผูตองหาอีก 12 คนนั้นยังไมยอมออกจากที่คุมขัง ขณะเดียวกัน สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศ
ไทยก็ออกขาวการใหประกันตัว 13 ผูตองหา และไดประกาศแถลงการณของทบวงมหาวิทยาลัยขอใหนักศึกษาเลิก
45
ชุมนุม สําหรับในตางจังหวัดการประทวงไดคุกรุนเพิ่มขึ้นทุกขณะพรอมกันนั้นยังมีการสงคนมารวมชุมนุมที่ ม.
ธรรมศาสตร ดวย
ในชวงกลางคืนการชุมนุมประทวงดําเนินตอไป คลื่นมนุษยเบียดเสียดกันอยูกวา 200,000 คนซึ่งวิทยุกรม
ประชาสัมพันธไดประกาศเตือนพอแมผูปกครองมิใหปลอยลูกหลานมารวมชุมนุม โดยอางวามีบุคคลกลุมหนึ่ง
เตรียมการที่จะใชอาวุธ ขณะที่ ศนท. ก็ออกแถลงการณยืนยันใหรัฐบาลปลอยตัว 13 ผูตองหาโดยไมมีเงื่อนไขตาม
มติเดิม
13 ตุลาคม 2516 : การชุมนุมประทวงดําเนินตอไปตลอดคืน มีการอภิปราย สลับการรองเพลง การแสดงละคร
และการอานบทกวี จนกระทั่งฟาสางเมื่อเวลาประมาณตี 5 นาย สมบัติ ไดขึ้นกลาวปราศรัยวายังเหลือเวลาอีกนอย
เต็ มที แ ล ว ที่จะถึงจุ ด ต อสู ถาการต อสู ด วยสัน ติวิธีไ มเ ปนผล เราจะออกไปตอสูขางนอกอย างพรอมเพรีย งกัน
หลังจากนั้นก็มีนักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชนเขามาสมทบจนลนออกนอก ม.ธรรมศาสตร
ศนท. ไดแบงหนาที่ในการปฏิบัติงานของกรรมการและเจาหนาที่ออกเปน 3 ชุด ประกอบดวย ชุดที่ 1 ไปเจรจา
กับรัฐบาลเปนครั้งสุดทาย ชุดที่ 2 ไปขอเขาเฝาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่พระตําหนักจิตรลดาฯ และชุดที่ 3 ทํา
หน า ที่ ใ นการควบคุ ม การเคลื่ อ นไหวขบวนของนั ก เรี ย น นิ สิ ต นั ก ศึ ก ษา โดยขบวนจะมุ ง ไปยึ ด อนุ ส าวรี ย
ประชาธิปไตยเปนกองบัญชาการ จนกวาคณะกรรมการ ศนท. จะมีมติใหดําเนินการในขั้นตอไป
ดานกองบัญชาการปราบปรามประชาชนที่สวนรื่นฤดี ทหารบกประมาณ 2 กองรอยพรอมดวยอาวุธประจําตัว
เต็มอัตราศึกนําเครื่องกีดขวางมาปดกั้นถนนที่จะเขาสูกองบัญชาการสวนรื่นฤดี ที่สวนพุดตานมีทหารบกอาวุธครบ
มือยืนรักษาการณเปนจํานวนมาก พรอมทั้งมีรถดับเพลิงหัวฉีดแรงสูงเขาประจําที่เรียงรายหนาสวนพุดตานและ
สวนรื่นฤดี ที่โรงเรียนพลตํารวจบางเขนมีการจัดกําลังพลตํารวจหนวยปราบจลาจลประมาณ 2 กองรอย มุงไปยังวัง
ปารุสกวันและสํานักทําเนียบนายกรัฐมนตรี นอกจากนั้นยังมีการจัดกําลังรถตํารวจนครบาลลาดตระเวนรอบสํานัก
ทําเนียบนายกรัฐมนตรี และสังเกตการณตั้งแตบริเวณสนามหลวงกับถนนทุกสายที่ไปสูสวนรื่นฤดี วังปารุสกวัน
สํานักทําเนียบนายกรัฐมนตรี และสวนจิตรลดาฯ
เวลา 11.00–11.55 น. นายกสโมสรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและกรรมการ ศนท. 2 คน ไดเขาพบ จอมพล
ประภาส ที่สวนรื่นฤดี เพื่อขอทราบการตัดสินใจของรัฐบาลเกี่ยวกับขอเสนอ จอมพล ประภาส จึงนํารางสัญญา
ออกมามีใจความสรุปวา รัฐบาลจะปลอยตัว นาย ไขแสง และพวกจํานวน 13 คน “โดยไมมีเงื่อนไข” หากทาง ศนท.
สัญญาวา จะหาทางใหฝูงชนนั้นสลายไปโดยเร็วที่สุด และถามถึงเรื่องรัฐธรรมนูญ จอมพล ประภาส ก็ตอบวาจะราง
ใหเสร็จกอนเดือนตุลาคม 2517
ระหวางนั้นเองผูบังคับการตํารวจสันติบาลไดไปที่ศูนยฝกนครบาล บางเขน เพื่อที่จะนําตัวผูตองหาที่เหลืออีก 12
คนซึ่งไดรับการประกันตัวมาปลอยตัวที่กองบังคับการตํารวจสันติบาลปทุมวัน แตทั้ง 12 คนไมยอมรับการประกัน
ตัวและไมยอมขึ้นรถ แตแลวเจาหนาที่ตํารวจไดใชหนวยคอมมานโดขับไลทั้ง 12 คนออกจากเรือนจําบางเขนโดย
อางวา เปนบุคคลที่ไมพึงปรารถนาของสถานที่ราชการแลว ทั้ง 12 คนจึงปกหลักจับกลุมกันอยูหนาประตูศูนยฝก
ตํารวจนครบาล บางเขน และไมยอมเคลื่อนที่ไปไหน
เวลา 12.00 น. โฆษก ศนท. ประกาศวา ถึงเวลาแลววันนี้จะเปนวันแหงชัยชนะของประชาชน ทุกคนตางก็ทํา
หนาที่จัดขบวนเตรียมพรอมจะเดิน
46
เวลา 12.30 น. กองบัญชาการจึงสั่งใหเคลื่อนขบวนออกจากประตู ม.ธรรมศาสตร ดานสะพานพระปนเกลาฯ
หนวยเฟองปาเริ่มเคลื่อนตัวอยางรวดเร็วเปนกองหนา จากนั้นหนวยฟนเฟองก็ไดประสานมือกันเปนแนวยาว 2 ขาง
ทาง เพื่อเปดเสนทางใหขบวนใหญเคลื่อนออกมา ดานผูแทน ศนท. ไทยที่เขาพบ จอมพล ประภาส ไดกลับมา
ประชุมกับกรรมการ ศนท. เพื่อรางสัญญาที่ จอมพล ประภาส ใหมา จากนั้นก็ไดติดตอไปยังสํานักพระราชวังเพื่อ
ขอเขาเฝาสมเด็จพระเจาอยูหัวในเวลา 12.45 น.
เวลา 13.30 น. รถควบคุมการเดินขบวนสวนหนาเคลื่อนถึงหนากรมประชาสัมพันธ และไดพูดกระจายเสียงเชิญ
ชวนประชาชนใหมารวมรณรงคดวย
เวลา 14.30 น. ขณะที่สวนหนาและตอนกลางของขบวนอันยาวเหยียดไดเขาสูถนนราชดําเนินกลางแลว สวน
ทายสุดของขบวนยังไมไดออกจาก ม.ธรรมศาสตร ทางดานกองอํานวยการปราบปรามจลาจลนั้นก็มีคําสั่งใหทหาร
รักษาการณบริเวณรอบๆสวนรื่นฤดีหนาแนนขึ้นและไดติดดาบปลายปนเตรียมพรอม ที่บริเวณสวนออยทหารราว 2
กองพันไดกระจายกําลังลอมรอบพรอมอาวุธครบมือ สวนที่ทําเนียบรัฐบาลมีการจัดวางกําลังตํารวจอยูในสภาพ
เตรียมพรอมตอตานการจลจล
เวลา 15.00 น. เมื่อตอนกลางของขบวนไดเคลื่อนมาถึงอนุสาวรียประชาธิปไตย มีการจัดรูปขบวนใหม พรอมกัน
นั้นก็มีการแจกเสบียงอาหารใหแกผูชุมนุม และมีการเปดเพลงชาติกับเพลงปลุกใจสลับกันไป ซึ่งในชวงเดียวกันนี้
ตนขบวนก็ไดเคลื่อนไปถึงหนาตึกกระทรวงเกษตรและสหกรณแลว
เวลา 15.30 น. สวนทายของขบวนไดออกจาก ม.ธรรมศาสตร จนหมด ขณะที่บริเวณอนุสาวรียประชาธิปไตย
โฆษกของ ศนท. ไดเริ่มอภิปรายทามกลางฝูงชนที่มารวมชุมนุมมากถึง 500,000 คน ตอนนี้เอง นาย เสกสรรค
ประเสริฐกุล (ผูไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการ ศนท.) ไดประกาศวา มาตรการขั้นเด็ดขาดมิใชนั่งอยูที่อนุสาวรีย
ประชาธิปไตย แตจะหยุดดูทาทีของรัฐบาลเพียง 2 ชั่วโมงเทานั้น 5 โมงตรงถายังไมมีคําตอบจากรัฐบาลขบวนก็จะ
เคลื่อนตอไป
เวลา 16.20–17.20 น. ตัวแทน ศนท. 9 คนไดเขาเฝาพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเพื่อกราบบังคมทูลเปาหมายใน
การตอสู เมื่อสิ้นสุดการเขาเฝาฯ กรรมการ ศนท. ไดตกลงวาจะไปเซ็นสัญญากับทางรัฐบาล และจะอัญเชิญพระ
บรมราโชวาทแจงใหฝูงชนทราบ
เวลา 17.30 น. ที่รถบัญชาการ นาย เสกสรรค ไดตัดสินใจสั่งเคลื่อนขบวนจากอนุสาวรียประชาธิปไตยมุงหนาสู
ลานพระบรมรูปทรงมา ในชวงนั้นกรรมการ ศนท. ชุดหนึ่งกําลังเดินทางไปสวนรื่นฤดีเพื่อทําสัญญากับ จอมพล
ประภาส โดยใจความในสัญญาสรุปไดวา รัฐบาลจะปลอยตัวผูเรียกรองรัฐธรรมนูญทั้ง 13 คน หากสัญญาวาจะ
จัดการใหฝูงชนสลายตัวโดยเร็วที่สุด และรัฐบาลจะพยายามรางรัฐธรรมนูญใหเสร็จภายในเดือนตุลาคม 2517
เวลา 17.40 น. ที่รถบัญชาการซึ่งกําลังเคลื่อนถึงบริเวณหนาทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ นาย กนก วงศตระหงาน
(รองเลขาธิการ ศนท.) ไดชี้แจงใหผูรวมชุมนุมฟงถึงผลการเขาเฝาฯ ของกรรมการ และขอใหอดใจรอเพราะ ศ.
สัญญา กําลังเรียบเรียงพระบรมราโชวาทอยู จากนั้นเขาก็ไดแจงใหเจาหนาที่ควบคุมขบวนบนรถบัญชาการทราบวา
บัดนี้ทางรัฐบาลไดตกลงยอมที่จะปลอยตัวผูเรียกรองรัฐธรรมนูญ 13 คนแลว และพรอมจะใหรัฐธรรมนูญภายใน
เดือนตุลาคม 2517 แตกําลังรอเซ็นสัญญากับรัฐบาลอยู

47
เวลา 18.00 น. กรรมการ ศนท. ออกจากสวนรื่นฤดี โดย นาย สมบัติ ไดแยกไปรับผูตองหาที่บางเขน สวน นาย
ประสาร ไตรรัตนวรกุล (นายกสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) และ นาย สมพงษ สระกวี (นายกองคการ
นักศึกษา ม.รามคําแหง) กลับไปที่สวนจิตรลดาฯ เพื่อนําสัญญาไปให ศ. สัญญา เซ็นชื่อเปนพยาน
เวลา 18.40 น. กําลังสวนแนวหนามาถึงลานพระบรมรูปทรงมาโดยมีถุงพลาสติกแขวนคอ เพื่อเตรียมคุมหัวไว
ปองกันแกสน้ําตา สวนกองกําลังสําคัญอีกสวนยังอยูที่สะพานมัฆวาฬรังสรรค จากนั้นผูรวมชุมนุมบริเวณถนนราช
ดําเนินเริ่มมุงหนาสูลานพระบรมรูปทรงมา ในขณะที่มีประชาชนมารวมสมทบเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
เวลา 18.50 น. รถบัญชาการของ ศนท. ไดหยุดจอดนิ่งอยูกลางสะพานมัฆวาฬรังสรรค ขณะที่สวนหนาของ
ขบวนไดเคลื่อนถึงลานพระบรมรูปทรงมาแลว จนกระทั่งมีผูชุมนุมอยูที่ลานพระบรมรูปทรงมาราว 5,000 คน
เวลา 19.30 น. เมื่อมีขาววามีนักเรียนนักศึกษากลุมหนึ่งจะบุกเขาทําลายพระที่นั่งอนันตสมาคม ทางรถบัญชาการ
จึงมีคําสั่งใหขบวนสวนใหญซึ่งตรึงกําลังอยู ณ สะพานมัฆวาฬรังสรรค เคลื่อนไปยังลานพระบรมรูปทรงมาเมื่อ
เวลา 19.45 น. ในขณะเดียวกัน นาย สมบัติ ไดไปรับตัวผูตองหาทั้ง 13 คนที่หนาโรงเรียนพลตํารวจนครบาล
บางเขน แตพบวา นาย ไขแสง ไดถูกตํารวจนําไปปลอยตัวที่กองกํากับการ 2 กองตํารวจสันติบาลแลว สวน นาย ธีร
ยุทธ และ นาย ชัยวัฒน ไดไปกับเลขานุการสมเด็จพระสังฆราชซึ่งมารับกอนหนานั้น เลขาธิการ ศนท. จึงรับ 10 คน
ที่เหลือออกไป
เวลา 20.00 น. สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย ไดประกาศวารัฐบาลยอมรับขอเสนอของ ศนท. คือ
ปลอยผูถูกจับกุมทั้ง 13 คนโดยไมมีเงื่อนไขใดๆ และ จอมพล ประภาส รักษาการณอธิบดีกรมตํารวจและประธาน
กรรมการรางรัฐธรรมนูญไดใหคํารับรองวา จะรางรัฐธรรมนูญใหเสร็จภายในเดือนตุลาคม 2517 บรรยากาศทั่วไป
เต็มไปดวยขาวลือตางๆนานาในทางรายตอผูนํานิสิตนักศึกษา กรมประชาสัมพันธออกแถลงการณวา “ไดมีนักเรียน
หรือบุคคลกลุมหนึ่งเตรียมการที่จะใชอาวุธรายแรงตางๆ ในวันที่ 13 ตุลาคม 2516”
เวลา 20.30 น. รถบัญชาการเดินขบวนเคลื่อนมาถึงลานพระบรมรูปทรงมา โฆษกของรถบัญชาการไดขอรองให
ฝูงชนนั่งลงดวยความสงบ และสั่งใหรถเสบียงแจกจายอาหาร โดย นาย เสกสรรค ประกาศขอรองใหนักเรียน นิสิต
นักศึกษา และประชาชนอยาเพิ่งแตกตื่น และขอใหรอคอยฟงขาวจาก ศนท. เทานั้น อยาเชื่อขาวอื่นเปนอันขาด
ทางดาน นาย สมบัติ ไดนําตัวผูตองหา 10 คนไปที่รานอาหารศรแดงตรงมุมอนุสาวรียประชาธิปไตยซึ่งเปนจุดนัด
พบของกรรมการตามที่นัดกันไวแตไมพบใคร เพราะขบวนไดเคลื่อนไปลานพระบรมรูปทรงมาแลวจึงนั่งรถแท็กซี่
แหวกฝูงชนไปที่รถบัญชาการจนไปทันที่สะพานมัฆวาฬรังสรรค
เวลา 21.00 น. เขาจึงขึ้นไปแจงใหผูรวมชุมนุมทราบวา กรรมการ ศนท. ไดเซ็นสัญญากับรัฐบาลเรียบรอยแลว
และกําลังนําพระบรมราโชวาทฯ มาแจงใหทราบ แตพอประกาศวาทางรัฐบาลจะรางรัฐธรรมนูญใหเสร็จภายใน
เดือนตุลาคม 2517 ผูรวมชุมนุมก็เริ่มลังเลแสดงความไมพอใจ และมีผูตะโกนวาตองการรัฐธรรมนูญเร็วกวานั้น แต
ยังไมทันที่ นาย สมบัติ จะพูดอะไรตอไปก็เปนลมลงเสียกอน เนื่องจากไมไดพักผอนมาเปนเวลานาน
สวนที่ลานพระบรมรูปทรงมาก็ชุมนุมกันตอไปเพราะยังไมทราบขาว ขณะที่คนที่ทราบเรื่องแลวแตยังไมยอม
เชื่อก็ไปสมทบที่ลานพระบรมรูปฯอีก ตอมาเมื่อเลขาธิการ ศนท. ฟนจากเปนลมแลวไดพยายามเดินไปที่รถ
บัญชาการเพื่อแถลงแกฝูงชน แตแลวก็ไมสามารถขึ้นไปพูดได กรรมการ ศนท. จํานวนหนึ่ง นั่งประชุมกันที่สนาม
หญาในสวนจิตรลดาฯ ขณะนั้นมีผูรวมชุมนุมกันที่ลานพระบรมรูปทรงมาประมาณ 100,000 คน
48
เวลา 21.30 น. กรรมการ ศนท. จํานวนหนึ่งไดประชุมกันในสวนจิตรลดาฯ โดยไดเรียก นาย ธีรยุทธ และ นาย
ชัยวัฒน พรอมทั้งเลขาธิการ ศนท. มาประชุมดวยซึ่งขณะนั้นฝูงชนยังคงชุมนุมกันที่ลานพระบรมรูปทรงมา
ประมาณ 100,000 คน
เวลา 22.00 น. กรมประชาสัมพันธไดออกแถลงการณวา บัดนี้ไดมีบุคคลที่มิใชนักศึกษาถือโอกาสอภิปรายโจมตี
รัฐบาลและยุยงสงเสริมใหเกิดความวุนวายตอไป สวนทางดานลานพระบรมรูปทรงมา นาย เสกสรรค ไดแถลงจาก
รถบัญชาการขอใหกรรมการรีบเดินทางมาพบฝายปฏิบัติการโดยดวน เพื่อชี้แจงใหผูชุมนุมไดทราบ เพราะไมมีใคร
เชื่อขาวการตกลงยอมรับเงื่อนไขกับรัฐบาลจนกวาจะไดทราบจากปากผูแทนของรัฐบาลหรือ ศนท. เอง
เวลา 22.45 น. ผูรวมชุมนุมบางสวนเริ่มสลายตัวกลับไปบางแลว แตหนวยรักษาความปลอดภัยยังคงปฏิบัติ
หนาที่ตอไป บางหนวยพบวามีบุคคลบางคนแอบแฝงมากอกวนฝูงชน
เวลา 22.50 น. คณะกรรมการ ศนท. ไดสรุปการประชุมเห็นวา อาจมีผูเจตนารายควบคุมฝูงชนอยู รวมทั้ง
วิเคราะหการทํางานวาผิดพลาด จําเปนตองสลายฝูงชนใหได จากนั้นจึงเดินทางไปที่ศูนยปฏิบัติการกองทัพบก สวน
รื่นฤดี เพื่อเอารถติดเครื่องขยายเสียงมาใชประกาศกับฝูงชน
เวลา 22.50 น. คณะกรรมการ ศนท. แจงขอสรุปใหราชเลขาธิการฯ , พ.ต.อ. วสิษฐ เดชกุญชร (ตํารวจประจํา
สํานักพระราชวัง), พล.ต.ท. มนตชัย พันธุคงชื่น (ผูชวยอธิบดีกรมตํารวจ) และ พล.ต.ต. ณรงค มหานนท รับทราบ
โดยมี ข อ เสนอให ติ ด ลํ า โพงขยายเสี ย งทั่ ว สนามเสื อ ป า และพระที่ นั่ ง อนั น ตสมาคม และออกประกาศทาง
วิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยวา ขณะนี้ขอตกลงระหวางนิสิต นักศึกษากับรัฐบาลเปนอยางไร
เวลา 23.30 น. ดานรถบัญชาการ ศนท. นาย พีรพล ตริยะเกษม นายก อมธ. ไดกระซิบบอก นาย เสกสรรค วา
กรรมการ ศนท. ที่เขาเฝาฯ ชะตาขาดหมดแลว พรอมกันนั้นรถบัญชาการก็ไดรับขาวการตั้งกําลังประชิดของฝาย
ทหารตํารวจใกลพระบรมรูปฯ รวมทั้งขาวที่จะใชรถถังปราบปรามผูเดินขบวนที่จะเขาไปใกลสวนพุดตาน ในที่สุด
เพื่อความปลอดภัยของฝูงชนเรือนแสน และเพื่อผอนคลายความตองการของมวลชน นาย เสกสรรค จึงไดสั่งเคลื่อน
ขบวนจากลานพระบรมรูปทรงมาไปยังสวนจิตรลดาฯเพื่อหวังจะเอาพระบารมีเปนที่พึ่ง เมื่อเวลาประมาณ 24.00 น.
14 ตุลาคม 2516 : เวลา 0.05 น. หลังจากที่ นาย เสกสรรค สั่งใหเคลื่อนขบวนไปสวนจิตรลดาฯ เพื่อขอพึงพระ
บารมีก็มีการจัดขบวนใหม ทางดานคณะกรรมการ ศนท. เมื่อทราบขาวการเคลื่อนไหวจึงไดรีบออกจากสวนรื่นฤดี
พรอมดวยรถติดเครื่องขยายเสียงของทหาร 2 คันเพื่อไปยับยั้งการเคลื่อนขบวนโดยเร็วที่สุด
เวลา 1.00 น. สวนหนาของขบวนประมาณ 5,000 คนไดเคลื่อนผานประตูทางดานทิศตะวันตกของสวนจิตรลดา
ฯ แลวเผชิญหนากับแถวปดกั้นของตํารวจปราบจลาจลจึงไมสามารถเคลื่อนขบวนตอไปได เมื่อคณะกรรมการ
ศนท. มาถึงหลังแนวปดกั้นของตํารวจ เลขาธิการและกรรมการของ ศนท. ไดผลัดขึ้นไปพูดผานเครื่องขยายเสียง
โจมตี นาย เสกสรรค ว า มี เ จตนาไมบ ริ สุท ธิ์ มี ค อมมิ ว นิ สต ส นับ สนุน อยูเ บื้อ งหลั ง และขอให นัก เรี ย น นิ สิ ต
นักศึกษา และประชาชนสลายตัวกลับไป เพราะคณะกรรมการ ศนท. ไดตกลงกับรัฐบาลเรียบรอยแลว
เวลา 2.10 น. กรรมการ ศนท. ทั้งหมดก็หยุดอภิปรายโจมตี นาย เสกสรรค เพราะไมสามารถทําใหฝูงชนสลายตัว
ตามที่ตองการได แตกลับมีคนในขบวนโหรองขับไลแทน สวนหนึ่งเพราะไมยอมเชื่อ ศนท. อีกตอไป
เวลา 2.45 น. นาย ธีรยุทธ ไดเขาไปพบกับ นาย เสกสรรค ที่รถควบคุมขบวนจึงรูวาเกิดการเขาใจผิดกันหลังจาก
ที่ขาดการประสานงานกันอยางตอเนื่อง หลังจากปรับความเขาใจกันแลวก็ไดชวยกันประกาศผานไมโครโฟน
49
เพื่อใหผูชุมนุมคลายความสงสัยลง นาย ธีรยุทธ ก็ประกาศวาจะพา นาย เสกสรรค ไปขอเขาเฝาพระบาทสมเด็จพระ
เจาอยูหัวซึ่งขณะนั้นเปนเวลา 3.00 น.
เวลา 3.30 น. นาย ธีรยุทธ และ นาย เสกสรรค ไดออกจากขบวนไปพบเลขาธิการและกรรมการ ศนท. เพื่อพูดถึง
ป ญ หาความขั ด แย ง และความเข า ใจผิ ด ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากนั้ น ทั้ ง หมดก็ ไ ด เ ข า ไปในสวนจิ ต รลดาฯ เพื่ อ ขอเข า เฝ า
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
เวลา 4.45 น. พ.ต.อ. วสิษฐ, นาย ธีรยุทธ, นาย เสกสรรค ก็ออกจากพระราชวังสวนจิตรลดาฯ ตรงไปยังรถ
บัญชาการแลวชวยกันประกาศใหผูชุมนุมไดเขาใจถึงเหตุการณที่เกิดขึ้นและความสําเร็จในการเจรจากับรัฐบาล
รวมทั้งชี้แจงความไมเขาใจกันที่เกิดขึ้นระหวางคณะกรรมการ ศนท. กับฝายควบคุมขบวน
เวลา 5.30 น. พ.ต.อ. วสิษฐ ไดอัญเชิญพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมาอานใหที่ชุมนุมฟง
และเมื่ออานเสร็จ นาย เสกสรรค รวมทั้งกรรมการ ศนท. ก็ไดขึ้นพูดใหทุกคนพอใจและขอใหสลายตัว จากนั้นฝูง
ชนก็เริ่มแยกยายกันออกจากที่ชุมนุม
เวลา 6.00 น. ขณะที่นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชนกําลังแยกยายกันกลับนั้น สวนหนึ่งก็มุงไปตาม ถ.
พระราม 5 เพื่อออกไปทางสี่แยกดุสิต แตแลวกลับถูกกั้นโดยเจาหนาที่ตํารวจประมาณ 250 คนซึ่งไมยอมใหเดิน
ผานไปโดยสะดวก ทําใหฝูงชนเกิดความไมพอใจกระทั่งเริ่มมีการขวางปาสิ่งของตางๆใสตํารวจ
เวลา 6.30 น. เกิดการขวางปาและประจันหนารุนแรงขึ้น ในที่สุดตํารวจหนวยปราบปรามภายใตการบัญชาการ
ของ พล.ต.ท. มนตชัย พันธุคงชื่น ไดใชไมกระบองและโลเขาตีและดันผูเดินขบวนใหถอยรนไป ขณะเดียวกัน
ตํารวจกองปราบในแนวหลังก็ไดรับคําสั่งใหยิงแกสน้ําตาจนฝูงชนแตกหนี ผูรวมชุมนุมจํานวนมากถูกดัน ถูกตี
และสําลักแกสน้ําตาจนตกน้ํา ตางคนก็วิ่งหนีเอาชีวิตรอด บางคนตอสูโดยใชมือเปลา ไม กอนหิน และขวดเทาที่จะ
หยิบฉวยไดตามพื้นถนน ชายหญิงและเด็กหลายคนถูกตีจนแขนหัก ศีรษะแตก บางถูกเหยียบซ้ําเนื่องจากการถอย
รนของผูรวมชุมนุม บางคนถูกไลตีตกน้ําทั้งๆที่ยังสําลักแกสน้ําตา บางสวนหนีไปฝงสวนจิตรฯ และฝงสวนสัตว
ดุสิต ดานเลขาธิการและกรรมการ ศนท. จํานวนหนึ่งไดติดกลุมไปกับฝูงชนที่ถอยรนไปอยูในสวนจิตรลดาฯ
จํานวน 1,000 คนเศษ ขณะที่ นาย เสกสรรค ไดเดินออกไปจากขบวนแลว
เวลา 7.00 น. ที่ลานพระบรมรูปทรงมา นักเรียนอาชีวะและนักศึกษาไดใชรถเสบียงบรรทุกไมจํานวนมากมาแจก
ใหกับนักเรียนนักศึกษา พรอมกับมีรถบรรทุกผูที่ทราบขาวและตองการตอสูกับตํารวจมาสงจํานวนมาก ตํารวจที่
สังเกตการณอยู ได พยายามยิงแกสน้ําตาเพื่อใหฝูงชนแตกกระจายแตก็ถูกตอบโตดวยไมและกอนหินหอนอิฐ
จากนั้นก็มีการกระจายขาวกรณีตํารวจบุกตีนักเรียน นิสิต นักศึกษาใหประชาชนทราบ ขณะที่กําลังของนักเรียน
นิสิต นักศึกษาและประชาชนไดถอยรนมารวมตัวกันที่ลานพระบรมรูปทรงมาเปนสวนมาก
เวลา 8.00 น. นักเรียน นิสิต นักศึกษาที่ทราบขาวการปะทะที่สวนจิตรลดาฯ ไดเริ่มทยอยเขาไปรวมกันใน ม.
ธรรมศาสตร จํานวนมาก คนที่หนีมาจากสวนจิตรฯ ไดนําความทารุณของตํารวจมาเลาใหเพื่อนฟง บางคนมีอารมณ
แคนพุงสูงขึ้น ตางฉวยไมขึ้นรถพากันออกไป สวนที่เหลือชวยกันทําระเบิดเพลิงอยางเรงรีบ ขณะเดียวกันก็มีการตั้ง
ศูนยพยาบาลสนามขึ้นใน ม.ธรรมศาสตร ดวย
เวลา 8.30 น. นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชนราว 5,000 คน ไดเคลื่อนจากลานพระบรมรูปทรงมา ตรงไป
ยั ง กองบั ญ ชาการตํ า รวจนครบาลผ า นฟ า เชิ ง สะพานผ า นฟ า ลี ล าศ มี ก ารขว า งปาไม แ ละก อ นหิ น เข า ไปยั ง
50
กองบัญชาการตํารวจนครบาล และมีรถกระจายเสียงของนักศึกษาประกาศใหไปรวมตัวกันที่ ม.ธรรมศาสตร สวน
บริเวณหนากรมประชาสัมพันธก็มีนักศึกษาประชาชนชุมนุมกันหลายพันคน โดยผูชุมนุมจํานวนหนึ่งไดเขายึดกรม
ประชาสัมพันธและสํานักงานคณะกรรมการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ก.ต.ป.) เมื่อเวลาประมาณ
9.00 น.
เวลา 9.30 น. สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยไดกระจายเสียงแถลงการณของ จอมพล ถนอม วา มี
นักเรียนและผูแตงกายคลายทหารกอวินาศกรรม บุกเขาไปในสวนจิตรลดาฯ และสถานที่ราชการ โดยมุงหมายที่จะ
ลบลางเปลี่ยนแปลงการปกครองรัฐบาลจึงขอประกาศวา ตั้งแตนี้เปนตนไปเจาหนาที่จะเขาระงับสถานการณอยาง
เด็ดขาด ระหวางนั้นเอง พ.อ. ณรงค กิตติขจร (หัวหนาฝายปฏิบัติการปราบปรามจลาจล) พรอมกับทหารและตํารวจ
ไดขึ้นเฮลิคอปเตอร 2 ลํา บินตรวจการณและรายงานขาวถึง จอมพล ถนอม และ จอมพล ประภาส วาใน ม.
ธรรมศาสตร มีการซองสุมอาวุธและผูคน และการจลาจลครั้งนี้เปนไปตามแผนของคอมมิวนิสต นอกจากนี้ยังมีการ
ยิงปนเอ็ม 16 และระเบิดแกสน้ําตาลงมาใสประชาชนดวยตลอดทั้งวัน
เหตุการณไดบานปลายลุกลามออกไปอยางที่ไมมีใครคาดคิดไว ทหารและตํารวจออกปราบฝูงชนโดยใชทั้ง
อาวุธปน รถถัง และเฮลิคอปเตอร มีการตอสูปะทะกันตลอดสาย ถ.ราชดําเนิน ตั้งแตผานฟาถึงสนามหลวง โดย
เฉพาะที่หนากรมประชาสัมพันธ กรมสรรพากร กองสลากกินแบง โรงแรมรัตนโกสินทร ตึก ก.ต.ป. กองบัญชาการ
ตํารวจนครบาลผานฟา รวมทั้งบริเวณสถานีตํารวจชนะสงครามและยานบางลําภู
นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ก็เริ่มตอบโตกลับรุนแรงมากขึ้น มีการยิงและปาระเบิดขวดตอบโตทหาร
ตํารวจเปนบางจุด มีการบุกเขายึดและทําลายสถานที่บางแหงที่เปนสัญลักษณของอํานาจเผด็จการคณาธิปไตย
สํานักงานกองสลากกินแบงรัฐบาล ตึก ก.ต.ป. และปอมยามถูกเผา บางคนไดขับรถเมล รถขยะและรถบรรทุกน้ํา
ของเทศบาลวิ่งเขาชนรถถัง ศพวีรชนที่สละชีวิตหลายคนถูกแหเพื่อเปนการประจานความทารุณของทหารตํารวจ
และชักชวนใหประชาชนไปรวมตอสูเพื่อประชาธิปไตย สวนใน ม.ธรรมศาสตร นักศึกษาก็ลําเลียงผูเสียชีวิตและ
ผู บ าดเจ็ บ ไปโรงพยาบาลศิ ริร าชทางเรื อ ตลอดเวลา ขณะเดี ย วกั น รั ฐ บาลก็ ไ ด อ อกแถลงการณ โ จมตีนั ก ศึ ก ษา
ประชาชนผานสถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยอยางตอเนื่อง รวมทั้งมีคําสั่งใหปดสถาบันการศึกษาของรัฐ
ในกรุงเทพ นนทบุรี และสมุทรปราการทุกแหง และประกาศไมใหประชาชนออกนอกบานในเวลากลางคืน
เวลา 17.15 น. เลขาธิการและคณะกรรมการ ศนท. จํานวนหนึ่งไดเดินทางออกจากพระราชวังสวนจิตรลดาฯ เพื่อ
ไปพบ จอมพล ถนอม ที่กองบัญชาการปราบปรามจลาจล สวนรื่นฤดี แตก็สวนทางกับ จอมพล ถนอม ซึ่งได
เดินทางไปกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรีในเวลา 17.20 น. การ
ปราบปรามนักศึ กษาประชาชนก็ ยั งดํ าเนิน ต อไป สถานีวิทยุกรมประชาสัมพัน ธไ ดกระจายเสียงประกาศของ
กองบัญชาการทหารสูงสุดให ม.ธรรมศาสตร และ ม.ศิลปากร เปนเขตอันตรายซึ่งเจาหนาที่กําลังจะเขายึดพื้นที่
ภายในเวลา 18.00 น. ขอใหนักเรียนนักศึกษาออกจากเขตดังกลาว
เวลา 18.30 น. สถานีวิทยุกรมประชาสัมพันธและสถานีโทรทัศนทุกสถานีจึงไดถายทอดแถลงการณการลาออก
จากตําแหนงนายกรัฐมนตรีของ จอมพล ถนอม ซึ่งขณะนั้นฝายนักศึกษาประชาชนไดถอยมาชุมนุมกันที่อนุสาวรีย
ประชาธิปไตยราว 30,000 คน

51
เวลา 18.45 น. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชโองการโปรดเกลาฯ แตงตั้ง ศ. สัญญา เปน
นายกรัฐมนตรี
เวลา 19.15 น. พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีกระแสพระราชดํารัสทางวิทยุและโทรทัศนขอใหทุกฝายระงับ
เหตุแหงความรุนแรง อยางไรก็ตามที่อนุสาวรียประชาธิปไตยก็ยังคงมีประชาชนมาชุมนุมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆและยังคงมี
ตํารวจทหารยิงทํารายประชาชนอยูในบางบริเวณ ทามกลางความสับสนคณะกรรมการศูนยปวงชนชาวไทยก็ไดถูก
กอตั้งขึ้นชั่วคราวเมื่อเวลา 20.45 น. ทามกลางประชาชนประมาณ 50,000 คนที่อนุสาวรียประชาธิปไตย เพื่อ
ประสานงานและคลี่คลายสถานการณ
เวลา 23.30 น. ศ. สัญญา ไดปราศรัยทางโทรทัศน ขอใหทุกฝายคืนสูความสงบ และประกาศจะใชรัฐธรรมนูญ
ภายใน 6 เดือน ตลอดคืนนั้นยังคงมีเสียงปนดังขึ้นประปราย ทองฟาแถบ ถ.ราชดําเนิน เปนสีแดง ควันพวยพุงอยู
เปนหยอมๆการตอสูเพื่อสิทธิเสรีภาพและประชาธิปไตยดําเนินไปตลอดคืน
15 ตุลาคม 2516 : เวลา 0.30 น. ภายหลังจากลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรีแลว จอมพล ถนอม ยังคงออก
แถลงการณทางสถานีโทรทัศนกองทัพบกและวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยวา มีผูที่พยายามจะนําลัทธิการ
ปกครองอื่น ที่เ ลวรา ยมาลมล างการปกครองแบบประชาธิปไตยจึงขอใหเ จา หนาที่ทุก ฝายปฏิบัติ ห น าที่จ นสุด
ความสามารถ
ตลอดทั้งคืน นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชนยังคงยืนหยัดชุมนุมกันที่อนุสาวรียประชาธิปไตยเปน
จํานวนมาก ที่บริเวณกองบัญชาการตํารวจนครบาลผานฟา เชิงสะพานผานฟาลีลาศ ประชาชนก็ปะทะกับตํารวจ
ทหารอยูเปนระยะ การจลาจลขยายขอบเขตออกไปทั่วกรุงเทพ ขณะที่ศูนยปวงชนชาวไทยไดพยายามประกาศให
หยุดการยิงตอสูกันและยื่นขอเสนอตอรัฐบาลใหมเพื่อใหสถานการณสงบลง
ในชวงเชาประชาชนไดมาสมทบที่อนุสาวรียประชาธิปไตยมากขึ้นเรื่อยๆถนนทุกสายในกรุงเทพเกลื่อนกลาดไป
ด ว ยถั ง ขยะเทศบาล เศษแก ว เศษไม ซากป อ มตํ า รวจ ซากรถที่ถู ก เผา สัญ ญาณไฟจราจรถูก ทํา ลาย สว นทาง
ตางจังหวัด มีการชุมนุมเพื่อไวอาลัยแกผูเสียชีวิตและโจมตีความโหดรายของรัฐบาลเกา รวมทั้งมีการบริจาคเลือด
เพื่อสงมาใหโรงพยาบาลในกรุงเทพ
เวลา 8.15 น. สถานีวิทยุของกรมประชาสัมพันธก็ไดกระจายเสียงประกาศของ ศ. สัญญา ใหราชการในกรุงเทพ
หยุดเปนเวลา 3 วัน เหตุการณยังคงตึงเครียด ทหารสงกําลังเขามาเสริมตามจุดตางๆที่มีการจลาจล สวนทาง
เจาหนาที่ตํารวจทั่วกรุงเทพไมไดออกปฏิบัติหนาที่ แตตั้งรับอยูในแตละสถานีโดยไมไดสวมเครื่องแบบตํารวจ
หลายโรงพักถูกปลอยราง
ฝายกลุมประชาชนซึ่งยึดรถเมลได ก็ขับรถออกวิ่งไปตามถนนสายตางๆพรอมกับรองเพลงปลุกใจและโบกธง
ชาติ ขณะที่อนุสาวรียประชาธิปไตยคนนับพันยังคงชุมนุมกันอยู โดยมีนักศึกษาผลัดกันขึ้นพูดใหเหตุการณราย
ตางๆสงบลง ตามโรงพยาบาลทุกแหงแพทยและพยาบาลตองทํางานอยางหนัก คนเจ็บและเสียชีวิตถูกนํามาสงทุก
ระยะจนไมมีที่วางเหลือ ทุกโรงพยาบาลประกาศขอรับบริจาคเลือดและเงินซึ่งก็มีประชาชนไปบริจาคอยางคับคั่ง
เวลา 11.30 น. กองบัญชาการทหารสูงสุดกลับออกประกาศวาผูกอการจลาจลไมใชนิสิตนักศึกษา แตเปน
ผูกอการรายคอมมิวนิสต อยาเชื่อขาวลือที่วาทหารตํารวจทํารายนิสิต นักศึกษา และขอใหประชาชนแยกออกจาก
ผูกอการจลาจล เพื่อที่ราชการจะไดปราบปรามคอมมิวนิสตใหสิ้นซากโดยเร็ว ระหวางนั้น เลขาธิการ ศนท. พรอม
52
กับกรรมการและเจาหนาที่ไดเขาพบ ศ. สัญญา ที่พระราชวังสวนจิตรลดา เพื่อปรึกษาถึงวิธีการแกไขสถานการณให
ดีขึ้น ขณะเดียวกันทางดานกองบัญชาการตํารวจนครบาลผานฟา ประชาชนไดชวยกันปาระเบิดเพลิงเขาไปจนถูก
ไฟไหมอยางหนัก จนเจาหนาที่ตํารวจตองถอนกําลังออกไป จากนั้นก็มีประชาชนบุกเขาไปเผาสถานีตํารวจนางเลิ้ง
ซึ่งอยูใกลๆกันดวย
ในชวงเที่ยงประชาชนหลายหมื่นคนไดเดินทางมาชุมนุมกันในบริเวณถนนราชดําเนินกลางอยางแนนขนัด เพื่อ
มาดูเหตุการณที่เกิดขึ้น ขณะที่กองบัญชาการปราบปรามจลาจล สวนรื่นฤดี จอมพล ถนอม, จอมพล ประภาส และ
พ.อ. ณรงค ไดตัดสินใจที่จะเดินทางหนีออกนอกประเทศ เนื่องจากเกิดความขัดแยงอยางหนักในรัฐบาล และในหมู
ทหารตํารวจ
เวลา 14.10 น. สถานีวิทยุกรมประชาสัมพันธไดกระจายเสียงประกาศของกองบัญชาการทหารสูงสุด หาม
ประชาชนออกนอกเคหะสถานในเวลากลางคืน เพื่อสะดวกในการปราบปรามจลาจล ขณะเดียวกันกรรมการ ศนท.
ก็ไดแบงกันออกไปพูดกับประชาชนที่อนุสาวรียประชาธิปไตยและตามชุมชนตางๆเพื่อใหเขาใจสถานการณและให
สลายตัวโดยเร็วที่สุด และกรรมการอีกสวนหนึ่งไปติดตอโรงพิมพสํานักนายกรัฐมนตรีเพื่อใหพิมพเจตจํานงของ ศ.
สัญญา รวมกับแถลงการณของ ศนท. ถึงประชาชนเพื่อชี้แจงสถานการณและสนับสนุนรัฐบาลชุดใหม
เวลา 18.40 น. วิทยุกรมประชาสัมพันธไดประกาศขาวการลาออกจากราชการและการเดินทางออกนอกประเทศ
ของ จอมพล ถนอม และ จอมพล ประภาส หลังจากขาวแพรสะพัดออกไป ประชาชนตางก็โหรองยินดีและเริ่ม
ทยอยกันกลับบาน เมื่อสถานการณเริ่มสงบลง ศ. สัญญา ไดกลาวปราศรัยทางโทรทัศนและวิทยุในเวลา 20.45 น.
ถัดจากนั้นกรรมการ ศนท. ก็ปราศรัยสดุดีวีรกรรมของประชาชนและขอใหผนึกกําลังกันเพื่อพิทักษรักษาสิ่งที่ไดมา
ใหยั่งยืนตอไป จากนั้น จอมพล ประภาส, พ.อ. ณรงค พรอมครอบครัวและผูติดตามจึงไดเดินทางลี้ภัยการเมืองโดย
เที่ยวบินพิเศษ มุงหนาไปกรุงไทเป เกาะใตหวัน เมื่อเวลา 21.47 น. สวน จอมพล ถนอม นั้นเดินทางตามไปใน
วันรุงขึ้น ผลจากเหตุการณรุนแรงตลอดวันที่ 14-15 ตุลาคม 2516 ปรากฏวามีผูเสียชีวิตถึง 77 คน และบาดเจ็บอีก
857 คน
16 ตุลาคม 2516 : กรุงเทพเริ่มกลับสูภาวะปกติ ถนนทุกสายไมมีเจาหนาที่ตํารวจออกปฏิบัติหนาที่ แตก็มีลูกเสือ
นักเรียน และนักศึกษาออกมาทําหนาที่อํานวยความสะดวกดานจราจรแทน ในชวงเชาผูคนจํานวนหลายแสนคน
ตางพากันเดินทางมาที่ ถ.ราชดําเนิน เพื่อดูความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการตอสูระหวางทหารตํารวจกับประชาชนซึ่ง
เต็มไปดวยซากปรักหักพังของสถานที่ราชการ ซากรถที่ถูกเผา และคราบเลือด พรอมกันนั้นนักเรียน นิสิต นักศึกษา
และประชาชนก็ไดชวยกันทําความสะอาดบริเวณทองถนน
ตามจุดตางๆในกรุงเทพมีหนวยอาสาสมัครแพทยและพยาบาล เปดศูนยบริจาคโลหิตชั่วคราวขึ้นเพื่อชวยเหลือ
ผูบาดเจ็บจากเหตุการณ นอกจากนี้ ณ ที่ทําการชั่วคราวของ ศนท. (สนามเสือปา) ประชาชนไดหลั่งไหลไปรวม
บริจาคเงินและสิ่งของ เพื่อเปนกองทุนสงเคราะหวีรชนผูเสียชีวิตและบาดเจ็บ รวมทั้งเปนทุนในการกอสราง
อนุสาวรียวีรชนดวย ทางดานตางจังหวัด นักเรียน นิสิต นักศึกษาและประชาชนก็ไดรวมบริจาคเงินและสิ่งของ
ตางๆสงมาสมทบที่ ศนท. ตลอดเวลา สวนทางดานตางประเทศมีคณะนักเรียนไทยสงเงินบริจาคมาชวยเหลือในครั้ง
นี้ดวย

53
เวลา 14.00 น. สวนรื่นฤดีคณะกรรมการ ศนท. ไดประชุมรวมกับเจาหนาที่ของรัฐบาล เพื่อรวมมือในการรักษา
ความสงบในขณะที่ตํารวจไมสามารถปฏิบัติหนาที่โดยสวมเครื่องแบบได เนื่องจากประชาชนยังเกลียดตํารวจ โดย
ศนท. จะสงนิสิตนักศึกษาไปประจําสถานีตํารวจที่ราชการเห็นสมควร สถานีละ 10 คนเพื่อรวมกับตํารวจ จนกวา
บานเมืองจะกลับเขาสูภาวะสงบโดยสมบูรณ ที่ทําเนียบรัฐบาลคณะรัฐมนตรีชุดใหมไดประชุมเปนครั้งแรกเมื่อเวลา
17.30 น. โดยมีมติใหออกพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแกผูชุมนุม และมีมติใหแตงตั้งคณะกรรมการราง
รัฐธรรมนูญชุดใหม
หลั ง จากนั้ นสถานี วิ ทยุก ระจายเสี ย งแหงประเทศไทยก็ ไ ด ออกประกาศสํานักนายกรัฐ มนตรีใ หขาราชการ
ปฏิบัติงานและใหสถานศึกษาเปดทําการสอนตามปกติตั้งแตวันที่ 18 ตุลาคม 2516 เปนตนไป ทางดาน จอมพล
ถนอม ออกเดินทางจากทาอากาศยานดอนเมือง เพื่อลี้ภัยการเมืองไปที่เมืองบอสตัน รัฐแมสซาชูเซตต สหรัฐอเมริกา
พรอมครอบครัวในเวลาประมาณ 21.40 น.

ในชวงนั้นอดีตผูนํานักศึกษาและอาจารยกลุมหนึ่งทําการเรียกรองรัฐธรรมนูญซึ่งรัฐบาล จอมพล ถนอม รางมา 10


ปยังไมเสร็จ จอมพล ประภาส สั่งจับคนเหลานี้ โดยตั้งขอหาฉกรรจวาเปนกบฏและคอมมิวนิสต ทําใหนักเรียน
นักศึกษา ประชาชนลุกขึ้นตอสูทั่วประเทศนับลานคน เพื่อเรียกรองใหปลอยคนทั้ง 13 คนและใหรัฐธรรมนูญ
โดยเร็ว ในขณะที่สถานการณตึงเครียดติดตอกันหลายวันกําลังเปลี่ยนไปในทางที่ดีแก จอมพล ถนอม จอมพล
ประภาส ในตอนใกลรุงของวันที่ 14 ตุลาคม 2516 ไดมีวิทยุลับจากพระราชวังสั่งให พล.ต.ท. มนตชัย พันธคงชื่น
ซึ่งเผชิญหนาฝูงชนอยูที่สวนจิตรลดาใหตะลุมบอนตีนักศึกษา เพื่อหวังกอคลื่นตอสูในหมูประชาชนที่มีตอ 3
ทรราชยขึ้นมาใหม มีการจลาจลกันทั่วไปในกรุงเทพ ผูคนเสียชีวิตเกือบ 100 คน ขณะเดียวกันตํารวจชายแดนนอก
เครื่องแบบก็ถูกศักดินาใหญสงตัวออกไปปลุกความเกลียดชัง และรวมทั้งกอวินาศกรรมเผาตึกหลายแหง พรอมกับ
เปดประตูวังตอนรับนักศึกษา ประชาชนเพื่อคุมภัยใหอันเปนการฉวยโอกาสสรางความนิยมในพระองค ทามกลาง
ความชิงชัง 3 ทรราชยในหมูนักศึกษา ประชาชน พระองคโดดเดนขึ้นมาเปนเทพบุรุษในดวงใจของประชาชน แต
อีกมือหนึ่งก็รวมมือกับ พล.อ. กฤษณ สีวะรา ใชอํานาจทางทหารบีบให 3 ทรราชยบินออกนอกประเทศ โดยหนา
ฉากกษัตริยใหคํามั่นสัญญาตอหนา 3 ทรราชยวา จะไมยึดสมบัติอันมหาศาลของพวกเขา และจะใหกลับเขาประเทศ
อยางแนนอนเมื่อเรื่องสงบลง แตหลังเหตุการณไมนานกษัตริยกลับสนับสนุนใหยึดสมบัติของพวกเขา และแสดง
ทาทีเฉยเมยตอการขอกลับประเทศในระยะ 2 ปแรก
การแยงผลประโยชนกับการหักหลังเปนของคูกัน กษัตริยซึ่งถือกันวา เปนผูสูงสงก็หาไดพนจากวิถีการแกงแยงดวย
การหักหลังผูอื่นก็หาไม โอกาสใคร โอกาสมัน ผูกําชัยชนะที่แทจริงในวันมหาวิปโยคหาใชประชาชนเราทานตามที่
เขาใจกัน แทที่จริงคือ สถาบันพระมหากษัตริยหรือกษัตริยภูมิพลจอมวางแผน
หลังเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 อํานาจการปกครองจึงหวนกลับมาสูออมอกของกลุมศักดินาอีกครั้งหนึ่ง หลังจาก
การสูญเสียครั้งยิ่งใหญเมื่อ 2475 และตองอยูเบื้องลางกลุมทหารมาตลอด นาย สัญญา ธรรมศักดิ์ องคมนตรีเปนคน
ที่กษัตริยทรงไววางพระทัยมากที่สุดคนหนึ่ง ไดรับการแตงตั้งจากพระองคใหเปนนายกรัฐมนตรีหลังเหตุการณนอง
เลือด สัญญา ธรรมศักดิ์ ใชความเกลียดชังตอ 3 ทรราชยของปวงชนสรางความนิยมใหสถาบันกษัตริยดวยการ
เหยียบ 3 ทรราชยใหจมดิน ซ้ํายังโยกยายนายทหาร ตํารวจที่เปนเสนสาย 3 ทรราชยออกจากตําแหนงสําคัญๆทาง
54
ราชการ ในชวงนี้อิทธิพลศักดินาใหญคอยๆเขาแทนที่อิทธิพลของกลุมทหาร โดยสรรหาบุคคลที่จงรักภักดี ไมวาจะ
จริ ง ใจหรื อ ด ว ยความทะเยอทะยาน เข า มามี บ ทบาททางราชการเมื อ ง เช น สมั ค ร สุ น ทรเวช (ครั้ ง สมั ย ยั ง อยู
ประชาธิปตย) พล.อ. เปรม ติณสูลานนท (นายทหารภูธรขณะนั้น) พล.ต.อ. มนตชัย พันธคงชื่น (อธิบดีกรมตํารวจ)
พรอมกับการปรับปรุงตํารวจชายแดน ฐานกําลังสําคัญของตนใหมีอาวุธทันสมัยขึ้น แตก็ไมอาจเขาครอบงําทหาร
ตํารวจทุกสวน เพราะทหาร ตํารวจบางคนที่มีอํานาจอยูแลว ไมคิดที่จะไปเกาะขาหรือชายกระโปรงใครทั้งสิ้น เชน
พวกทหารยังเติรกและนายตํารวจที่เขารวมกบฏใน 1 เมษายน 2524 ซึ่งพวกเขาเชื่อมั่นในความสามารถของตน
มากกวาการเดินเสนสายกษัตริย เพราะตองเอาใจและปฏิบัติตามความมักใหญใฝสูง รวมทั้งความคิดพิเรนๆของศักดิ
นาใหญ
นอกจากกําลังทหาร ตํารวจแลว ศักดินาใหญยังพยายามหาฐานกําลังสนับสนุนจากชาวบานดวยการตั้งกลุมลูกเสือ
ชาวบาน นวพล กระทิงแดง ดวยความบันเทิง ความเชื่องมงาย เพื่อดํารงความภักดีของพวกเขาตอไปดวยการ
พระราชทานผาพันคอใหเขาเฝาอยางใกลชิด ใหสายสะพายเหรียญตรา รวมทั้งสนับสนุนดานเงินทอง นับวันกําลัง
ของศักดินาใหญจะเขมแข็งขึ้น แตความขัดแยงภายในระหวางกษัตริยและราชินีไมมีทีทาจะลดลงเลย
ในชวงที่ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ไดรับการเลือกตั้งเปนประธานสภาสนามมาซึ่งเปนสภาชุดพระราชทาน แตงตั้งโดยกษัตริย
ภูมิพล พระองคทรงมอบให ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ แกกฎมณเฑียรบาลเสียใหม โดยใหสตรีมีสิทธิ์ที่จะเปนกษัตริยได
เชนกัน ทั้งนี้เพื่อพระองคจะไดหนุนฟาหญิงสิรินธร พระธิดาองคโปรดของพระองคใหมีโอกาสเปนกษัตริยไดและ
จะไดเปนตัวแทนของราชวงศสายสามี ขณะที่ราชินีพยายามจะทรงดันลูกชายปญญาออนสุดที่รักขึ้นเปนกษัตริย
เพื่อตนจะไดเขากุมบังเหียนตามแผนที่ฝายกิติยากรและจักรพงษไดรวมวางไว
การพยายามสรางชื่อเสียงและปลูกฝงความจงรักภักดีในหมูนักศึกษาของศักดินาใหญ กลับไมเปนไปตามที่กษัตริย
ภูมิพลคาดการณ พระองคทรงเอาใจศูนยนิสิตดวยการทรงเสด็จไปพระราชทานเพลิงศพวีรชน พระราชทานโอวาท
และใหการสนับสนุนนักศึกษาหลายๆประการ แตดวยความตื่นตัวของภาวะการเมืองในระยะนั้น นักศึกษาหาไดติด
กับสถาบันกษัตริยซึ่งสวยหรูแตภายนอก พวกเขากลับลุกขึ้นเพื่อตอสูเพื่อความเปนธรรม เพื่อสิทธิเสรีภาพ เพื่อชีวิต
ที่ดีขึ้นของผูคนโดยเฉพาะชาวนา กรรมกรอยางขนานใหญ และสงผลกระทบกระเทือนผลประโยชนกลุมศักดินา
อยางใหญหลวง สุดกําลังของทั้ง 2 พระองคจะเหนี่ยวรั้งไวได ศักดินาใหญจึงหันมาวางแผนเพื่อกําจัดคนรุนหนุม
สาวมิใหเปนเสี้ยนหนามพระองคตอไป
โดยกอนหนานี้ไมนานครอบครัวกษัตริยไดไปใหพระหมอดูทํานายอนาคต พระองคนั้นบอกวาราชวงศจักรีถึงฆาต
ชะตาขาดเสียแลวในรัชกาลนี้ หากจะใหมีรัชกาลที่ 10 ตอไปแลวกษัตริยตองทําการอยางใดอยางหนึ่งทางการเมือง
ตั้งแตเดือนสิงหาคมเปนตนไป จากนั้นตองฆาประชาชนสัก 30,000 คน ชวงเวลาที่เหมาะสมที่สุดคือ กันยายน-
ตุลาคม โดยใหพวกทหารจัดการให นอกจากนั้นพระหมอดูยังไดเสนอใหแกเคล็ดลางรายดวยการใหพระองคและ
ฟาชายนอนลงในโลงศพ และนําเลือดหญิงสาวพรหมจรรยของผูที่ไมหวังดีตอสถาบันกษัตริยมาชําระพระบาททั้ง 2
ขาง ดวยความงมงายอยางยิ่งยวดและความหวาดกลัวตอการเปลี่ยนแปลงสังคมเพื่อคนยากไรในยุคนั้น กษัตริยและ
ราชินีกับราชนิกุลกลับคิดถึงความอยูรอดของบัลลังกเฉกเชนบรรพบุรุษของตนในทุกยุคที่ผานมา เมื่อมีเหตุการณ
แหลมคมใดๆเกิดขึ้นในบานเมืองก็ยินดีที่จะใหความฉิบหายบังเกิดแกไพรฟาประชาราษฎรและบานเมือง ยิ่งกวา

55
การเสียผลประโยชน ลาภยศ ความสุขและการเสียสละสวนพระองคของสถาบันกษัตริยเลย เหลาราชนิกุลของ
ราชวงศจักรีสายมหิดลไดตัดสินพระทัยที่จะปฏิบัติตามคําทํานาย
หลังวันที่ 12 สิงหาคม 2519 อันเปนวันครบรอบวันเกิดของราชินีไมนาน ตามแผนการลับขั้นที่ 1 ใหจัดสง จอมพล
ประภาส ใหบินกลับเมืองไทย เพื่อทดสอบการตอตานของปวงชน ทั้ง 2 พระองคไดแสดงออกอยางเดนชัดในการ
คัดคาน การตอตานของนักศึกษาและประชาชนดวยการอนุญาตให จอมพล ประภาส เขาเฝา มอบชอดอกไมและ
ออกคาใชจายจํานวน 500,000 บาทเพื่อเปนคาเที่ยวบินพิเศษในการนํา จอมพล ประภาส กลับไทเป กอนจากไปมี
การอนุญาตให จอมพล ประภาส ปรากฏตัวทางโทรทัศน เพื่อแสดงบทขอความเห็นใจจากประชาชนโดยอางวา
ตนเองตากําลังใกลบอดตองการมารักษาในเมืองไทย เดิมที จอมพล ถนอม เคยขอสัญญาใหตนเองกลับประเทศ แต
ศักดินาใหญกับทหารบางคนเปนตัวการอางความไมพอใจของประชาชน โกหก จอมพล ถนอม วายังไมถึงเวลานั้น
แตเมื่อศักดินาใหญตองการสรางสถานการณปราบนักศึกษา กลับแตงคนไปเชื้อเชิญ 3 ทรราชยและใหการตอนรับ
อยางดี โดยไดรับการคุมครองอยางเขมแข็งจาก พล.ต. ยศ เทพหัสดินทร (หลานชายของจอมพล ประภาส) นั่นเอง
ในชวงกอนที่ จอมพล ประภาส จะเขามาเมืองไทย ในวงการทหารมีการเปลี่ยนแปลงดุลยอํานาจอยางมาก เมื่อ
พล.อ. กฤษณ สีวะรา ผูบัญชาการทหารบก ดวนตายไปกอนดวยการถูกวางยาพิษขณะเขาโรงพยาบาลพระมงกุฎดวย
โรคสามัญ แทจริง พล.อ. กฤษณ ตองการใชโรงพยาบาลเพื่อการประชุมนายทหารคนสนิท วางแผนเตรียมยึดอํานาจ
มาสูกลุมตน แตถูก พล.ต. ยศ เทพหัสดินทร ลูกนองที่ไวใจไดของ พล.อ. กฤษณ หักหลัง เพราะ พล.อ. กฤษณ
คัดคานการพยายามกลับเขามาของ 3 ทรราชยตั้งแตหลัง 14 ตุลาคม พล.อ. กฤษณเปนผูคุมกําลังทหารมากที่สุดใน
ขณะนั้นไมเห็นดวยกับแผนการขยายอํานาจของกษัตริยภูมิพลในกลุมทหาร และพยายามขัดขวางพระองค นี่เปน
สาเหตุการตายที่สําคัญ
เมื่อมามองประวัติศาสตรในยุคหลังจากนี้ไมกี่ปไดมีนายทหารหลายคนที่จะไดเปนผูบัญชาการทหารระดับสูง แต
ตองเสียชีวิตในลักษณะที่คลายๆกันโดยไมทราบสาเหตุเดนชัด เชน พล.อ. อํานาจ ดําริกาญจน, พล.อ.อ.คํารณ ลี
ละศิริ ซึ่งแตละคนลวนแตขัดแยงกับศักดินาใหญทั้งสิ้น และก็มีขาวลือวาเปนเพราะ “คําบัญชาจากเบื้องบน” ทุกครั้ง
ไป เรื่องทํานองนี้เปนที่กลาวขวัญกันทั่ว ในบรรดานายทหารชั้นผูใหญ เชน ครั้งหนึ่งขณะที่มีการแขงขันเลือกตั้งที่
รอยเอ็ด พล.อ. เกรียงศักดิ์ ชมะนันท เปนนายทหารที่มีจิตใจประชาธิปไตย หากไดรับเลือกตั้งจะเปนกําลังสําคัญ
ของฝายประชาธิปไตยในการตานทานอิทธิพลอันแสนจะลาหลังของกษัตริย ในขณะรณรงคเลือกตั้ง พล.อ. เกรียง
ศักดิ์ เกิดเปนไขหวัดและตองการไปพักผอน แตผูใกลชิดทุกคนตางเตือนไมให พล.อ. เกรียงศักดิ์ เขาโรงพยาบาล
เพราะเกรงวาจะเสียชีวิตอยางกะทันหันเชนนายพลคนที่ตายอยางมีเลศนัย เพราะบังอาจไปบดบังรัศมีของสถาบัน
พระมหากษัตริย พล.อ. กฤษณ ก็เชนกัน การขึ้นเปนรัฐมนตรีกลาโหมตามที่พรรคประชาธิปตยเสนอจะทําให พล.อ.
กฤษณสามารถผนึกกําลังไดเขมแข็งยิ่งขึ้นและอํานาจอันควรตกแกกษัตริยจะยิ่งริบหรี่ลงทุกวัน แนนอนกษัตริยและ
ราชินียอมทนในสิ่งนี้ไมได ใครผูบังอาจขวางทางพระองคก็จะตองมีอันเปนไปตามพระบัญชา
แผนรายไดเริ่มขึ้นดวยการปลุกปนลูกเสือชาวบาน นวพล กระทิงแดงใหจงเกลียดจลชังนักศึกษาเปนพิเศษ ใชกลไก
ราชการขัดขวาง ประณามและใสราย หาวานักศึกษาไมหวังดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย เปนพวกคอมมิวนิสต
รวมทั้งใชศาสนามาสรางความขลัง ใหพระเทศน ตลอดจนการเขาทรง ใชเครื่องรางตางๆ เชน ผานสํานักปูสวรรค
ซึ่งพวกเขาตั้งขึ้นเพื่อทําลายอีกฝายโดยเฉพาะ, พระกิตติวุฒิโฑแหงจิตภาวัน ฯลฯ รวมทั้งการแตงเพลงปลุกใจ มอม
56
เมาใหชาวบานรังเกียจพวกนักศึกษาและศูนยนิสิตอยางยิ่ง ทั้งที่เด็กรุนหนุมรุนสาวเหลานี้อยากเห็นสังคมที่มีความ
ยุติธรรม และเปดโอกาสใหปญหาความยากจน ความเนาเฟะของประเทศไดรับการแกไขเทานั้น ถาผูมีอํานาจใน
ประเทศเขาใจ และเปดโอกาสใหพวกเขามีสวนรวมในการแกปญหาสังคมบางอยางคอยเปนคอยไป ความรุนแรง
และนองเลือดจะตองลดนอยลงกวาภาวะปจจุบันอยางแนนอน และยังใหโอกาสสังคมเปลี่ยนแปลงอยางสันติได
มากขึ้นดวย

ลําดับเหตุการณวิกฤตการณ 6 ตุลาคม 2519

มิถุนายน 2519 : นาย สุธรรม แสงประทุม ไดรับเลือกตั้งเปนเลขาธิการศูนยกลางนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทย


(ศนท.) ในชวงนั้นไดมีการประเมินสถานการณวากําลังกาวเดินไปสูความเลวรายทุกขณะ โดยมีการทําลายลางทั้ง
การโฆษณาและวิธีการรุนแรง แตกลับทําใหขบวนการนักศึกษาเติบใหญอยางไมเคยปรากฏมากอน ดูจากผลการ
เลือกตั้งกรรมการนักศึกษาในมหาวิทยาลัยตางๆประจําป 2519 นักศึกษาฝายกาวหนาไดรับชัยชนะเกือบทุกสถาบัน
27 มิถุนายน 2519 : กิตติวุฒโฑภิกขุ ใหสัมภาษณ น.ส.พ.จัตุรัส วา “การฆาคนเพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย
ถือเปนบุญกุศลเหมือนฆาปลาแกงใสบาตรพระ”
2 กรกฎาคม 2519 : กรรมการ ศนท. นัดพบประชาชนที่สนามหลวง การชุมนุมครั้งนี้มีคนถูกปาดวยเหล็กแหลม
และกอนหินจนบาดเจ็บหลายคน นาย สุธรรม กลาวในการชุมนุมวากรรมการ ศนท. ชุดนี้อาจจะเปนชุดสุดทาย แต
ก็พรอมยืนตายคาเวทีตอสู ในชวงนั้น ที่ทําการ ศนท. ในตึก ก.ต.ป. ถูกลอมและขวางปาหลายครั้ง และยังเคยมีคนมา
ติดตอกับกรรมการ ศนท. เสนอใหเดินทางออกนอกประเทศ พรอมกับจะสนับสนุนเงินทองและที่อยูให โดยบอกวา
จะมีรัฐประหารแนนอน แตไมอยากใหนักศึกษาลุกขึ้นตอตาน แตกรรมการ ศนท. ตอบปฏิเสธ
27 กรกฎาคม 2519 : หนังสือพิมพฉบับหนึ่งพาดหัวขนาดใหญวา “วางแผนยุบสภาผูแทน ตั้งสภาปฏิรูปสวม
รอย” เนื้อขาวกลาววา บุคคลกลุมหนึ่งประกอบดวยทหาร ตํารวจชั้นผูใหญ พอคา ขาราชการ กําลังวางโครงการตั้ง
“สภาปฏิรูปแหงชาติ” เตรียมตัวเพื่อขึ้นมาบริหารงานแทนรัฐบาล ม.ร.ว. เสนีย
6 สิงหาคม 2519 : คณะรัฐมนตรีประชุมนัดพิเศษเพื่อพิจารณาคําขอของ จอมพล ถนอม ที่จะเดินทางเขาประเทศ
ปรากฏวาความเห็นแบงออกเปน 2 ฝาย ฝายหนึ่งเห็นวาไมควรอนุมัติเพราะจะเปนเงื่อนไขใหเกิดการชุมนุมขับไล
อีกฝายหนึ่งเห็นวาควรอนุมัติเพราะ จอมพล ถนอม มีสิทธิตามรัฐธรรมนูญ
10 สิงหาคม 2519 : มีขาวลือวา จอมพล ถนอม เดินทางเขามาในประเทศไทย แตวันรุงขึ้นมีขาววา จอมพล
ถนอม ทําบุญเลี้ยงพระที่วัดไทยในสิงคโปร
16 สิงหาคม 2519 : มีขาวแจงวา จอมพล ประภาส เดินทางกลับเขาประเทศแลว
19 สิงหาคม 2519 : นักศึกษาจํานวนหนึ่งจัดขบวนแหรูปวีรชน 14 ตุลา ไปที่ สน.ชนะสงคราม แจงขอหาให
ตํารวจดําเนินคดีกับ จอมพล ประภาส
เวลา 15.00 น. นักศึกษาชุมนุมที่ลานโพธิ์ แมวามหาวิทยาลัยจะมีคําสั่งหามแลว
เวลา 17.00 น. ศนท. จัดชุมนุมที่สนามหลวง

57
เวลา 22.00 น. นักศึกษาประชาชนประมาณ 10,000 คนเคลื่อนขบวนจากสนามหลวงเขามายังสนามฟุตบอล ม.
ธรรมศาสตร และมีการชุมนุมกันตลอดคืน
20 สิงหาคม 2519 : กรรมการองคการนักศึกษา ม.ธรรมศาสตร (อมธ.) เปดอภิปรายที่ลานโพธิ์ ชี้แจงเหตุผลที่
ตองยายการชุมนุมเขามาใน ม.ธรรมศาสตร การชุมนุมที่สนามฟุตบอลยังดําเนินไปตลอดคืน
21 สิงหาคม 2519 : กลุมกระทิงแดงเริ่มปดลอมมหาวิทยาลัย
เวลา 14.00 น. นักศึกษา ม.รามคําแหง 3,000 คน เดินขบวนเขามาทางประตูมหาวิทยาลัยดานพิพิธภัณฑ กระทิง
แดงปาระเบิดและยิงปนเขาใสทายขบวน มีผูเสียชีวิต 1 คน แตการชุมนุมยังดําเนินตอไป
เวลา 20.30 น. ฝนตกหนัก กลุมผูชุมนุมยังคงยืนหยัดอยูในสนามฟุตบอลจนฝนหยุด จึงเคลื่อนเขาไปใน
หอประชุมใหญ และอยูขางในตลอดคืน
22 สิงหาคม 2519 : จอมพล ประภาส เดินทางออกนอกประเทศ นักศึกษาประชาชนสลายตัว
26 สิงหาคม 2519 : มีขาวลือวา จอมพล ถนอม ลอบเขามาทาง จ.สงขลา แตไมเปนความจริง นาย สุธรรม แถลง
วา จอมพล ถนอม ตองการกลับมามีอํานาจอีกครั้ง
27 สิงหาคม 2519 : อธิบดีกรมตํารวจมีคําสั่งใหหนวยงานทุกฝายที่เกี่ยวของระมัดระวังมิให จอมพล ถนอม เดิน
ทางเขาประเทศไทย
28 สิงหาคม 2519 : ทานผูหญิง จงกล กิตติขจร เดินทางเขาประเทศไทย โดยแถลงวาเขามาเพื่อปรนนิบัติบิดาของ
จอมพล ถนอม และมารดาของทานผูหญิง รวมทั้งเปนเจาภาพงานแตงงานเพื่อนของบุตรชายดวย
29 สิงหาคม 2519 : บุตรสาว จอมพล ถนอม 3 คนเขาพบนายกรัฐมนตรีที่บานพัก ซ.เอกมัย เพื่อเจรจาขอให จอม
พล ถนอม เขามาบวชและรักษาบิดา นายกรัฐมนตรีขอนําเรื่องเขาปรึกษาคณะรัฐมนตรี
30 สิงหาคม 2519 : น.ท. ยุทธพงษ กิตติขจร ยื่นหนังสือตอนายกรัฐมนตรี ชี้แจงเกี่ยวกับวัตถุประสงคและเหตุผล
ที่ จอมพล ถนอม ขอเดินทางเขาประเทศไทย
31 สิงหาคม 2519 : คณะรัฐมนตรีพิจารณาแลวเห็นวาไมสมควรอนุมัติให จอมพล ถนอม เดินทางกลับเขามา
และ รมช.ตางประเทศ สั่งสถานทูตไทยในสิงคโปรแจงผลการประชุมคณะรัฐมนตรีให จอมพล ถนอม ทราบ
1 กันยายน 2519 : นายกรัฐมนตรีเรียกอธิบดีกรมตํารวจและรองอธิบดีกรมตํารวจฝายกิจการพิเศษเขาพบ เพื่อ
เตรียมการปองกันการเดินทางเขาประเทศของ จอมพล ถนอม และใหนําเอกสารจากกระทรวงมหาดไทยและ
กลาโหมเกี่ยวกับการพิจารณาความผิด จอมพล ถนอม ในกรณี 14 ตุลาคม 2516 มาตรวจสอบ
2 กันยายน 2519 : แนวรวมตอตานเผด็จการแหงชาติติดใบปลิวตอตานการเดินทางกลับไทยของ จอมพล ถนอม
ตามที่สาธารณะ นาย สุธรรม พรอมดวยตัวแทน อมธ. สโมสรนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา สโมสร
นักศึกษา ม.มหิดล และแนวรวมตอตานเผด็จการแหงชาติ รวมกันแถลงวาจะคัดคานการกลับมาของ จอมพล ถนอม
จนถึงที่สุด
3 กันยายน 2519 : อธิบดีกรมตํารวจชี้แจงวาไดเตรียมการปองกัน จอมพล ถนอม เดินทางกลับเขามาไวเรียบรอย
แลว ถาเขามาจะควบคุมตัวทันที นาย ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน (รมต.ยุติธรรม) ซึ่งเดินทางกลับจากประเทศสิงคโปร
แถลงวาหลังจากไดพบและชี้แจงถึงความจําเปนของรัฐบาลตอ จอมพล ถนอม แลว จอมพล ถนอม บอกวาจะยังไม

58
เขามาในระยะนี้ นาย สมัคร สุนทรเวช (รมช.มหาดไทย) กลาวโดยสรุปวาขณะนี้มีมือที่สามจะสวมรอยเอาการ
กลับมาของ จอมพล ถนอม เปนเครื่องมือกอเหตุราย
4 กันยายน 2519 : พระภิกษุสงคราม ปยะธรรมโม ประธานแนวรวมยุวสงฆแหงประเทศไทย แถลงวาถา จอม
พล ถนอม บวช แนวรวมยุวสงฆจะถวายหนังสือคัดคานตอสมเด็จพระสังฆราชทันที และพระสงฆทั่วประเทศก็จะ
เคลื่อนไหวคัดคานดวย สภาแรงงานแหงประเทศไทยออกแถลงการณคัดคานการกลับเขามาของ จอมพล ถนอม
5 กันยายน 2519 : ในการประชุมตัวแทนของ ศนท. และของกลุมนักเรียน นิสิตนักศึกษา และกรรมกร รวม 67
กลุม ที่ตึกจักรพงษ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อเตรียมงาน 14 ตุลา ไดออกแถลงการณรวม สรุปวาจะตอตาน
คัดคานการกลับมาของ จอมพล ถนอม จนถึงที่สุด
19 กันยายน 2519 : จอมพล ถนอม บวชเณรจากประเทศสิงคโปร แลวเดินทางถึงประเทศไทยเวลาประมาณ
10.00 น. แลวเดินทางไปวัดบวรนิเวศฯ มีผูไปรอตอนรับเณรถนอมที่ดอนเมือง เชน พล.อ. ยศ เทพหัสดิน ณ อยุธยา
พล.อ.ต. สุรยุทธ นิวาสบุตร (เจากรมการบินพลเรือน) พล.อ.ต. นิยม กาญจนวัฒน (ผูบังคับการกองตรวจคนเขา
เมือง)
เวลา 11.15 น. จอมพล ถนอม อุปสมบทเปนพระภิกษุ แลวเดินทางไปเยี่ยมอาการปวยของบิดา
เวลา 12.00 น. ขาวการกลับมาของ จอมพล ถนอม แพรออกไปโดยประกาศของสถานีวิทยุกระจายเสียงแหง
ประเทศไทยซึ่งระบุวา จอมพล ถนอม บวชเณรเขาไทยและบวชเปนพระเรียบรอยแลวที่วัดบวรนิเวศฯ ทางดาน
สถานีวิทยุยานเกราะออกอากาศคําปราศรัยของ จอมพล ถนอม ซึ่งยืนยันเจตนารมณวามิไดมีความมุงหมายทาง
การเมือง พรอมกันนั้นยานเกราะยังเรียกรองใหระงับการตอตานพระถนอมไวชั่วคราวจนกวาพระถนอมจะสึก เพื่อ
มิใหสะเทือนตอพระศาสนา
นาย สุธรรม แถลงวาที่ประชุมกลุมพลัง 165 กลุม มีมติคัดคานการกลับมาของ จอมพล ถนอม ตอกรณีการ
เคลื่อนไหว ทาง ศนท. เห็นวาการเคลื่อนไหวครั้งนี้จําเปนตองมีความสุขุม เพราะมีความละเอียดซับซอน ประกอบ
กับมีการนําเอาศาสนาประจําชาติขึ้นมาบังหนา ฉะนั้น ศนท. จึงจะรอดูทาทีของรัฐบาลและใหโอกาสรัฐบาล
ตัดสินใจและดําเนินการกอน ขณะที่ทาง ศนท. กําลังรอดูทาทีของฝายรัฐบาล ไดเกิดกระแสโจมตีการเคลื่อนไหว
ของ ศนท. อยางรวดเร็ว โดยเฉพาะสถานีวิทยุยานเกราะ ถึงกับมีการเรียกรองใหรัฐบาลฆาประชาชนสัก 30,000 คน
เพื่อคนจํานวน 43 ลานคน ตอมาตํารวจไดจับนักศึกษารามคําแหง ชื่อ นาย วิชาญ เพชรจํานง ซึ่งเขาไปในวัดบวรฯ
พรอมแผนที่กุฏิในวัด น.ส.พ.ดาวสยาม พาดหัวขาวหนาหนึ่งในตอนเย็นวา “จับ นศ.วางแผนฆาถนอม” แตหลังจาก
นั้นตํารวจไดปลอยตัว นาย วิชาญ ไปเพราะ นาย วิชาญ เปนสมาชิกคนหนึ่งในกลุมกระทิงแดง
20 กันยายน 2519 : โฆษกประจําสํานักนายกรัฐมนตรีแถลงวา ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช (นายกรัฐมนตรี) ไดเชิญ
หัวหนาพรรคชาติไทย ธรรมสังคม สังคมชาตินิยม และ นาย เสวต เปยมพงศสานต เขาพบเพื่อปรึกษาหารือ และมี
ขอสรุปวา
1.จอมพลถนอมเขามาบวชตามที่ขอรัฐบาลไวแลว
2.ในฐานะที่จอมพลถนอมเปนทั้งจอมพลและภิกษุจึงนาจะพิจารณาตัวเองไดหากมีความไมสงบเกิดขึ้น
มีปฏิกิริยาและความเคลื่อนไหวจากหลายฝายตลอดวันนี้ เชน ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เสนอใหออกกฎหมาย
พิเศษขับพระถนอมออกนอกประเทศ นาย ดํารง ลัทธพิพัฒน เสนอใหพระถนอมออกไปจําวัดที่ตางแดน ทหาร
59
ออกมาประกาศวาจะไมเขาไปยุงและจะไมปฏิวัติ พล.ต. ประมาณ อดิเรกสาร กลาววาถาพระถนอมเขามาถูกตอง
ตามรัฐธรรมนูญจะผิดไดอยางไรก็นักศึกษาสูเพื่อรัฐธรรมนูญไมใชหรือ พระกิตติวุฒโฑ กลาววานักศึกษาตองการ
ขับไลพระ มีแตคอมมิวนิสตเทานั้นที่ไลพระ สถานีวิทยุยานเกราะและ น.ส.พ.ดาวสยาม ออกขาวโจมตี ศนท. ไมให
ประชาชนไปรวมชุมนุม ฯลฯ ศนท.ใชวิธีเคาะประตูบานแทนการชุมนุม โดยใหนิสิตนักศึกษาออกไปตามบาน
ประชาชนในเขตกรุงเทพเพื่อสอบถามความรูสึกถึงเรื่องพระถนอม ปรากฏวาสามารถสรางความเขาใจและความ
ตื่นตัวไดอยางดียิ่ง
21 กันยายน 2519 : เกิดเหตุปาระเบิด บริษัท ทัวร ที เอส ที ซึ่งบริษัทนี้ถูกสถานีวิทยุยานเกราะออกขาววาเปน
ของ ศนท. แตปฏิบัติการดังกลาวพลาดไปถูกรานตัดเสื้อขางเคียง มีผูบาดเจ็บ 5 คน นักเรียนอาชีวะยกพวกตีกัน
ระหวางชางกลสยาม (นาย วีรศักดิ์ ทองประเสริฐ เลขาธิการศูนยนักเรียนอาชีวะฯ ในขณะนั้นเรียนอยู) กับชางกล
อุตสาหกรรม มีการปรากฏตัวของกลุมกระทิงแดงในที่เกิดเหตุ และมีการปาระเบิดสังหารชนิด เอ็ม 26 สงผลให
นักเรียนชางกลสยามตาย 5 ศพ บาดเจ็บจํานวนมาก และถูกจับอีกประมาณ 200 คน ในขณะที่ชางกลอุตสาหกรรม
ไมโดนจับเลย เพียงแตสอบสวนแลวปลอยตัวไป กรณีนี้มีผูตั้งขอสังเกตวาทําไมตํารวจทองที่กับอาจารยในโรงเรียน
จึงไมยับยั้งนักเรียนชางกลสยาม และการจับนักเรียนชางกลสยามไปเทากับตัดกําลังหนวยรักษาความปลอดภัยของ
แนวรวมอาชีวศึกษาเพื่อประชาธิปไตย ที่ประกาศตอสูเคียงบาเคียงไหลรวมกับ ศนท. ออกไปสวนหนึ่ง
นาย อํานวย สุวรรณคีรี แถลงวา คณะรัฐมนตรีมีมติแตงตั้งกรรมการ 2 ชุด ชุดที่ 1 ไปเจรจากับพระถนอม ชุดที่ 2
ออกแถลงการณกรณีพระถนอมเขามาในประเทศไทย นาย สุรินทร มาศดิตถ แถลงวา คณะรัฐมนตรีมีมติจะใหพระ
ถนอมออกไปนอกประเทศโดยเร็ว รัฐบาลออกแถลงการณขอความรวมมือประชาชนในการรักษาความสงบของ
บานเมือง
22 กันยายน 2519 : แนวรวมยุวสงฆแหงประทศไทย และสหพันธพุทธศาสนิกแหงประเทศไทย มีหนังสือมาถึง
มหาเถรสมาคมใหพิจารณาการบวชของพระถนอมวาผิดวินัยหรือไม พล.ต.ท. ชุมพล โลหะชาละ จัดกําลังตํารวจเขา
อารักขาวัดบวรนิเวศฯ เนื่องจากทางวัดเกรงวากลุมตอตานพระถนอมจะเผาวัด คณะอาจารย ม.รามคําแหง ยื่น
หนังสือถึงนายกรัฐมนตรี ขอใหรัฐบาลนําพระถนอมออกนอกประเทศ
ศนท. แนวรวมตอตานเผด็จการฯ สภาแรงงานฯ ศูนยกลางนักเรียนฯ ศูนยนักศึกษาครูฯ องคการนักศึกษา ม.ศรี
นครินทรวิโรฒ 8 แหง แถลงวา ไมพอใจที่แถลงการณของรัฐบาลไมชัดเจน ดังนั้นทุกองคกรจะรวมมือกันคัดคาน
พระถนอมตอไป แนวรวมนักเรียน นักศึกษา ประชาชนหลายจังหวัด สหพันธนักศึกษาอีสาน แนวรวมตอตานเผด็จ
การฯ ออกติ ดโปสเตอร ตอตานพระถนอมตามสถานที่ต างๆ ตั ว แทนนักศึก ษา ม.สงขลานคริน ทร มี มติใ หสง
นักศึกษาออกชี้แจงประชาชนวาการกลับมาของพระถนอมทําใหศาสนาเสื่อม
23 กันยายน 2519 : ส.ส. 4 ราย คือ นาย ชุมพล มณีเนตร, นาย แคลว นรปติ, นาย มานะ พิทยาภรณ และ นาย
ไพฑูรย วงศวานิช ยื่นกระทูดวนเรื่องการกลับมาของ จอมพล ถนอม ผลการอภิปรายทําให ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช
ประกาศลาออกกลางสภาผูแทน เนื่องจากไมอาจเสนอรางพระราชบัญญัติจํากัดถิ่นที่อยูของบุคคลบางประเภทซึ่ง
ขัดตอรัฐธรรมนูญมาตรา 47 อีกทั้งยังไมสามารถควบคุมสถานการณบานเมืองได ลูกพรรคก็ขัดแยงโตเถียงในสภาฯ
แบงเปนซายเปนขวา ส.ส. บางคนก็อภิปรายในลักษณะไมไววางใจรัฐบาล กองบัญชาการทหารสูงสุด กองทัพบก

60
กองทัพเรือ กองทัพอากาศ มีคําสั่งเตรียมพรอมในที่ตั้งเต็มอัตราศึก สถานีวิทยุยานเกราะออกอากาศใหตํารวจจับกุม
นักศึกษาที่ออกติดโปสเตอร
24 กันยายน 2519 : เวลา 1.00 น. รถจี๊ปและรถสองแถวบรรทุกคนประมาณ 20 คนไปที่ประตู ม.ธรรมศาสตร
ดานทาพระจันทร ทําลายปายที่ปดประกาศขับไลถนอม นาย เสถียร สุนทรจําเนียร นิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยถูก
ตีที่ศีรษะและถูกแทงลําตัว ในขณะที่ออกติดโปสเตอรพรอมกับเพื่อนอีก 2 คนซึ่งถูกทํารายและถูกรูดทรัพยไปโดย
ฝมือชายฉกรรจ 20 คนในรถกระบะสีเขียว
นาย วิชัย เกษศรีพงษา และนาย ชุมพร ทุมไมย พนักงานการไฟฟานครปฐม และเปนสมาชิกแนวรวมตอตาน
เผด็จการแหงชาติถูกซอมตายระหวางออกติดโปสเตอรประทวงตอตานพระถนอม และถูกนําศพไปแขวนคอที่
ประตูทางเขาที่จัดสรรบริเวณหมูบานแหงหนึ่งที่ ต.พระประโทน อ.เมือง จ.นครปฐม พบมีรอยมัดมือและรอยถูกรัด
คอดวยเชือกไนลอน ตํารวจสืบสวนสาเหตุวามาจากการผิดใจกับคนในที่ทํางานและติดสินบนนักขาวทองถิ่นให
เงียบ แตมีผูรักความเปนธรรมนํารูปกวา 20 รูปพรอมเอกสารการฆาตกรรมมาให ศนท. ในวันที่ 25 กันยายนตอน
เชา (ในวันที่ 6 ตุลาคม มีตํารวจ 5 คนถูกจับในขอหาสมคบฆาแขวนคอสองพนักงานการไฟฟา ไดแก ส.ต.อ. ชลิต
ใจอารีย ส.ต.ท. ยุทธ ตุมพระเนียร ส.ต.ท. ธเนศ ลัดดากล ส.ต.ท.แสงหมึก แสงประเสริฐ พลฯ สมศักดิ์ แสงขํา แต
ทั้งหมดถูกปลอยตัวอยางเงียบๆ หลังจากนั้น)
25 กันยายน 2519 : มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ให ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช เปนนายกรัฐมนตรี (อีกครั้ง
หลังจากลาออกไปเมื่อ 2 วันกอน) ศนท. โดย นาย สุธรรม และ นาย ชัชวาลย ปทุมวิทย (ผูประสานงานแนวรวม
ตอตานเผด็จการแห งชาติ ) ชี้ แจงกับสื่อมวลชนกรณีฆาแขวนคอที่ จ.นครปฐม มี การชุมนุ มที่จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย และตั้งตัวแทนยื่นหนังสือเรียกรองตอรัฐบาลใหจัดการใหพระถนอมออกจากประเทศไทยโดยเร็ว
ที่สุดและใหเรงจับกุมฆาตกรฆาแขวนคอที่ จ.นครปฐม สภาแรงงานฯ โดย นาย ไพศาล ธวัชชัยนันท ขอเขาเฝา
สมเด็จพระสังฆราชเพื่อยื่นหนังสือ แตไมไดรับอนุญาตใหเขาเฝา ดร. คลุม วัชโรบล นําลูกเสือชาวบานประมาณ
200 คน ไปวัดบวรนิเวศฯ เพื่ออาสาปองกันการเผาวัด
26 กันยายน 2519 : กิตติวุฒโฑภิกขุ และ นาย วัฒนา เขียววิมล (แกนนํากลุมนวพล) ไปเยี่ยมพระถนอมที่วัดบวร
ฯ เวลา 22.30 น. อางวามาสนทนาธรรม และวาการเขามาบวชของพระถนอมนั้นบริสุทธิ์
27 กันยายน 2519 : ศนท. สภาแรงงานแหงประเทศไทย แนวรวมตอตานเผด็จการแหงชาติ และตัวแทนจากกลุม
พลังตางๆ ประชุมกันและมีมติใหรัฐบาลขับพระถนอมออกนอกประเทศ และใหจัดการจับฆาตกรสังหารโหดฆา
แขวนคอที่นครปฐม
26-27 กันยายน 2519 มีการเคลื่อนไหวยายกําลังพลในเขตกรุงเทพดวยคําอางวาจะมีการเดินสวนสนามเพื่อ
สาบานตนตอธงชัยเฉลิมพล (ปกติจะกระทําในวันที่ 25 มกราคมของทุกป)
28 กันยายน 2519 : ศนท. แถลงวาจะจัดชุมนุมที่สนามหลวงในวันที่ 29 กันยายน 2519 เพื่อเรงรัฐบาลให
ดําเนินการตามที่ยื่นหนังสือเรียกรอง
29 กันยายน 2519 : ม.ธรรมศาสตร ประกาศเลื่อนพิธีรับพระราชทานปริญญาบัตรออกไปโดยไมมีกําหนด ศนท.
และกลุ ม พลั ง ต า งๆนั ด ชุ ม นุ ม ประท ว งพระถนอมที่ ส นามหลวง โดยเป น การชุ ม นุ ม อย า งสงบตามสิ ท ธิ แ ห ง
รั ฐ ธรรมนู ญ นาย สุ ธ รรม กล า วกั บ ประชาชนว า การชุ ม นุ ม ครั้ ง นี้ ไ ด แ จ ง ให น ายกรั ฐ มนตรี ท ราบแล ว และ
61
นายกรัฐมนตรีรับปากวา จะใหกําลังตํารวจคุมครองผูชุมนุม มีประชาชนมารวมชุมนุมประมาณ 20,000 คน ระหวาง
การชุมนุม มีผูอางตัววารักชาติมาตั้งเครื่องขยายเสียงกลาวโจมตี ศนท. อยางหยาบคายจนตํารวจตองไปขอรองให
เลิกและกลับไปเสีย กลุมรักชาติพวกนี้จึงยอมกลับไป นอกจากนั้นยังมีการปลอยงูพิษกลางที่ชุมนุมที่หาดใหญและมี
การยิงปนใสที่ชุมนุมกอนสลายตัว (การชุมนุมจัดโดยมหาวิทยาลัยสงขลาฯ นายจเร ดิษฐแกว ถูกยิงที่กกหูบาดเจ็บ
นายสมชัย เกตุอําพรชัย นักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคภาคใตถูกตีศีรษะและถูกยิงที่มือซาย)
ศนท.ไดสงคนเขาพบนายกรัฐมนตรีเพื่อขอฟงผลตามขอเรียกรองที่เคยยื่นหนังสือไว แตเลขานุการนายกฯ ไมให
เขาพบ กระทั่งเวลา 21.00 น. เศษ นาย สุธรรม และคณะจึงกลับมาที่ชุมนุมพรอมกับกลาววาไดรับความผิดหวังมาก
แตยืนยันวาจะสูตอไป และจะใหเวลารัฐบาลถึงเที่ยงวันเสารที่ 2 ตุลาคม ถารัฐบาลยังไมตัดสินใจแกปญหานี้ก็จะ
เคลื่อนไหวทั้งในกรุงเทพและตางจังหวัดพรอมกัน ที่ชุมนุมประกาศสลายตัวเมื่อเวลา 21.45 น. กลุมกระทิงแดงและ
ลูกเสือชาวบานจํานวนหนึ่งอางตัวเขาอารักขาพระถนอมที่วัดบวรฯ ในชวงนี้ นักศึกษาสถาบันตางๆเริ่มเคลื่อนไหว
โดยรับมติของ ศนท. ไปปฏิบัติ
30 กันยายน 2519 : รัฐบาลสง นาย ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน, ดร.นิพนธ ศศิธร และ นาย ดํารง ลัทธพิพัฒน เปน
ตัวแทนไปนิมนตพระถนอมออกนอกประเทศ แตพระถนอมปฏิเสธ สมเด็จพระญาณสังวร และคณะสงฆผูใหญ
แจงใหตัวแทนรัฐบาลทราบวา พระบวชใหมจะไปไหนตามลําพังระหวางพรรษาไมได และกําหนดพรรษาจะสิ้นสุด
ลงในวันที่ 8 ตุลาคม 2519 ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช ยืนยันวา ขอเรียกรองใหพระถนอมออกนอกประเทศนั้นรัฐบาลทํา
ไมได เพราะขัดตอรัฐธรรมนูญ
1 ตุลาคม 2519 : มีการชุมนุมที่สนามหลวง แตเปนการชุมนุมที่ไมยืดเยื้อ เพียงเวลา 21.00 น. ก็เลิกและประกาศ
ใหประชาชนมาฟงคําตอบรัฐบาลในวันที่ 4 ตุลาคม เวลา 15.30 น. ตัวแทนญาติวีรชน 14 ตุลา จํานวน 5 คน อด
อาหารประทวงที่หนาทําเนียบรัฐบาล จนกวารัฐบาลจะใหคําตอบแนชัดวาจะใหพระถนอมออกจากประเทศไทย
นาย สมศักดิ์ ขวัญมงคล (หัวหนากลุมกระทิงแดง) กลาววา หากมีการเดินขบวนไปวัดบวรนิเวศฯ กระทิงแดงจะ
อารักขาวัดบวรฯ และขอให ศนท. ยุติการเคลื่อนไหว ขบวนการปฏิรูปแหงชาติ และกลุมพลัง 12 กลุม รวมกันออก
แถลงการณวา ศนท. ถือเอากรณีพระถนอมเปนเครื่องมือกอความไมสงบ
2 ตุลาคม 2519 : สมาชิกกลุมนวพลทั่วประเทศเดินทางเขามาที่วัดพระแกว และปฏิญาณตนตอหนาพระแกว
มรกตเพื่อปกปองชาติ ศาสน กษัตริย แลวไปชุมนุมกันที่บริเวณสนามไชย นาย วัฒนา ไดนํากลุมนวพลไปวัดบวรฯ
อวยพรวั น เกิ ด สมเด็ จ พระญาณสั ง วรแล ว กลั บ ไปชุ ม นุ ม ที่ ส นามไชยอี ก ครั้ ง เนื้ อ หาการอภิ ป รายมุ ง ต อ ต า น
คอมมิวนิสต จากนั้นก็เลิกราเดินทางกลับภูมิลําเนา
ในชวงกลางคืนมีคนรายยิงปน เอ็ม 79 เขาไปยังสํานักงาน น.ส.พ.ไทยรัฐ โดย น.ส.พ.ไทยรัฐฉบับวันที่ 3 ตุลาคม
หนา 4 คอลัมน “ไตฝุน” เขียนวา “หากเมืองไทยจะมีนายกรัฐมนตรีใหมอีก ทํานายทายทักกันไดวาจะไมใชคนใน
สกุลปราโมชอีกแลว อาจจะเปน 1 ใน 3 ของคนวัย 52 เล็งกันไวจากสภาปฏิรูป ดร.เชาวน ณ ศีลวันต, นาย เกษม
จาติกวณิช หรือ นาย ประภาศน อวยชัย คนนี้ซินแสดูโหงวเฮงแลวบอกวาฮอ”
ทางดาน ม.ธรรมศาสตร นักศึกษาคณะรัฐศาสตรเปนคณะแรกที่หยุดสอบประทวง สวนนักศึกษา ม.เชียงใหม
ออกแถลงการณใหรัฐบาลแกไขกรณีพระถนอมโดยดวน ศนท.พรอมดวยตัวแทนกลุมพลังอื่นๆจํานวน 10 คนเขา

62
พบนายกรัฐมนตรีเพื่อขอคําตอบตามที่ยื่นขอเรียกรองไว จากนั้น นาย สุธรรม แถลงวา ไดรับคําตอบไมชัดเจน จึง
ประกาศเคลื่อนไหวคัดคานตอไป โดยจะนัดชุมนุมประชาชนทั่วประเทศที่สนามหลวงในวันที่ 4 ตุลาคม
3 ตุลาคม 2519 : ญาติวีรชนที่อดขาวประทวงอยูหนาทําเนียบรัฐบาล ยายมาประทวงตอที่ลานโพธิ์ ม.
ธรรมศาสตร เนื่องจากสถานการณไมอํานวย ตกเย็นกลุมประชาชนรักชาตินําเครื่องขยายเสียงมาโจมตี ศนท. วาเปน
คอมมิวนิสต นักศึกษา ม.สงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี ชุมนุมคัดคานพระถนอม ขณะที่ตัวแทนกลุมนวพลจาก
จังหวัดตางๆชุมนุมกันที่สนามไชย
4 ตุลาคม 2519 : ม.ร.ว. เสนีย ใหสัมภาษณหนังสือพิมพยอมรับวามีตํารวจกลุมหนึ่งเปนผูลงมือฆาโหดที่ จ.
นครปฐม ขณะที่ พล.อ.อ. กมล เดชะตุงคะ ใหสัมภาษณหนังสือพิมพวาไมมีมูลเพียงพอที่จะฟอง นักศึกษา ม.
เชียงใหม ประมาณ 700 คน เดินขบวนตอตานพระถนอม แลวไปชุมนุมที่สนามหนาศาลากลางจังหวัด สวนที่
อนุสาวรียทา วสุรนารี จ.นครราชสีมา มี นัก ศึก ษาเปด อภิปรายตอตานพระถนอม ที่ จ.ขอนแกน นักศึกษาเปด
อภิปรายตอตานพระถนอมและมีการเผาหุนพระถนอม
ในช ว งเที่ ย งมี ก ารชุ ม นุ ม ที่ ล านโพธิ์ นั ก ศึ ก ษา ม.ธรรมศาสตร ส ว นใหญ ไ ม เ ข า สอบ ดร.ป ว ย อึ๊ ง ภากรณ
(อธิการบดี ม.ธรรมศาสตร) ใหนักศึกษาเลิกชุมนุมและเขาหองสอบแตนักศึกษาไมยอม มีการอภิปรายและการ
แสดงละครเกี่ยวกับกรณีฆาแขวนคอพนักงานการไฟฟา จ.นครปฐม จัดโดยชุมนุมนาฏศิลปและการละคร ม.
ธรรมศาสตร สถานีวิทยุยานเกราะออกขาววานักศึกษาที่แสดงละครมีใบหนาคลายเจาฟาชายถูกแขวนคอ
เวลา 15.30 น. ศนท. และแนวรวมตอตานเผด็จการฯชุมนุมประชาชนอีกครั้งที่สนามหลวง
เวลา 17.30 น. มีการกอกวนจากกลุมกระทิงแดง นักเรียนอาชีวะ และกลุมประชาชนรักชาติประมาณ 50 คน ติด
เครื่องขยายเสียงพูดโจมตี ศนท. โดย นาย สมศักดิ์ มาลาดี จนกระทั่งถูกตํารวจจับ (หลัง 6 ตุลา นาย สมศักดิ์ ไดไป
ออกรายการที่สถานีวิทยุยานเกราะ) กระทิงแดงสลายตัวเมื่อเวลา 20.15 น.
เวลา 18.30 น. ฝนตกหนัก แตทองสนามหลวงยังมีคนชุมนุมอยูนับหมื่น
เวลา 19.30 น. เพื่อความปลอดภัยจึงยายการชุมนุมเขา ม.ธรรมศาสตร อยางสงบพรอมกับประกาศวา จะไม
สลายตัวจนกวาพระถนอมจะออกจากประเทศไทย
เวลา 21.00 น. ดร.ปวย โดยความเห็นชอบของนายกสภามหาวิทยาลัยฯ (ดร. ประกอบ หุตะสิงห) ออก
แถลงการณสั่งปดมหาวิทยาลัย
5 ตุลาคม 2519 : มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ แตงตั้งคณะรัฐมนตรี ชุดใหม โดยมี ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช
เปนนายกรัฐมนตรี นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยตางๆ เริ่มเคลื่อนขบวนมุงสู ม.ธรรมศาสตร มีการประกาศงดสอบทุก
สถาบันซึ่งเปนการเคลื่อนไหวใหญที่ทําพรอมกันทั่วประเทศ
ในชวงเชา น.ส.พ.ดาวสยาม และ น.ส.พ.บางกอกโพสต เผยแพรภาพการแสดงลอการแขวนคอของนักศึกษาที่
ลานโพธิ์ โดยพาดหัวขาวเปนเชิงวาการแสดงดังกลาวเปนการ “หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ”
นาง นงเยาว สุวรรณสมบูรณ เขาแจงความตอนายรอยเวรสถานีตํารวจนครบาลชนะสงครามใหจับกุมผูแสดง
ละครหมิ่นพระบรมเดชานุภาพองคสยามมกุฎราชกุมาร
เวลา 9.30 น. ที่ประชุมสหภาพแรงงาน 43 แหงมีมติจะเขาพบ ม.ร.ว. เสนีย ปราโมช เพื่อยื่นขอเสนอใหพระ
ถนอมออกนอกประเทศ และสภาแรงงานจะนัดหยุดงานทั่วประเทศภายในวันที่ 11 ตุลาคม
63
เวลา 10.00 น. สถานีวิทยุยานเกราะเปดรายการพิเศษ เสียงของ พ.ท. อุทาร สนิทวงศ กลาวเนนเปนระยะวา
“เดี๋ยวนี้การชุมนุมที่ธรรมศาสตรไมใชเปนเรื่องตอตานพระถนอมแลว หากแตเปนเรื่องหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ”
เวลา 13.30 น. นักศึกษา ม.รามคําแหง เตรียมออกเดินทางไปสมทบที่ ม.ธรรมศาสตร 25 คันรถ
เวลา 15.30 น. นักศึกษา ม.รามคําแหง ที่ไมเห็นดวยกับการชุมนุมคัดคานพระถนอมยื่นหนังสือถึงรองอธิการบดี
ใหมีการสอบไลตอไป
เวลา 17.30 น. พ.อ. อุทาร ออกประกาศใหคณะกรรมการชมรมวิทยุเสรี และผูรวมกอตั้งไปรวมประชุมที่สถานี
วิทยุยานเกราะเปนการดวน
ในชวงเย็นจํานวนผูรวมชุมนุมเพิ่มมากขึ้นนับหมื่นคนจึงยายการชุมนุมจากบริเวณลานโพธิ์มายังสนามฟุตบอล
ม.รามคําแหง ประกาศงดการสอบไลโดยไมมีกําหนด
เวลา 19.00 น. ประธานรุนลูกเสือชาวบานเขตกรุงเทพไดประชุมที่กองบัญชาการตํารวจตระเวนชายแดน โดยมี
พล.ต.ต. เจริญฤทธิ์ จํารัสโรมรัน และ นาย อาคม มกรานนท เปนผูกลาวในที่ประชุมวา จะตอตาน ศนท. และบุคคล
ที่อยูใน ม.ธรรมศาสตร
20.35 น. ชมรมวิทยุเสรีออกแถลงการณฉบับหนึ่งวา “ขณะนี้มีกลุมคนกอความไมสงบไดดําเนินการไปในทางที่
จะทําลายชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ในกรณีตางๆดังตอไปนี้ มีการนําธงชาติคลุมตัวละครแสดงเปนคนตายที่ขาง
ถนนหนารัฐสภา มีการใชสื่อมวลชนที่มีแนวโนมเอียงเชนเดียวกับผูกอความไมสงบลงบทความ หรือเขียนขาวไป
ในทํานองที่จะทําใหเกิดชองวางในบวรพุทธศาสนา มีนักศึกษาผูหนึ่งทําเปนผูถูกแขวนคอ โดยผูกอความไมสงบที่
มีใบหนาคลายกับพระราชวงศชั้นสูงองคหนึ่ง พยายามแตงใบหนาเพิ่มเติมใหเหมือน” ทั้งนี้พยายามจะแสดงใหเห็น
วา กรณีพระถนอมและผูที่ถูกแขวนคอเปนเพียงขออางในการชุมนุมกอความไมสงบเทานั้น แตความจริงตองการ
ทําลายชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย
นับเปนครั้งแรกที่สถานีวิทยุยานเกราะ และชมรมวิทยุเสรีเรียกกลุมนักศึกษาประชาชนที่ธรรมศาสตรวา “ผูกอ
ความไมสงบ” ซึ่งแถลงการณไดกลาวตอไปอีกวา “ชมรมวิทยุเสรีคัดคานการกระทําดังกลาวในทุกๆกรณี ขอให
รัฐบาลจัดการกับผูทรยศเหลานี้โดยเร็วที่สุด เพื่อปองกันการนองเลือดอันอาจจะเกิดขึ้น หากใหประชาชนชุมนุมกัน
แลวอาจมีการนองเลือดขึ้นก็ได” นับเปนครั้งแรกอีกเชนกันที่สถานีวิทยุยานเกราะและชมรมวิทยุเสรีกลาวคําวา
“อาจมีการนองเลือดขึ้น”
เวลา 21.00 น. พล.ต.ต. เจริญฤทธิ์ สั่งใหประธานลูกเสือชาวบาน (ลส.ชบ.) แจงแกบรรดา ลส.ชบ. ที่ชุมนุมกันอยู
ณ บริเวณพระบรมรูปทรงมาวา ใหฟงสถานีวิทยุยานเกราะและชมรมวิทยุเสรีกอนการเคลื่อนไหว
เวลา 21.30 น. นาย ประยูร อัครบวร (รองเลขาธิการฝายการเมืองของ ศนท.) ไดแถลงที่ อมธ. พรอมกับนํา นาย
อภินันท บัวหภักดี (นักศึกษาปที่ 2 คณะรัฐศาสตร) และ นาย วิโรจน ตั้งวาณิชย (นักศึกษาปที่ 4 คณะศิลปศาสตร
สมาชิกชุมนุมนาฏศิลปและการละคร ม.ธรรมศาสตร) มาแสดงความบริสุทธิ์ใจและกลาววา การแสดงดังกลาวก็เพื่อ
แสดงใหเห็นความทารุณโหดรายอันเนื่องมาจากการฆาแขวนคอที่ จ.นครปฐม โดยมีการแตงหนาใหเหมือนสภาพ
ศพ และการที่เลือกเอาบุคคลทั้งสองก็เพราะเปนนักแสดงในมหาวิทยาลัย อีกทั้งตัวเล็กมีน้ําหนักเบา ไมทําใหกิ่งไม
หักงาย การแสดงแขวนคอใชวิธีผูกผาขาวมารัดรอบอกและผูกเชือกดานหลังหอยกับกิ่งไมจึงตองใสเสื้อทหารซึ่งมี
ตัวใหญเพื่อบังรองรอยผาขาวมาใหดูสมจริง นาย ประยูร กลาววา “ทางนักศึกษาไมเขาใจเหมือนกันวาทําไมสถานี
64
วิทยุยานเกราะและหนังสือพิมพดาวสยามจึงใหรายปายสีบิดเบือนใหเปนอยางอื่นโดยดึงเอาสถาบันที่เคารพมา
เกี่ยวของ…”
เวลา 21.40 น. รัฐบาลเสนียออกแถลงการณทางสถานีโทรทัศนชอง 9 แจงวา “ตามที่ไดมีการแสดงละครที่ ม.
ธรรมศาสตร เมื่อวันที่ 4 ตุลาคม ศกนี้ มีลักษณะเปนการหมิ่นหรือแสดงความอาฆาตมาดรายตอองครัชทายาท
รัฐบาลไดสั่งใหกรมตํารวจดําเนินการสอบสวนกรณีนี้โดยดวนแลว” สถานีวิทยุยานเกราะและชมรมวิทยุเสรี
ออกอากาศตลอดคืนเรียกรองใหประชาชนและลูกเสือชาวบานไปชุมนุมที่ลานพระบรมรูปทรงมา เพื่อเรียกรองให
รัฐบาลเรงดําเนินการจับกุมผูกระทําการหมิ่นองคสยามมกุฎราชกุมารมาลงโทษ
เวลา 24.00 น. กรมตํารวจประชุมเจาหนาที่ตํารวจชั้นผูใหญ ประกอบดวย พล.ต.อ. ศรีสุข มหินทรเทพ, พล.ต.ท.
ชุมพล โลหะชาละ, พล.ต.ท. มนตชัย พันธุคงชื่น, พล.ต.ท. ณรงค มหานนท และเจาหนาที่ตํารวจชั้นผูใหญอีกหลาย
นาย
6 ตุลาคม 2519 : สถานีวิทยุยานเกราะออกอากาศวา พล.ต. ประมาณ อดิเรกสาร (รองนายกรัฐมนตรี) ไดยื่นคํา
ขาดตอ ม.ร.ว. เสนีย ขอใหรัฐบาลดําเนินการตามกฎหมายตอ ศนท. ที่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพอยางเด็ดขาด หากมี
รัฐมนตรีหรือนักการเมืองคนใดเกี่ยวของกับเรื่องดังกลาว ก็ใหจับกุมและลงโทษตามกฎหมายทันที นาย สุธรรม กับ
กรรมการ ศนท. และตัวแทนชุมนุมนาฏศิลปฯ เดินทางไปขอพบนายกรัฐมนตรี เพื่อแสดงความบริสุทธิ์ใจ
เวลา 1.40 น. กลุมคนประมาณ 100 คนไดบุกเขาไปเผาแผนโปสเตอรหนาประตู ม.ธรรมศาสตร ดานสนามหลวง
กลุมคนที่อออยูหนาประตูพยายามจะบุกปนรั้วเขาไป มีเสียงปนนัดแรกดังขึ้นและมีการยิงตอบโตประปรายแตไมมี
ใครบาดเจ็บ
เวลา 2.00 น. กลุมนวพลในนาม “ศูนยประสานงานเยาวชน” มีแถลงการณความวา “ขอใหรัฐบาลจับกุม
กรรมการ ศนท. ภายใน 72 ชั่วโมง หากรัฐบาลไมสามารถปฏิบัติได นวพลจะดําเนินการขั้นเด็ดขาด”
เวลา 3.00 น. สถานีวิทยุยานเกราะยังคงออกรายการ “หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ” ตลอดทั้งคืน สวนภายใน ม.
ธรรมศาสตร ยังมีการอภิปรายและแสดงดนตรีตอไปแมจะมีผูพยายามบุกเขามหาวิทยาลัยและมีเสียงปนดังขึ้น โดย
เจาหนาที่ของ ศนท. ขึ้นอภิปรายบนเวทีขอใหเจาหนาที่ตํารวจจับกุมผูใชอาวุธ ในเวลาไลเลี่ยกันนั้นเจาหนาที่หนวย
ปราบจราจลยกกําลังมากั้นทางออกดานสนามหลวง
เวลา 5.00 น. กลุมคนที่ยืนอออยูหนาประตูมหาวิทยาลัยพยายามจะบุกปนเขาไปอีกครั้ง ยังคงมีการยิงตอบโตดวย
ปนพกประปราย
เวลา 7.00 น. กลุมคนที่อออยูหนาประตูมหาวิทยาลัยตั้งแตตอนตีหนึ่งพยายามบุกเขาไปในมหาวิทยาลัยโดยใชรถ
บัส 2 คันขับพุงเขาชนประตูตอมาก็มีเสียงระเบิดดังขึ้น
เวลา 7.50 น. ตํารวจหนวยคอมมานโด หนวยปฏิบัติการพิเศษ (นปพ.) และตํารวจทองที่ ลอมอยูโดยรอบ
มหาวิทยาลัย โดยมี พล.ต.ท. ชุมพล โลหะชาละ, พล.ต.ต. เสนห สิทธิพันธ และ พล.ต.ต. ยุทธนา วรรณโกวิท มาถึง
ที่เกิดเหตุและเขารวมบัญชาการ
เวลา 8.10 น. พล.ต.ต. เสนห สิทธิพันธ (บัญชาการใหตํารวจตระเวนชายแดน (ตชด.)) อาวุธครบมือบุกเขาไปใน
ม.ธรรมศาสตร ตชด.มีอาวุธสงครามใชทุกชนิด ตั้งแตเครื่องยิงระเบิด ปนตอสูรถถัง ปนเอ็ม 79 ปนเอ็ม 16 ปนเอช.
เค. และปนคารบิน ตํารวจบางคนมีระเบิดมือหอยอยูครบเต็มอัตราศึก เสียงปนดังรุนแรงตลอดเวลา ตํารวจประกาศ
65
ใหนักศึกษายอมจํานน นักศึกษาหลายคนพยายามวิ่งออกมาขางนอกจึงถูกประชาชนที่อยูภายนอกรุมประชาทัณฑ
นักศึกษาประชาชนที่ชุมนุมอยูขางในแตกกระจัดกระจายหลบหนีกระสุน
เวลา 8.18 น. ตชด.เขาประจําการแทนตํารวจทองที่ และมีกําลังใหมเขามาเสริมอีก 2 คันรถ
เวลา 8.25 น. ตชด.บุกเขาไปในมหาวิทยาลัยหลายจุด พรอมกับยิงกระสุนวิถีโคง และยิงกราดเขาไปยังกลุม
นักศึกษาซึ่งมีอยูจํานวนมาก มีนักศึกษาถูกยิงบาดเจ็บและเสียชีวิตทันทีหลายคน (ไทยรัฐ 7 ตุลาคม 2519)
เวลา 8.30-10.00 น. นักศึกษาและประชาชนที่อยูในมหาวิทยาลัยตลอดคืนตางแตกตื่นวิ่งหนีวิถีกระสุนที่ ตชด.
และกลุมคนที่เขากอเหตุไดยิงเขาใสฝูงชนอยางไมยั้ง ทั้งๆที่หนวยรักษาความปลอดภัยของนักศึกษามีปนพกเพียง
ไมกี่กระบอก นักศึกษาประชาชนที่แตกตื่นวิ่งหนีออกไปทางหนาประตูมหาวิทยาลัยในจํานวนนี้มีมากกวา 20 คน
ถูกรุมตีรุมกระทืบ บางคนถูกทํารายบาดเจ็บสาหัส แตยังไมสิ้นใจไดถูกลากออกไปแขวนคอ และแสดงทาทางเยาะ
เยยศพตางๆนานา
นักศึกษาหญิงคนหนึ่งถูกรุมตีจนสิ้นชีวิตแลวถูกเปลือยผาประจาน โดยมีชายคนหนึ่งซึ่งเขากอเหตุ รูดซิปกางเกง
ออกมาแสดงทาเหมือนจะขมขืนหญิงผูเคราะหรายนั้น ใหพวกพองที่โหรองอยูใกลๆดู มีประชาชนบางสวนเมื่อเห็น
เหตุการณชวนสังเวชจะเดินเลี่ยงไปดวยน้ําตาคลอ ประชาชนที่ชุมนุมอยูหนาประตูมหาวิทยาลัย ลากศพนักศึกษาที่
ถูกทิ้งอยูเกลื่อนกลาดขางหอประชุมใหญ 3 คนออกมาเผากลาง ถ.ราชดําเนิน ตรงขามอนุสาวรียพระแมธรณีบีบมวย
ผม ใกลๆกับบริเวณแผงขายหนังสือสนามหลวง โดยเอายางรถยนตทับแลวราดน้ํามันเบนซิน จุดไฟเผา ศพนักศึกษา
อีก 1 ศพถูกนําไปแขวนคอไวกับตนมะขามแลวถูกตีจนรางเละ
เวลา 11.00 น. หลังจากตํารวจบุกยึด ม.ธรรมศาสตร ไดแลว นักศึกษาประชาชนถูกสั่งใหนอนคว่ํา แลวควบคุม
ตัวไวทยอยลําเลียงขึ้นรถเมลและรถ 2 แถวสงไปขังตามสถานีตํารวจตางๆ (มี 3 แหลงใหญๆ ไดแก จ.นครปฐม จ.
ชลบุรี และ ร.ร.ตํารวจนครบาลบางเขน) มากกวา 3,000 คน ระหวางที่ถูกควบคุมตัวอยูนั้น นักศึกษาชายและหญิง
ถูกบังคับใหถอดเสื้อ นักศึกษาหญิงเหลือแตเสื้อชั้นใน ถูกสั่งใหเอามือกุมหัว นอนคว่ําคลานไปตามพื้น ระหวางที่
คลานไปตามพื้นก็ถูกเตะถีบจากตํารวจ ระหวางขึ้นรถก็ถูกดาทออยางหยาบคายและถูกขวางปาเตะถีบจากตํารวจ
และอันธพาลกระทิงแดง ลส.ชบ. ระหวางลงจากรถไปยังที่คุมขังก็ถูกตํารวจปลนชิงทรัพยสินและของมีคาไป
กระทรวงมหาดไทยมีคําสั่งถึงผูวาราชการจังหวัดทุกจังหวัดใหกําชับการอยูเวรยาม ใหเจาหนาที่สื่อสารคอยรับ
ฟงขาวจากสถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย และสดับตรับฟงขาวในเขตจังหวัด ปองกันการกอวินาศกรรม
สถานที่ราชการ และหาทางยับยั้งอยาใหนักเรียนนิสิตนักศึกษาเดินทางเขากรุงเทพ กรุงเทพสั่งปดโรงเรียนในสังกัด
โดยไมมีกําหนด กระทรวงศึกษาธิการสั่งปดโรงเรียนในสังกัดถึงวันที่ 11 ตุลาคม 2519 กระทรวงยุติธรรมสั่งหยุด
ศาลตางๆ 1 วัน
เวลา 11.50 น. สํานักนายกรัฐมนตรีแถลงวา นายกรัฐมนตรีมีบัญชาใหตั้งกองบัญชาการรักษาความสงบเรียบรอย
ขึ้นที่ทําเนียบรัฐบาล
เวลา 12.00 น. รัฐบาลออกแถลงการณสรุปไดวา เจาหนาที่ตํารวจจับกุมผูที่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพสยาม
มกุฎราชกุมารไดแลว 6 คน และไดเขาควบคุมสถานการณการปะทะกันที่ ม.ธรรมศาสตร ไดแลว รวมทั้งรัฐบาลได
สั่งใหเจาหนาที่ตํารวจปราบปรามผูกระทําผิดกฎหมายโดยเด็ดขาด

66
เวลา 12.30 น. ลส.ชบ. และประชาชนจํานวนหลายหมื่นคนชุมนุมอยูที่ลานพระบรมรูปทรงมา มีการพูดกลางที่
ชุมนุม โดย นาย อุทิศ นาคสวัสดิ์ ใหปลดรัฐมนตรี 4 คน คือ นาย สุรินทร มาศดิตถ, นายดํารง ลัทธพิพัฒน, นาย
ชวน หลีกภัย และ นาย วีระ มุสิกพงศ โดยแตงตั้งให นาย สมัคร สุนทรเวช และ นาย สมบุญ ศิริธร อยูในตําแหนง
เดิมตอไป ในที่ชุมนุมมีการเรียกรองใหรัฐบาลดําเนินการกับผูที่หมิ่นพระบรมเดชานุภาพองคสยามมกุฎราชกุมาร
ซึ่งชุมนุมที่ ม.ธรรมศาสตร อยางเฉียบขาด
นิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยประมาณ 3,000 คน ชุมนุมกันภายในบริเวณมหาวิทยาลัย นาย เอนก เหลาธรรม
ทัศน นายกสโมสรนิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยชี้แจงถึงเหตุการณจราจลที่ ม.ธรรมศาสตร โดยเรียกรองใหนิสิต
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยออกชี้แจงกับประชาชนถึงเหตุการณที่เกิดขึ้น เรียกรองใหรัฐบาลจัดการเรื่องที่เกิดขึ้น
โดยเร็วที่สุด และยืนหยัดในการขับพระถนอมออกนอกประเทศ
ในชวงบายมีการประชุมคณะรัฐมนตรีนัดพิเศษ พล.ต.อ. ศรีสุข มหินทรเทพ และ พล.ต.ท. ชุมพล โลหะชาละ
(รองอธิบดีกรมตํารวจ) เขาชี้แจงเหตุการณตอที่ประชุมคณะรัฐมนตรี
เวลา 14.20 น. ประชาชนและลูกเสือชาวบานที่ชุมนุมอยู ณ ลานพระบรมรูปทรงมาสวนหนึ่งประมาณ 4,000 คน
เคลื่อนขบวนไปทําเนียบรัฐบาล และสงตัวแทน 5 คนเขาพบนายกรัฐมนตรี เรียกรองใหปรับปรุงคณะรัฐมนตรีและ
ดําเนินคดีกับผูเกี่ยวของกับการแสดงละครหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ นายกรัฐมนตรีรับปากวาจะพิจารณาดําเนินการ
เวลา 17.00 น. ประชาชนและลูกเสือชาวบานที่ชุมนุมอยูสลายตัว
เวลา 18.00 น. พล.ร.อ. สงัด ชลออยู หัวหนาคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน ประกาศยึดอํานาจความวา “ขณะนี้
คณะปฏิรูปการปกครองแผนดินไดเขายึดอํานาจการปกครองประเทศตั้งแตเวลา 18.00 น. ของวันที่ 6 ตุลาคม เปน
ตนไป และสถานการณทั้งหลายตกอยูภายใตการควบคุมของคณะปฏิรูปการปกครองแผนดิน…” โดยมีเหตุผลใน
การยึดอํานาจการปกครองคือ “…คณะปฏิรูปการปกครองแผนดินไดประจักษแจงถึงภัยที่ไดเกิดขึ้นอยูในขณะนี้
กลาวคือ ไดมีกลุมบุคคลซึ่งประกอบดวยนิสิตนักศึกษาบางกลุมไดกระทําการหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ โดยมี
เจตจํานงทําลายสถาบันพระมหากษัตริย ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการวางแผนของคอมมิวนิสตที่จะเขายึดครองประเทศ
ไทย เมื่อเจาหนาที่ทําการเขาจับกุมก็ไดตอสูดวยอาวุธรายแรงที่ใชในราชการสงคราม โดยรวมมือกับผูกอการราย
คอมมิวนิสตชาวเวียดนามตอสูกับเจาหนาที่ตํารวจเสียชีวิตและบาดเจ็บจํานวนมาก”
สรุปความเสียหายจากเหตุการณ 6 ตุลา ตามตัวเลขทางการระบุวามีผูเสียชีวิต 39 คน บาดเจ็บ 145 คน (ในจํานวน
นี้เปนตํารวจเสียชีวิต 2 คน บาดเจ็บ 23 คน) นักศึกษาประชาชนถูกจับกุม 3,094 คน เปนชาย 2,432 คน หญิง 662
คน ขณะที่แหลงขาวอางอิงจากการเก็บศพของเจาหนาที่มูลนิธิรวมกตัญู ประมาณวามีนักศึกษาประชาชนเสียชีวิต
530 คน สวนทรัพยสิน (จากการสํารวจของคณะกรรมการของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร) มีครุภัณฑและวัสดุของ
คณะตางๆ เสียหายเปนมูลคา 50 กวาลานบาท รานสหกรณมีสินคาและทรัพยสินเสียหาย 1,300,000 บาท

แผนลับขั้นที่ 2 ไดเริ่มขึ้นเมื่อ 19 กันยายน 2519 มีการสงพระถนอมเขามาเมืองไทยในรูปของสามเณร เพื่อมาบวช


เปนพระที่วัดบวรนิเวศอันเปนวัดหลวงที่กษัตริยเคยบวช สามเณรถนอมเขามาทั้งๆที่คณะรัฐมนตรีมีมติหามเขามา
พระถนอมไดรับความคุมครองจากตํารวจรอบวัด รวมทั้งการอารักขาจาก พล.ท. ยศ เทพหัสดินทร แมทัพภาค 1
ในชวงนี้เองที่ฝายสนับสนุนศักดินาใหญไดเผยโฉมออกมาอยางชัดเจน พระนวพล กิตติวุฒโฑ พูดออกอากาศทาง
67
โทรทัศนวา “การกลับเขามาและการบวชของพระถนอมไดรับพระบรมราชานุญาตและพระราชดําริเห็นชอบจาก
พระเจาอยูหัว ฉะนั้นพระถนอมจึงเปนผูบริสุทธิ์” นาย สมัคร สุนทรเวช รัฐมนตรีชวยมหาดไทยในขณะนั้นไดให
สัมภาษณในเรื่องนี้วา “ผมไดรับพระราชกระแสรับสั่งจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวใหเปนผูยุติเรื่องนี้” วัน
ตอมาสมัครก็เดินทางไป จ.นราธิวาส เพื่อเขาเฝากษัตริยและราชินี
ทั้ง 2 พระองคซึ่งทําทีวาไมรูเรื่องมาตั้งแตตน โดยไดหลบดูเหตุการณอยูภาคใตไดรีบเสด็จขึ้นกรุงเทพในวันที่ 23
กันยายน 2519 และเขาเยี่ยมพระถนอมทันทีที่ลงจากเครื่องบินที่ทาอากาศยานดอนเมือง เชนเดียวกับฟาชายวชิราลง
กรณ ซึ่งกลับจากประเทศออสเตรเลียก็ตรงเสด็จเขาเยี่ยมพระถนอมทันทีในวันที่ 3 ตุลาคม 2519 แทนที่จะเขา
นมัสการพระแกวมรกตตามปกติ การแสดงทาทีเชนนี้เปนการประกาศสนับสนุนพระถนอม และคัดคานการตอสู
ของนักศึกษา ประชาชนที่ใหจับฆาตกรมาลงโทษอยางตรงไปตรงมา
โอกาสอันเหมาะสมที่สุดไดเกิดขึ้น เมื่อนักศึกษากลุมหนึ่งไดจัดแสดงละครเลียนแบบการแขวนคอชางไฟฟา 2 คน
ที่ออกติดโปสเตอรตอตานพระถนอม แตพวกศักดินาไดฉวยโอกาสตกแตงฟลมที่ถายรูปตัวละครนั้นเสียใหมให
เหมือนเจาฟาชาย จากนั้นก็ใชวิธีการที่พวกตนถนัดนักหนาโหมปลุกระดมความจงรักภักดีทั้งทางหนาหนังสือพิมพ
และวิทยุอยางขนานใหญ โดยกลาวหานักศึกษาวาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพดวยการแสดงละครแขวนคอฟาชาย
เรื่องนี้สรางความประหลาดใจแกชาวบานที่ไมรูตนสายปลายเหตุในตางจังหวัดมาก พวกเขาหลงเชื่อคําโฆษณา
โดยเฉพาะลูกเสือชาวบานถึงกับถูกหลอกใหมาเที่ยวกรุงเทพฯ แตกลับตาลปตรไดมาชุมนุมที่พระบรมรูปรัชกาลที่
5 เพื่อใหดูเหมือนวาชาวไทยโกรธแคนแทนสถาบันกษัตริย ขณะเดียวกันพวกศักดินาไดรวมกับทหารบางกลุม
ตระเตรียมพวกอันธพาล กระทิงแดง ตํารวจชายแดน รวมทั้งทหารพลรมปาหวายติดอาวุธรายแรงครบครับ ลอม
ทางเขาออกมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรทุกดาน
วันแหงการนองเลือดไดมาถึงเมื่อเชาตรูวันที่ 6 ตุลาคม 2519 หนุมสาวผูมีแต 2 มือเปลาถูกระเบิด กระสุนซัดดังหา
ฝน ตายและบาดเจ็บอยางอเนจอนาถ บางคนถูกจับแขวนคอ เผาทั้งเปนอยางสยดสยอง ผูหญิงบางคนถูกขมขืนแลว
ฆาอยางไรความปรานี บางคนถูกทรมานเอาไมตอกทั้งเปน เอาไมแทงเขาชองคลอดของเด็กสาวผูไรเดียงสา และ
แลวเลือดบริสุทธิ์จากหญิงสาวพรหมจรรยก็ไดถูกนําไปลางพระบาททั้ง 2 ขางของพระมหากษัตริยไทยผูสูงสงตาม
พิธีกรรมทางไสยศาสตรอันพิสดาร ชีวิตผูคนจํานวนนับรอยนับพัน ผูไรความผิด ตองตกเปนเหยื่อของความโงเขลา
เบาปญญาและความมัวเมาในอํานาจของกษัตริยและราชินี ทุกครั้งที่มีการเอยถึงเหตุการณมหาวิปโยคในวันที่ 6
ตุลาคม 2519 ยากยิ่งที่ชาวไทยจะไมหวนระลึกถึงกษัตริยภูมิพลและราชินีคนบาปในคราบนักบุญ ผูบงการและอยู
เบื้องหลังการตายอันนาขนพองสยองเกลาของเหลานักศึกษาผูบริสุทธิ์
ในตอนเย็นวันที่ 6 ตุลาคม 2519 กลุมทหารก็ประกาศยึดอํานาจโดยมี พล.ร.อ. สงัด ชลออยู (รัฐมนตรีกลาโหมใน
ขณะนั้น) เปนหัวหนาคณะปฏิวัติ กอนหนามีการประกาศยึดอํานาจในเย็นวันนั้นมีการพบปะระหวางกษัตริยภูมิพล
และ พล.อ. อรุณ ทวาทสิน เพื่อไปทาบทาม พล.ร.อ. สงัด ชลออยู ใหเปนหัวหนาคณะปฏิวัติ เมื่อ พล.ร.อ. สงัด
ทราบวากษัตริยทรงสนับสนุนการปฏิวัติครั้งนี้อยางยิ่งจึงไดยอมรับ หลังจากนั้นไดมีการจัดตั้งรัฐบาลโดย นาย
ธานินทร กรัยวิเชียร ผูมีความคิดคับแคบและใชอํานาจเผด็จการในการบริหารประเทศตามอําเภอใจรวมกับ นาย
สมัคร สุนทรเวช รัฐมนตรีมหาดไทย ทั้ง 2 ตางก็เปนผูใกลชิดและวางพระทัยของสถาบันกษัตริยโดยเฉพาะราชินี
เห็นไดชัดวาการไดดิบไดดีของ นาย สมัคร มาจากลักษณะมักใหญใฝสูง ถีบตัวขึ้นมาจากการเกาะชายกระโปรงของ
68
ฝ า ยหญิ ง พร อ มกั บ การถี บ ส ง เพื่ อ นร ว มงานและผู มี บุ ญ คุ ณ ทุ ก คน แม แ ต นาย ธรรมนู ญ เที ย นเงิ น และพรรค
ประชาธิปตยผูโอบอุมทางการเมืองตั้งแตสมัครยังไมมีชื่อเสียงใดๆ
ในชวงหลัง 6 ตุลาคม 2519 ไมนาน ราชินีผูกําบังเหียนรัฐบาลชุดใหมไดมีบทบาทมากและพยายามสรางฐานอํานาจ
ของตนให มั่ น คงยิ่ งขึ้ น ในกลุ มลูก เสื อ ชาวบา น โดยเฉพาะในเขตภู ธ รที่เ ป น ของกษัตริ ยภู มิพ ล และในวัน ที่ 5
พฤศจิกายน 2519 ราชินีและฟาชายไดพาประธานลูกเสือชาวบานจํานวนหนึ่งไปสาบานตนกลางดึกในวัดพระแกว
ว า จะรั บ ใช แ ละจงรัก ภั ก ดี ตอราชิ นี เสมอไป การใชเ ลห กลสารพัด เพื่อ หลอกลอ ผู ก มัดทางจิต ใจชาวบานและ
ขาราชการระดับต างๆอย า งเช น ตั ว อย างขางตน มัก จะมีเ ปน ประจํา บางครั้งถึงกั บจัดงานฉลองเลี้ย งอาหารใน
พระราชวังเปนการสวนพระองคเอง มีการแจกของที่ระลึกเหรียญตราเปนกรณีพิเศษ พวกทหารเสือราชินีและทหาร
ที่คายนวมินทรชลบุรี เปนตัวอยางของขุมกําลังที่ราชินีผูมักใหญใฝสูงไดพยายามสรางขึ้นมาจากศรัทธา และความ
รูเทาไมถึงการณของเหลาทหาร พวกเขายังหลงคิดวา การเสียสละใหกับราชินีเปนคุณอันใหญหลวงตอประเทศชาติ
แทจริงการเสียสละของเขาไมเพียงแตไรคา แตยังสรางความฉิบหายกับประเทศโดยสวนรวมโดยที่เขาไมเขาใจเลย
สมเด็จพระนางเจาสิริกิตติ์ พระบรมราชินีนาถ เติบโตมาจากพระราชวงศชั้นปลายแถว เปนเด็กหญิงหมอมราชวงศ
ตัวเล็กๆที่เคยศึกษาในโรงเรียนสามัญเชนเดียวกับลูกชาวบานทั่วไปที่โรงเรียนสายปญญา ครั้นตอมาไดเปนราชินี
ดว ยอุบ ายอั น แนบเนี ย นของพระบิ ด าและญาติ ว งศที่ ใ กลชิ ด เช น จัก รพงษแ ละสนิ ท วงศ ราชินี ทรงมี ลัก ษณะ
ทะเยอทะยานใฝสูงเปนพิเศษ ยิ่งมีอํานาจสูงก็ยิ่งหลงระเริง ทรงเปนสตรีที่เจาเลหเพทุบาย มักเปนผูบงการอยู
เบื้องหลังเหตุการณสําคัญๆของบานเมือง บางครั้งถึงกับออกหนาอยางทระนง เชน การแตงตั้งโยกยายนายทหาร
หลังเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 เกือบทุกครั้ง แตที่โดงดังคือ การตั้ง พล.อ. เปรม ติณสูลานนท จากผูชวยผู
บัญชาการทหารบกเปนผูบัญชาการทหารบก พรอมกับเตะโดง พล.อ. เสริม ณ นคร ผูบัญชาการทหารบกขณะนั้น
ไปเปนผูบัญชาการทหารสูงสุด การตออายุ พล.อ. เปรม ในตําแหนงผูบัญชาการทหารบกซึ่งเปนตําแหนงที่มี
อิทธิพลยิ่งใหญที่สุดในประเทศ โดยราชินีสั่งให พล.อ. อาทิตย เลนเกมสนี้รวมกับพระองค แมคณะรัฐมนตรีหลาย
ทานจะคัดคานเพราะไมชอบดวยตัวบทกฎหมาย แตในที่สุดคณะรัฐมนตรีตองอนุมัติอยางเฝอนๆดวยจํายอมตอ
“ขอมูลใหม” ซึ่งก็คือพระราชเสาวนียของราชินี อีกครั้งหนึ่งที่เดนมากและมีผลตอการเปลี่ยนดุลยอํานาจในหมู
ทหารอยางพลิกหนามือเปนหลังมือคือ กรณีหักหลังกลุมยังเติรกในกบฏวันที่ 1 เมษายน 2524 ราชินีเปนผูดึงดันให
กษัตริยภูมิพลและ พล.อ. เปรม ทรยศตอยังเติรก และพากันหนีไปตั้งกองบัญชาปราบกบฏที่โคราช ทั้งๆที่ พล.อ.
เปรม และกษัตริยภูมิพลเปนผูเปดไฟเขียวใหพวกยังเติรกและ พล.อ. สัณห จิตรปฏิมา ปฏิวัติเอง ชวงจังหวะ พล.อ.
อาทิตย ไดโดดเดนขึ้นมาเปนผูยิ่งใหญที่แทจริงคุมทั้งแมทัพภาค 1 ผูชวยผูบัญชาการทหารบก, ผูอํานวยการรักษา
พระนคร ฐานอํานาจทางทหารจึงตกอยูในมือของราชินีโดยผาน พล.อ. อาทิตย กําลังเอก, ทหารเสือราชินีที่ราชินี
ทรงโปรดปรานเปนพิเศษ บางครั้งการใชอํานาจของราชินีเปนไปอยางมัวเมา โดยไมเคยคํานึงถึงผลกระทบตอ
ประเทศชาติเลย เชน กรณีกลุมยังเติรกอยากขอเขารับราชการทหารใหม ซึ่งนาที่จะอนุญาตเพราะจะเปนการสมาน
ความแตกราวในกองทัพมิใหสลายเปนเสี่ยงๆมากไปกวานี้ อีกทั้งจะยังเปนการรักษาสมรรถภาพของกองทัพในการ
ตั้งรับกองทัพเวียดนามที่กําลังจอคอหอยประเทศไทยอยูขณะนี้ เพราะกลุมยังเติรกเปนนายทหารที่มีฝมือ ผานการ
รบเคียงบาเคียงไหลกับพลทหารมาอยางโชกโชน ขณะที่ผูบัญชาการระดับกรมและกองพันสวนใหญในปจจุบัน มัก
รวมรบกับลูกนองในหองแอร พวกเขา 20 คนเศษจึงเปนกําลังที่สําคัญของกองทัพไทย แตราชินีไมไดมองเห็น
69
คุณคาของพวกเขาเลย ราชินีหวงอํานาจของตนในกองทัพบกมากกวาหวงสถานการณทางชายแดน พระองคจึงใช
สิทธิพิเศษในการวีโตทุกครั้ง ไมวาใครจะมาเพียรพยายามขอรองอยางใด คําตอบก็คือ “ไม”
บทบาททางการเมืองทั้งลับและเปดเผยดวยลูกไมอันแพรวพราวของราชินีเปนที่ลือเลื่องกันไปทั่วในหมูขาราชการ
ทหาร ตํารวจ พลเรือนชั้นผูใหญ วงการนักการเมืองและนักธุรกิจชั้นสูงตางยกยองราชินีในนามสมญาตางๆ และใช
กันอยางกวางขวาง บอยครั้งที่หนังสือพิมพมีการเขียนคอนแคะดวยพระสมญานามอยางครื้นเครง เชน “พระนาง
อสรพิษ” “ซูสีไทเฮา” “ผูบัญชาการ ผบ.ทบ.” “คําสั่งเบื้องบน” เปนตน จนรูกันทั่วเดี๋ยวนี้ขาราชการคนใดอยากเปน
ใหญเปนโตในพริบตาก็ตองผานเสน “ราชินี” เพียงแคกราบใตเบื้องพระบาทงามๆ และปฏิบัติตามคําบัญชาของ
พระองคจนมีผลงานใหดูเสมือนหนึ่งจงรักภักดี และจะพยายามถวายชีวิตนี้ใหพระองคเทานั้นความยิ่งใหญนั้นก็จะ
มาไดอยางงายดาย จนถึงกับมีนายทหารพูดวา “อยากเปนผูการก็ใหไปกราบทาน” นี่จึงเปดชองใหพวกมักใหญใฝสูง
แตดอยฝมือตองเขามาซบอกเกาะขอบชายกระโปรงตามๆกัน เชน พล.อ. อาทิตย กําลังเอก, นาย สมัคร สุนทรเวช,
พล.ต.ต. เจริญฤทธิ์ จํารัสโรมรัน, นาย พิศาล มูลศาสตรสาทร, นาง ทมยันตี, พ.อ. อุทาร สนิทวงศ เปนตน
นอกจากราชินีจะเปนผูมัวเมาในอํานาจแลวยังทรงใชจายอยางฟุมเฟอย ฟุงเฟอในเรื่องฉลองพระองค6 และการรักษา
พระสิริโฉมอันเหี่ยวยนซึ่งรวงโรยไปตามสังขารใหกลับเตงตึงหวานซึ้งราวสาวแรกรุน พระองคทรงยินดีที่จะเสีย
พระราชทรัพยไมวาสักเพียงใด เพื่อใหประเทศไทยมีราชินีที่ยังสาวและสวยสงาเปนศรีแหงแวนแควนตลอดไป
จนถึงกับมีขาวเกรียวกราววาพระองคทรงเสด็จไปอเมริกาเพื่อยกเครื่องใหมในป 25237 แมจะอางวาไปเพื่อรักษา
โรคภูมิแพก็ตามที แทจริงพระองคก็มีพระชนมายุอีกเพียงปเดียวก็ครบ 50 พรรษา การมีพระวรกายตามพรรษาจริงก็
มิไดทําใหประเทศชาติตองเสื่อมเสียหรือพินาศลงไปเลยแมแตนอย กลับจะทรงเปนแบบอยางที่ดีงามของประชาชน
แตการใชจายเงินภาษีของชาติในภาวะที่เศรษฐกิจฝดเคืองประชาชนอดอยากไปทั่วอยางฟุงเฟอไรสติเชนนี้ รังแตจะ
ทําผูคนนินทา ดากันไปทั่วทั้งแผนดิน
การวางพระองคและพระทวงทาที่แสดงออกก็เปนสิ่งที่ผูคนวิพากษวิจารณกันมาก เชน การประพาสประเทศ
อเมริกาปลายป 2524 พระองคทรงโอบกอดเตนรํากับหนุมชาวนาอเมริกาอยางสนิทแนน และภาพนี้สื่อมวลชนทั่ว
โลก รวมทั้งภายในประเทศมีการนํามาตีแผกันทั่ว เปนภาพที่นาสลดสังเวชมากที่พระราชินีไทย ไมมีการไวพระองค
ในฐานะสตรีผูสูงศักดิ์ที่พึงมีสมบัติกุลสตรีไทยบางตามสมควร อีกครั้งหนึ่งราวป 2520 พระองคทรงนั่งปอนพระ
ขนมแกชายหนุมลูกเสือชาวบานคนหนึ่ง ดวยทวงทาที่นาชมเชยดั่งหญิงสาวแรกแยมปอนขนมใหคูรักของตน ภาพ
นี้ไดรับการตีพิมพในขาวสังคมหนาในของหนังสือพิมพ เปนภาพที่บัดสี ขนาดชาวบานนินทาอยางรุนแรงจนไม
อาจจะเขียนเปนตัวหนังสือ ปจจุบันพระเกียรติคุณของราชินีในสายตาของปวงชนลดลงจนกลายเปนเรื่องตลก เรื่อง
สนุกที่ชาวบานจะเลาสูกันฟงหลังอาหารอยางครึกครื้นเสียแลว
เนื่อ งจากราชินี ไ ม ไ ด ท รงศึ ก ษาในมหาวิ ท ยาลัย หรื อ การศึก ษาขั้ น สูง ประกอบกั บไม คอยเขา ใจกฏเกณฑ ท าง
วิทยาศาสตร ราชินีจึงเปนผูที่เชื่อคนงาย ชอบการยกยอปอปน คําหวานหอม ตลอดจนเชื่อผีสางโชคลางเปนอยางยิ่ง
หลายครั้งทีเดียวที่พระองคเลาใหนางสนองพระโอษฐฟงวา พระนเรศวรมาเขาฝน บางครั้งถึงกับปรากฏตอหนาพระ
พักตร และเมื่อพระองคทรงตื่นก็ปลุกกษัตริยภูมิพลขึ้นทอดพระเนตรก็ยังคงทอดพระเนตรเห็นวิญญาณนั้นปรากฏ
อยู (ความเปนจริงราชินีและกษัตริยทรงขัดเคืองจนมิไดบรรทมดวยกันมานานแลว) และหลายครั้งที่ใหคุณหญิงแดง
(คุณหญิงสวรี เทพาคํา) เขาทรง เพื่อพระองคจะไดติดตอกับวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ตางๆ รวมทั้งการลวงรูเหตุการณ
70
สําคัญๆในอนาคตไดแมนยํา ดังนั้นราชินีจึงนับถือและสนิทสนมกับคุณหญิงแดงมาก ทั้งสองอยูดวยกันดึกๆจน
สว า งเพื่ อ ประกอบพิ ธี ก รรมและปรึ ก ษาความเมื อ งกั น คุ ณ หญิ ง แดงจึ ง เป น เป า ด า นแรกในการเข า หาราชิ นี
ของ พล.อ. อาทิตย กําลังเอก ผูตองการเปนใหญ ไดใกลชิดกับราชินีเปนพิเศษสุดในระยะหลังโดยผานคุณหญิงแดง
นี่เอง การเขาทรงและประกอบพิธีกรรมทางไสยศาสตร ยิ่งทําใหพระองคทรงเชื่ออยางฝงใจในเรื่องลางสังหรณ คํา
ทํานายของโหรใหญ การดูโชคชะตาราศีของพระ เรื่องนี้ราชินีเปนผูใหสัมภาษณยืนยันเรื่องเหลานี้ดวยตนเอง เชน
“เรื่องโหราศาสตร เชื่อเปนบางคน เฉพาะที่คิดเลขเกงจริงๆ พอฉันก็ชอบเกี่ยวกับเรื่องโหราศาสตร สวนเรื่อง
วิญญาณก็เชื่อ เราเชื่อเรื่องวิญญาณ เพราะวาตัวเองเคยประสบหลายหน” “เรื่องพระนเรศวรมาเขาทรงสุบินนั้นเปน
ความจริง แตฉันอาจแตงเอาเองในสวนลึกของหัวใจก็ได” พระองคทรงคลั่งไคลเรื่องทํานองนี้ มีอยูครั้งหนึ่งถึงกับ
ออกประกาศชักชวนใหปฏิบัติตามจนเปนขาวเกรียวกราวในหนาหนังสือพิมพ เพราะพระองคทรงสุบินไปวา คนที่
เกิดปมะ จะมีอันเปนไป มีอาเพศแกตน ใหชวนกันไปทําบุญที่โบสถพราหมณ มีผูคนมากมายตื่นแลวบอกตอๆกัน
จนโบสถพราหมณที่เสาชิงชาเกือบพัง อีกเรื่องหนึ่งเกิดขึ้นภายในราชวังคือ หลังเหตุการณ 6 ตุลาคม 2519 ไมนาน
นักราชินีทรงรับสั่งใหมีการประกอบพิธีสะเดาะเคราะหแกฟาชายวชิราลงกรณ ดวยการปนหุนขนาดเทาฟาชายและ
มีลักษณะเหมือนจริงทุกประการ และเอาหุนนั้นลงนอนในโลงศพ อันเปนพิธีสะเดาะเคราะหตออายุใหฟาชาย เรื่อง
นี้ความแตกเพราะฟาชายบังเกิดความเมามันจึงจางคน 4 คนแบกโลงศพซึ่งมีหุนของพระองคอยูขางใน หอโลงศพ
อยางสวยงาม สงไปใหนาของโสมสวลี บานอยูแถวคลองประปาสามเสน หมอมนาทรงแปลกพระทัย และเมื่อแกะ
กลองออกมาเห็นในโลงศพมีศพฟาชายก็ตกพระทัย รองกรี๊ดดังลั่นจึงโทรเรียกตํารวจทองที่มาจัดการกับชาย 4 คน
นั้น มีชาวบานละแวกนั้นแหกันมามุงดูมืดฟามัวดิน ขณะที่หมอมนายังไมหายตกพระทัยก็พอดีมีเสียงโทรศัพทจาก
ฟาชายและโสมสวลี หัวเราะครึกครื้นมาตามสาย ทรงทูลหมอมนาวา “ทรงตกพระทัยมากไหม” นาของโสมสวลีจึง
มาถึงบางออ ดวยความโกรธจัดจึงพูดไปวา “อยากถวายผาง (เตะ) พะยะคะ” ทางตํารวจทองที่หัวปนไมรูจะทํา
อยางไรจึงตองปลอยชายผูตองหาไป เรื่องนี้สามารถสอบถามไดจากชาวบานละแวกนั้นซึ่งตางก็รูสึกทึ่งในการไม
สมประกอบทางปญญาของพวกราชนิกุล
ความใฝฝนที่จะใหราชบัลลังกตกอยูกับตระกูลของตนและญาติวงศที่ใกลชิดเปนความฝนที่ใกลจริง เมื่อพระองค
ทรงกะเกณฑใหฟาชายวชิราลงกรณแตงงานกับ โสมสวลี กิติยากร หลานแทๆของพระองค เมื่อวันที่ 3 มกราคม
2520 วชิราลงกรณเปนโอรสที่สนิทสนมและรักทูลกระหมอมแมมากกวาพอ ทรงรักและเชื่อฟงแมมากถึงกับเขียน
กลอนสดุดีราชินีขณะที่ยังเรียนอยูที่ประเทศออสเตรเลีย วชิราลงกรณนั้นเรียนไมเกง เมื่อครั้งไปเรียนที่อังกฤษ
ปรากฏวาทรงสอบไดวิชาภาษาไทยเพียงวิชาเดียว ตองยายโรงเรียนถึง 3 ครั้ง ในที่สุดยายมาเรียนวิทยาลัยดันทรูน
ในประเทศออสเตรเลีย นักเรียนไทยในประเทศออสเตรเลียมักเลาสูกันฟงถึงเรื่องของฟาชายเสมอวา ที่วิทยาลัยนี้มี
การศึกษา 2 ระดับดวยกัน ผูที่มีเกรดดีจึงจะไดเรียนในระดับนายรอย สวนผูทําเกรดไมไดจะไดเรียนแคระดับนาย
สิบเทานั้น ฟาชายของเราทําคะแนนไมไดจึงไดเรียนแคนายสิบเทานั้น เห็นไดจากภาพที่แพรในชวงที่มีการรับ
ปริญญาจะเห็นฟาชายแตงชุดทหารยศแคสิบโทเทานั้น แตมีการอางวาที่วิทยาลัยนี้เขาก็แตงกันอยางนี้ทั้งนั้น มันนา
ตลกสิ้นดีที่เมื่อฟาชายกลับถึงเมืองไทย 3 เหลาทัพจําตองกุลีกุจอถวายพระยศเปนรอยเอก, เรือเอกและเรืออากาศ
อยางเสียไมได

71
ฟาชายชอบใสชุดทหารและติดอาวุธตั้งแตศีรษะจรดเทาทั้งๆที่พระองครับราชการฝายขาวของกองทัพ นอกจาก
พระองคจะทรงพยายามแสดงออกถึงความสามารถสูงสงอยางเบาปญญาแลว บรรดาที่อยูใกลชิดก็จะชวยกันโหม
ขาวสรางชื่อเสียงใหฟาชายเพื่อจะไดมีพระเกียรติสมกับสยามมกุฎราชกุมาร เชน วันที่ 13 กุมภาพันธ สื่อมวลชนทุก
ประเภทพากันประโคมขาววา รถเกราะพาหนะของฟาชายถูก ผกค. ซุมโจมตีที่บริเวณเขาคอ (จ.เพชรบูรณ)
พระองคไดแสดงวีรกรรมอยางอาจหาญ สั่งสละรถตนเอง ไดหลบและเคลื่อนที่เขาจุดที่มั่น ทรงบัญชาใหหนวยปน
ใหญที่บานทุงสมอ ระดมยิงไปที่ ผกค. จนพวกนั้นลาถอยกลับไป แตสําหรับทหารที่อยูในเหตุการณตางทราบดีวา
เฮลิคอปเตอรของฟาชายถูกยิงตก และก็ไมมีวีรกรรมใดๆปรากฏขึ้นเลย จะมีก็เพียงขาวลือและเขาเลาวา แตเมื่อได
พบเห็นฟาชายที่ทรงกระทําอะไรแผลงๆแบบไมคอยเต็ม ความที่เคยสงสัยก็กลับกระจางอยางไมนาเชื่อ
สําหรับโสมสวลีทรงเรียนหนังสือครั้งแรกที่โรงเรียนจิตรลดา การเรียนอยูในระดับต่ําจนตองสอบชั้น ป. 3 ตก 1
ครั้ง เมื่อยายมาเรียนที่โรงเรียนราชินีลาง (ปากคลองตลาด) การเรียนก็ไมดีขึ้น ครูถึงกับเอยปากหนักใจแทน เพราะ
โสมสวลีของเราสอบชั้น ม.ศ. 2 ตกซ้ํา 2 ปติดตอกันจึงลาออก ราชินีทรงรับมาชุบเลี้ยงในราชวัง ฝกทําของคาว
หวานจนเกงงานครัว ทั้งฟาชายและโสมสวลีตางมีสายโลหิตที่ใกลชิดกันมาก มีคนเกรงวาหากแตงงานกันเชนนี้ จะ
ทําใหโอรสและธิดาที่ทรงประสูติมาจะมีโอกาสปญญาออนมาก เพราะเพียงแคลําพัง 2 พระองคก็ทรงมีลักษณะ
อับเฉาทางปญญามากพออยูแลว เรื่องนี้มีผูทวงติงมากแมแตกษัตริยภูมิพลเอง แตเพราะเปนความตองการของฟา
ชายที่ถูกแมขอรองใหแตงงาน เรื่องจึงตองวากันไปตามเพลง ผลมาปรากฏตอนทายมีผูที่เสียพระทัยมากที่สุด 2 คน
คือ ราชินีและโสมสวลี เพราะฟาชายทรงหนีไปมีนางสนมมากมาย และไมคิดจะใยดีโสมสวลีตอไป เพราะโสมสวลี
คือลูกสะใภที่แมตองการ สวนเมียสุดที่รักของฉันคือ “ยุวธิดา”
การที่ราชินีทรงเชิดฟาชายผูอยูในโอวาทใหมีบทบาทที่จะรับตําแหนงกษัตริยตอไป ดวยการกุมบังเหียนไดทั้งหลาน
และลูก นับเปนความสําเร็จทางการเมืองชิ้นสําคัญ แตราชินีก็ทรงพร่ําเพอวาพระองคทรงไมรูจักการเมืองและไม
ปรารถนาที่จะยุงเกี่ยว นอกจากการชวยเหลือประชาชนผูยากไรอยางฉาบฉวย และหากสิ่งนี้คือการเมือง พระองคก็
อดไมไดที่อุทิศตัวเพื่อชวยเหลือพวกเขาอยางสุกเอาเผากินกันตอไป พระองคถึงกับปรารภวา “คนที่จนที่สุดบวกจน
ที่สุดคือชาวเขาและชาวไทยอิสลาม จนอยางชนิดที่เราไมเคยเห็น อีสานก็ไมเคยเห็นอยางนั้น เสื้อผากะรุงกะริ่ง
รางกายซูบซีดขาดเลือด ฉันใหแมทัพใต ตอนนั้นคุณ ปน ธรรมศรี คุณ เปรม เปนผูชวยหรือรองผบ.ทบ. ฉันไม
เขาใจวารองหรือผูชวยตางกันอยางไร คุณ เปรม ไปเฝาที่นั่น คุณ เปรม ก็บอก “ปน ทําไมไมชวยราษฎรละ” คุณปน
บอก “แหมก็ไปกาวกาย” อันนี้ก็การเมืองอีกใชไหม ฉันไมทราบจะทําอยางไร การเมืองนี่เปนอยางไร ฉันไมทราบ
จะทําอยางไร เพราะราษฎรเอามาใหชวย ขนาดจุฬาภรณและสิรินธรถึงกับเคยแยงฎีกาชาวบานจากมือของตํารวจ
พระราชวัง โธคุณถาเผื่อปดนี่ บานเมืองเราจะไปไมไหวนะ ราษฎรไมรูจะออกทางไหน เราก็มีหนาที่เอามา แลวเอา
ไปใหแกรัฐบาลเทานั้น”9
ราชินีแมจะรูวาชาวบานอดอยากแรนแคนมาก แตพระองคไมเคยทรงทราบเลยวา เลือดของประชาชนที่ขาดหายไป
จนซูบซีดนั้น ใครเปนผูสูบไป พระองคก็ไมตางจากจอมเผด็จการทั้งหลายในโลกรวมทั้งพระนางซูสีไทเฮา ซึ่งไม
เคยทราบตนสายปลายเหตุความทุกขยากของแผนดิน พวกเขาไดแตสงสาร เห็นใจ และสงเคราะหชวยเหลือไปตาม
ความสบายใจของตน พระองคหารูไมวา ก็เพราะอํานาจของสถาบันพระองคที่ครอบงําความกาวหนาของสังคม
และคอยค้ําจุนระบบคนกินคนอันเลวรายของสังคม ขณะเดียวกันธุรกิจสมัยใหมของทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย
72
ก็มีสวนรวมสูบเลือดชาวไทยใหหนักหนวงยิ่งขึ้น อิทธิพลของสถาบันพระมหากษัตริยคือ ตนตอความยากจนทุกข
เข็ญของประชาชนทั่วทั้งประเทศ
ขณะที่ราชินีทรงใชกลเม็ดเด็ดพรายแยงราชบัลลังกจากกษัตริยผูฆาพี่ชายอยางเลือดเย็น มาสูตระกูลของตนพรอม
กับซองสุมกําลังทหารเสือราชินี, ผลักดัน พล.อ. อาทิตย กําลังเอก ขึ้นเปนผูบัญชาการทหาร เพื่อหวังกุมอํานาจทั่ว
ทั้งแผนดินมาสูกํามือของตนเชนนี้แลว พระองคยังจะกลาเอยปากวา พระองคไมรูจักคําวาการเมืองอีกหรือ เพราะ
ทุกยางกาวของความมักใหญใฝสูงลวนกระทบกระเทือนตอชีวิตตัวดําๆของชาวไทยทั่วทั้งประเทศ หากพระองคมี
เจตนาหวังดีตอประชาชนอยางแทจริงก็จงมาชวยกันลมระบบอภิสิทธิ์ของซากเดนศักดินาใหญ มาชวยกันพัฒนา
และปลุกความตื่นตัวของประชาชนใหสามารถคุมครองและชวยเหลือตนเองในการตอสูเพื่อปากทองในสังคมอยาง
ยุติธรรมตอไป เปดใหมีการกระจายอํานาจการปกครองไปสูทองถิ่นอยางจริงจัง ทําการปฏิรูปที่ดินและสรางการ
ชลประทานอยางตอเนื่องทั่วประเทศ กอตั้งระบบสหกรณที่มีประสิทธิภาพขึ้นมาใหม ใหกอตั้งสหภาพแรงงานเพื่อ
ตอรองกับนายจางอยางยุติธรรมตามกฎหมายแรงงาน ใหชวยกันสรางเศรษฐกิจของชาติใหพนจากอิทธิพลของ
ตางชาติที่คอยสูบเลือดเรา หากราชินีและกษัตริยภูมิพลทรงรักประชาชนและประเทศไทย และตองการใหประเทศ
ไทยกาวหนาทัดเทียมอารยประเทศทั้งหลาย ขอใหพระองคสละราชสมบัติ ยกเลิกระบบกษัตริยซึ่งค้ําจุนความคิด
และระบบอันลาหลัง งมงายลงเสีย เปลี่ยนการปกครองเปนประเทศสาธารณรัฐ มีประธานาธิบดี ควรเปนประมุข
ของชาติที่อยูใตกฎหมาย และไมมีอํานาจบริหารประเทศใดๆทั้งสิ้น และหากพระองคคิดวาประชาชนยังคงรักและ
เห็นความดีงามของพระองค พระองคก็จะไดเปนประธานาธิบดีคนแรกที่ประชาชนยกยองนับถือ และหากองครัช
ทายาทเปนผูที่ดีพอ ตําแหนงประธานาธิบดีคงไมแคลวคลาดจากฟาชาย ยุคสมัยแหงการสืบสันตติวงศเอาเพียง
สายโลหิตของกษัตริยเปนเครื่องวัดความดีงาม และสืบทอดตําแหนงประมุขของชาติอยางงมงายควรจะเลิกกันเสียที
ประชาชนผูทุกขยากจํานวนลานๆไมอาจทนหิวโหย ผอมโซอีกตอไปแลว ขอพระองคจงเรงตัดสินใจ กอนที่จะสาย
เกินกาล เมื่อวันนั้นมาถึงชาติตระกูลของพระองคคงตองสูญสิ้น ขณะที่ประเทศและประชาชนจะชวยกันสรางชาติ
ไทยใหรุงโรจนสืบไป

1. สุพจน ดานตระกูล แถลงการณเรื่องความบริสุทธิ์ของ นาย ปรีดี พนมยงค ในกรณีสวรรคตของ ร.8 (ไทยแลนดการพิมพ, 2522) หนา 62
2. ดูประชุมประกาศในสมัยรัชกาลที่ 4 ที่คุรุสภาพิมพ
3. พระราชเสาวนียตอสมาคมนักขาวหญิงแหงประเทศไทย ดู...มาตุภูมิ วันที่ 27 ก.ค. 2524
4. เรื่องเดิม
5. สมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ “ความทรงจําในการตามเสด็จตางประเทศ” อนุสรณ พล.ต.อ. หลวง วรยุทธวิชัย (วรยุทธ จารุมาศ)
(โรงพิมพอักษรประเสริฐ, 2514 หนา 43)
6. พระราชกระแส สัมภาษณโดย นาง อนงค เมษประสาท หนังสือสยามใหม ฉบับที่ 71, 22 ส.ค. 2524 หนา 12 พระองคใหสัมภาษณวา
“ทรงโปรดการแตงพระองคงาม อันนี้จริง ฉันเปนคนที่แกไมหาย เพราะชอบสวยงาม อีกประการหนึ่ง ชาวบาน นานๆเขาจะเห็นเราสักทีหนึ่ง
โดยมากชั่วชีวิตเขาก็เห็นไมกี่ครั้งเลย คิดวาพยายามแตงตัวใหดี ใหเขาเห็น ใหเขาจําเราได”
7. หนังสือเสด็จประพาสอเมริกา
8. พระราชกระแส สัมภาษณโดย นาง อนงค ดมษประสาท หนังสือสยามใหม ฉบับที่ 71 หนา 4...
9. เรื่องเดิม หนา 13

73
บทความพิเศษ : โพธิอธิษฐาน

เรื่องของมหาดเล็ก 3 คนที่ถูกตัดสินประหารชีวิตในขอหาลอบปลงพระชนมพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันท
มหิดล คือนายชิต, นายบุศย และนายเฉลียว 3 คนนี้ถูกยิงเปาในแดนประหารชีวิตเรือนจํากลางบางขวาง
กอนที่ 3 คนนี้จะเขาสูหลักประหาร พวกเขาไดปลูกตนโพธิขึ้นมา 3 ตนที่ทางเขาแดนประหารแลวก็ไดอธิษฐานวา
“ถาพวกขาพเจาทั้ง 3 คนนี้ไดกระทําความผิด คิดรายตอพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวอานันทมหิดลจริงแลวก็
ขอใหโพธิทั้ง 3 ตนนี้ไดเหี่ยวเฉาตายไปพรอมกับชีวิตของพวกขาพเจาทั้ง 3 คน แตถาหากวาพวกขาพเจาไมได
กระทําผิดตามที่ถูกตัดสินประหารชีวิตก็ขอใหโพธิทั้ง 3 ตนนี้ไดเจริญงอกงามตอไป”
จนถึงวันนี้โพธิทั้ง 3 ตนไดเติบใหญและงอกงามอยูหนาแดนประหารในเรือนจําบางขวางซึ่งชาวเรือนจําบางขวาง
เรียกโพธิ 3 ตนนี้วา “โพธิอธิษฐาน”
เมื่อมีเหตุการณหรืออะไรก็แลวแตผูตองหาในเรือนจํากลางบางขวางก็จะไปบูชา สักการะโพธิ 3 ตนนี้อยูเปนประจํา
นี้คือเกร็ดทางประวัติศาสตรที่หลายคนอาจจะไมเคยทราบมากอน

74
บทความพิเศษ : ครอบครัวคุณธรรม

สังวาลย : สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

- แมของกษัตริยภูมิพล นามเดิม น.ส. สังวาลย ตะละภัฏ (ชูกระมล) อาชีพเดิมเปนพยาบาล ถูกสงไปเรียนตอใน


ยุโรป
- เปนคนสวยเลยเปนที่ติดใจของหนุมๆไทยที่เรียนในยุโรป ไดแตงงานกับสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดช
วิกรม (พอของกษัตริยภูมิพล) ซึ่งเรียนแพทย
- เปนลูกคนจีน มีนามสกุลเดิม แซปอ
- เปนผูหญิงที่โชคดีที่สุด เพราะลูกๆไดเปนกษัตริยคือ อานันท (รัชกาลที่ 8) และ ภูมิพล (รัชกาลที่ 9)
- สามีตายไปตั้งแตลูกๆยังเด็ก (2472) ตอนนั้นเพิ่งจะมีอายุเพียง 29 ป และภูมิพลมีอายุเพียง 2 ขวบ
- เมื่อลูกๆไดเปนกษัตริยก็ไมสามารถที่จะมีสามีใหมไดก็เลยตองชื่นชมพวกยามหลอๆในวัง แตตอนหลังได
ตัดสินใจเปนเลสเบี้ยนอยูกับแหมมชาวสวิส เวลาไปไหนมาไหนดวยกันก็บอกวาเปนสาวใช
- ใชชีวิตอยูกับแหมมคนนี้ในโลซานนมากกวาที่จะอยูเมืองไทยกับลูกหลาน

ภูมิพล : พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9)

- เปนลูกของกรมหลวงสงขลานครินทร (ลูกชายของนางสนมกับรัชกาลที่ 5) กับนางสังวาลย


- สัญชาติอเมริกันและสวิส เชื้อชาติไทย แตไมมีสัญชาติไทย เพราะไมมีบัตรประชาชนและสํามโนครัว แตใช
พาสปอรตไทย มีชื่อในพาสปอรตวา Bhumibol Mahitala บานเดิมอยูโลซานน สวิตเซอรแลนด
- งานอดิเรก เลนดนตรีแจส วาดรูปพอใชได ไมถึงกับเปนจิตรกรมืออาชีพ สูบบุหรี่และซิการ ตาพิการขางหนึ่ง
- ตาเสียขางหนึ่งเพราะไดรับอุบัติเหตุรถยนตรคว่ํา ขับโดยลูกชายนายทหารใหญคนหนึ่งในสวิตเซอรแลนด พวก
ฝายซายมักจะเรียกวา “ไอบอด”
- เปนพอคาขายกลองยี่หอ Hasseblad และเปนนักเขียนสมัครเลน แตหนังสือกลับขายดี
- ระหวางนอนพักรักษาตัวอยูในสวิส ม.ร.ว. สิริกิต กิติยากร ถูกสงตัวมาพยาบาล หลอนเปนลูกสาวของ ม.จ.
นักขัตมงคล กิติยากร เวลานั้นเปนทูตไทยในกรุงปารีส ภูมิพลเกิดรักกับหลอนเพราะเพิ่งแตกเนื้อสาวเลยหมั้นกัน
เปนขาวเกรียวกราวในเมืองไทย
- กอนจะแตงงานมีแฟนแลวคนหนึ่งเปนสามัญชนไดลูกชาย 1 คน ปจจุบันนี้ลูกชายหัวปเปนอาจารยสอนที่
มหาวิทยาลัยแหงหนึ่งในอังกฤษ
- แตงงานกับสิริกิตและมีลูก 4 คน
- หลังแยกทางกันแลวก็มีแฟนใหม และไดลูกดวยกันอีกหลายคน

75
- เคยเปนหนึ่งในผูตองสงสัยคดีฆาพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (พี่ชาย) เพราะเปนคน
สุดทายที่เขาไปในหองพี่ชายกอนจะมีเสียงปนดังไมกี่นาทีตอมา (แตคดีนี้ในประเทศนี้จะไมมีวันไดรื้อขึ้นมาอีก
ทั้งๆที่ควรรื้อครอบครัวคนธรรมดาพี่นองใครถูกฆาตาย เขายังอยากรูวาเปนฝมือใครแตครอบครัวนี้ไมอยากรู)

สิริกิตติ์ : สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ

- อดีตภรรยาของกษัตรยภูมิพล เปนนางพยาบาลกอนที่จะไดเปนราชินีไทย
- มีลูกกับกษัตริยภูมิพล 4 คนคือ อุบล วชิระ เทพรัตน และจุฬาภรณ แยกกันอยูกับภูมิพลหลายสิบปแลว แตจะมา
เจอกันตอนออกงาน
- ไมคอยกินเสนกับแมสามีกันนัก ตนเหตุสําคัญคือแยงเครื่องเพชรที่เก็บอยูในวัง เมื่อราชรถมาเกยไดเปนราชินี
ทําใหตระกูลสนิทวงศใกลชิดในตําหนักชั้นในยิ่งขึ้น (ม.ล. บัว (มารดาของสิริกิต) มีนามสกุลเดิม สนิทวงศ) ผูที่
เรืองอํานาจในราชสํานักจึงแบงเปน 2 ฝาย ฝายหนึ่งคือกษัตริยภูมิพล, สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และ
สมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา อีกฝายหนึ่งคือ ราชินี, ม.ล. บัว และพวกสนิทวงศใกลชิด
- มีการขมอํานาจและแยงสมบัติมีอยูเนืองๆโดยเฉพาะเครื่องเพชรทองของเกา ฝายตระกูล ม.ล. บัว แสดงความ
กระหายเกินขอบเขตถึงกับเกิดวิวาทกันขึ้น สมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนาลุกขึ้นเอาสรอยเพชรขวาง
หนา ม.ล. บัว ดวยความไมพอใจสุดขีด
- ครั้งหนึ่งหลอนเคยดาแมสามีวา “อีสังวาลย แซปอ คนไมมีสกุลรุณชาติอะไร”
- มีรายงานขาวลงหนังสือพิมพวา สมัย นาย ธนิต อยูโพธิ์ เปนอธิบดีกรมศิลปากร สมบัติอันล้ําคาในพิพิธภัณฑ
สถานแหงชาติถูกขโมยหายไปมากกวา 5,000 ชิ้น ในจํานวนนี้เปนเครื่องเพชรนิลจินดา ทองคํา ของเกาที่เปน
อาภรณเครื่องประดับ (ความจริงไมหายไปไหน แตมีขาววาถูก “ในวัง” ขอยืมไปแตงองคทรงเครื่องรับแขกเมือง
หรือมีพิธีการ ขอยืมแลวไมคืนเจาหนาที่จึงตองแทงบัญชี “หาย”)
- ครั้งหนึ่ง จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต ถึงกับกลาวตอหนานายทหารชั้นผูใหญหลายคนวา “เจาอะไรวะ งกชิบหาย”
- ชอบออกไปเที่ยวตามชนบทกับสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ ลูกชายสุดที่รัก
- ชอบแฟชั่นเปนชีวิตจิตใจ เวลาตัดเสื้อนายชางตองตัดหนึ่งแถมหนึ่ง
- ยามวางก็เปนแมคาขายเพชรพลอยมือสอง ผูซื้อจะใหเทาไหรก็แลวแตตามศรัทธา
- มีใบหนาที่ไมคอยเหี่ยวถึงแมอายุจะกวา 70 เพราะมีหมอคอยดึงหนาใหตลอด แตลาสุดหมอไมรับดึงแลว
- เคยมีแฟนหนุมเปนทหารชื่อ พ.ท. ณรงคเดช นันทโพธิ์เดช แตก็ถูกฆาตายในโรงแรมแหงหนึ่งในสหรัฐ เมื่อศพ
ถูกสงกลับมา หลอนไปรับและรองหมรองไหที่ดอนเมือง
- หากกษัตริยภูมิพลสิ้นชีพ หลอนอาจจะสถาปนาตนเองขึ้นเปนพระมหากษัตริยาไทยพระองคแรก (รัชกาลที่
10) มีพระนามวา “พระทาวสมเด็จพระนางเจาอยูหัวสิริกิติยามหาราชินีศรีสยาม”
- เหลาโหรเคยทํานายไปแลววา เมืองไทยจะปกครองโดยราชินี มีดาวศุกรผานหนาพระอาทิตยเปนมหา
สัญลักษณ และจะสุดสิ้นราชวงศจักรี เฉกเชนคราที่ซูสีไทเฮาขึ้นครองราชยแผนดินจีนแลวบัลลังกก็ลมสลาย

76
- ครั้นจะใหสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ ขึ้นครองราชยอาการเอดสก็หนักขึ้นทุกวันสู
พระองคขึ้นเสวยราชยครองเศตรฉัตรสิบชั้นมิดีกวาหรือ ?

อุบลรัตน : ทูลกระหมอมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา

- เปนลูกสาวคนโตของกษัตริยภูมิพลกับราชินีสิริกิตติ์
- สัญชาติสวิสและอเมริกัน มีชื่อฝรั่งวา “จูลี่”
- ถูกสงไปเรียนตอเมืองนอกเขา MIT
- เมื่อมีชีวิตอิสระก็สูบบุหรี่กินเหลาคบเพื่อนสนุกสนานในงานปารตี้
- ไอหนุมอเมริกันรูวาหลอนเปน “เจาหญิง” ก็เลยเอาอกเอาใจกรอกเหลาเมาแลว “Fucking” กันอยางสนุกสนาน
บอยเขาๆทําทาวาจะทองจึงแจงมาถึงในวังวาจะแตงงาน
- ในวังตกใจมากเพราะอยูๆแตงงานทั้งที่ไมไดหมั้น เรียนก็ยังไมจบ ฝายพอโกรธมากเพราะทําขายหนาเสีย
ศักดิ์ศรี ลูกกษัตริยอยูๆมีสามี (ตอมาลูกชายลูกสาวของกษัตริยภูมิพลก็มีภรรยามีสามีอีกหลายคนโดยไมแตงงาน
เลย) พอไมพูดกับลูกสาวอยูหลายป
- อยูกับสามีอเมริกันชื่อ นาย ปเตอร เจนเสน มีบานอยูที่นิวปอรตบีช ทางใตของรัฐแคลิฟอรเนีย ซื้อไวดวยเงิน
223,000 ดอลลารเมื่อเดือนมีนาคม 2522
- ในเวลาตอมาหลอนพาสามีและลูกกลับมาเมืองไทย แตสามีไมชอบชีวิตไทยนักจึงตกลงแยกทางกัน
- หยากับสามีฝรั่งมาหลายปก็หอบพาลูกๆกลับมาอยูเมืองไทย
- สุขสบายกับชีวิตในวังแวดลอมดวยบริวารขาทาส จับจายใชสอยฟุมเฟอย ทาสบริวารยกยองเปนเจาหญิงทั้งๆที่
สละฐานันดรดวย
- เปนนักรอง นักแสดง เดินแฟชั่น (แสดงฟรีก็ไดคะ อยากดัง)
- รูสึกเสียใจไมนอยที่ถูกถอดออกจากตําแหนง “เจาหญิง” มาเปนสามัญชน
- ปจจุบันกําลังทํา PR อยางหนัก เพราะอยากไดตําแหนงเดิมคืน
- ดีไมดีอาจจะไดเปนกษัตริยาไทย (รัชกาลที่ 10) หากสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ
(นองชาย) และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา (นองสาว) ตายกอน (ตอนนี้เปนกษัตริยาในจอแกวไปกอน)

วชิราลงกรณ : สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ

- เปนลูกชายคนโตของกษัตริยภูมิพลกับราชินีสิริกิตติ์
- วาที่รัชกาลที่ 10
- ลือชื่อวา มักมากในกาม มีภรรยามากมาย
- มีลูกกับโสมสวลี 1 คน (พระเจาหลานเธอ พระองคเจาพัชรกิติยาภา) แตไปแยง “ยุวธิดา” ดาราสาวสวยจากสามี
เอามาทําเปนภรรยา
77
- มีลูกกับยุวธิดาดวยกัน 5 คน เปนชาย 4 คน (ม.จ. จุฑาวัชร มหิดล, ม.จ. วัชรเรศร มหิดล, ม.จ. จักรีวัชร มหิดล
และม.จ. วัชรวีร มหิดล) และหญิง 1 คน (ม.จ.หญิง บุษยน้ําเพชร มหิดล หรือ ม.จ.หญิง สิริวรรณวรี มหิดล ปจจุบัน
เปนพระเจาหลานเธอ พระองคเจาสิริวัณณวรีนารีรัตน) ตอนหลังทะเลาะแลวแยกทางกัน
- ยุวธิดาและลูกชายอยูที่อังกฤษ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณเอาคนสุดทองมาเลี้ยง
เพราะถือวายุวธิดาเปน “ตัวซวย” ก็เลยไมอยากเอาไปเลี้ยง
- มีความสัมพันธกับลูกสาวของ นาย อารีย วงศอารยะ (อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย) มีลูกดวยกันอีก 2-3 คน
- ปจจุบันมีภรรยาที่เปดเผยชื่อ “อี๊ด” (หมอม ศรีรัศมิ์ มหิดล ณ อยุธยา ปจจุบันเปน พระเจาวรวงศเธอ พระองค
เจาศรีรัศมิ์) หลอนเปนอดีตนักรองคาเฟที่รับจอบถายนูดดวย
- ชอบถายภาพนูดภรรยาตัวเองเปนงานอดิเรก
- ชอบฝนรายวา ผีหลอก หรือมีคนจะฆาก็เลยตองมียามเฝาประตูหองนอนระดับนายพัน คนหนึ่งเฝาประตู อีกคน
หนึ่งจะเฝายามที่เฝาประตู
- เปนเจาพอมาเฟย ถาลูกนองทําผิดจะโดนกระทืบสลบคาเทา

ยุวธิดา : ภรรยาของสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ

- นามเดิม นาง ยุวธิดา ผลประเสริฐ หรือ อดีตหมอม สุจาริณี มหิดล ณ อยุธยา


- มีลูกกับสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ 5 คน เปนชาย 4 คน และหญิง 1 คน
- แมของยุวธิดาเปนแมคาในตลาดนัดแหงหนึ่งรูวาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณติดผูหญิง
จึงทําเสนห โดยใหหมอขอมทํายันตรสักที่อวัยวะเพศของลูกสาวแลวสั่งใหหมอขอมหายไปจากโลก
- โหรประจําวัง (โหรทํานายในหนังสือพิมพรายวันชื่อดัง) ทํานายวา “หากมีบุตรชายกับสมเด็จพระบรมโอรสาธิ
ราช เจาฟามหาวชิราลงกรณครบ 7 คนจะไดเปนราชินีในอนาคต แตถาไดลูกสาวจะตกอัปไมมีโอกาสไดเปนอีก
เลย”
- เมื่อทองครั้งที่ 5 ตรวจ ultrasound พบวาทารกในครรภเปนเพศหญิงก็พยายามหาวิธีที่จะใหแทงแบบธรรมชาติ
- ภายหลังสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณและยุวธิดาก็ทะเลาะกันอยางรุนแรง เพราะไมคอย
จะเสนหานางมากนัก แมสามีก็ไมเคยรับยุวธิดาวาเปนสะใภ ไมเคยใหเดินออกงานดวยกัน นอกจากออกงานแคครั้ง
เดียว
- ครั้งหนึ่งแมสามีเคยกลาวกับหลอนวา “ฉันชอบเพชรเม็ดใหญๆราคาหลายรอยลาน” เทานั้นแหละก็เขาใจวา แม
สามีอยากไดเพชรใหญ ราคาหลายรอยลาน
- คิดหาวิธีหาเงินเพื่อตอบสนองแมสามี วิธีเดียวก็คือ “ขายฝุนขาวๆ” ฝุนขาวถูกเย็บเขาที่เสื้อของลูกสาวคน
สุดทอง (ไมเฉลียวใจเลยวา แมจะเปนแขก VIP แตที่อังกฤษก็มีการเช็คเหมือนกัน เมื่อถึงสนามบินก็เลยถูกจับเขาซัง
เต)
- วิธีนี้นอกจากจะกําจัดสะใภไดแลว สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณก็ถือวาโชคดีที่จะไดมี
ภรรยาใหมๆโดยไมมีใครมาขวางคอ
78
พระเทพ : สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา

- เปนลูกสาวคนรองของกษัตริยภูมิพลกับราชินีสิริกิตติ์
- ลือชื่อวาประหยัดมาก (ตระหนี่) พวกทหารยามพูดกันวา ถาใครไดเงินจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาเมื่อไหร
เอาไปแทงหวยถูกแน
- ไมคอยจะตัดเสื้อผา เพราะจะเอาของแมมาใช หรือใชเสื้อผาที่คนเขาบริจาค
- ครองโสด ไมแตงงาน ไมมีสามี ไมเคยมีขาวลือวาเปนเลสเบี้ยน
- เก็บเงินในธนาคารที่สวิตเซอรแลนด บานเดิมของพอ

จุฬาภรณ : ลูกสาวคนสุดทองของกษัตริยภูมิพล

- เปนลูกสาวคนสุดทองของกษัตริยภูมิพลกับราชินีสิริกิตติ์
- สามี (น.อ วีระยุทธ ดิษยะศริน) รูวามีชู จับไดคาหนังคาเขาจึงโดนตบ
- เลยไปฟองสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราลงกรณ (พี่ชาย) จึงเรียกนองเขยมาสั่งสอนใหจนเกือบ
ตายคาเทา และบอกวา “ถามึงไมอยากตายก็ออกไปใหพนจากแผนดินกู” ก็เลยตองยัดเสื้อผาใสกระเปาเรรอนไป
เมืองฝรั่งสักพักใหญๆ
- ปจจุบันนี้ก็แยงสามีของคนอื่นอีกตามเคย เปนหมอที่สถาบันวิจัยจุฬาภรณ ชื่อ รศ.นพ. ชัยชน โลวเจริญกุล
- เปนนักรอง เสียงแจวๆฟงแลวรูสึกเลื่อมใสในคําวา “อนิจจา”
- เปนนักธุรกิจขายซีดี บังคับใหคนที่รูจักซื้อในราคาตามแตจะศรัทธา
- เปนโรคชนิดหนึ่ง ตองถายโลหิตบอยๆ

79

You might also like