You are on page 1of 16

จดหมายขาว วิถีชีวติ เพือ่ สุขภาวะ

www.thaiyogainstitute.com ฉบับเดือน พฤษภาคม 2552

คุยกันกอน 2
ปฏิทินกิจกรรม 2
โยคะวิวาทะ 3
เรื่องประจําฉบับ 5
ชีวิตกับความตาย 5
เลงเลาเรื่อง 7
จิตสิกขา 9
เกร็ดความรูโยคะ 10
แนะนําหนังสือใหม 13
ตําราโยคะดั้งเดิม 14

จดหมายขาว โยคะสารัตถะ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาวะ


ที่ปรึกษา แกว วิฑูรยเธียร ธีรเดช อุทัยวิทยรัตน นพ.ยงยุทธ วงศภิรมยศานติ์ นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
กองบรรณาธิการ กวี คงภักดีพงษ กุลธิดา แซตั้ง จิรวรรณ ตั้งจิตเมธี ณภัทร วัฒนะวงศี ณัตฐิยา ปยมหันต
ณัฏฐวรดี ศิริกุลภัทรศรี ธัญยธรณ อรัณยชลาลัย พรจันทร จันทนไพรวัน วรรณวิภา มาลัยนวล
วีระพงษ ไกรวิทย ศันสนีย นิรามิษ อมรรัตน อัศวนนทวิวัฒน : ภาพปก รัฐธนันท พิริยะกุลชัย

สถาบันโยคะวิชาการ มูลนิธิหมอชาวบาน
201 ซอยรามคําแหง 36/1 บางกะป กทม.10240
โทรศัพท 02 732 2016-7, 081 407 7744
โทรสาร 02 732 2811
อีเมล yogasaratta@yahoo.co.th
เว็บไซท www.thaiyogainstitute.com

สิ่งตีพิมพ

0905 1
สวัสดีครับ ขณะเขียนตนฉบับนี้ สายฝนกระหน่ําลงมาอยางชุมฉ่ํา สับสนเหมือนกันวา ตกลงภาคกลางของประเทศ
ไทยมีกี่ฤดู ฤดูรอนมันหมดเดือนไหน แลวฤดูฝนมันเริ่มเดือนไหน?
สถาบันฯ ทําการปรับปรุงเวบไซท เรานํา สารัตถะ ขึ้นเวบ ใหดาวนโหลดไปอานกันไดเลย พวกเราที่เปนสมาชิกรับจุล
สารนี้ทางไปรษณีย หากมีโอกาสลองแวะเขาไปดูบางนะครับ ใครที่ตั้งใจจะหัดใชอินเตรเนท ลุยเลยครับ ไมตองอิดเอื้อน ใหลูก
เราสอนนี่แหละ สะดวกสุด เทคโนโลยีเหลานี้ เปนเครื่องมือชวยการทํางานเผยแพรโยคะของเราไดเปนอยางดี นี่อีกไมนาน
ขอมูลขาวสารมันจะไปอยูบนโทรศพทมือถือกันหมดแลวนะ บางคนยังใชพีซีไมคลองเลย ☺
เมื่อ 2 วันกอน ทางหมอชาวบาน องคกรตนสังกัดเรา เปรยขึ้นมาวา สถาบันฯ ก็ดําเนินกิจกรรมตางๆ พอสมควรนะ
ทํากันทุกภูมิภาคเลย แตคนไมคอยรูขาวคราว ความเคลื่อนไหว เทาไร ชวนวาใหเราเขียนเปนขาว เลาเรื่อง เพื่อไปลงนิตยสาร
หมอชาวบาน กําลังนัดจะไปคุยรายละเอียด แลวจะรีบมาแจงพวกเรา เหลาเครือขายโยคะทั้งหลาย ผมวาดีนะ ถาสังคมรับรู
ความเปนไปของโยคะเชิงวิชาการที่พวกเรากําลังทํากัน ก็จะมีความเขาใจในแกนของโยคะมากขึ้น และ ที่สําคัญ เราจะไดมีแนว
รวมผูสนใจในการพัฒนาจิตมากขึ้นดวยไง

กลับมาอีกครั้งตามคําเรียกรอง สําหรับผูที่สนใจในโยคะ และ / หรือ ธรรมะ คอรส “โยคะธรรมะหรรษา ครั้งพิเศษ”


ทามกลางบรรยากาศสบาย ๆ และสนุกสนานเปนกันเอง ในแบบวิถีธรรมชาติ โดยทีมวิทยากรโยคะจากสถาบันโยคะวิชาการ
นําทีมโดย ครูกิ๊ม บรรยายและนําปฎิบัติธรรมโดย พระอาจารยเอนก เตชะวโร จากวัดโมกขวนาราม จ.ขอนแกน พระ
อาจารยวิทยากรในแนวทางหลวงพอเทียน
ในวันเสารที่ 30 พฤษภาคม 2552 ณ สถาบันกัลยาราชนครินทร พุทธมณฑลสายสี่ จ. นครปฐม โทรไปถาม
รายละเอียดกันไดเลยที่ ครูกิ๊ม 089-512-8997 krukim@gmail.com หรือ ครูโจ 081-420-4111 chacha_l@yahoo.com

สถาบันโยคะวิชาการ รวมกับ ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสาน


มิตร จัดอบรม หลักสูตรครูโยคะระยะยาว 230 ชม. รุนที่ 9 ประจําป 2552 โดยครูฮิโรชิ - ฮิเดโกะ ไอคาตะ และทีมครูของ
สถาบันฯ ตั้งแตวันที่ 17 กรกฎาคม – 8 พฤศจิกายน 2552 อบรมทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ เรียนสัปดาหละ 4วัน เย็นวันจันทร
พุธ พฤหัส เวลา 17.30 – 20.00 น. และวันเสาร เวลา 7.30 – 13.00 น. คาลงทะเบียน 27,000 บาท รับ 30 คน สอบถามหรือ
สํารองที่นั่งที่ สถาบันโยคะวิชาการ โทร.02 732-2016-7 ในวันและเวลาราชการ หรือที่ machima@ymail.com

เปดอบรม ปราณยมะ เทคนิคการหายใจแบบโยคะ


โดยครูกวี วันจันทรที่ 25 พ.ค. 1 มิ.ย., และ วันอังคารที่ 9, 16, 23, 30 มิ.ย. เวลา 18.00 – 20.00 น. คาลงทะเบียน
1,200 บาท รับจํานวนจํากัดเพียง 10 คน สนใจติดตอสอบถามหรือสํารองที่นั่งที่ สถาบันโยคะวิชาการ โทร.02 732 - 2016-7
ในวันและเวลาราชการ หรือที่ machima@ymail.com

วิชา จิตสิกขา ป 2552 ครั้งถัดไป จัดวันเสารที่ 20 มิถุนายน 2552


สถาบันโยคะวิชาการ ขอเชิญครูโยคะ รวมทั้งบุคคลทั่วไป ผูสนใจการพัฒนาจิตตามแนวทางพุทธศาสนา รวมศึกษา
วิชา จิตสิกขา ที่จะจัดตอเนื่องไปตลอดป 2552 ทุกวันเสารที่ 3 ของเดือน เวลา 7.30 – 12.30 น. ณ หอง 262 คณะ
มนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สอบถามเพิ่มเติมที่ สถาบันโยคะวิชาการ 02 732 - 2016-7

0905 2
ธีรเดช อุทัยวิทยารัตน
วิวาทะวาดวย “สูรยนมัสการ”
วิวาทะในภาษาสันสกฤตมาจากคําวา วิ ซึ่งมาจากคําวา “วิเศษ” แปลวา “เฉพาะ พิเศษ” รวมกับคําวา วาทะ ซึ่งแปลวา “คําพูด ถอยคํา
(การแสดง)ความคิดเห็น”
คอลัมน “โยคะ-วิวาทะ” จึงเปนเชนเวทีสาธารณะใหผูอานโยคะสารัตถะรวมทั้งผูที่เขาชมเว็บไซตของสถาบันโยคะวิชาการทุกทาน ไดบอก
เลาหรือแลกเปลีย่ นแงคิดมุมมอง ความเห็น และประสบการณเกี่ยวกับ(การฝก)โยคะในทุกๆ มิติ อีกทั้งยังมุงหมายใหเปนพื้นทีใ่ นการปุจฉาวิสัชนา
ประเด็นตางๆ เกี่ยวกับโยคะดวย
กองบรรณาธิการโยคะสารัตถะและสถาบันโยคะวิชาการขอเชิญชวนทุกทานเขียนมาบอกเลาแลกเปลีย่ นมุมมองและประสบการณเกี่ยวกับ
โยคะ หรือหากมีขอสงสัยใดๆ ก็สามารถถามไถได เพื่อใหเพื่อนพองนองพี่ในแวดวงโยคะไดรวมกันวิสัชนาในปุจฉาที่ทานถามไถไป
การ “วิวาทะ” และ “ปุจฉา-วิสัชนา” ในวงกวางนาจะมีสวนชวยขยายมุมมองและความรับรูที่มีตอโยคะใหลึกซึ้งและรอบดานขึ้น
คงไมผิดนัก หากจะบอกวา “โยคะ-วิวาทะ” คือคอลัมนใหผูที่สนใจในโยคะผลัดกันเขียนเวียนกันอาน เพื่อให “สายธารแหงโยคะ” ไหล
เลื่อนเคลื่อนไปอยางถวนทั่วและสืบเนื่อง

“มีครูโยคะทานหนึ่งบอกวาสูรยนมัสการไมใชอาสนะ คุณหมอคิดวาอยางไรครับ”
เย็นย่ําวันหนึ่งของเมื่อหกปกอน กัลยาณมิตรรุนพี่ที่สนิทกับผม ซึ่งชวนเพื่อนพองนองพี่กลุมเล็กๆ มาแลกเปลี่ยนเรื่อง
การฝกอาสนะกันมาระยะหนึ่งแลว ถามคําถามนี้หลังจากเสร็จสิ้นการฝกอาสนะในวันนั้น
พลันที่ฟงคําถามจบ ผมคิดออกามาดังๆ ตั้งแตฝกอาสนะมาผมไมเคยนึกสงสัยวาสูรยนมัสการเปนอาสนะหรือไม
หลังจากครุนคิดอยูครูหนึ่ง ผมตอบคําถามดวยการยอนถามวา มันขึ้นอยูกับวาเราใหคําจํากัดความของอาสนะวาอะไร
และเพราะเหตุใดครูทานนั้นจึงมองวาสูรยนมัสการไมใชอาสนะ
แกบอกวาครูใหเหตุผลวาสูรยนมัสการไมใชอาสนะ เพราะอาสนะจะตองนิ่ง ในขณะที่สูรยนมัสการจะมีการเคลื่อนไหว
อยูตลอด
ผมก็เลยบอกวา ถาคิดวาอาสนะจะตองเปนการหยุดนิ่งอยูในทวงทา สูรยนมัสการก็ยอมไมใชอาสนะอยางที่ครูวา
จากนั้นผมจึงแลกเปลี่ยนมุมมองของตัวเองวา เวลาเราคางอยูในอาสนะ อาจดูเหมือนวา เราหยุดนิ่งอยูในทวงทานั้นๆ
ทวาหากสํารวจใหลึกลงไป ผมคิดวายังคงมีการเคลื่อนไหวอยูนั่นเอง
อยางนอยๆ ก็ยังมีการหายใจเขา-ออก ซึ่งหมายถึงวาโครงสรางรางกายสวนที่เกี่ยวของกับการหายใจตองขยับเขยื้อน
ไปตามจังหวะการหายใจ
ไมนับการคอยๆ เหยียดยืดรางกายมากขึ้นในการหายใจรอบตอไป เพื่อที่จะเขาถึงทวงทาใหลึกซึ้งขึ้น
อยาวาแตจะกอเกิดเปนอาสนะหนึ่งได ใชหรือไมวาเราตองเคลื่อนไหวรางกายสวนตางๆ ที่จะทําใหไปสูอาสนะนั้นได
เชน จะทําอุตตานาสนะ 1 เราจะตองเริ่มจากการยืนตรง ยกแขนขึ้น จากนั้นจึงเหยียดยืดรางกายดานหลังโดยการกมไปขางหนา
กระทั่งหลังจากคางอยูในทากมตัวนานเทาที่ตั้งใจแลว ก็ตองยืดตัวขึ้นกลับสูทายืนตรงอีกครั้ง
สําหรับผม อาสนะจึงไมใชการหยุดนิ่งอยางสมบูรณ หรือไรการเคลื่อนไหวโดยสิ้นเชิง พูดใหถึงที่สุด ตราบใดที่ชีวิตยัง
ดํารงอยูหรือสืบเนื่องตอไป ตราบนั้นยังคงมีการเคลื่อนไหว ไมวาจะในการฝกอาสนะหรือในกิจกรรมตางๆ ในชีวิต
บางการคลื่อนไหวเปนการเคลื่อนไหวของโครงสรางภายนอกที่มองเห็นหรือรูสึกไดชัดเจน ในขณะที่บางการ
เคลื่อนไหวก็เปนการเคลื่อนไหวภายในที่ละเอียด
อยางเชนในการฝกอาสนะ คงไมมีใครปฏิเสธวา มาจากการขับเคลื่อนของจิตใจที่ตองการจะทําอาสนะ จากนั้นรางกาย
จึงเคลื่อนไหวตามเจตจํานง พรอมๆ ไปกับการหายใจที่สอดคลองกับทิศทางการเหยียดยืดสอาสนะนั้นๆ
เมื่อถึงอาสนะปลายทาง เราจึงนิ่งคางอยูในทวงทานั้น กอนจะเคลื่อนไหวกลับสูทาเริ่มตนอีกครั้ง

1
อุตตานาสนะ มาจาก อุต แปลวาเต็มที่ ตานะ แปลวา เหยียดยืด และอาสนะ แปลวา ทวงทา อุตตานาสนะจึงหมายถึงทวงทาที่รางกายเหยียดยืดอยางเต็มที่ แตใน
การฝกอาสนะ อุตตานาสนะจะใชเรียกทายืนกมตัว นอกจากนี้คําวาอุตตานาสนะยังสามารถนําไปตอทายคําอื่นๆ เพือ่ แสดงนัยถึงการเหยียดยืดรางกายอยางเต็มที่
เชน ปารศวอุตตานาสนะ ใชเรียกทายืนกมตัวที่เหยียดยืดรางกายทีละขาง เปนตน
0905 3
พูดอีกอยาง ผมคิดวาอาสนะหาใชทวงทาสุดทายของอาสนะนั้นๆ หากเปนกระบวนการหรือการกระทําแหงการ
เคลื่อนไหวที่ตอเนื่อง โดยมีการประสานสัมพันธกันของรางกายทั้งภายในภายนอก ลมหายใจ และจิตใจ
หัวใจของการฝกอาสนะจึงอยูที่การเคลื่อนไหวไปสู ดํารงอยู และออกจากอาสนะ โดยใหรางกาย ลมหายใจและจิตใจ
ประสานกลมกลืนกัน
หรือจะบอกวาทําใหเสนใยแหงรางกาย ลมหายใจ และจิตใจ ควั่นกันเปนเสนดายที่ราบเรียบไปตลอดเสนสายของ
อาสนะก็คงไมผิดนัก
ขอกลับมาที่ประเด็นที่ผมมองวา อาสนะคือกระบวนการของการเคลื่อนไหวที่ตอเนื่องอีกที เวลาที่เรานิ่งคางอยูใน
อาสนะ อาจกลาวไดวาในระหวางการเคลื่อนไหวที่ตอเนื่องนั้น รางกายอาจรั้งอยูในบางตําแหนงแหงที่ – นานกวาการเขาสูและ
ออกจากทวงทา จนดูราวกับวาหยุดนิ่งไมเคลื่อนไหว
ทวาที่จริงแลวยังคงมีการเคลื่อนไหวอันละเอียดดําเนินอยูภายใน หรือจะบอกวาในความนิ่งมีความเคลื่อนไหวก็คงไม
ผิดนัก
ในทํานองเดียวกัน ระหวางที่เราเคลื่อนไหวไปสูและออกจากอาสนะ หรือฝกอาสนะในลักษณะของการเคลื่อนไหวที่
ตอเนื่อง เชน หายใจเขา(หรือออก)พรอมกับเคลื่อนไหวไปสูอาสนะ จากนั้นหายใจออก(หรือเขา)พรอมกับออกจากอาสนะนั้น
กลับสูทวงทาเริ่มตน โดยไมคางอยูในอาสนะนั้น หรือเคลื่อนไหวจากอาสนะหนึ่งไปสูอีกอาสนะหนึ่งอยางตอเนื่อง หากการ
เคลื่อนไหว ลมหายใจและจิตใจหลอมรวมหรือประสานกันอยางกลมกลืน ก็อาจเรียกไดวาในความเคลื่อนไหวมีความมั่นคง หรือ
ความนิ่ง – ในแงที่รางกาย ลมหายใจ และจิตใจยังคงเกาะเกี่ยวกันอยูอยางแนบสนิท
ดวยมุมมองอยางที่กลาวมา ผมจึงคิดวาการทําสูรยนมัสการก็เปนเฉกเชนเดียวกับการทําอาสนะ นั่นคือสูรยนมัสการก็
คือกระบวนการหรือการกระทําแหงการเคลื่อนไหวอยางตอเนื่อง ที่ถูกจุดประกายจากเจตจํานง และมีการประสานสัมพันธกับ
โครงสรางทั้งภายนอกภายในและลมหายใจ
เพียงแตวาในสูรยนมัสการ เราไมรั้งอยูในอาสนะใดอาสนะหนึ่งเทานั้น หรือพูดอีกอยางวาในสูรยนมัสการ เราอาจตอง
คนหาและเขาถึงความสงบนิ่งภายในทามกลางการเคลื่อนไหวของรางกายภายนอก
ในขณะที่เวลาคางอยูในอาสนะใดอาสนะหนึ่ง เราอาจคนพบและเขาถึงการเคลื่อนไหวภายในอันประณีต
แตพูดก็พูดเถอะ ผมไมเคยนึกสงสัยวาสูรยนมัสการเปนอาสนะหรือไม แมจะถูกถามไถดวยคําถามเดียวกันนี้อีก
มากกวาหนึ่งครั้ง ผมก็ยังคงไมติดใจในประเด็นนี้อยูนั่นเอง
ตอนที่ถูกถามเรื่องนี้ในคราวหลังๆ ผมกลับอดกังขาไมไดวา คําตอบสําหรับคําถามวาสูรยนมัสการเปนอาสนะหรือไม
มันนําเราไปสูอะไรกระนั้นหรือ
ใชหรือไมวา ตอใหเราอยากรูวาสูรยนมัสการเปนอาสนะหรือไม และรูวามันเปนอาสนะหรือไม ไมวาจะจากมุมมองใด
หรือจากคําจํากัดความของอาสนะแบบไหน ถึงที่สุดแลว เราควรฝกสูรยนมัสการโดยใหมีการประสานกันอยางกลมกลืนระหวาง
รางกาย ลมหายใจ และจิตใจ ซึ่งคือความหมายของโยคะอยางหนึ่ง
ซึ่งเปนทิศทางอยางเดียวกับการฝกอาสนะที่ผูฝกพึงมุงไปนั่นเอง

หมายเหตุ : ผมเขียนโยคะวิวาทะฉบับนี้เสร็จ ระหวางอยูบนเครื่องบินที่มุงสูเมืองดูไบ สหรัฐอาหรับเอมิเรต หากไมนับชวงที่


เครื่องบินแลนอยางเอื่อยเฉื่อยบนรันเวย จนกระทั่งเรงความเร็วถึงขีดสุดเพื่อทะยานขึ้นเหินฟา เกือบตลอดเสนทางที่เครื่องบิน
ลําที่ผมโดยสาร บินไปในนานฟาอยางราบเรียบประหนึ่งเสนไหม (smooth as silk) สมดังคําขวัญของสายการบินสายนี้
พูดตามจริง หากไมมองผานชองหนาตางออกไปขางนอกและเห็นมานเมฆบางเบาที่ลอยผาน ผมแทบรูสึกวาเครื่องบิน
ลอยนิ่งอยูในอากาศดวยซ้ํา ทั้งที่เครื่องบินบินดวยความเร็ว(ภาคพื้นดิน)มากกวา ๙๐๐ กิโลเมตรตอชั่วโมง ณ ระดับความสูง
ราวสามหมื่นฟุต
ภายในเครื่องบินมีความเคลื่อนไหวเกิดขึ้นตลอดเวลา ภาพยนตรที่ฉายอยูบนจอ ผูโดยสารพูดคุยกัน บางคนก็ลุกเดิน
ไปเขาหองน้ํา แอรโฮสเตสเดินบริการอาหารและเครื่องดื่ม ฯลฯ ทวาเครื่องบินทั้งลํากลับเสมือนหนึ่งลอยนิ่งอยูกลางเวิ้งฟาที่
เปลี่ยนแปลงไป สีสมสวางเรืองรองคอยๆ เปลี่ยนเปนสีมวง น้ําเงิน จนกระทั่งความมืดมิดเขาคลี่คลุมบรรยากาศ

0905 4
ไดมองเห็นและซึมซับอยูกับฉากของธรรมชาติและปรากฏการณรอบตัว ทําใหผมนึกเปรียบเทียบกับเรื่องของอาสนะ
และสูรยนมัสการที่ตัวเองครุนคิดและเขียนออกมา
เครื่องบินบินอยางราบเรียบจนรูสึกราวกับวามันลอยนิ่ง ทั้งที่มันยังคงเคลื่อนไปดวยความเร็วสูง ไมนับการเคลื่อนไหว
ที่เกิดขึ้นภายในตัวเครื่องตลอดเวลา ดูแลวไมตางกับการทําอาสนะที่เราพึงเขาถึงความสงบนิ่งในทามกลางการเคลื่อนไหว
นึกไมถึงวาเดินทางไปดูไบเปนครั้งแรก ผมไดเห็นเครื่องบินทําวิมานาสนะกับตาและหัวใจ

โยคะทาไหน จะ ... ?
John Kimbrough เขียน ธํารงดุล แปล
แปล และเรียบเรียงจาก Yoga and Total Health Vol.LIV No.4 November2008
เมื่อ 2-3 ปกอน ผมไดรับเชิญมาออกรายการโทรทัศนที่กรุงเทพฯ เพื่อสนทนาเกี่ยวกับโยคะ ซึ่งออกอากาศเปนเวลา
30 นาที ชวงหลังอาหารกลางวัน สําหรับผูชมที่มีเวลาอยูบานชวงนั้น ซึ่งเปนประสบการณที่สนุกและนาสนใจ
พิธีกรรายการเปนสาวไทยหนาตานารักอายุราวสามสิบตนๆ ซึ่งเคยเปนดาราภาพยนตรมากอน เมื่อเราถกกันถึงเรื่อง
โยคะ กอนหนาที่จะบันทึกเทปรายการ เธอถามผมเกี่ยวกับโยคะวา “โยคะทาไหนที่จะทําใหคงความสวยไวไดคะ ?“
จากการอาศัยอยูในประเทศไทย และความเขาใจในอาชีพของเธอ ทําใหผมไมแปลกใจเลยที่เธอถามผมแบบนั้น แตนา
เสียดายที่คําตอบของผมไมไดทําใหเธอพอใจสักเทาไร ผมบอกเธอวาสิ่งที่เธอตองการไมสามารถเกิดขึ้นไดจากโยคะเพียงทา
เดียว หลังจากนั้นเธอดูจะหมดความสนใจตอผมและโยคะไปเลย ผมมักจะถูกถามดวยคําถามเดียวกันในประเด็นเรื่องความงาม
ทั้งจากคนไทยและคนจีนในประเทศไทย รวมถึงประเทศอื่นๆในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต
คําถามประเภทนี้บงบอกถึงความยึดติดที่แตกตางกันไปของแตละคน แสดงใหเห็นวาคนเราใหความสําคัญกับสิ่งใดใน
ชีวิต ซึ่งเปนเหมือนกันทั้งที่นี่และประเทศในแถบตะวันตก
หลายครั้งแตละคนตองการรูวามีทาหรือเทคนิคใดที่เฉพาะเจาะจงที่จะแกปญหาที่มีหรือใหเกิดผลอยางที่ตองการ
ความจริงแลวในโรงเรียนหฐโยคะรุนใหมมีการปราศรัยถึงประเด็นเหลานี้ลึกลงไปในรายละเอียด โดยมุงเนนในแงของ
รางกาย และจิตใจ แตโยคะเปนศาสตรแบบองครวมทั้งในแงของวิทยาศาสตรและการปฏิบัติ ซึ่งลึกซึ้งกวาจะพูดถึงเพียงแงของ
ผลที่ตรงกับความตองการ โดยเฉพาะอยางยิ่งถาเรื่องนั้นดูเหมือนกับวาจะปราศจากประโยชน
เราเริ่มลองดูถึงการปฏิบัติโยคะ ที่ไมใชเพียงแคทําทาไหนแลวจะทําใหเกิดผลอยางนี้ หรืออยางนั้น แตเราสนใจวาเรา
ไดเรียนรูและทําอะไรบางในวันนี้ที่จะเติมเต็มชีวิตใหกับเราหรือผูอื่นแทน ซึ่งมีแนวทางที่หลากหลายที่เราสามารถที่จะทําได
ทางหนึ่ง คือการแบงปนสิ่งที่เราไดเรียนรูจากการฝกฝนโยคะของเรา อีกทางหนึ่งมาจากการชี้แนะถึงที่มาและตนทุน
ภายในของแตละคนที่จะชวยใหเขาสามารถคนหาและสรางแนวทางการฝกฝนเฉพาะตัว สวนอีกทางหนึ่งมาจากความชวยเหลือ
จากพวกเราที่จะรับฟง ใหคําแนะนํา และเสริมสรางกําลังใจ
มีหลายทางที่เราสามาถทําไดในชีวิตประจําวันที่จะรัก และอยูรวมกับผูอื่น อยางผาสุก แลวโยคะทาไหนที่ดีที่สุด
สําหรับเรา การไดรับในสิ่งที่เราตองการ? อะไรคือสิ่งที่เราตองการละ? ความสมดุล ความผสานกลมกลืน และสันติภาพ? การ
มองเห็นจากภายใน การเจริญเติบโต และ ความเขาใจ? ความผอนคลาย ความมั่นคง และ ความสงบเยือกเย็น? ความไม
เปลี่ยนแปลง พลังงาน และ ความจดจอ? จิตใจที่เต็มเปยม และความสุข? เหลานี้คือสิ่งที่เราควรจะไดรับทั้งหมด

ดล เกตนวิมุต
บทที่ 6
“เขาใจความเปนจริงของชีวิตจากความตาย”

ในการลงพื้นที่ฝกงานดูแลผูปวยทางดานจิตใจ ไดมีโอกาสพบกรณีศึกษาของครอบครัวหนึ่งที่มีลูกปวยอยูในระยะ
สุดทายในหอง ICU คุณพอมีตองการการตอบสนองของลูกวัย 12 ที่อยูหอง ICU ที่ไดมีโอกาสเขาไปเยี่ยมลูกตามที่ไดรับ
0905 5
อนุญาต ดวยความเปนหวงในอาการของลูกที่เปราะบาง ออนเพลีย คุณพอมักจะถามลูกวาสูไหม สูไหมลูก ถาสูยักคิ้วใหพอ
หนอย เมื่อเราเห็นวาควรทําหนาที่เปนกระจกสะทอนใหคุณพอเห็นวาความเปนจริงที่เกิดขึ้นวา นองนาจะเหนื่อย ลืมตายังไม
ขึ้นเลย จึงไดชวนคุณพอคิดถึงคําถามที่ตองการคําตอบจากนอง อาจไปเพิ่มภาระ หรือรบกวนเวลาพักของนองหรือเปลา ดังนั้น
เราอาจเปลี่ยนคําถามเปนการใหกําลังใจซึ่งกันและกันแทนวา สูนะลูก พอสูอยูขาง ๆ กับลูกนะ เปนความหมายเดียวกัน ตางกัน
ที่เปนประโยคคําถามแลวตองการคําตอบ กับเปนประโยคบอกเลาใหกําลังใจผูปวย และใหกําลังผูพูดใหเขมแข็งไปดวย คุณพอ
คุณแมรูสึกขอบคุณมาก ในฐานะที่เราไปชวยเปนกระจกสะทอนใหเห็นวา กรณีนี้ ผูดูแลและผูปวยใกลกันมากจนเกินไป
ตองการการตอบสนองในเวลาที่อาจรบกวนการพักผอนของผูปวย สุดทายหลังจากนั้นไมกี่วัน นองไดผานชวงเวลาอันสําคัญ
ที่สุดของชีวิตอยางงดงามเทาที่เด็กอายุ 12 คนหนึ่งจะมีได สัญญาณชีพของนองดับลงในทันทีที่เสียงสวดมนตสุดทายโดย
พระคุณเจาที่ทานดูแลนองมาแตตนจบลง ทําใหพื้นที่ของความเสียใจอยางใหญหลวงไมไดครอบคลุมหัวใจที่แตกสลายไป
ทั้งหมดแตยังมีพื้นที่พิเศษที่เปนมรณกรรมอันงดงามของลูกใหไดเห็นตอหนาตอตาเก็บไวเปนความทรงจําที่ดีตอพอแมทั้งตอน
ที่วินาทีแรกที่แกลืมตาดูโลก และวินาสุดทายที่แกปดเปลือกตาลง
ในตอนเชาถัดจากวันที่นองจากพวกเราไป ขาพเจาไดมีโอกาสไปชวยรับศพนองกับพระคุณเจาเพราะทานมีความ
ประสงคจะนําศพนองกลับบานที่จังหวัดตราดตามที่คุณพอคุณแมไดนิมนตทานใหชวย เมื่อไปถึงที่รับศพ เห็นสภาพศพนอง
สวยงาม ใบหนาดูสงบ ในชวงตอนรับศพผานพิธีกรรมจุดธูปบูชาพระรัตนตรัย นิมนตพระคุณเจาสวดบังสุกุล จุดธูปขอทางเจาที่
เจาทาง เรียกวิญญาณใหตามพระไป ตลอดทางดูแลตะเกียงไมใหดับ ระหวางทางพอแมโปรยเหรียญเมื่อผานสะพาน ทางโคง
ขอเจาที่เจาทาง ถึงทางแยก เลี้ยวซาย เลี้ยวขวาใหบอกตลอดทางจากกรุงเทพ-ตราด ชวงเวลาที่อยูในรถตู พระคุณเจานั่งหนาคู
คนขับ พอแมปานั่งเบาะแถวแรก และมีเกาอี้ 1 ตัวอยูขา งโลงศพของนอง เปนที่ที่ขาพเจานั่ง เมื่อรถเริ่มเคลื่อน พอแมจะเหลียว
หลังมาดูลูกตลอดเปนระยะ ๆ ดวยความที่รถขับเร็วมากดวย และทุกครั้งที่ผานแยก เลี้ยวซายขวา ขึ้นสะพาน ผานอุโมงค จิตใจ
พอแมจะจดจออยู เหลียวหนา พะวงหลัง ตลอดเวลา ขาพเจาจึงเอามือขางขวาวางไวบนโลง เหมือนคอยประคองไวและนั่งอยู
ในอาการสงบตลอดทาง รูสึกพอแมอุนใจขึ้นบาง มีพระนําทาง มีคนประคองหลัง ตอนนั้นไมตองมีคําพูดใดใดมาปลอบประโลม
เพียงแตใหอยูกับเขาขาง ๆ ในสิ่งที่เขาเปน นั่นคือ เหรียญที่เตรียมมาเริ่มหมด เพราะระยะทางไกลมาก ขาพเจาสังเกตเห็น
อาการวิตกกังวลของคุณพอ เริ่มคํานวณวาเหรียญจะพอไหม ขาพเจาจึงหาเหรียญในกระเปาที่มีทั้งหมดสมทบไปให ที่ใหไป
ไมไดเชื่อตามความเชื่อวาโปรยใหเจาที่เจาทางเพื่อขออนุญาตใหศพผาน แตใหไปเพราะเขาใจตามความเปนจริงในสิ่งที่พอแมผู
สูญเสียลูกในตางถิ่น ที่ไมใชบานเกิดเมืองนอน แลวตองทุลักทุเลนําลูกนําลูกกลับบานในสภาพที่ไมมีชีวิตดวยหัวใจอันปวดราว
จนกระทั่งการเดินทางสิ้นสุดลงที่บานเปนไปตามความประสงคของนองที่พอไดสัญญาไววาจะพากลับบาน คุณพอจึงทําพิธี
บําเพ็ญกุศลศพลูกที่บาน ไดมีโอกาสไดสัมผัสขาวของเครื่องใช รูปถาย หองนอน ของนองเมื่อครั้งยังมีชีวิตอยู และเมื่อมีโอกาส
คุยพอไดคุยเรื่อยพิธีกรรม ความเชื่อ ในเรื่องการโปรยเหรียญกับพระคุณเจาจนคุณพอมีความเขาใจในที่สุด เพราะตอนนั้นใคร
ใหทําอะไรก็ทําตาม ๆ ที่เขาบอก ทําใหเกิดกระบวนการปรับทัศนคติเกี่ยวกับความตาย โดยพระคุณเจาทานไดชวนคิดวาการที่
โปรยเหรียญไปตามทางแยก ทางโคง ขึ้นสะพานเปนกุศโลบายที่เปนการเตือนตัวไมใหประมาท จะไดเดินทางถึงบานโดยสวัสดิ
ภาพ ขาพเจาเห็นเพิ่มเติมในเรื่องของพิธีกรรมความเชื่อหากเรามองวาเปนกุศโลบายที่ภูมิปญญาโบราณมอบไวใหนั่นคือ ใน
ตลอดทางเกือบ 4 ชั่วโมง พื้นที่ของความเสียใจไดถูกแบงเบาไปกับการที่คุณพอคุณแมไดมีสติจดจอกับถนนหนทาง บดบัง
พื้นที่ของความเจ็บปวดจากความสูญเสียใหเบาบางลงไดบาง สิ่งที่ไดเรียนรูอีกอยางคือ จิตใจของขาพเจาไดถูกขัดเกลา ความ
อยากได อยากมี ปลงในความเปนอนิจจังมากขึ้น
จากกรณีที่เราเห็นถึงความใกลกันระหวางผูปวยกับญาติกันมากเกินไป ก็มีกรณีที่เห็นถึงความหางกันมาก ๆ ของ
ผูปวยกับญาติดวยเชนกัน คุณยายทานหนึ่งใชชีวิตอยูตัวคนเดียวมาตลอดจนกระทั่งมีอาการปวยและทรุดลงจนอยูในขั้นสุดทาย
จึงถูกนําตัวสงโรงพยาบาล มีลูกสาวที่อยูตางประเทศแตไมมีความผูกพันกันเพราะแยกกันอยูตั้งแตเด็ก ๆ เมื่อทราบวาแมปวย
ระยะสุดทายแลวก็ไดบินกลับมาทําหนาที่สุดทายที่พึงทําดวยจิตสํานึกตอผูใหกําเนิด สําหรับขาพเจาแวบแรกที่รูสึกขึ้นมาจาก
การที่ไดพบคุณยายครั้งแรก คือรูสึกตกใจเพราะไมคิดวาจะมีมนุษยที่ยังมีลมหายใจอยูแตสภาพรางกายนาทุกขเวทนาไดถึง
เพียงนี้ หากจะใหเทียบสิ่งที่เห็นตรงกับความรูสึกจริง ๆ คงตองบอกวาเหมือนเห็นซากศพที่ยังมีลมหายใจอยูอยางรวยริน
รางกายเหี่ยวยน ดํา นันยตาเหลือกเปนระยะ ๆ กลามเนื้อใบหนาเกร็งตัวบงบอกถึงอาการวิตก กังวลใจอะไรบางอยางอยู
ตลอดเวลา พูดไมได ไดแตรองเสียงครางในลําคอ ฟนบนยื่นออกมาครอบริมฝปากลาง มือขวาจับราวเตียงไวแนน และมีลูกอยู

0905 6
ขางเตียง ขาพเจาเขาไปพูดคุยใกล ๆ ดวยความออนโยน คุณยายอยากสื่อสารดวยไดแตสงเสียงคราง ๆ ใบหนาสะทอนถึง
ความหวงวิตกกังวลบางอยางใหเห็นตลอดเวลา จึงชวนลูกสาวคุณยายคุยถึงอาการหวงวิตกกังวังวลของคุณยายที่ปรากฎอยาง
ชัดเจน ลูกสาวก็รูสึกเหมือนกัน ที่ผานมาก็ไดแตพูดปลอบบอย ๆ เหมือนกันวาไมตองหวงนะ ไมตองหวงอะไรทั้งสิ้น ทําใจให
สบาย แตก็ไมเห็นอาการวิตกกังวลลดลงเลย ก็เลยลองถามวาคุณยายนาจะหวงอะไรอยู ลูกสาวพยายามนึกก็ไมเห็นมีอะไร
ทรัพยสมบัติก็ไมมี ก็มีแตบานที่แมเคยอยู กับแมวที่เลี้ยงไว ขาพเจาจึงชวนลูกสาวคุณยายเลาใหคุณยายเห็นเปนภาพวาที่บาน
ใครดูแลทําความสะอาด ใครรดน้ําตนไม ใครคลุกขาวใหแมวกิน ลองคลี่คําวาไมตองหวงใหคุณยายมองเห็นเปนภาพชัดเจนมาก
ขึ้น ลูกสาวรับคําวาไวจะลองคุยดู ขาพเจาไมรอชาชวนลูกสาวลองทําเดี๋ยวนี้เลยดีไหม ปรากฎวาเห็นผลทันทีตอหนาตอตากับ
สิ่งที่เรียกวากรรม หรือการกระทํา ใบหนาคุณยายผอนคลายลงทันที สงบลง มือที่จับราวเตียงปลอยวางลง สงเสียงตอบรับ
แสดงการรับรู ลูกสาวแสดงความขอบคุณขาพเจาทั้งที่ขาพเจาไมไดทําอะไรเลย เราอยูตรงนั้นในฐานะแคเปนกระจกสะทอน
ความเปนจริงแลวพลิกใหเห็นศักยภาพทั้งตัวผูปวยและผูดูแลในอันที่จะปลดเปลื้องงานคางใจเพื่อจะไดมีโอกาสทําตามหนาที่
อยางสมบูรณ และเห็นทิศทางการเยียวยาซึ่งกันและกัน หลังจากนั้นไมกี่วันคุณยายก็จากไปตามวาระของชีวิต

ล.เลงเสียงกระดิ่งหยก (ไมใชมังกรบิน)
เรา (ยัง) มีทางเลือก

๑. ปวดหัว
ก. กินยาพาราฯ ๒ เม็ด ดื่มน้ําตาม ในกรณีรีบดวน
ข. ไปสระผมที่รานตัดผม ปลอยใหมือนุมๆ ของชางสระผม ดําเนินการปลดปลอยความเครียด และ อาการเกร็งตัวของ
กลามเนื้อ เสนเลือด เสนประสาท...ใหคลายออก ใหน้ําเย็นๆ ชําแรกผานเสนผมไปยังหนังศีรษะ ปลอยตัว...ปลอยใจ
ใหสบาย (ราคาไมเกิน ๑๐๐ บาท)
ค. ไปนวดหนาที่รานเสริมสวย หรือที่เคานเตอรเครื่องสําอางในหางสรรพสินคา แลวแตวาที่ใดจะใกลกวา (ที่หางเอมพอ
เรียม สุขุมวิท ๒๔ มีหองนวดหนาเฉพาะ อยูที่ชั้นใตดิน) เผลอๆ ไดหลับไปสัก ๑ งีบ กอนกลับมาโหมงานที่นอนรอ
เปนตั้งอยูบนโตะทํางาน (ราคาก็เปนไปตามยี่หอ เครื่องสําอาง ถาเปนคลาเร็นของฝรั่งเศส ก็แพงหนอย แตหอมดี
คนขายเอสเต ลอเดอรก็นวดเกง แตถาเจอคนขายที่นวดไปก็พูดไป...ไมยอมหยุด...ก็แยหนอยนะ)
ง. นั่งรถไฟฟา ไปหาหมอจีนชื่อหยาง ฉวน หยวน ที่ รพ.หัวเฉียว – แผนจีน ตรงขามตลาดโบเบ นวดหัว - บา - ไหล
แลวเอางานที่คางอยูกลับไปทําตอที่บาน โชคดีไดเจานายใจดี ใหสงงานกลับมาทางอีเมลl ได (ราคา ๕๐๐ บาท
โดยประมาณ)
จ. เอาใบยานาง(ที่กินกับหนอไม) และ ใบหมอนอย (ใบรูปหัวใจ มีขน) ขยํากับน้ําเปลา แลวเอาน้ําที่ไดมาโปะหัว...ทา
ผมใหทั่วๆ...เอาผาคลุมผม จากนั้นไปนอนพัก ๓๐ นาที กากที่เหลือเอามาโปะหนาผาก หรือที่เปลือกตา (ถามีตนไม
ทั้ง ๒ อยูในบานแลว ก็ไมเสียเงินสักบาท ...ถาไปซื้อที่ตลาดมีแตยานางกําละ ๕ บาท หมอนอยไมมีขาย...ถาหาอะไร
ไมไดเลย เอาแตงกวา กับผักบุง..ตําเอา หรือใสเครื่องปนก็นาจะได...ยังไมเคยใช...ใครใชแลวชวยมารายงานผลดวย)

๒. รอนใน... ก็เลยเปนแผลในปาก ตกดึกตองลุกมาเขาหองน้ําชวงตอน ๔ ทุม ถึง ตี๒ รบกวนเวลานอน นอนหลับก็ไม


สนิท ตื่นมาเพลียๆ หนังตาหนักๆ แบบคน...นอนเทาไรก็ไมรูจักพอ กลางวันก็หิวน้ําบอย กินน้ําบอย เขาหองน้ํา
บอย หูอื้อ...ฟงอะไรก็ไมคอยไดยิน นึกวาน้ําเขาหู เอาไมพันสําลีไปเช็ดก็ยังไมไดยิน
ก. ไปหาหมอครั้งแรกเพราะหูอื้อ หมอเลยดูขี้หูออก โดนไป ๕๐๐ บาท...ผานไปอีก ๓ เดือน หูอื้ออีกแลว หมอบอกวาจะ
ใหกินยาชวยลดการผลิตขี้หู เพราะคนปกติเคามาดูดขี้หูกัน ๖ เดือนครั้ง นี่มันแค ๓ เดือนเอง ทําไมขี้หูมันถึงได
ผลิตกันเร็วนัก...ไมอยากกินยาเลยบอกหมอวาอยาสั่งยาเลย...หมอนารัก...ยอมตามคําขอ อยูไปอีก ๓ เดือน หูอื้ออีก
แลว คราวนี้มีของแถม เจอตัวออนของเชื้อราดวย...อี๋.... ครั้งนี้คาดูดขี้หู และคายาแกเชื้อรา รวมทั้งยาละลายขี้หู ปา
เขาไป ๗๐๐ บาท
0905 7
ข. กินยาจีน แกรอนใน Zhi Pai Pa Wei Yuan วันละ ๒๔ เม็ด กินไป ๔๐๐ เม็ด ถึงจะครบสูตร ในระหวางที่กินยา ถา
อาการดีขึ้น ก็กินบางไมกินบาง หมอก็รู...แตไมเห็นวาอะไร (คายาขวดละ ๑๐๐ บาท มียาจํานวน ๒๐๐ เม็ด)
ค. กินผักฤทธิ์เย็น เชน ยานาง แตงกวา ผักบุง น้ําเตา บัวบก เฉากวย หยวกกลวย ใบเตย หาอะไรไมไดเลยกินถั่ว
เขียวไมใสน้ําตาลก็ได (ถือวาเปนคาซื้อกับขาวประจําวัน เลยไมนับรวมเปนคาใชจายในการรักษาโรค...ก็แลวกันนะ)
ง. ไปหมักโคลนเย็นๆ ไปแชสะโพกในน้ํา แบบที่ประเทศอินเดียเคาชอบทํากันในโรงพยาบาลธรรมชาติบําบัด ถาเปน
แบบคนไทยก็มี...เอาดินสอพอง ผสมน้ําแชผงถาน และ น้ําซาวขาว โปะหนาแกสิว แตถาทิ้งไวนานเกินไป ระวังผง
ถานเขาไปอุดรูขุมขน...ทําใหหนาดํา...ซึ่งก็ไมดําถาวรหรอก...อีกสักพักก็หาย (ปลอบใจ)
จ. ในที่สุดแลว เมื่อเหตุปจจัยพรอม ก็ไดเวลาไปคายธรรมชาติบําบัด ๑๐ วัน (เดือนเมษายน) ที่บานหมอเขียวจังหวัด
มุกดาหาร มีคาใชจายเฉพาะคารถ และคาชอปปง นอกนั้นก็แลวแตวาใครจะบริจาคชวยกันตามกําลังศรัทธา เพราะ
ชาวบานบางคนแคหาคารถมาใหได ก็ลําบากแลว ผานไป ๑๐ วัน อาการรอนในก็ดีขึ้น แถมน้ํามูกที่มีทุกเชา ก็
ลดลง

๓. เครียดจากการทํางาน ปวดทอง...เปนโรคกระเพาะ บางคนกระเพาะก็เปนรู ที่เรียกกันวา... Ulcer แลว ...บางคนก็


ลําไสพันกัน... ตื่นมาอาเจียนทุกวันตอนตี ๒ (ชวงกระเพาะหลั่งน้ํายอย แตไมมีอาหารใหยอย มันเลยยอยผนัง
กระเพาะอาหารซะเลย) นอนไมหลับเพราะปวดทอง บางทีก็เก็บเอางานมาฝนตอ มีงานและเจานายเปนผี...คอย
หลอกหลอนทั้งยามหลับและยามตื่น
ก. กินยาแกโรคกระเพาะ ตั้งแต Alamilk Miracid Ulsanic Omeprazole กินมานานหลายเดือนไมหายสักที
(จริงๆ กินมาตั้งแตอายุ ๒๐ แลว... ไมอยากนับเลยวามันกี่ปแลว) หมอเลยบอกใหไปทํา Gastro scope สองกลองเขา
ทางปาก ไปแอบดูขางในกระเพาะสักหนอย ทําไมดื้อ-ดาน ไมยอมหายสักที สองไปเจอแบคทีเรีย ชื่อ H. Pyroli เอา!
เอายาฆาเชื้อไปกินอีก ๓๐ วัน กวาเชื้อโรคจะตาย คนกินอาจตายกอน (คารักษามากมายมหาศาล จนคิดไมถูก และ
พอดีบริษัทประกันฯ จายให เลยไมไดคิดเอาไว...แคสองกลองอยางเดียวก็เปนหมื่นแลวมั้ง)
ข. ลดเวลาทํางานจาก ๗ วัน เปน ๕วัน หรือแคเสาร-อาทิตย ๒วัน...ถาคุณเปนหมอฟน ดีเจ หรืออาชีพอื่นที่เลือกเวลา
ทํางานได
ค. ฝกโยคะทุกวันหลังเลิกงาน เพื่อปลุกระบบประสาทผอนคลาย (Parasympathetic Nervures System) ใหฟนคืนชีพ
และบอกตัวเองทุกวันวา ...เลิกงานแลว...พักไดแลว ถึงคิดและเครียดตอ...ก็ไมไดโอที แลวจะคิดไปทําไมวา
ง. เดินไปตลาด ซื้อกระเจี๊ยบเขียว ๑๐ บาท มาตมกิน กินมันฝรั่งตมบาง กลวยน้ําวาดิบ ทั้งที่เปนแบบกลวยสด และที่
เปนแคปซูลของสันติอโศกก็ได แตกินมากระวังทองอืด ตองกินขมิ้นชันเขาไปชวยยอย บางคนก็วาขมิ้นชันก็รักษา
โรคกระเพาะได เลิกกินของทอด ของมัน และเนื้อสัตว (ชั่วคราว) เพื่อชวยใหกระเพาะอาหารทํางานนอยลง มันจะได
พักผอนเสียบาง
จ. ลาออกจากงาน...อันนี้ขอใหเปนทางเลือกสุดทาย เพราะไมมีงานก็ไมมีเงิน...เดี๋ยวจะเปนโรคซึมเศราแทนโรคกระเพาะ
ยกเวนวา ถาทํางานตอไป ไมไหวจริงๆ ก็รักษาชีวิตเราเอาไวกอนดีกวา...บริษัทคงไมเจง เพราะไมมีเราหรอก อยา
สําคัญตัวเองผิดขนาดนั้น...

๔. เจ็บตา เพราะตาแหง จองจอคอมพิวเตอรมากเกินไป ยิ่งทํางานในหองแอรยิ่งตาแหง


ก. ไปหาหมอตา เอาน้ําตาเทียมมาหยอด หยอดไปหยอดมาหลายอาทิตยก็ไมหาย ก็เพราะยังทํางานเดิม และ ที่เดิม (ที่
ที่เปนทางออกของชองแอร คนที่อยูในอาคารที่ใชระบบแอรรวม คงจะรูวา ตําแหนงนี้หนาวเย็นและความแรงของแอร
ประมาณนองๆ ขั้วโลกเหนือทีเดียว...เอากระดาษไปปดก็ไมได ชาวบานแถวนั้นเคาบนวารอน...เฮอ! กรรมเวรจริงๆ)
จากอาการตาแหง เริ่มเขาสูระยะปวดกระบอกตา จากนั้นเริ่มปวดทั้งหัว(ศีรษะ) และ ตาทุกวันที่ตองมาทํางาน จนหมอ
ไมรูจะรักษายังไงเลยใหกินยาแกปวดไวตั้งแตกอนนอน (หมอเรียกวา...ยากันปวด...ไมใชยาแกปวด...แลวมันตางกัน
ตรงไหนกันนะ...พระเดชพระคุณ) เดินเขาเดินออก รพ.อยู ๖ เดือน หมอตา...คงเบื่อหนา เลยสงไปใหหมอศัลยกรรม
0905 8
ประสาทเคาสแกนสมอง เปนการสแกนแบบตองฉีดสีเขาไปกอน เนื่องมีประวัติเปนภูมิแพ แพทั้งอากาศและ อาหาร
ทะเล หมอกลัวแพสีที่ฉีด จึงตองไปกินยากดภูมิไวกอน ๗ วัน ถึงจะมาฉีดสีเขาไปในรางกายได
เฮอ! ยิ่งรักษายิ่งหมดแรง แตก็ตองรักษาตอไปเพราะไมมีทางเลือกที่ดีกวานี้ (นอกจาก...เลิกทํางาน วันไหนอยู
บาน ไมตองใชคอมพิวเตอร ไมอยูหองแอร ไมเห็นมันจะเจ็บตาเลย)
ในที่สุด...ไดสแกนแลว ...แอน แอน แอน...แตไมเห็นเจออะไร...เอานา ไมเจออะไร ก็ดีแลวนี่...อยากใหเจอพยาธิใน
สมอง...แบบพี่ที่ทํางานโตะขางๆ หรือไงกัน สรุปวาเดินเขาเดินออก รพ. อยู ๖ เดือน ก็รักษาไมหาย จนในที่สุด เลิก
ทํางานในสํานักงานแลว ไดเวลาพักตา มันก็หายเจ็บเอง เย!!! แตถาใชคอมพิวเตอรเยอะๆ อีก มันก็เจ็บอีก
ข. ไปคายหมอเขียว (คายธรรมชาติบําบัด ตอนนี้มีชื่อใหมวา เปนคายรักษาโรควิถีพุทธ) กินอาหารฤทธิ์เย็น เลิกกิน
อาหารฤทธิ์รอน(ชั่วคราว) และทําอะไรอีกหลายอยางเพื่อขจัดพิษรอนออกจากตัว ไปคาย ๕ วัน อาการเจ็บตา (และ
เจ็บคอ) ก็ดีขึ้น แตตองระวังวาจะทองอืด เพราะ เจอฤทธิ์เย็นเกินไป จากรอนตีกลับเปนเย็น ใครเคยอานหนังสือ
กําลังภายในคงคุนเคยกับสํานวนแบบนี้ดี ไปคายหมอเขียวมา ๖ ครั้ง ปรับไปปรับมา (สมดุล รอน-เย็น) จนพอรูทาง
กันวา ถาเรารอนไป...ตองแกยังไป ถาเย็นไปตองทํายังไง

เพื่อนบางคนก็วาดี มีเซนเซอรที่ละเอียด คอยตรวจจับ อาหารที่ไมดีกับรางกาย เชน ผงชูรสในอาหาร พอกินพวกของทอด


แฮมเบอรเกอร บะหมี่ซองฯลฯ ก็จะเปนตุม เปนผื่นขึ้นที่ผิวหนัง...เรียกกันวารางกายขับพิษออกมา...เคาก็ใหเอายาหมอง หรือ
น้ํามันเขียวที่ไดมาจากคายทาลงไป...แลวทั้งตุมทั้งผื่นก็จะยุบลง
บางคนก็วาละเอียดขนาดนี้ไมดี นารําคาญ... ก็วากันไป... แตพอ ออกจากคายมาไดสักระยะ อาการละเอียดเกินเหตุนี้ก็
อาจจะบรรเทาลง
สําหรับ คนที่เปนมะเร็ง เนื้องอก เบาหวาน ความดัน ไขมันในเลือดสูง และอีกหลายโรคที่รักษาไมหาย แลวรูสึกวาการ
ดูแลตัวเองตัวเองแบบหมอเขียวทําใหอาการดีขึ้น (ซึ่งมีจํานวนมากกวา ๘๐ เปอรเซ็นต) ก็จะใชวิธีการ โดปยาเย็นตอไป
เพราะมันเปนวิธีที่มีคาใชจายนอย และ ไมตองเขาแถวรอหมอตรวจที่ รพ. เปนชั่วโมง แลวก็ไดตรวจแค ๕ นาที
สําหรับคนที่ใชวิธีนี้รักษาแลวไมไดผล เราก็จะไมเจอเคาอีกตอไป (ฮา)
ใครสนใจอยากรูรายละเอียดในการไปคายหมอเขียว (ซึ่งเคาไมเก็บเงินคาใชจาย ยกเวนวาเราจะบริจาคเอง ตามศรัทธา)
ก็โทรไปถามนองบอมบที่สํานักงานได นองบอมบก็ไปมาแลว แตระวังวาบอมบจะชวนใหซื้อของ...เปนคาตอบคําถามนะ (ฮา)
แตเวลาจะสมัครไปคายจริงๆ ตองโทรศัพทไปจองที่ โรงพยาบาลอํานาจเจริญ โทร ๐๔๕-๕๑๑๙๔๑-๙ ตอ ๑๒๒๑

อยากศึกษาธรรมะ จะเริ่มยังไง?
กวี เรียบเรียง
มีคําถามเขามาจากเพื่อน อยากศึกษาธรรมะ และฝกวิปสสนา จะเริ่มยังไง? ผมลองเสนอดังนี้
เมื่อตอนที่เราสนใจที่จะดูแลตนเอง มีประกาศเรื่องการอบรมโยคะเต็มไปหมด เราเริ่มสนใจโยคะละ ก็หาหนังสือมา
อาน บางทีไปสัมนาตางจังหวัด เขาฝกโยคะกัน เราก็ไปรวมฝก ไปลองชิม จนบอกกับตัวเองวา เออ ชอบแฮะ คราวนี้ก็ศึกษา
จริงจัง ตัดสินใจเลือกคอรสอบรมที่นาจะเหมาะกับตัวเอง ไปเรียน กลับบานก็ฝกสม่ําเสมอ เริ่มใหความสําคัญกับโยคะมากขึ้นๆ
จนเริ่มนําโยคะมาเปนตัวตั้งในชีวิต จะตัดสินใจอะไร โยคะมากอน อยางอื่นไวทีหลัง สนใจโยคะมากขึ้น ขวนขวายศึกษามากขึ้น
ไปอบรมเพิ่มเติม ยิ่งถาเจอครูที่ถูกคอ ยิ่งกาวหนา พบวาตนเองมีพัฒนาการเชิงกาวกระโดดเปนชวงๆ จนโยคะกลายเปนนิสัย
หลักของชีวิต และก็ดําเนินวิถีโยคะตอเนื่องไป ... (จนกวาจะถึงโมกษะมั้ง)
เมื่อสนใจที่จะพัฒนาจิตก็เชนกัน ในสังคมมีพระผูปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบเต็มไปหมด อยูมาวันนึง เราเริ่มสนใจ ก็เริ่มหา
ขอมูล คุย อานหนังสือ ฟงซีดี อาจมีโอกาสไดปฏิบัติธรรมกับเขาบาง จนบอกกับตัวเองวา เออ นาสนใจแฮะ นาจะมีประโยชน
กับชีวิตเรานะ คราวนี้ก็เริ่มศึกษาจริงจัง หาแนวทางปฏิบัติที่นาจะเหมาะกับตนเอง (ซึ่งจะกลาวตอไป) แลวก็เริ่มฝก เริ่มให
ความสําคัญกับการพัฒนาจิตมากขึ้น จนเอาการปฏิบัติธรรมมาเปนตัวตั้งของชีวิต จะตัดสินใจทําอะไร ใหสิทธิ์การพัฒนาจิต

0905 9
กอน อยางอื่นเริ่มผัดผอน ถาชนกัน ตองติดทิ้งก็ยอม สนใจพัฒนาจิตมากขึ้น ขวนขวายศึกษามากขึ้น อบรมเพิ่มเติม ยิ่งถาเจอ
พระ เจอหนังสือ เจอศูนยปฏิบัติธรรมที่ถูกคอ ยิ่งกาวหนา พบวาตนเองมีพัฒนาการเชิงกาวกระโดดเปนชวงๆ จนการพัฒนาจิต
กลายเปนนิสัยหลักของชีวิต ยึดวิถีธรรมเปนเครื่องดําเนินไปอยางตอเนื่อง ในระหวางนั้น เกิดฉุกใจ นี่เราประมาทอยูหรือเปลา
เมื่อไตรตรองอยางถี่ถวน โอ เราประมาทมาก ก็เรงความเพียร จนกวาจะถึงนิพพาน
ถาจะวาไป การเริ่มตนปฏิบัติธรรม ไมตางไปจากการเริ่มตนฝกโยคะ จริงๆ แลว การเริ่มตนทํากิจกรรมที่เปนการเดิน
ทางเขาสูดานในทั้งหลาย ก็ลวนเปนเชนนี้ พูดงายๆ ก็คือ ลุยไปไดเลย เราเคยเริ่มโยคะไดสําเร็จ เราก็เริ่มปฏิบัติธรรมไดใน
ทํานองเดียวกัน
โยคะมีหลายครู หลายโรงเรียน ตอนเริ่มเลือกเราก็งงๆ การปฏิบัติธรรมมีหลายอาจารย หลายนิกาย เราก็งงๆ เชนกัน
แตสังเกตดูสิ ทําไมเราไมไปเรียนโยคะกับอาจารยคนนั้นคนนี้ ทั้งๆ ที่ใครๆ ก็พูดถึง เพราะเคมีมันไมตรงกัน เชนกัน เริ่มปฏิบัติ
ธรรม ไมตองไปกังวล ยกตัวอยางเชน ไมเห็นพวกเราไปปฏิบัติธรรมที่นั่นที่โนนเลย คนไปกันเยอะแยะ เพราะแนวคิดไมตรงกัน
เราตองเชื่อมั่นตัวเองในระดับนึงวา เรามีฐาน มีทุนเดิมที่จะศึกษาธรรมะ ในแนวนี้แหละ
เมื่อรูแนวแลว คราวนี้บางคนอาจกังวล อยากไดครูที่ดีที่สุดของสายนี้ คือกลัววาครูนอยจะสูครูใหญไมได อะไรทํานอง
นั้น จริงหรือ ลองพิจารณาดูพฤติกรรมการเรียนรูของเราสิ เรามีเพื่อนครูคนนึง ฝกโยคะแนวพุทธกับอาจารยทานนึง พอมาเจอ
สายไกวัลย แกก็มาศึกษาสายนี้จริงจัง ขณะที่พรรคพวกแกไมมีใครมาสักคน เหตุการณนี้บอกอะไรเรา มันบอกวา พวกเราเปน
ชุมชนที่ไมยึดตัวบุคคล เราไมยึดครูฮิโรชิ ไมยึด ดร.กาโรเต เรายึดหลักการโยคะ ในการปฏิบัติธรรมก็เชนกัน เมื่อไดแนวทาง
ปฏิบัติที่ตรงจริตแลว เริ่มไปไดเลย ไมตองไปสนใจวา จะตองเปนคําสอนจากพระรูปนี้รูปนั้นเทานั้น ลองดูอีกตัวอยางสิ พระ
อาจารยปราโมทยศึกษาธรรมะกับอาจารยราว 40 รูป และพวกเราไมไดยึดตัวอาจารยปราโมทยนะ เรายึดแนวทางของทาน
ตางหาก ผมเห็นวา สําหรับพวกเรา เรายึด “การรูและเขาใจตนเอง” เปนสําคัญ พวกเราไมใชนักเรียนที่ใชครูพร่ําเพรื่อนะ
ในการเริ่มปฏิบัติโยคะ มันเปนรูปธรรมมาก คือเริ่มจากอาสนะ เมื่อเวลาผานไป เราเขาใจมากขึ้น เราก็ขยับจากเปลือก
ไปที่แกน ซึ่งไดแกสมาธิ ในการเริ่มปฏิบัติวิปสสนา ก็เชนกัน เราเริ่มจากการนั่งหลังตรงนิ่งๆ เมื่อเวลาผานไป เราเขาใจมากขึ้น
เราก็ขยับจากรูปธรรมไปที่แกน ซึ่งไดแก การ “เห็นตามความเปนจริง”
อยากจะตอบผูถามคําถามขางตนนี้วา จริงๆ คุณไดเริ่มไปแลว ยกเทากาวแลว เดินเลยครับ มีรูปธรรมอะไรในการฝก
วิปสสนาบางละ ก็คือ มรรค 8 ของพุทธศาสนานั่นเอง เริ่มไดหมด รูปธรรมในการมองของพุทธเปนอยางไร ก็เริ่มมองอยางนั้น
รุปธรรมในการคิดแบบพุทธเปนอยางไร ก็เริ่มคิดอยางนั้น รูปธรรมในการพูดแบบพุทธเปนอยางไร ก็หัดพูดอยางนั้น รูปธรรม
ชีวิตประจําวันแบบพุทธเปนอยางไร ก็หัดใชชีวิตอยางนั้น รูปธรรมในอาชีพแบบพุทธเปนอยางไร ก็ทํางานอยางนั้น รูปธรรมใน
ความเพียรของพุทธเปนอยางไร ก็เพียรใปในแนวทางนั้น รูปธรรมในการระลึกรูแบบพุทธเปนอยางไร ก็ใหัระลึกรูอยางนั้น
รูปธรรมในความตั้งมั่นแบบพุทธเปนอยางไร ก็หัดตั้งมั่นเชนนั้น ไมยากครับ ลุยเลย

Anatomy of Hatha Yoga


หฐโยคะกับหลักกายวิภาคและสรีรศาสตร
ผูแปลและเรียบเรียง - ศันสนีย นิรามิษ
บทพื้นฐาน
ในปจจุบันจะเห็นไดวามีโรงเรียนสอนหฐโยคะเพิ่มมากขึ้นในฝงตะวันตก บางแหงอางอิงถึงประวัติที่นาเชื่อถือสืบทอด
ตอกันมายังครูผูสอนรุนสูรุน บางแหงกําหนดการสอนใหเขากับความตองการของยุคสมัยและความคาดหวังของผูเรียน แตยังคง
อางอิงถึงศาสตรดั้งเดิม, วิทยาศาสตร และตามหลักดั้งเดิมของโยคะ บางแหงไดพัฒนาการสอนใหเขากับยุคปจจุบันจนไมแนใจ
ถึงศาสตรที่แทจริง
เพราะคนเรามีความแตกตางกัน โรงเรียนหฐโยคะหลายแหงจึงเปดสอนทาอาสนะพื้นฐานที่สุดพรอมดวยทาอื่นๆที่
แตกตางกันไปตามความคาดหวังของผูเรียน ในขณะที่ผูสอนพบความนึกคิดของผูเรียนที่แตกตางกันไปตั้งแตนักเตนมีอาชีพ
0905 10
จนถึงนางพยาบาลประจําบานที่กลัววาจะไมสามารถลุกขึ้นไดหลังจากที่นอนฝกลงบนพื้น ซึ่งนั่นไมเปนไร เพราะสําหรับทุกคน
แลวไมวาจะมีชวงอายุใดหรือมีความชํานาญระดับไหนสิ่งที่สําคัญที่สุดของหฐโยคะไมใชความยืดหยุนและความสามารถในการ
ฝกทายากตางๆ แตเปนความระลึกรู ระลึกรูรางกายและลมหายใจ รวมถึงรับรูหลักกายวิภาคและสรีรศาสตรภายใตทาฝกนั้นๆ
ดวย จากการระลึกรูนี้จะทําใหควบคุมได และเมื่อสามารถควบคุมไดก็จะนํามาซึง่ ความคลองแคลวและสวยงาม ถึงแมวาทาที่ฝก
นั้นจะมีการประเมินสําหรับผูเริ่มตนแลวแตผูฝกก็สามารถรับรูถึงสติและความออนขณะฝกได
เราจะบรรลุถึงเปาหมายนี้ไดอยางไร และเราควรจะฝกและสอนใหผูเรียนอยูในทาตางๆแบบใดเพราะมักจะมีผูที่ไมเห็น
ดวยถึงรายละเอียดการอยูในทาบอยๆ ดังนั้นสิ่งที่แนะนําใหนั้นเปนแนวทางไมตายตัว จุดประสงคก็เพื่อใหทราบถึงตําแหนง
อางอิงทั่วไปเพื่อใชในการเรียนรูถึงกายวิภาคและสรีรศาสตรของหฐโยคะ
มุงเนนความสนใจของคุณ
จดจอความสนใจไปยังรางกาย คุณจะรับรูถึงลมหายใจ, รับรูถึงเนื้อเยื่อที่กําลังยืดตัวออก, รับรูถึงขอตอที่มีแรงกําลัง
หดตัว, รับรูถึงความเร็วในการเคลื่อนไหว หรือรับรูความสัมพันธระหวางการหายใจและการยืดตัวของคุณ คุณสามารถจดจอ
ความสนใจของคุณไปยังจุดอื่นๆขณะที่กําลังเคลื่อนไหวเขา-ออกเมื่อฝกทาไดอีกดวย การฝกฝนไปพรอมกับความสนใจใน
รางกายเปนโยคะขั้นพัฒนาแลว ไมวาทาที่ฝกจะงายหรือยากเพียงใด แตถาคุณไมมีความจดจอระหวางที่ฝกก็เทากับวาคุณเปน
ผูฝกโยคะเบื้องตนเทานั้น หฐโยคะเปนการฝกที่พัฒนาจิตใจไปพรอมกับรางกาย ดังนั้นจดจอความสนใจขณะที่ฝกไวอยาให
พลาด
เรียนรูลมหายใจของคุณ
จากที่ผานมาจะเห็นไดวาในหลายๆทาการหายใจเขารางกายจะชวยใหคุณยกตัวขึ้นไดอยางเต็มที่ และยังชวยเพิ่ม
ความตึงและสงบนิ่งในลําตัว คุณสามารถทดลองดวยการนอนคว่ําลงบนพื้นและสังเกตขณะที่กําลังยกตัวขึ้นสูงสุดในทางูซึ่งพยุง
ตัวดวยการหายใจเขา อยางไรก็ตามการหายใจออกจะชวยยืดตัวคุณไดไกลมากขึ้นในหลายๆทา ใหคุณลองฝกในทานั่งเหยียด
พับตัวไปดานหนาคุณจะเห็นไดวาการหายใจออกจะชวยใหคุณวางคางลงใกลกับตนขามากขึ้น ไมวาจะกรณีใดก็ตามคุณจะ
ไดรับประโยชน 2 เรื่อง คือการหายใจดวยทองจะชวยผอนคลายเนื้อเยื่อตางๆ และการรับรูของผลลัพธที่เกิดขึ้นกับคุณโดยตรง
จะชวยใหคุณจัดปรับรางกายขณะอยูในทาไดดีขึ้น
ขณะที่กําลังฝกนั้นใหคุณหายใจตามปกติ หายใจผานรูจมูกอยางเงียบ, สงบ และสม่ําเสมอ อยากลั้นลมหายใจที่ลําคอ
หรือทําเสียงใดๆ ยกเวนไดรับคําแนะนําในการฝกฝนพิเศษ
เริ่มจากการสรางพื้นฐาน
ขณะที่คุณฝกในแตละทานั้น ใหเริ่มประมวลผลพื้นฐานภายในรางกายของคุณและหาตําแหนงของกลามเนื้อหลักเพื่อ
ชวยใหคุณคงอยูในทาได เชน ปลายแขนปลายขาและกลามเนื้อที่หดเพื่อเหยียดตัวขณะที่อยูในทายืน, หัวไหล คอ กระดูกสัน
หลัง และกลามเนื้อตางๆของลําตัวในทายืนดวยไหล, สํารวจระบบกลามเนื้อและกระดูกทั้งหมดโดยเฉพาะชองทองและ
กลามเนื้อลึกของหลังขณะที่ฝกทานกยูง มุงความสนใจของคุณตามอวัยวะตางๆที่เกี่ยวของ ทั้งนี้เพื่อปองกันการบาดเจ็บและ
ชวยพัฒนาความเขาใจในทามากขึ้น
นอกเหนือจากความเขาใจพื้นฐานนี้แลว ยังมีพื้นฐานอื่นๆที่นาสนใจกวาที่กลาวมาในขางตน นั่นก็คือเขาใจในพื้นฐาน
ของการเชื่อมโยงกันของเนื้อเยื่อทั่วทั้งรางกาย โดยเฉพาะเนื้อเยื่อตางๆที่เชื่อมโยงระบบกลามเนื้อและกระดูกเขาดวยกัน
เนื้อเยื่อที่เชื่อมโยงกันเปรียบเสมือนลวดที่อยูขางในคอนกรีต เพราะมันจะเปนตัวชวยยึดแผงคอนกรีตทั้งหมดเขาดวยกัน เพื่อ
เตรียมความพรอมในการสรางความแข็งแรงใหกับเนื้อเยื่อเหลานี้ คุณควรจดจออยูกับความแข็งแรงของผังผืดหุมขอ, เอ็น
กลามเนื้อยึดกระดูก, เอ็นขอตอ และผังผืดตางๆที่หุมกลามเนื้ออยู วิธีปฏิบัติที่จะบรรลุเพื่อสรางความแข็งแรงจากภายในสู
ภายนอกเริ่มจากศูนยกลางกลามเนื้อของลําตัว จากนั้นคอยๆเคลื่อนไปยังปลายแขนปลายขา หากคุณพยายามเหยียดยืดมาก
จนเกินไปโดยที่ยังไมเคยเริ่มตนฝกและไมรูวิธีปองกันขอตอตางๆมากอน จะทําใหเกิดการเจ็บปวดได ถาคุณไมใชนักยกน้ําหนัก
หรือนักเพาะกาย เรื่องความแข็งแรงและความยืดหยุนเปนเรื่องที่ตองคํานึงถึง นอกเสียจากวาคุณไดฝกฝนมาระดับหนึ่งแลวคุณ
ควรพัฒนาการเคลื่อนไหวรอบๆขอตอตอไป
การเคลื่อนไหวเพื่อเขาสูทาและออกจากทา

0905 11
ขณะที่คุณกําลังรูสึกนิ่งสงบและมหัศจรรยเมื่อคางอยูในทานั้น แตคุณจะไมเขาถึงความรูสึกนั้นจริงๆถาคุณไมรูวาคุณ
อยูในทานั้นไดอยางไรและกําลังจะเคลื่อนไหวตอไปในทาไหน ถาคุณเคลื่อนไหวจากทาสูทาอยางรวดเร็ว คุณจะเดินทางโดยไม
รูสึกสนุกกับมัน ซึ่งการเดินทางนี้สําคัญเทากับจุดหมายปลายทางเลยทีเดียว ดังนั้นควรเคลื่อนไหวเขาสูทาและออกจากทาอยาง
ชาๆและรูสึกตัวตลอดเวลา ขณะที่คุณกําลังเคลื่อนไหวใหสํารวจรางกายตั้งแตศีรษะจนถึงปลายเทา, สํารวจมือ ขอมือ แขนชวง
ลาง ขอศอก แขนชวงบน และหัวไหล, สํารวจเทา ขอเทา ขา หัวเขา ตนขา และสะโพก, สํารวจเชิงกราน ชองทอง หนาอก คอ
และศีรษะ คุณจะพัฒนาการรับรูหนาที่ตางๆในรางกายและจะสังเกตเห็นถึงอาการแปลกๆและไมตอเนื่องขณที่กําลังฝก ซึ่งจะ
ชวยใหคุณแกปญหานั้นไดตอไป ทายที่สุดขณะที่คุณเรียนรูการเคลื่อนไหวอยางนุมนวลนั้น คุณจะขจัดความยากของการฝกทา
นั้นได
รับรูอาการปวดอยางตรงไปตรงมา
คุณเคยรับฟงหรือปฏิเสธอาการปวดที่เกิดขึ้นหรือไม ถาคุณมีอาการปวดหลังคุณไดปรับทาหรือกิจกรรมตางๆเพื่อลด
ความรูสึกปวดนั้นหรือไม แลวคุณเคยมองสํารวจรางกายของคุณ หรือทํากิจกรรมอื่นๆจนกระทั่งลืมความปวดนั้นไปหรือเปลา
ถาคุณไมยอมฟงอาการตางๆที่เกิดขึ้นในตัวคุณ คุณก็มีโอกาสที่จะเปนโรคเอ็นอักเสบ, เสนประสาทกดทับ และหมอนรอง
กระดูกสันหลังแตกได สําหรับหฐโยคะนั้นคุณตองพัฒนาและเคารพการรับรูภายในตัวคุณเองเพื่อหลีกเลี่ยงอาการบาดเจ็บที่จะ
เกิดขึ้น
คุณควรเริ่มโปรแกรมการฝกดวยความตั้งใจที่จะหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บ ถาคุณเริ่มฝกฝนมาเปนปโดยที่ไมรูวากําลังทํา
อะไรอยู เทากับวาคุณกําลังผลักตัวคุณเองใหเขาสูอาการบาดเจ็บ ซึ่งไมเพียงแตเปนการบาดเจ็บชั่วคราวเทานั้น แตจะเปนการ
สรางความรูสึกกลัวและกังวลใหกับคุณในการที่จะฝกตอ ระบบประสาทในรางกายจะจดจําการบาดเจ็บนั้นและจะตอตานการฝก
ทานั้นซ้ําอีก การบาดเจ็บนั้นถือวาเปนของขวัญที่บอกเราใหแกปญหาตางๆ เราควรวิเคราะหธรรมชาติของปญหาที่เกิดขึ้นแทน
การไมใสใจ เมื่อคุณรับรูดวยตนเองประกอบกับคําแนะนําของครูผูสอนแลว คุณจะสามารถฝกทาอื่นๆที่ยากขึ้นได
ฝกฝนอยางสม่ําเสมอ ดวยความกระตือรือรน และความระมัดระวัง
ฝกฝนในเวลาเดิมและสถานที่เดิมทุกวันจนเปนนิสัย จะชวยใหคุณเห็นการเปลี่ยนแปลงไดวันตอวัน การฝกในเวลาเชา
เปนเวลาที่ดีที่สุดสําหรับพัฒนาสุขภาพ รางกายที่แข็งอยูในตอนเชาบอกใหคุณรูวาตองฝกดวยความระมัดระวังและตั้งใจ ใน
ระหวางวันคุณอาจจะรับรูความรูสึกไดชาลงและเสี่ยงตอการบาดเจ็บได ฝกดวยความกระตือรือรนอยางสนุกสนานในตอนเชาจะ
ชวยกระตุนใหลดความแข็งของรางกายคุณได และฝกดวยความระลึกรูในชวงบายจะชวยหลีกเลี่ยงอาการบาดเจ็บ และไมวาคุณ
ฝกในเวลาใดก็ตามแลวรูสึกถึงความไมปกติ, ไมแข็งแรง, ไมยืดหยุน ใหระมัดระวังรางกายดวย
รับผิดชอบตอตนเอง
ถึงแมคุณจะฝกกับครูที่มีความรูเพียงพอ ในขณะเดียวกันคุณตองรับผิดชอบในการตัดสินใจและการกระทําดวยตัวคุณ
เองดวย ครูผูสอนอาจจะแข็งแรง แข็งขัน และเปนแรงกระตุนใหคุณทําตาม แตคุณตองตัดสินดวยตัวคุณเองวาสามารถทําได
หรือไม เพราะในหลายทาของหฐโยคะจะมีทาที่ไมธรรมชาติ ซึ่งแสดงใหเห็นถึงจุดออนของรางกาย ซึ่งขึ้นอยูกับตัวคุณวาจะมี
ฝกทานั้นไดหรือไมและอยางไร เกณฑวัดอยางหนึ่งคือไมใชแคคุณรูสึกสบายตัวแค 1 ชั่วโมงหลังจากการฝก แตคุณจะตองรูสึก
ดีตอไปอีก 24 ชั่วโมงหลังจากนั้นดวย สุดทายใหสังเกตถึงการตอตานขณะที่ฝกแตละทาในแตละชั่วโมงเรียนดวย ถามีปญหาให
ปรึกษาครูผูสอนตอไป
ฝกฝนดวยความอดทน
เรียนรูจากการเคลื่อนไหวชาๆจะฝกฝนความอดทนในการเคลื่อนไหวอยางมั่นคง จําไววาประโยชนของการฝกหฐ
โยคะคือความแข็งแรงมากขึ้นและการยืดหยุนที่มากขึ้น แตถาคุณดูขอบเขตจากการฝกคุณอาจจะผิดหวังได คุณตองมีความ
อดทนเพื่อใหไดประโยชนตางๆจากการฝก ความผิดพลาดหลักที่เกิดขึ้นเพราะคุณตองการที่จะฝกใหสําเร็จโดยไมคํานึงถึง
ความพยายามที่สอดคลองกัน ซึ่งทําใหเกิดผลเสีย 2 อยาง สิ่งแรกคือจะทําใหคุณเปลี่ยนความตั้งใจของการฝกกอนที่คุณจะรู
ความจริงทั้งหมด อยางที่สองคือจะเปนการสรางความเปนไปไมไดในการเรียนรูและความรูสึกที่ดีจากการฝก ดังนั้นใหคุณฝก
ดวยประสบการณในปจจุบันขณะ ฝกดวยความสนุกสนานภายในตัวคุณเอง

0905 12
กวี คงภักดีพงษ
สแกนกรรม
โดย กฤษณา สุยะมงคล 220 บาท สํานักพิมพ ดีเอ็มจี

ยิ่งศึกษาธรรมะ ผมยิ่งเชื่อเรื่องกรรม เมื่อแรกเห็นชื่อหนังสือ มีคําวา “สแกน” ผมรูสึกวามันออกจะเปนอิทธิฤทธิ์ ก็


ปฏิเสธที่จะซื้อ อาทิตยถัดมา นองขางบานอานจบแลวเอามาฝาก จากแคหยิบมาพลิกดู กลายเปนวา ผมอานรวดเดียวจบเลม
เลย แมหนังสือจะเดินเรื่องดวยการเลาถึงเคราะหกรรมของตัวผูเขียน ซึ่งเอาไปทําละครน้ําเนาไดเลย แตหนังสือมีประเด็นสําคัญ
ที่สะกิดใจมาก โดยเฉพาะในชวงนี้ ที่ผมกําลังรําคาญชีวิตบางสวนของตนเอง รูสึกวามันคาใจ เหมือนกับมีกอนกรวดในรองเทา
เมื่ออานจบ รูสึกวากอนกรวดนี้หลุดไป และผมก็เดินไปซื้อหนังสือเลมนี้ มาไวในหองสมุดสารัตถะ
สาระของหนังสือสรุปอยูในคํานําที่สั้นกระชับมาก คือ ผูเขียนเปนอีกผูหนึ่งที่ไดรับชะตากรรมจากวิบากที่ตนเองทําไว
แตก็ผานมาได และรูสึกดีดวยซ้ํา เพราะในความเปนจริงแลว กรรม กลับทําใหผูเขียนไดพบสิ่งดีๆ ในชีวิต (เหมือนคําวา โชคดีที่
เปนมะเร็ง ซึ่งในกรณีนี้ เปนโรคทางใจ) คนเผชิญกรรมมักมองวาตนเองเคราะหราย และหดหู แตการเขาใจผลแหงกรรมจะ
เปลี่ยนมุมมอง แทนที่จะจมในกองทุกข กลับมีสติ และแกปญหาไดดวยปญญา คนเขาใจเรื่องวิบาก จะไมมาเสียเวลาถามวา
ทําไมเรื่องแบบนี้ตองมาเกิดกับฉัน แตจะถามตัวเองวา เราพรอมจะรับมือกับวิบากกรรมแคไหน ตางหาก
ผูเขียนเปนผูหญิงธรรมดาคนนึง มีเรียน แตไมมีเงิน แตงงานกับผูชายฐานะเดียวกัน มีชีวิตคูอยู 3 ป ขัดสนเงินทอง
มาก แตสุขใจ เมื่อฝายชายไปมีแฟนใหม เธอใชเวลา 2 ป จมอยูในกองทุกข ใน 2 ปนี้ มีบางสวนที่เหมือนละครน้ําเนาเปยบ
เพียงแตนานกวา และฉายทุกวัน และมีบางสวนที่ตางจากละครโดยสิ้นเชิง ก็คือปญญาที่ไดเกิดขึ้นในตัวเธอ
จริงๆ แลว สังคมไทย เวลามีปญหาชีวิต คนจํานวนมากก็จะพูดทํานองวา “ทําใจซะเถอะ มันเปนเวร เปนกรรม” “ชาติ
กอนเราคงไปทําอะไรเขาไว ชาตินี้จึงโดนกับตัวบาง” ซึ่งก็ไมเห็นวาจะชวยใหคนฟงหยุดทุกขไดเลย แตนาจะเปนเพราะผูเขียน
มีความสามารถพิเศษในการมองเห็นอดีตชาติได และความสามารถนี้ ก็ไดรับการพิสูจนมาระดับนึง ดังนั้น เมื่อบทที่ 5 ใน
หนังสือกลาวถึงการเห็นนิมิต การเห็นเหตุที่ตองเลิกกับคนรักในชาตินี้ ทําใหผูเขียนตระหนัก และหยั่งถึงบทธรรมแหงกรรม
ตามความหมายนั้นจริงๆ เปนการพลิกทรรศนะ เกิดปญญา รูแจง และ ถอดถอนความโศกออกไปไดหมดสิ้น ซึ่งก็นาจะเกิดกับ
ผูอานหนังสือเลมนี้เชนกัน คือ ความมืดมิดหายไปโดยพลัน มีแตสวาง โลง เขาถึงสัจธรรมทันที
หนังสือเลมนี้ทําใหผมเขาใจคําวา เจากรรมนายเวร อยางชัดเจน ผูเขียนสะกิดใหเราคิด เวลามีคนมาวิจารณ บางคน
ดาวาเสียๆ หายๆ เลยนะ เราไมเห็นรูสึกอะไรเลย แตทําไมบางคนตําหนิเรานิดเดียว กลับสรางความเศราเสียใจตอเราอยาง
มากมาย นานเปนวันๆ เปนสัปดาห เปนเดือน หรือเปนปดวยซ้ํา ที่ถกู ใจที่สุด ก็คือเมื่อผูเขียนระบุวา เจากรรมนายเวรที่แรง
ที่สุด จะมาเกิดใกลตัวที่สุด อยูชิดติดกับเราเปนเวลานานที่สุด ปงเลย ลองสังเกตดูสิ ความไมสบายใจในชีวิตทั้งหลาย มาจาก
คนใกลตัวที่สุดทั้งนั้น นองสุดแสบ พี่คูแคน ลูกบังเกิดเกลา พอ/แมที่นารําคาญ ภรรยาคูกรรม สามีตัวดี ลวนเปนโจทยใหญที่
วางอยูตรงหนา ที่เราไมอาจปฏิเสธไดเลย
นอกจากจะขอบคุณที่เปดมุมมองของเราตอกรรมและวิบากแลว ผมเกิดจิตคารวะตอผูเขียน ผูหญิงธรรมดาคนนึงคนนี้
อยางยิ่ง ตอความทนทรหดในการเผชิญวิบากของเธอ ซึ่งผมถือวาเปนหัวใจของหนังสือเลมนี้เลยทีเดียว อานแลวหวลคิดถึง
ตบะอันนอยนิดของตนเองตอวิบากที่เรามี ตอเจากรรมนายเวรของเรา ทั้งในรูปแบบของญาติพี่นอง หรือ เพื่อนรวมงานตัวดี
เวลาทําอะไรใหเรารําคาญนิดเดียว เราแทบจะชักดิ้นชักงอ จะเปนจะตายเอาใหได ไมก็หนีสุดหลา หลบหนาสุดฤทธิ์ ลาออกจาก
งานเพื่อหนีหนาลูกนองก็ทํามาแลว เพียงเพื่อมาเจอเรื่องอีหรอบเดิมที่บริษัทใหม เหมือนกันเปะ ตางกันแคชื่อเรียกจริงจริ๊ง อาน
หนังสือเลมนี้แลวก็สรุปไดเลยวา หนีไมพน ไมตองหนี เสียชื่อโยคีผูมีตบะเปนวัตรหมด
หนังสือแมเลมหนา แตอานสบาย บางชวงสนุกเหมือนละครหลังขาวเลย ทั้งฝายศิลปกรรมเขาจัดตัวอักษรสบายตา มี
รูปอีกตางหาก ลองหามาอานดูนะครับ เมื่อเขาใจกรรม-วิบากมากขึ้น จะชวยใหเราตัดนิวรณบางสวนออกจากจิตไดเลยนะ จะ
ไดทุมเทสรรพกําลัง ไปสูเปาหมายใหทันขบวนภพนี้

0905 13
ไวราคยะ : การบรรลุถึงการดับการปรุงแตงของจิต
วีระพงษ ไกรวิทย และจิรวรรณ ตั้งจิตเมธี แปลและเรียบเรียง
ขอเทาความในฉบับที่แลวกันสักนิด ฉบับกอนไดพูดถึงการบรรลุถึงการดับการปรุงแตงของจิตซึ่งปตัญชลีแนะนําใหทํา
๒ วิธีคือ อภยาสะและไวราคยะ (หรือการฝกปฏิบัติและการถอดถอน/ละวาง) และไดอธิบายถึงอภยาสะโดยละเอียด สรุปก็คือ
อภยาสะเปนความเพียรที่จะฝกฝนปฏิบัติซ้ําแลวซ้ําเลาเพื่อใหเขาถึงสภาวะที่มีเสถียรภาพอันเปนที่ปรารถนาของผูฝกโยคะ
ทั้งหลาย และการฝกปฏิบัติซ้ําแลวซ้ําเลาเหลานั้นจะตั้งมั่นไดก็ดวยเงื่อนไข ๓ อยางคือ ๑) การฝกตอเนื่องเปนระยะเวลา
ยาวนาน ๒) การฝกเปนประจําสม่ําเสมอ และ ๓) การมีทัศนคติหรือจิตใจที่เปดวางและพึงพอใจ
ฉบับนี้จะอธิบายถึงไวราคยะซึ่งปรากฏอยูในโยคะสูตรบทที่ ๑ ประโยคที่ ๑๕ กลาววา “ทฤษฏานุศรวิกวิษยะ
วิตฤษณสยะ วศีการสัมชญา ไวราคยัม” มี ๒ ความหมายคือ ๑) ไวราคยะหรือการถอดถอน(ละวาง) ของผูที่ไมสนใจในทุกๆ
สิ่งที่ไดเห็นหรือไดยินจากภายนอก เรียกวา “วศีการะ” หรือ ๒) ไวราคยะคือสิ่งซึ่งมีความตระหนักรูในการกาวพนจากความ
ตองการ(ตัณหา) ทางวัตถุหรือทุกๆ สิ่งที่ไดเห็นหรือไดยินจากภายนอก
ปตัญชลีไมไดอธิบายไวราคยะตามความหมายดังกลาวขางตน และไมไดใหความสําคัญกับไวราคยะขั้นพื้นฐานมากนัก
แตเนนอธิบายถึงขั้นที่สูงมากๆ ของไวราคยะซึ่งมีความหมายและความสําคัญในแงของการปฏิบัติโยคะ เหตุผลอาจจะเปนไปได
วาคําวาไวราคยะมีคําอธิบายในตัวเองอยูแลว โดยคํานี้เปนคํานามมาจาก “วิ” แปลวา ไม หรือปราศจาก และคําวา “ราคะ” (มา
จากคํากริยา รชะ แปลวา ชอบ หรือ ดึงดูด) คือ ความชอบ ความรัก หรือ การยึดติดผูกพัน สวนคําวา “ยะ” เปนคําปจจัย(ลง
ทาย) เพื่อทําใหเปนคํานามบงบอกถึงสภาวะ ดังนั้นความหมายของคําวา ไวราคยะ โดยตรงแลวจึงหมายถึง การไมยึดติด
ผูกพัน หรือการถอดถอน ละวางนั่นเอง
คําวา “สัมชญา” มีสองความหมายที่แตกตางกัน ถาสัมชญาที่แปลวา การตั้ง การระบุ ตามความหมายนี้ไดมีการ
จัดแบงการพัฒนาไวราคยะออกเปน ๔ ขั้น ไดแก ๑) ยตมานะ (สัมชญา หรือ สัมชญกะ) ๒) วยติเรกะ ๓) เอเกนทริยะ ๔) วศีกา
ระ
ทั้ง ๔ คําหรือขั้นตอนนี้คอนขางจะมีคําอธิบายในตัวเอง อยางคําแรก “ยตมานะ” ยตะ แปลวา พยายาม + มานะ
แปลวา ผูที่มี ผูที่เปนเจาของ นี่คือขั้นแรกสุดของการพัฒนาไวราคยะ สําหรับการพัฒนาไวราคยะนั้นผูฝกตองเขาใจความสําคัญ
และความจําเปนของโยคะหรือการพัฒนาจิตวิญญาณ นั่นคือในเบื้องตนผูฝกตองปลุกความตองการที่จะพัฒนาการถอดถอน/ละ
วางจากวัตถุหรือสิ่งตางๆ ใหมีขึ้นในตัวเสียกอน จากนั้นเขาจึงเริ่มที่จะพยายามพัฒนาทัศนะเชนนี้ และทันทีที่เขาเริ่มพยายามที่
จะพัฒนาทัศนะของการถอดถอน/ละวางนี้ เขายอมอยูในสภาวะของยตมานะ ก็คือ ผูประกอบความเพียร
ตอมาในขณะที่ผูฝกเริ่มลงมือปฏิบัติความเพียรนั้น ทัศนะของการถอดถอน/ละวางก็จะคอยๆ เติบโตขึ้นทีละเล็กละ
นอย ผูฝกจะเกิดประสบการณในลักษณะเดียวกันคือ ภาวะความชอบหรือการยึดติดผูกพันกับสิ่งตางๆ ของบุคคลนั้นจะ
แปรเปลี่ยนไปตามแรงหรือกําลังที่ยึดติดกับมัน ดังนั้นผูฝกอาจสามารถขจัดบางสิ่งบางอยางออกไปไดงายเพราะสิ่งนั้นมีกําลังที่
จะดึงดูดใจเขาไดนอย แตสําหรับสิ่งยึดติดผูกพันอยางอื่นๆ ที่ลึกซึ้งหรือมีกําลังมากกวาอาจยากที่จะขจัดออก ฉะนั้นในขั้นที่สอง
ของไวราคยะผูฝกไดถอดถอน/ละวางการยึดติดหรือความตองการตอสิ่งเหลานั้นออกไปบางแตยังไมทั้งหมด เพราะยังไม
สามารถถอดถอน/ละวางสิ่งอื่นๆ บางอยางได ในขั้นนี้เรียกวา “วยติเรกะ” ซึ่งหมายถึง การขจัดออกไปบางสวน
โดยปกติคนเราเมื่อรับรูวัตถุหรือสิ่งตางๆ จะรูสึกสนุกเพลิดเพลินกับมันโดยผานประสาทสัมผัสในชองทางตางๆ (๕
ชองทาง) ความเพลิดเพลินนี้จะนําไปสูการยึดติดผูกพัน ในขั้นตอนที่สามนี้ผูฝกจะเชี่ยวชาญจนสามารถควบคุมประสาทสัมผัส
ไดสี่ชองทางยกเวนอีกเพียงหนึ่งชองทางที่ยากจะควบคุมได ในขั้นนี้ความเพลิดเพลินในสิ่งตางๆ ผานทางประสาทสัมผัสทั้งสี่
นั้นจะหมดไป แตเขายังคงเพลิดเพลินยินดี(ยินราย) กับสิ่งตางๆ ที่รับรูผานทางประสาทสัมผัสที่เหลืออีกหนึ่งชองทาง ซึ่ง
ประสาทสัมผัสหนึ่งชองทางนั้นจะเปนดานสุดทายที่ยากที่สุดที่จะขจัดออกไปได และประสาทสัมผัสอยางสุดทายที่ยากที่สุดนี้ก็
จะแตกตางกันไปตามธรรมชาติของแตละบุคคล ตัวอยางเชน คนหนึ่งอาจพบวาความเพลิดเพลินในรสชาติเปนสิ่งที่ยากที่สุด
0905 14
สําหรับเขาที่จะควบคุมได แตสําหรับอีกคนหนึ่งอาจจะเปนความเพลิดเพลินในการมองเห็น หรือการไดยินไดฟงสิ่งตางๆ ก็ได
ดังนั้นขั้นที่สามของการพัฒนาไวราคยะจึงไดชื่อวา “เอเกนทริยะ” ซึ่งหมายถึง เหลืออีกเพียงหนึ่งประสาทสัมผัสที่ยังทํางาน
ตามปกติอยู ยังไมสามารถควบคุมได
ในขั้นที่สี่ซึ่งเปนขั้นสุดทายตามลําดับของการพัฒนาไวราคยะคือ “วศีการะ” ซึ่งหมายถึงมีความเชี่ยวชาญอยาง
สมบูรณหรือสามารถขจัดความอยาก(ตัณหา) ที่เคยเพลิดเพลินผานทางประสาทสัมผัสทั้งหลายออกไปไดอยางหมดจด ผูที่
เขาถึงไวราคยะในขั้นนี้เรียกไดวาเปนผูตัดกิเลสไดดั่งใจ ในขั้นสุดทายของไวราคยะนี้เปนขั้นที่โยคีมีความเชี่ยวชาญมาก
จนกระทั่งเขาไมไดรูสึกเพลิดเพลินยินดีกับวัตถุหรือสิ่งตางๆ ที่เขาเห็นหรือไดยิน เหตุที่ปตัญชลีกลาวถึงเฉพาะขั้นสุดทายของ
ไวราคยะในประโยคที่ ๑๕ นี้อาจเปนเพราะขั้นนี้เปนขั้นที่สําคัญมากของการพัฒนาในโยคะ ไมตองสงสัยเลยวาทั้งสามขั้นแรก
นั้นผูฝกโยคะทุกคนจําเปนตองกาวผานมาแลว และแมวาตอนนี้พวกเขาจะพัฒนามาถึงขั้นที่สี่ซึ่งเปนขั้นที่สูงมากของการพัฒนา
ไวราคยะ แตก็ยังไมถือวาเปนระดับที่กาวหนาและใหความพึงพอใจสูงสุดไดซึ่งจะมีการอธิบายประเด็นนี้ในประโยคถัดไป
ในความหมายที่สองของคําวา “สัมชญา” นั้นแปลวา การตระหนักรู ในประโยคนี้ของโยคะสูตรกําลังชี้ใหเห็นวา มีเพียง
ขั้นนี้เทานั้นที่โยคีจะมีความเชื่อมั่นวาเขาสามารถควบคุมประสาทสัมผัสทั้งหมดไดจนถึงขนาดที่วาเขาไมรูสึกเพลิดเพลินยินดี
กับสิ่งตางๆ ที่รับรูผานทางสัมผัสทั้งหลาย ดังนั้นโยคีจึงขจัดความอยากทั้งปวงออกไปได ในขัน้ นี้จึงเปนเปาประสงคของ
ความกาวหนาในโยคะตามการนําเสนอของปตัญชลี
โยคีตองขจัดความยินดีในความอยากทั้งปวงหมายถึงทั้งความอยากในสิ่งที่มองเห็นสัมผัสไดและในสิ่งที่มองไมเห็นแต
เชื่อวามีอยู ดังที่ปตัญชลีกลาวถึงในคําวา “ทฤษฏะ” (เห็น) หมายรวมถึงทุกสิ่งที่ปรากฏในโลกซึ่งมีใหโยคีไดเพลิดเพลิน สวนคํา
วา “อนุศรวิกะ” หมายถึงสิ่งซึ่งไมสามารถมองเห็นไดแตอาจจะมีอยูถาเขาเชื่อวามันมีอยูตามที่เคยไดยินไดฟงมา เชน สวรรค
เปนตน แมโยคีจะไมเพลิดเพลินยินดีกับสิ่งที่สัมผัสไดแลวแตหากยังติดของอยูกับความอยากในสิ่งที่สัมผัสไมได เชนตองการ
ไปสูสวรรค หรืออยากบรรลุภูมิธรรมใดๆ ก็ตาม ความอยากเชนนี้ก็ควรถอดถอนละวางหรือขจัดออกดวยเชนกัน
ถัดไปในประโยคที่ ๑๖ กลาวไววา “ตัตปะรัม ปุรุษะขยาเตรคุณไวตฤษณยัม” หมายความวา ขั้นสูงสุดในการ
2
ตระหนักรูของปุรุษะจะเกิดขึ้นเมื่อความตองการ(ตัณหา) ในคุณะทั้งสาม หมดไปอยางสิ้นเชิง
ขั้นสูงสุดของไวราคยะคือขั้นที่ภาวะไรตัณหาไดเกิดขึ้นในโยคี แมแตสภาวะของคุณะทั้งสามซึ่งเปนรูปเดิมของ
ประกฤติก็ไมสงผลตอโยคีเชนกัน ในวศีการะสัมชญาไวราคยะนั้นแมวาโยคีจะควบคุมอินทรียประสาททั้งหมดไวไดแลว ก็ยังมี
ความเปนไปไดที่การยึดติดผูกพันกับวัตถุตางๆ ไมไดถูกกําจัดออกไปทั้งหมดแตจะกลับขึ้นมาทํางานใหมได เพราะวา
ความรูสึกตางๆ นั้นมีพลังเหนียวแนนมาก การเผลอเพียงเล็กนอยของโยคีอาจนําไปสูสถานการณซึ่งความอยากที่จะสนุก
เพลิดเพลินกับวัตถุตางๆ ที่กระตุนความรูสึกอาจเงยหัวทะยานขึ้นมาอีกครั้ง เหตุการณนี้เปนสิ่งที่เกิดขึ้นบอยมาก โยคีที่ครั้ง
หนึ่งเคยพัฒนาสภาวะที่ไรความอยากในวัตถุหรือสิ่งตางๆ ที่เขามากระทบอาจรูสึกวาตอนนี้วัตถุเหลานั้นไมอาจทําใหเขาเกิด
ความยินดี(ยินราย) หรือทําอันตรายใดใดตอเขาได เพราะเขาเขาไปเกี่ยวของหรือสัมพันธกับวัตถุเหลานั้นดวยอาการที่ไมยึดติด
หรือผูกพันทางใจ อยางไรก็ตามเมื่อความไมยึดติดหรือผูกพันทางใจคอยๆ ลดนอยถอยลงจากการเขาไปสัมผัสกับวัตถุเหลานั้น
บอยๆ จนโยคีคอยๆ เริ่มเกิดความพึงพอใจในความเพลิดเพลินกับวัตถุเหลานั้น ดังนั้นการยึดติดผูกพันกับวัตถุจึงกลับมาอีก
ครั้งในขณะที่ไวราคยะ(การถอดถอน/ละวาง) ก็หายไป มีตัวอยางที่เกิดขึ้นเชนนี้เปนจํานวนมากที่สามารถพบเห็นไดในชีวิตจริง
โดยมีเรื่องเลามากมายของธรรมชาติที่เกิดขึ้นดังกลาวปรากฏอยูในคัมภีรชื่อวา “เปาราณิกะ (Pauranika)”
ความสมบูรณแบบของไวราคยะที่บรรลุถึงนั้นจะเกิดขึ้นเมื่อผูฝกเกิดความตระหนักรูในปุรุษะหรือธรรมชาติเดิมแทของ
ตัวผูรู หรืออาจกลาวไดวา การเขาถึงสภาวะสูงสุดของไวราคยะนี้จะเกิดขึ้นเมื่อบรรลุถึงเปาหมายสูงสุดของโยคะ การตระหนักรู
ในปุรุษะก็คือการบรรลุถึงสภาวะของไกวัลยนั่นเอง หรือพูดอีกอยางหนึ่งคุณะไวตฤษณยะ ไวราคยะ ก็เปนคําที่มีความหมาย
3
เหมือนกับคําวา บรมธรรม หรือ summum bonum ตามมรรคาแหงโยคะของปตัญชลี อยางไรก็ตามตราบเทาที่บุคคลยังมีกาย

2
คุณะทั้ง ๓ คือ สัตตวะ รชัส และตมัส (โปรดดูเพิม่ เติมเชิงอรรถที่ ๑ ในฉบับ “โยคะสูตรวาดวย การปรุงแตงของจิต ๕ ประการ (๔)”)
3
คําวา summum bonum เปนคําที่ทานพุทธทาสภิกขุไดเคยแปลไววา “บรมธรรม” ซึ่งหมายถึง สิ่งสูงสุดหรือเปาหมายสูงสุดที่มนุษยคนหนึ่งเมื่อเกิด
มาแลวควรจะบรรลุใหถึง คํานี้จึงมีความหมายกวางและใชไดกับผูปฏิบัติในทุกลัทธิศาสนา (ผูแปล)
0905 15
และจิตอยูก็ยังมีการเชื่อมโยงสัมพันธกันระหวางปุรุษะกับประกฤติอยู (เพราะในขั้นที่ละเอียดแลวกายและจิตก็เปนสวนที่เกิด
จากประกฤติ) ดังนั้นดูเหมือนวาขั้นสูงสุดของไวราคยะหรือคุณะไวตฤษณยะจะไมสามารถบรรลุถึงไดในชีวิตนี้(เพราะยังมีกาย
และจิตอยู) คําถามที่เกิดขึ้นในใจก็คือ อะไรคือเปาหมายของการกลาวถึงไวราคยะในที่นี้ซึ่งมันเปนไปไมไดที่จะบรรลุถึงในขณะ
มีชีวิตอยู
อาจเปนเพราะวัตถุประสงคของโศลกนี้ตองการเตือนใหโยคีหรือผูฝกกระตือรือรนอยูเสมอ และไมยอหยอนตอการ
ฝกฝนพัฒนาตนเองใหกาวหนายิ่งๆ ขึ้น หรืออยางนอยที่สุดก็ใหรักษาระดับของไวราคยะที่บรรลุถึงไวใหได(ไมถอยหลัง) เพราะ
หากโยคีประมาทแมเพียงเล็กนอยโดยเริ่มรูสึกเพลิดเพลินยินดีเมื่อรับรูวัตถุหรือสิ่งตางๆ จากภายนอก เขาก็อาจจะพัฒนาการ
ยึดติดผูกพันกับสิ่งเหลานั้นขึ้นมาอีก ดังนั้นเขาควรจะระมัดระวังไมใหสภาพเชนนี้เกิดขึ้น ในอีกแงหนึ่งภายหลังจากไวราคยะ
ไดรับการพัฒนาขึ้นมาจนถึงระดับสูงแลว ยมะในขออปริคระหะ 4 ก็ยังจําเปนตองไดรับการฝกฝนอยางจริงใจและพิถีพิถันอยู
เสมอ
สรุปวาทั้งสองประโยคของโยคะสูตรขางตนนี้ดูเหมือนวาปตัญชลีจะไมไดอธิบายรายละเอียดของไวราคยะขั้นพื้นฐาน
และก็ไมไดระบุชัดหรืออธิบายรายละเอียดของการฝกปฏิบัติเพื่อพัฒนาไวราคยะในขั้นตางๆ ใหเกิดขึ้น เพียงแตบอกวาการ
พัฒนาไวราคยะในระดับสูงมากนั้นเปนสิ่งเดียวที่สําคัญยิ่งตอการฝกฝนพัฒนาดานโยคะอยางแทจริง

4
อปริคระหะ เปนหนึ่งในยมะ ๕ ขอที่กลาวถึงการฝกฝนตนเองดวยการไมรับ ไมครอบครอง และไมสะสมกักตุนสิ่งตางๆ เพื่อไมใหเกิดความรูสึก
เพลิดเพลินยินดี(ราคะ) กับวัตถุตางๆ ที่ไดมา (ผูแปล)

เอกสารอางอิง :
Karambelkar, P. V., (1986). PATANJALA YOGA SUTRAS Sanskrta Sutras with Transliteration, Translation &
Commentary. Lonavla : Kaivalyadhama.

เชิญชวนชวยกันเขียนบทความมายังจดหมายขาวฯ

จดหมายขาวโยคะสารัตถะ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาวะ ขอเชิญชวนผูอาน ไมวาจะเปนเพื่อนครูโยคะ หรือ ผูสนใจ เขียน


บทความมาเผยแพรในจดหมายขาวนี้
ตามภารกิจของสถาบันโยคะฯ พวกเรากําลังพัฒนาตนไปสู การมีปญญา คือรูและเขาใจตนเอง ขณะเดียวกัน ก็
ชวยกันพัฒนาองคความรูโยคะ ในสังคมไทย ซึ่งการเขียนบทความ เปนชองทางหนึ่งที่จะเอื้อตอการพัฒนาดังกลาว
โดยสามารถเขียนในรูปแบบตางๆ มากมาย เชน เขียนเลาประสบการณการฝกโยคะของตน เลาประสบการณการสอน
โยคะของตน หรือ ประสบการณการประสานงานโยคะในงาน ทั้งยังอาจเขียนนําเสนอความคิดเห็น ทรรศนะตางๆ ตลอดจน
แปลบทความที่นาสนใจ จากนิตยสาร จากหนังสือตางประเทศ
การเขียนนี้ไมจํากัดวาจะตองเปนเรื่องโยคะโดยตรงเทานั้น จดหมายขาวฯ ยินดีรับเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการ
พัฒนาตน เชน สุขภาพ ธรรมะ การทองเที่ยว อาหาร แนะนําหนังสือ วิจารณภาพยนตร ฯลฯ
การเขียนบทความนี้ สถาบันฯ ไมมีคาตอบแทน ซึ่งเปนนโยบายที่เราอยากจะสรางสิ่งดีๆ ใหเกิดขึ้น โดยไมตองมีเรื่อง
ผลประโยชนมาเกี่ยวของ
สงมาไดที่สถาบันโยคะวิชาการ หรือสงมาทางอีเมล kawee.tyi@gmail.com กองบรรณาธิการจดหมายขาวสารัตถะ
ขอขอบคุณเครือขายครูทุกทุกทานที่ไดเขียนบทความสงมาใหโดยตลอด
ขอแสดงความนับถือ
กวี คงภักดีพงษ
ตัวแทนกองบรรณาธิการ

0905 16

You might also like